Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มืออนุศาสนาจารย์ว่าด้วยวาทศิลป์

คู่มืออนุศาสนาจารย์ว่าด้วยวาทศิลป์

Description: คู่มืออนุศาสนาจารย์ว่าด้วยวาทศิลป์

Search

Read the Text Version

*1 ลำสงกองท,พบก ท ๒๗๒/๒๕'๑๕' เรอง ใหใ้ ช้หนงส์อตำราในราชการ เนองดวยกองดพ้ บกไดจ้ ดพิมพคู่มอ อนุศาสนาจารยวึ ่าดว้ ยวาทศลใ) เสรีจเรียบรอี ยแลว ฉะนน จืงใหห้ น่วยต่าง ๆ ยดึ ถอเบนหลกในการปฎิบติ ตงแต่บดนเบนตนไปและใหเ้ สนอใบเบกเพ่ือ ฃอเบกรบี ตามอ,ตราจ่ายดา้ ยคำส'ง นได้ท ยศ. ทบ. เฉพาะ ทภ., มทบ. และหน่วยขนตรง,ของ ทภ. และ มทบ. ทุกหนว่ ยให้ มทบ. เบกิ รีบแทน. ' ส'ง ณ วนท ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๑๕' รบคำสํง 61บ. ทบ. (ลงซ^ อ) พล.ท. ฟ. ห^ ร^ณ ย(ะ/ษ ฐ ต '(,ไ^ข ต “ห^ ร(น'ณย(ง-/ษฐต). ยซ. ทบ. จก. ยศ. ทบ. อต้ ราจา่ ย ก. จา่ ยไท้หนว่ ยในทบ. กรมฝาื ยอำนวยการ (เวนสลก.ทบ.) (๒ ) กรม(ฑยยทุ ร- บรีการ (เวน ยย.ทบ.) (๒ ) กข.,ขส.ทบ.,พบ.,สพ.ทบ.,สส. (๑๐) กรมฝืายกิจการพเศบ (เวน สก. ทบ.,จบ.) (๒) ทภ. (๖ ) พล. ( ๖ ) กรม ( ๖ ) พน ( ๑๕) &ส. ๕ ร. พน ๔ (©๗) บขร. (๖) รร. จปร. ( ๔ ) สบส. (๒ ) ยศ. ทบ. ( ๑๐) รด. ( ๒) รร. นส. ทบ. ( ๑๐ ) รร. การบนิ ทบ. ( ๑๐ ) กอง ส., กอง สพบ., รอย ขส., รอี ยํ ข., รอย พธ., รอย สห., รอย ลร. ระยะไกล ( ๒) ศร., ศป., ศม., ศสพ. (๔๐ ) ศกน. ( ๒) มทบ. ( ๑ ) จทบ. ( ๒ )

ฃ. จา่ ยให ห้ น,วอนอก ทบ. จ่ายตามขอ ง. ทำยระเบ?)บ ทบ. วา่ ทํวยการจดทำและ เบกจ่ายสรรพตำรา พ.ศ . ๒๕'๐๒ สำเนาลูกตอง ท.ต. ปจน. วก. ยศ. ทบ. ©๔ ก.ค. ๑๕

* * ล 'า ร ข า ญ หนา 6 ฆหนำ วตฅุประฝ็งคและบอบเขต ฅ ษหหี่ 9 การติดต่อทางวาปาี ฅ ๖ ลกษณะการตดิ ตอ่ ทางวาจา ๖ แบบการตดตอ่ ๖ ๗ — การพูดสว่ นต่ว ๙ — การพูดแบบก•4่งสIว่ นต^ร 90 — การพูดในขมุ นุมชน 9© ลกษณะการพดู ทติ ©๒ ©ฅ บทท๋ี 10 การปรบ่ ปรงุ หกํ ษะการติดต่อ 6© ©ฅ — คณุ ค่าทางเศรบฐกจ ©©~๔๖ ©๗ — คุณคา่ ทางสง่ ดม * *- 1®* — คณุ คา่ สว่ นบุคคล 10® ๒* บญหาหลกมลู ของการพูด ๒๒ — การพดู — กค'านรพVตูดนเวท9 — — การพฒนาความเช่อี มนในตนเอง ' — คนพใ!ง' หลกการปรบปรุงในการตดิ ต่อทางวาจา — การวเคราะหต์ นเอง — การวจิ ารณ — การ'ฟกิ {เน

/' บ บทท่ี ๓ การวเิ คราะห์คนท3 หนา ๒๓ อตลกบณีของคนพง ๒๓ ๒๓ — ลก่ ษณะทางกายภาพ ๒๔ — ลกษณะทางจิตวิทยา ๒๖ ประเภทคนพง ๒๖ — คนพงทเ่ี บนมิตร ๒๖ — คนพงทไม่สนใจ ๒๖ — คคคนนนพพพ4แ/ง/งง'ท*ทท■‘1^เ๔เไบ๘บม]น]นม่®ศกิค-ตล'วราาูงมริเรม -* ๒๖ — -' * ๒๖ — ๒๖ ลํกษณะของโอกาสการพูด ๒๖ ’ - — วติ ถุประสงคข์ องการชมุ นมุ ๒๗ — รายการชมุ นมุ ๒๗ — สถานทชุมนุม ๒๗ — ขนบประเพณี ๒๙ บทท่ี ๔ การเลอื กเรอื ง ๒๙ ๒๙ , 1 — เหมาะสมต่อคนพดู ๒(๔ ๒๙ — เหมาะสมต่อคนพง ๒๙ — เหมาะสมต่อโอกาส ๒๙ — เหมาะสมต่อเวลา การวเิ คราะหเรือง ๒๙ — กาล — แหลง่ กำเนิด ๒๙ — การหนาิ ที่ — สาเหตุ ๒๙ ^-'- — ลก่ บณะกายภาพ ๒๙ I

ค การกำหนด'ขอบเขตเนอเร่ีอง หนา การเลอื กขอเรอื ง '๒ ๙ ' การรวบรวมเนอเรืองทีจะพดู ตอ — ประเภทของวตถุดบิ ๓© ,๓© — แหลง่ กำเนดิ วตถุดบิ ๓© — การใช้หองสมดุ ๓© — การคนควา ๓๒ การทำโครงเรือง ๓๒ — โครงเรืองแนวความคิด ๓๓ — โครงเรอี งรขปิ ประโยคสมบขรณ ๓๓ บทท ๔ การวางระเบียบการหดู ๓๔ การกลา่ วนำ ๓๔ เนอเรือง V ๓๖ ขอสรปุ ๓ (๔ บหหึ่ ๖ การหูด ๔๏ ขนการพูด ๔© องคปิ ระกอบการพดู ๔๒ — สถานการณ — คนพูด ๔๒ หลกการพูด ๔๒ ระเบียบวิธีการทขด่ ๔๓ — การพูดโดยการเตรืยมตว ๔๔ ) — การทขดโดยการอ่านตนฉบบ ๔๔ — การทฃ่ดจากการท่องจำ — การพูดโดยปราศจากการเตรียมฅวํ ๔๖ ๔๙ ๔๙

ง การ4ชกขVอมการพู หนำ หลํกการชกฝน ๔๙ ขอเลนอแนะ ๔๑ บหห๋ึ ๗ การต?เตอ่ หางทรรกนะ ๕๒ ลกษณะกายภาพ ๕๓ — ความละอาค ๕๓ ๕'*า — การแฅง่ กาย ๕'*า ห่าขน ๕'๔ ๕'๕' พเ)ตกรรม ๕'๕ — การแสดงทางใบหนำ ๕'๕ — การเคลอนไหวทางกาย ๕'๗ ๕'๗ ห่าทาง ๕'๗ — ศรษะ ๕'๗ — ล0่าค9ว๙ ๕๘ — มอและแขน ๕๘ แบบ——ของททห1.าาา่ ยขมVทาาง ๕๘ — หา่ บรรยาย — แบบเสนอแนะ ๕๘ ๕๘ หา่ มอ ๕๙ — ห่าหงายมอ — ห่ากำมอ ๕๙ — การใขน้ วข ๕๙ หลกการใขห้ า่ ทาง ๕๙ ๕๙

บทห ๙ การนดู อธบิ าอบอ็ Iทจ็ จริง ๖๐ หลกการพดู อธิบายขอเทจจรงิ — ดวามถกู ตอง ๖๐ — ความแจม่ ขด — ความสนใจ ๖๐ — ความเขา,ใจ'ขดเจน อปุ สรรคของการอธบิ าย ๖© — การขาดความรู้ — ความขบชอนของเรอ่ื ง ๖® — ความไมส่ นใจ ๖๑ — ความขดแยงกบศรทธาดงเดมิ — แนวคิดอวน ๆ ๖ '๒ ประเภทการพดู อธบิ ายขอเท็จจรงิ — การสอน ๖๒ — การรายงาน ๖๒ — การบรรยาย การเตรียมการพขคอธบิ ายขิอเท็จจรงิ ๖๒ บทท ๙ การนดองใจ ๖๒ ษ่ฃิ ความสำคญของการจงู ใจ ๖๒ แบบการพูดจงู ใจ — เพอให้เกิดความเขอ ๖© — เทอื ให้ลงมอื กระทำ ๖© — เพ่อี สราี งพล'งดลจิต ๖๔ ๖๗ ๖๔ ๖๙ ๖๙ ๗๐ ๗๐ ๗๐ ๗๐

ฉ หนา การจูงใจโดยเหตุฝืล ๗0 -‘- การวเิ คราะห์ — หลํกฐาน ๗© — ตรรกศาสตร ๗๑ ๗© ญตติ ๗๑ การจูงใจโดยเราอารมณ์ ๗© การจูงใจโดยบคุ ลกิ ภาพ ๗๔ การแนะ ๗๔ ขอยตุ ิ บทท ๑๐ การพูดในโอกาสฬเิ สษ์ ๗๗ ลกษณะทวํ ไป ๗๔ ประเภทการพูด ๗๔ — การพดู แสดงความยนิ ดี ๘๙ — การพดู 'นอมระลกิ ๗๙' — การพดู เทอื ความรืนเวิง ๗๙ บทท่ี ๑๑ การอภปิ รายและการประชมุ ๗๙ แบบการอภปิ ราย — การสนทนา ๔๔ — การอภปิ รายโต๊ะกลม — การอภปิ รายเบนคณะ ๔๔ — การอภปิ รายแบบวิสขนา — การอภิปรายมหาคณะ ๔๖ ๔๖ ๔๖ {๔๖ ๔๖

ช หนIา/ / การประขมุ ๙๗ — การประขุมทางวิชาการ ๙๗ — การประขุม๓ ฝน ๙๗ — การประขมุ แกบ้ ญหา ๙๗ — การประขุมผา่ ยอำนวยการ ๙๗ — การประขุมคณะกรรมการ 6ช (X? — การประชามกลจ'ํม1 — การประขมุ กลนกรอง (*9 (X? องคประกอบการอภิปราย ๙ (๙ — การเล^ อกบ1แญหา ๙๙ — การศกษาบญหา (๙(๙ — การเตรยี มระเบยี บวาระ ๙๙' — การเตรียมการประขมุ ๙๙ ๙๐ การดำเนนิ การอภิปราย — ดฯณส^มิ บ่ตของฝข ทื ำการอภิปราย ๙๐ — การเบดการอภปิ ราย — การนำการอภิปราย ๙๑ — การยุตกิ ารอภิปราย ๙๑ — การรายงานฝลื การอภิปราย ๙๑ ๙®' ) คณะส้อู ภิปราย ๙๔ การประมาณคา่ การอภปิ ราย ๙๔ บทท ๑๒ การทุคทางโทรทสนและวิทย ๙๔ คนพ0เ/งก4บเนอเรอง ๙๖ การวางระเบยี บคำพูด ๙๖ ช่วงเวลาพูด ๙๗ กกาารรพพฃ่ดดททาางงไวทิทรยจทจศ-^น๙' ๙๙ ๙๙ ๑๐๐

ช หนำ บทท่ี ©๓ การโตร้ าท ๑๐'๒ แบบการโต้วาท — การโตว้ าทีแบบปุราณะ ๑๐®ว — การโต้วาทีแบบปฎปิ ุจฉาวสิ ขนา — การโตว้ าทีแบบแกบ้ ญ่ึ หา ๑๐®') ญจต^ ต** ๑๐๔ — เนอ!,รอง ๑0๔ — ขVอ-โ*ต; แ้ ยVง — ขอเทจี จรง ๑๐'ะ หนาทีของประธาน ๑๐๖ หลกก'ารต',ดสนิ การิใต'้ วาที ๑๐๖ บทที่ ๑๔ การสงสรรค์ทางสงํ คม การสนทนา ๑๐๖ — คุณสมบ*ตนกสนทนา — ทกบ-ะในการสนทนา ๑๐๖ — การสรางคณุ สมบต่ ทที การสมภาบณ ๑๐๗ — การสมภาษณ์หาขอเทจี จรงิ ๑๐๙ บทท4 ๑๕ อุป—กรณก'๙าโ-รสสตมทภณตาษ้น์/ณ์ฅ้สู มครงาน ๑๐๙ การเลอกอุปกรณโ์ สตทํศน์ การเตรียมอุปกรณโ์ สตทคุน ๑๐๙ การไข้อุปกรณโ์ สตทศน์ ๑๐๙ ขอควรพิจารณาการไข้อปุ กรณ์โสตทํศน์ ©©๏ ©©© ©®โ2] ๑®?) ©©โ0 ©©๗ ©©๙ ๏๏0^ ๑'๒ฟโ

บทนา วตถุประสงค์และขอบเขต' วตถุประสงค ระเบียบกองทพบกวา่ ด้วยการอบรมศีลธรรมวฒิ นธรรมทหาร พ.ศ. ๒๕'๐๑ ขอ ๖ ได้ กำหนดวิธีการไห้การอบรมของอนศุ าสนาจารย์ไว้ ๔ ประการดว้ ยกน คอ.— ๑ . การบรรยาย . ๒. การพบปะเบยี มเบียน ฅ. การแนะนำทางใจ ๙. การไห้การศกี บา เมี่อวิเคราะหร์ ะเบียบวิธีการอบรมทหาร ๔ ประการ ดไกล่าวน จะเหน์ ไดว้ ่างานสว่ น- ใหญข่ องอนศุ าสนาจารยอย่ทู การบรรยาย หนไสือเล่มนีมวื ตถปุ ระสงคทจี ะอธบิ ายหลํกการและการ บเ^ฎ'นบุ'^ตขนมลู ฐาน๑เนการบรรยายหร^อการต^ดตIอทางวาจา ช^ง0เบ^1นความรู้ขนพนฐานอนเหมาะฝ็ม ทอนุศาสนาจารยจะนำไปไซเ้ บนคู่มอื ผกฝนการบรรยายของตนไดเ้ บนอย่างดี เพราะอนศุ าสนาจารย์ สามารถไดป้ ระโยชนอย่างมาก จากสงทีคนอนี่ ๆ ได้ปฎบิ ติมาแล8ว ถาหากวา่ เขาทราบวา่ ทำไมจง ปฎบ่ตอย่างนน หนไสอเลม่ นเบนเทยี งเครอื งมือเท่านน เครอื งมอื นจะไมก่ ่อคณุ ค่าได ๆ เลย ถาหาก อนุศาสนาจารยไม่นาเอาหลไๅการทไี ดผ้ า่ นการวิจไแลวอยา่ งสมบูรณ์ไปผกฝนด้วยตนเองอกี ครืงหนง ฉะนน อนศุ าสนาจารยผู้จะเบนนกบรรยายทีดี มิไข่เบนเทยี งการมคื วามปรารถนาแรงกลา แต่จะ เบนได้โดยการเรืยน “การบรรยาย” เขาตองผกฝนบรรยายคนเดยี ว บรรยายจรงิ ไนทา่ มกลางขมุ ขน และในสถานการณท์ ีแตกต่างกน ยงผกฝนปรบปรงุ ตนเองมากเทยี งได สมรรถนะและความเขย่ี วชาญ เนการบรรยายยเอม^มม^ากขนเพยงนเ&น

* ๒ ขอบเขต หนไสือเล่มนกล่าวถงึ ขอบเขตทสำคญ่ ๕' ประกวร ของการบรรยายไว้อยา่ งสมบรู ณ ซึงไดแ้ ก.่ — ๑. หล่กโทร'ขนมูลฐาน'ของการบรรยาย ๒. การเตรียมการบรรยาย ฅ. การบรรยาย ๔. การปรว]้ ปรงุ ไหต้ รงเบาหมายหลกของเรองทกำลงบรรยาย ๕'. แบบพเศบของการบรรยาย.

บทท่ี ค การติดต่อทางวาจา ถ^าหากวIาปIราศจากการพูดแล2ว/^ 1ไชร^ ิ อารยธรรมของ^ เล^ก1เมสามารถเกด^ขก ^ิน'? -ไV ด้ ทงนเหราะ ว่าอารยธรรมขนกบการรว่ มมอื ระหวา่ งประชาชน และความรว่ มมอื นกึ เกิดจากความสิามารถชอง ประชาชนท่ีพูดณเั โดยตา่ งเขไใจวตถุประสิงคของกนและกนเบนอยา่ งดี ความจริงแลไการพงขา่ ว สารทางวาจามคื วามสำคญมากกว่าการอ่าน'ขา่ วสารท่เี ขียนเบนลายลกษณอกษร เพราะวา่ คนพดู ใน โลกนํ้ สว่ นใหญม่ กอา่ นหนไสอิ ไมอ่ อกและเขียนหนไ.ลอี ไม่ได้ ฉะนน เลยวนารดิ บลมู พลี ด์ จง เขียนไวว้ ่า “การเขียนมิใชภ่ าษา แต่เบนเพยี งวิธกี ารจาริกภาบาโดยใชเ้ ครืองหมายทเี่ หนได้ ” เบนทน่ี ่าสง่ เกตวา่ การตดตอ่ ทางวาจาน มกจะมีคนไมค่ อ่ ยเหนคณุ คา่ มากนก ทีง่ นึอาจ เกดิ จากชไเทจจริงทวี่ า่ การพขดดขุเหมือนเกดิ ขนแกเ่ ราตามธรรมชาติ ดจุจการเดินหรอื การหายใจ แต่ ความจรงิ แกวิ การพูดนนมใิ ชพ่ ฤติกรรมพีเกดิ ขนเองตามธรรมชาติ หากเบนพฤตกิ รรมทเี่ กดิ จาก การเรยี นรู้ มนุษยทุกตนมไื ดส้ าิ มารถพดู ภาษาชาติของตนได้โดยการถ่ายทอดทางพไเธกุ รรม เดกท่ี เกดิ จากบิดามารดาเบนชาวอไกฤษ จะพูดภาษาองกฤษไมไ่ ดถ้ าหากเด้กเจริญเติบโตในครอบครว่ ั ชาวอิตาลี เดก้ ไทยกเชน่ เดียวกน จะพูดภาษาไทยไม่ได้ ถาเดกเจรญิ เตบิ โตในครอบคร่วอเมรกิ า มีประชาชนเบนสว่ นมากมกํ เขาใจวา่ คำวา่ ภาษานึนหมายถงึ การเขียน ทง่ี น์ เึ พราะพวก เขานึกถึงในสมิ ย่ ทั ศ่ี กึ ษาอยใ่ นโรงเรียนวา่ เขาเรียนอ่านและเขียนภาษามารดาของเขา สิงท่ีช่วยให้ ความเขาใจอดิ เรืองภาษาอาจเกิดมาจาก การประดิษฐเ์ ครืองพีมพี หน'งสิอพมี พ์ วารสิาร และ หนไลอี ทุกประเภท ที่มีอยใ่ นสง่ คมทกุ วนนึ แต่โทรศพพี วิทยุ ภาพยนตร์ โทรทไ!น ไดช้ ่วย ให้ภาษาพูดดำรงอยใู่ นฐานะทถกู ตองของคำวา่ “ภาษา” ลํกษณะนองการติดตอค*วอวาจา การตดิ ต่อคอื การถ่ายทอดความหมายจากคนหน่ึงไป'ยไอกี คนหนึงหรอื หลายคนโดยการใช้ เครองหมาย ผู้ส่งบรรจุความหมายลงเบนเครีอ่ งหมาย และผูร้ ิบแปลเครืองหมายออกเบนความหมาย

เครืองหมายหรอื สิญญลว้)ษณ์แบบตา่ ง ๆ ถูกใช้เบนเครืองมือในการถา่ ยทอดความหมาย ตว่ อยา่ งเชน่ ขาวอาฟริกาใชเ้ สยี งกลอง ขาวอินเดยี นแดงในอเมริกาใช้ควนํ พอเมือระบบการใชเ้ ครืองหมาย ถกู ฝ็รางขนไดยกลไกระบบเษสิยงชองร1างกายมนษุ ย* วาจาหร*อ3เส^ยิ งท•เ'วปล1ง1ออกมา จ\"ง5เบ๘บ!แบบการ ^ตดตIอท*3เส๐าิ ค4ญ^ อนกระบวนการติดต่อการทางวาจานี จำเบนต่องฮาศยองคประกอบหลไามูลฐานบาง ประการ ด'งตอ่ ไปน— ๑ . บุคคล อย่างนอยต่องมืสิองคน กล่าวคอื สู้พูดและผู้พง ๒. บา่ วลาร คนพูดต่องมืขา่ วสาิ ร หรอื สงิ ใดสงิ หนงื ทเขาจำเบนตองกลา่ วก''บอก คนหน.ง ๓. ควาฬปรารถนาทึจะได้รบการตอบสนอง เมอม,ขา่ วสารแลว พูดตองมความ ส ู้ ปรารถนาทีจ่ ะไดร้ 'บการตอบสนิ องจากดขํ พ้ ่ืงข่าวสาิ รของคน ดจ่พ้เ ขุดอาจตอ่ ังการใหค้ นพงื่ รขขื อเทจจรงิ เขาใจเหตฒุ ในเรองใดเรืองหนง ๔. ความสนใจ ความสนิ ใจของสูพ้ งเบนสงิ สิาคญ ทสพู้ ดู ปรารถนาจะใหเ้ กดิ ขน แต่ ความสินใจจะเกิดขนได้กต่อเมือส้พู ูดกบคนพงมสี มิ พ'นธภาพระ’ดบเดียวล่น อย่างนอยกชวํ ฃณะทีสพู้ ูด กำลง่ พขดอยข, ๕. ความหรอื มทฟะ้ หง เครองหมายทจะสิงทางวาจานน ประการแรก ต่องเตรียม ไว้เพอื่ พงทางหขมากกว่าดฃทางตา ประการที่สอิ ง เครอื งหมายทางเสียงตอ่ งด'ง พอทตข ้พงจะพงได้ยิน ชิดเจน เขาใจความหมายได้งา่ ยไมต่ อ่ งเสยี เวลาคดื เรองทได้ยิน ๖. ความหมาย ภาษจทีใช้1นนสู้พูดกบสู้ทง่ี ต่องเขา่ ’ใจล่นโต้ สพู้ ูดต่องใช้ภาษาสาิ มญ่ ทสู้พงได้ยนิ แล่วเข่าใจทนที ไม่ใชภ้ าษาทพี งแล่วไม่เข่าใจความหมาย เข่น พดู ภาษาจนกบ ขาวอเมริกาทไ่ี ม่รภู้ าษาจนี ๗. ความจ'คเจน รากฐานการติดตอ่ ทางวาจา อยู่ท่ีความจดเจนของสพู้ ูดกบสพู้ ง ส้พู ดู ตองพดู ในระดบทสี พู้ ง่ื มืความจดเจนพอทจี ะร'บเอาไว้ได้ ไม่พดู สงิ ทีเกดิ ความชดิ เจนของเขา ๔. คณุ สมบํฅฃองเสยง คุณสมิ บ่ตของเสียง เข่น ความสิง—ตำ ฑ่วงทำนองการพูด ความชดเจนของส0ิ าเนยง ชว่ ยให้ข่าวสาิ รทีผ่ พู้ ดู สิงใหแ้ ก่ส้พู งมนี ้ําหนํกและเกดิ คุณคา่ แกส่ ู้พง

1* อนง เมอพจารณาอยา่ งผวิ เผินจะเหน็ ว่าการติดต่อทางวาจาเบนกระบวนการงา่ ย ๆ แต่ ความจรงิ แลิวในทางปฎิบไ)กล'บเบนกระบวนการยุ่งยากซบชอน เพราะในลกบณะทางส่งคมซ่องการ ตดิ ต่อทางวาจ^า มอีจุปสรรคหลายประการ ทขี ดขวางมิ ใหก้ ารตดิ ต่อทางวาจาบรรรจฝุ ลื อยา่ งสมบขุรณ อุปสรรคทีว่านอาจเกดิ จาก— ๓. บ9คลกิ ภาพ บๆคุ ลกิ ภฃาพขอขงผิพดม สว่ นประกอบอย่างสำคถ] ในการเบนึ อุปจสรรค ี ต่อผข่พิ ง เขน่ ผฃิพข ดแตง่ กายไม่สจุภาพ มหี นวดเครารกรจงุ ร'ง หรือผฃฃิพดเสริมสวยจนเกนิ ความพอดไี ป ฝ็งเหลา่ นอาจดงความสนใจของสูพ้ งออกไปจากวาจาของสูพ้ ูคได ๔. สจบภาท ภาวะทางกายภาพของผขพั ดขแลขะผพู้ งกเบนอจุปสรรคสำคญประการหนงของ การตดิ ตอ่ ดวยวาจา เชน่ การพขดกบคนเจบหนก คนหขหนวก ยอมยากกว่าพขดกบคนธรรมดา ๕. สงแวคลไ]ม หองหรือสถานทีซงคนพขลกนํ ถาหากมีลาษณะสงแวดลอมไมดี ย่อม ลดคณุ คา่ ของการตดิ ตอ่ ทางวาจาลงไปมาก เขน่ ห้องทรี อนจด มีตทบี หรอื มีแสงสว่างจาจนแสบ นยนิตา เสียงเอะอะใครมคราม สีงแวดลอิ มเลวเหลา่ นทำให้เกิดเบนอุปสรรคต่อการร'บขา่ วสาร และการสง่ ข่าวสารทางวาจา ๖. ความนงุ ,ชานทางอารมณ อารมณทุกชนิดไม่ว่าจะเบ่็นความรกิ ความเกลียด ความหวาดกล'ว ความกไวลใจ ครืนเมอเกดิ ขน และสามารถครอบงำจิตผขิพงแลว ยอ่ มเบนการ ยากท*1ผ*ข่.ิ พแ'งจะสงบระ^งบร) เจ ตงร)เจพแ-งข1าวสารจากยVขพิ ขด ' ๗. ความจดเจนฃองผฃัพง อาจเบนึ ไปไดท้ ีรขุปร่างลกิ บ่ ณะ นาเสยี งของผขฃิพ่ ดไ่ ปคลาย คลีงลิบคนอน ทขีต้พงเคยเกลียดข่ง0^มากอ่ น เพราะเคยเกลียดขง่ คนอนมากอ่ น พอผฃ่ ิพงมาไดพ้ งคนที คลายลิบคนทีตนเองเกลียดเขา่ เข่นน คข พู้ งกเลยพาลเกลยี ดผฃ่ิฬฃ่ด่ไปดวย

ส ๖ ๘. การขาดแนวความคิด อุปสรรคทสำคํญทสตุ ของการตดิ ต่อทางวาจากคอ การ ขาดแนวความติด กล่าวคอิ รพู้ ดู ไม่ไดพ้ ูดสิงที่จะก่อให้เกดิ แนวความคดิ ทดงามแกส่ พู้ งเลย พดู เรอย เบอหนา่ ยความสนใจพงกไมม่ ีอีกต่อไป แบบการติดตอ่ ประชาชนตดิ ต่อกนทางวาจาในทกุ สถานการณ์ ไมว่ า่ จะในระตบนานาชาติ ชาติ ทอง ถน หรอื สว่ นบจิคคล ก^ารพขดุ จงึ แบง่ ออกเบนการพขุดสว่ นตว่ กงส่วนต่ว และการพขุ่ดในชจมุิ นจมิ\"ชน การพขุดแบบส่วนตว่ และกงสว่ นตว่ เรีย^กวา่ “การพขุดระหว่างบรคุ คล*ต่อบุคคล” เพราะไม่มีบจคุิ คลอนี เขามาแทรก นอกจากคนทพดู กินเทา่ นนเอง หนกเป|6าเนท๑.างน**กยามรกห‘าบรดทสขดวสน!วตนว่ ต^วน^(?ม1าฬกข่๒^น6 ร!)6*1{๒8) สถานการณต์ า่ ง ๆI ของโลกยจุคบรจจบฺ ่นเนน การขท1ดแบบน^แบIงออกเ๘บ!น - V( ๑ ) การสนทนาแบบกนั เอา ชงเบนการพจุ]ดุ กนในระหว่างเพอนร่วมงาน มวล / มิตรสนทิ กลุ่มคนในครอบคร่ว (๒ ) การสมั ภาษณ์ หางร่าน องคกิ าร หน่วยงานของรฐนิยมใช้การสมภาษณ์ เบนเครืองมีอใ่ นการตรวจสอบวด่ แนวความคดิ ทา่ ทคี วามรฃิสู้ ึก แนวนา่ วของบจิคุ คล ก่อนทีจะรบ เขาท่างาน ๒. การหดู แบบกงสวนต•ว/ เ-ร6ฒ —่ ?ะ๒3๒ ร[)681{๒8\\) หมายถ^งการถกแถลงหร^อ การอภิปรายชองกลมุ่ ชนทีมากกวา่ ๒ คน ชนไป จะมีคนอนี ร่วมพงหรอไม่มกี ได้ อาจเบนทางการ และไมเ่ บนทางการ การพขดุ แบบกงส่วนตว่ น ปรากฎ\" ใ\"นขรปชองการพขดุ ตง่ ต่อไปน— ( ๑ ) การอภปิ ราย กลมุ่ ขนกลุม่ หนงึ รว่ มกน่ อภปิ ราย แสดงความคดิ เหน สู้อภปิ รายแตล่ ะคนจะแสดงความเหน้ ทีตนเหน็ ว่าเหมาะ สมทีสุด ในการดำเนนิ การกบเรืองทีนำมา อภิปรายกน คณะกรรมการ คณะกรรมการคิอกลุ่มชนทที่ ำการวิจยประมวลค่า ทำบอ่ ยุติ เรอื งใดเรอื งหนง ดามทไดร้ บมอบหมาย IV 11

๗ (๓ ) การประขม เบนการพดู ของกลุม่ ชน'ท่ีอภิปรายหารือก่นในเรืองใดเรืองหนง เทือหา'ขอแก้'บญ'หา'ที่ดที สุด เชน่ บญหากรรมกรวา่ งงาน บญหาการระงบขอพิพาทระหว่างชาติ บ่ญื หาแกค้ วามเสอมโทรมทางสํงคม (๔ ) โตว้ าท เบน่็ การพดู โต้แยง'ของสูพ้ ดู 'ซึงแบง่ ออกเบน ษ พวก ผพู้ ูดแตล่ ะผาย พยายามหาขอเทืจจรงิ มาหกํ ลางแนวติดของผายตรงกนขามใหผ้ ้พู งเขาใจว่า หล'กการของผํ่ายตรง กนขามนนผดิ พลาด สว่ นหล'กการของตนนนถขิ กตอง ถห้การโตว้ าทีกระทำกไ!ทำมกลางผขพ้ ง การ ตดสนิ วา่ ผ่ายใดแพ้ ผา่ ยใดชนะ อาจกระทำโดยมิผขิชขาดคนใดคนหนง หรอื โดยการลงคะแนนของ ผขพิ งเอง ๓. การหูดใน ชุมนมุ ชน (?ชผ 10 ร1)631{๒)?) การพดู ในชุมนุมชน คอี การติดต่อทาง วาจาทกระทำต่อหนาผพู้ งทกี ำลํงพ้งอย,ู่ !,เบนการพดู คนเดียวท่ามกลางชุมนมุ ชน การพดู แบบนมีองค ประกอบสำค'ญอยู่ ๖ ประการดวยกนํ ้ คอ— (๑) โอก'าสที'่ จะพูด (ไอ) ผขพิ ง (๐) การพูด (๔) สอสํญญลํกษณในการพดู เช่น เสืยงพดู ทำทาง และการแสดงออกทาง ใบหนา้ํ ของผขิพขด (๔) การตอบสืนองของผพู้ ง (๖) ผขิ’พฃ่ ดุ ก่อนทจะอภิปรายถงึ รายละเอยดเกยวก'บองคประกอบ ๖ ประการ ด'งกล่าว1ขางตนน จะ ขอกล่าวถงึ ประวํตลง่ เขปของการพดู ในชุมชนเสียกอ่ น นบวา่ เบนเวลาอนยาวนานมาแล่ว่ การพดู ในชมุ นุมชนไดแ้ สดงบทบาทอยา่ งสำคญยงใน อาณาจกรต่าง ๆ เช่น การศกึ ษา การปกครอง และศาสนา จากหลกฐานทางประว1ตศาสตรื พระสมมาสมพทุ ธเจาทรงประกาศพทุ ธศาสนาโดยการเทศนา มิ ใช่โดยการเขียน นบเบนเวลา นมานจนิุษกย๙วทา่ะงห๒ล๔าย๐๐ บแลว่ คำสอนของพระองคํย่ง้คงมีอิทธพิ ลเหนือดวงจติ และความประพถตขิ องมวล

๘ ในศตวรรษท ๖ กอ่ นคริสตดิ ก้ ราช เดกชายชาวเ1อเธนสตข้มอายฯปุ ^ ระมาณ^๑๖ บ่ จะพา กนเขาไปประชมุ ในสนามกีฬา พงต'้ ใหญ่อภิปรายถกแถลงเรอื งราวตา่ ง ๆ เดกเหลา่ นนจะเลยนแนบ กขาอรงพเอูดเธขนอสง๙คนโตตะง!ข^เนพ6เือ,นเตบ^1รยี ๕ม'®ต๐'วไกวIอ้เพนอี่ กคา.ศร.เบ่นปภราะรชกาจชขนอขงรอVฐงเรบ๘'ฐน) ขกอางรปปIรกะคชราอชงนระทบกุ อคบนประ^เชดายธเหปิ ไตตุน^ย ความเชยวชาญทางการพูดในชมุ ชน จงเบนสงิ จำเบนมากทสุด นํกปราชญชาวเอเธนสไดพ้ ํฒนา การศกึ ษาวิชาวาทศาสตรี ( ผ1610ฝ0 ) ขนเพือสอนประชาชน พอถงยคุ กลาง มหาวิทยาฒัต่าง ๆ ไดเ้ กิดขนในทวปี ยาโรป ระบบการบรรยาย (1.601ง!:อร) ไดเ้ กิดขน ตงแ่ ตย่จคุ กลางเบ่นตนมา หล่ก ใหญข่ องการศกึ ษาอย่ทครบู รรยายหรอพดู กบํ ศานุศิษย ในอาณาจกรการปกครอง การพูดในชมุ ชนแสดงบทบาทอย่างสำคญ่มาก ด้งจะเหนได้ จากประวต่ ของน'กพูดคนสำค,ญของโลกในยคุ ต่าง ๆ เชน่ เดมอสเธนส, ช่เช่โร, เอดม่นดเบอรก, ดานีล เว๊บสเตอร,ี อ'บราอม ลนิ คอลน์ บ่ ๔๖๕ กอ่ น ค.ศ. โคแรกซ (0 อ ^ ) เบ่นคนแรกทเี ขียนค่มีอว่าด้วยศึลปแหง่ วาทศาสตร์ ขนี แอนตฟิ อ่ น ( ^11111311011 ) เบ่นคนแรกทรี วมทฤษฎีและการปฏิบต่ ของวาทศาสตร์เข่าดว้ ยกน ไอโชเครติส ขยายขอบเขตวิชาวาทศาสตรอ์ อกเบ่นการศึกษาวฌํ นธรรมหรอื ปรํขญา เพลโต เสนอแนะให้นำเอาวชิ าวาทศาสตร์ไปใช้ในการถา่ ยทอดส'จธรรมและศีลธรรม เขายีนยนวา่ “การ พจุ]ดพต่ี คิ วรจะมีรากฬ!่านบนหลกํ ตรรกวทิ ยา และความฆรุ้โดยละเอยี ดของเรืองราวพก่ี ำลง่ อภปิ รายกน เวลาเด*1ยวก(นน' การพจ]ดควรจะปIร(บน6,เหผข้พงเขา เจ.■ เฯด*'ช.?ด! เจน” อริสตอเตลิ ( ^ฑ่ร101๒ ) นบว่าเบ่นนํกปราชญค่ นแรกทไดว้ างระบบวาทศาสตร์ไว้อย่าง ละเอียดสมบูรณ ชเิ ชโร (01061-0) นํกพูดชาวโรมนต้ยีงใหญไ่ ด้ยํ้าใหเ้ หน้ ถงความสำค'ญทางการ ศกึ ษาอย่างกวาง1ขวาง'ของตฃ้พฃด แบบการปรบปรจุงแต่งเรอื งทีจะ~พขด ความเชยวชาญในการพขด ควนิ - ตเิ ลยน (0ง11111113ฑ) ครดู นสำค'ญ'ขาวโรม่นในคริสตศตวรรษท®ได้สรืางสถานํนนํกพูดขน เขากลา่ ว ไวว้ า่ “นกพูดทีตติ อ่ งมคี วามรู้อํธยาศย่ ด้ ี และเขียวชาญในวาทศิลป” จากประว'ตศาสตรของระบอบประชาธปิ ไตยเราจะเหน้ ได้ว่า ในยคุ โบราณและยคุ กลาง ประชาขนไม่มีเสรีภาพในการพูด พอถึงยคุ ปนุ ขีพ (1*6031883006) หรือยคุ ปฏิรูป ( * * - )1 6 01 0 1 3 1 1 0 0 กลุ่มชนชนกลางต่างพากนเรืยกรอื งเสรภี าพในการพดู กนมากขีน เสรีภาพของอเมรกิ าฝกื พนก'บ

๙ เสรภาพ,ในการพูด ในบ่ ค.ศ. ©๗๗๖ ร'ฐธรรมนญู ร'ฐเ้ วอรยเิ นยี ริบรองเรอื งเสรีภาพในการพด ตอ่ มารฐตา่ ง ๆ ไดเ้ จริญรอยตาม รฐธรรมนูญของอเมริกาซงึ ม ผี ลพคั บใช้อย่างสม.บูรณในบ ่ ค.ศ . ๑๗๙๙ กได้ให้การคมุ ครองต่อเสรีภาพทางการพดู และเสรภี าพอนื คุไว้ ตงแต่อดตจนถงคริสต์ศตวรรษที ๒๐ มีนไชข้ ยี นเบ่นจำนวนมากทีเขยี นหนํงสีอเกยวก'บ วชิ าวาทศาสตร์,ขนมามากมาย แต่เมีอวิเคราะห้ความคดิ หลช้)มลู ของหนไสอแตล่ ะเลม่ โดยละเอยี ด แลว เราจะพบวา่ ได้กา่ ยทอดหลกี การมาจากนํกปราชญโบราณชองกรีกและโรมน่ ด'งนนตำราวิชา วาทศาสตรทกุ เล่มนบแต่ยคุ กรีก โรมน จนกงคริสต์ศตวรรษที ๒๐ จะยากงองต์ประกอบทีสำคิญ ชองวาทศาสตร ๒ ประการ คือ “ คนพูด ” และ “ คนพง ” พอมาถึงยุคบจ่ จบุ นนี นกปราชญทาง วาทศาสตรได้เพมองคประกอบในทางจติ วิทยา ส,งคม'วิทยา และวิทยาศาสตร์ เขามาอีก ๓ ประการ เบ่นทปี ระจกษข่ดแลวี วา่ การศกษาวชิ าวาทศาสตร์ จะทำให้เกดิ การเปลีย่ นแปลงตอ่ บคุ ลิกภาพของคนอย่างนา่ มทํศจรรย ดจุ เดยี วกบทีริานเสรมิ สวยสามารถเปลย่ี นแปลงรปู ทรงของ ส1ภุ าพสตรได้ภายในเวลาไม่กว่)ชว1โมง การศ’ กษาและการผกปนวิชาวาทศาสตร์อยา่ งจรงิ จํงขยอ่ มทำให้ ผศู้ กษาไดร้ บความแทีมเตมิ เพมความสามารถทีจะติดตอ่ กบคนอีเน เพมความเซอึ ม่นในต่วเองใหม้ ี มากขน อธยาศยํ และบคุ ลกิ ภาพยอ่ มเปล่ียนแปลงไปเพราะผลของความพากเพยี รพยายามและความ จ-ชดเจ-นทปม'',มาก^ขนของเขาเบ๘!นแรงส!ง ลก้ ษณะฃองการหูดห่ดี ี น่กพ11ดทีดจี ะตอ่ ้งเบน่ ขผท้ เี ชอวา่ ข่าวสารหรือเรอื งราวทีเขาจะบอกแกค่ นอืนนนมีด1ณุ คา่ อยา่ ง แท้จรงิ แกค่ นอน เขาเขาใจดวี ่าคนพงตอ่ งการทราบแนวความคดิ และความจดเจนชองเขา ข่าวสาร หรอดำพดู ทพี ูดเบน่ เรอื งทผี ู้พงไดย้ ินแลวเข่าใจทนที ข่อความทีพดู ออกมาตอ่ งเบ่นผลของการวิจํยแลว อย่างละเอยี ด บรรจแุ นวคดิ มคี ณุ คา่ ยงแกก่ ารพง อํธยาศยํ ข่อเสยี ง และบคุ ลิกภาพของคนพดู มีผลตอ่ ผฃพ้ ง ขนกพด!ทีดียอ่ มเขา่ ใจประชาชนทีพงเขาพขด่ เขา่ ใจความรฃิ้สกี ความปรารถนาของผขพง ยามพดู กบผ้พู ง ลลี าทพี ูดจะเบ่นลลี าการสนทนาปราศรยแบบธรรมดา เวลาพดู เขาจะปรบิ การพูดของ เขาใหส้ อดคลอี งกบปฏิกิรยิ าทผี พู้ งได้แสดงออกในเวลาพงเขาพูด เขาทราบว่าการพดู ในชุมนมุ ชน ท*4*ด31นะน ค*1อ การสนทนากบผพง ล^งแมจ^วIาตพงจะ-เVIม ๒พูดตอบก๘ตาม )) I

นใ!พดู ทดี ีมคื วามรไ]ผดิ ขอบทางสิไคมอยู่ในใจอย่างแนน่ แพน ความรไ)ผิด'ชอบ,นมืรากฐาน อย่กู บความเหนอกเห็นใจ การให้ความนบถอื คนอืน การเคารพสิทธแิ ละสวิ ไดภิ าพของสพู้ ง เขา ปรารถนาจะช่วยแก้บญหากํบทงให้ความร่วมมือในการชว่ ยเสิรมิ สิรางชีวติ คนอืนให้พฌนามากยงขน นไพดู ทดี ีย่อมเบนคนเทยงตรงทางจริยธรรมและมดื วามกลาหาญเบนแกนชีวิต เขาจะพูดสงิ ทเี ขาคิด เห็นว่าเบนประโยขน่แกป่ ระขาขนทวํ ไป แม้วา่ การพขดของเขาจะเสิยงต่ออนตรายทีจะเกิดกไต่วเขา กตามที เขากยอ่ มจะพูดแต่สงิ ทถี ูกตองเบนสจิ จธรรมเสิมอไป. แ วาจาจารงเบ๘!นวาจาVเIม'ตาย 5)

ยตฬ ๒ การปรบปรุงทกษะการติดต่อ กล่าวฒัว่าในบจจบุ นนีมนุษย์ดำรงชีวติ อยใู่ นหลายยคุ กลา่ วคอื ยุคอวกาศ ยคุ ปรมาณู ยุคไทพํ า ยคุ เคม และยคุ วิจยํ นอกจากยุคต่าง ๆ ต่งักลา่ วมานเรายงดำรงชีวติ อยใู่ นยคุ หน่ึงชีงมี ความสำค'ญตอ่ ความกาวหนาของส'งคั มมนุษย์มากทสี ุด ยุคนเรียกวา่ “ ยุคแหง่ ความปรบปรงุ ” ความปรบปรงุ เบนสว่ นแห่งโครงสรางอนชํบชอี นของชีวิตมนษุ ย์ในบจจบุ นนี ความปรารถนาเพอ ความปรบปรงุ กอ่ ให้เกิดความกาวหนามากหลายในเภล่ชกรรม คลอกรรม ความเคลอื นไหวทาง การศ“5กษาล5^ู ,เหญ*กด การขยายการศ-3กษาชงนุ^สงู ก๘ด' .(^เบ1นแนวหนาบIงข^ เหเหนถงความป1รารถนาเพ^อ ความปร่บปั รุงทงสนิ ทกุ วินาททผี ่านไป ไม่วา่ จะในดำนใด เราจะพบเห็นว่าพลงงานทกุ ชนิด ไม่ว่าจะทางกายภาพ ทางจิตภาพ และอื่น ๆ ลว่ นมุง่ ตรงไปย'งเบาหมายเดียวกนทงสน เบาหมาย นคอ การปรบปรุง ทำไมตองปรบปรงุ การพูด ถาจะถามวา่ ทำไมคนจงึ ตองเขาใจถึงความสำค'ญของการพูดและพยายามปรบ่ ปรงุ การ ติดต่อทางวาจาของเขาดํวย ? เหตุผลสำหรบบญหาน่ึกคอื เพ่ีอบรรลุถึงคณุ ค่าของชวี ติ ต ประการ ๑. คณุ คา่ ทางเสรษฐกิจ (200001๐10 \\^1๐6 0{ ร!)060]า) คนทุกคนตองทำงาน เทือเลยงชพี ตนเฮงและให้ความอปุ การะแกบ่ คุ คลที'อยใู่ นความปกครองของเขา เช่น บิดามารดา ภรรยา และบุตรธิดา เขาตองพูดใหด้ จี งึ จะได้งานทำหรือตำแหน่ง การพูดมใิ ช่วา่ จะมีความสำดํญ เฉพาะบคุ คลพ่ีตองทำหนา่ ทตี ดิ ตอ่ กบประชาชน เชน่ เจาหน่าพป่ี ระชาสมพนธ พนไงานตอนรบ ฯลฯ เวทงา่กน1ารนธรุ แกะตจ่มเดหวค!าามจสา.ำงคแๆ'รญงกงา'บนดส\"นงู ทสุกดุ:อแาก1ชคพี น, ^ผยูงิ 1มในค1ววางมกสาไรามธ!ุรารก!ถิจกดเนํว,กย!แา1รลพ1ว่ ดู 2ดสำดํญมากทีสดฺ ผลจงึ ปรากฎว่า ความกาวหนา่ ในงานอาชีพขนอยกู่ บํ ความสามารถในการพดู คำพูดของคนแสดงให้เห็น เจตนาทเี ขาจะทำงาน ทำใหค้ นอืนทราบแนวความคิดของเขา คำพดู ของเขาทำใหค้ นอืนเหน็ ความ

สามารถของเขาในวงการธรุ กิจ คนท่ีดำรงตำแหนง่ เบนส้บู รหิ ารหไหน่างาน สู้จ'ดการ สอู้ านวยการ คนเหลา่ นแื ต่ละวนตอํ งพดู กบคนงาน เมือเขาพูดดี เขากิกลายเบนบุคคลสู้มคพุ ค่าชององคการนน่ ่ ๆ การพขํ ดดไี .นความหมายน หมายถงการพขดเทอี่ ให้ไดร้ บความร่วมมอื จากคนงาน การแสวงหาเงินเลียงชพี และการตไงการความ่กไวหนไในอาชีพมใิ ช่เบนเหตผุ ลเดยี วที ทำใหค้ นตไงปรบปรงุ การพดู ชองเขา เหตุผลทีสำคญกว่านอื กี ประการหนงกคือ การบรรลุ \" การ เบนสูน้ ำ ” ในสไคมทุกส่งคมตงแตโ่ บราณกาลจนถงบจจุบนน สง่ คมไมส่ ามารถดำรงอยู่ได้โดย ปราศจากสนู้ ำ เพราะส้นู ำคอื บคุ คลสมู้ อื ิทธพิ ลเหนอื จิตใจ ความร้สู ก และการกระทำของคนที ตามเข่าทกุ คน ๒. คุณค่าทางสง่ คม (500181 V81116 0{ ร?66011) คราว'หนงื มหาเศรษ!'ของอเมริกา คนหนงื ได้รบเชญิ ไปให้สม่ ภาษณท์ างสถานีโทรทศนของมหานครนว่ ยอรคี สูส้ มภาษณถามเขาร่า “ ท่านปรารถนาอะไรมากทสี ุดในโลกนื ? ” “ ขไพเจไปรารถนาจะเบนคนสนทนาทดี ีทสี ดุ ” มหาเศรษฐตี อบ มนๆุษยเรามไิ ดด้ ำร1งชวี ติ อยขิุ่ลำพงโดดเดียว เราอยขิ'ุ ท่ามกลาง^ชะมุ 'น, ุมชน การอยขรุ่ ว่ มกบ คนคืนเขาตองการเขาตบํ คนอนี ได้และสรไง'ชวี ิต1ใหต้ าสุกสด,ใส ดไนนคนทีฉลาดในการสนทนา จงึ เบนคนมีเพอนมาก ความสามารถทีจะติดตอ่ กบคนอนิ นเบนรากฐานของส'มพนธภาพอนลกี ชง แหง่ ความรก การสมรส และชวี ติ ครอบครไ การพดู มใิ ชเ่ ทียงการสง่ ข่าวสารให้แก่คนอนิ แต่ยไสราิ งความหมายแหง่ ความเบนกลุม่ กอนชองมนษุ ยอ์ กดไย ชีวิตชองเราตอ่ งการมติ รภาพทพี ดภาษาเขาใจกนและกนดี เพราะฉะนน จงึ มกปรากฎๆ เสมอ ๆ วา่ คนแปลกหนไน^ นบางค^รงเราจะขรู้สกวา่ เหมือนเบนเพือนรกเก่าแก่ของเรา มานาน ที่งนืกเพราะคนแปลกหนไกบ่ เรานนื พขตก'นีเช่าใจกนดี ความสามารถในการพดู นอกจากจะชว่ ยให้คนปรบตไเองใหเ้ ช่ากํบ ขอบเขตแหง่ สง่ คม ชองคนไดแ้ ลไ ยไชว่ ยใหเ้ ขาปรบตไเขไกบ่ สไคมทีเขาดำรงชีวิตอีกดไย การติดตอ่ ทางวาจาทีดี ชว่ ยใหบ้ ๆคุ คลแสดงกํมมนตภา่ พในภารกิจชรมุ จน์ มุ ชนและรบใชช้ ริุมนๆมุ ชน โดยการพดขก*บคนอิน พฃดกร,บกิ ลม่ 'ชนตา่ ง ๆI เขาสามารถบนมติมหาชนสรา่ งสวส่ ดภี าพให้แกช่ าติ ในระบอบประชาธิปไตย การควบตมุ สไคมเกิดจากประชาชนแสดงสิทธขิ องตนในระบบการพูดเสรี ถไบุคคลปลอ่ ยปละละเลย

^ .-II.| | 6ฒ ■ พ เ ^ ^ ■ เ ^ - - - * - * - * - - - - * * * * ฯ * * ' - เ ^ น ุ* ' 1 * * 1 \" \" ' - ' ~ - ' I 9 * 8 - ' * 8 ? -' - '' เ ฒ ^ ^ ; ^ 1- '* ' ๑๓ ทจี ะพฒนาความสามารถในการติดตอ่ เขากจะสญู เสยี ส่งคม!ป เมอื การตดิ ต่อก'บประขาขนและ การควบคมุ ส่งคมตกอยใู่ นอำนาจ'ของคนกลมุ่ นอย ระบอบประขาธิปไตยกตกอยู่ในอํนตรายเพราะ ฉะนนเหตุยลสำค'ญทสี ดุ สำหรบการปรบปรุงการพดู ก็,คือ การพดู ทีดีช่วยให้คนรกบาสถาบนํ ประขา- ธปิ ไตย ชงชว่ ยใหเ้ ขาเบนเสรขี นเอาไวใ้ หค้ งอยตู่ ลอด!ป เพราะว่า ‘‘การพูดนนมีพสง่ มากกวา่ อำนาจ ๓. คุณค่าสวนบคุ คล ( ?6ฑ301๗ Vฝ116 0{ ร!)660๖ ) ในส่งคมนนสมาขิกสง่ คม ทุกคนมหนาท ษ ประการ คือ ทำตนให้กลายเบนอ'นหนงอนเดียวกบสง่ คั มและรกบาเอกลกบณ์ ของตนเอาไว้ ขนบธรรมเนยม วฒ่ นธรรมของส่งคมเบนพลงํ ในการสรางกลุ่มขนในสงํ คมให้เบน เอกรปู การพูดเบนสอแห่งความเคลอื นไหวเทฐี ความมนคงและเพฮื ความเบนเอกส่กบณ หนาท ประการแรกของการพูดคอการติดตอ่ ประการทํสอง คอื การสรางเอกลกบณของตนเองให้ปรากฎ ถาบุคคลตองการปร'บปรุงการพดู ของเขา เขาจำตอ่ งเพมิ เตมิ ความรูใ้ หม้ าก เพราะการพดู ใน ขจมุ านุมขนเบนการพฃ ดเพอใหฃ้รู้พงเชา่ ใจแจ่มแจงในเรอื งใดเรืองหนงึ หากขาดความรอบรข ยลของ การพขดทา มี ่งุ หว่งไวจ้ ะไม่เกิด ยลทีบๆคุ คลได้จากการศึกบาและวิฒนธรรม มสี ว่ นเสรมี สรืางขวิตให้ กาวหนา ประสบความยาสกุ ชวติ พบความสดใส บฌหาหลํกมชลบองการนชด่ นกพดู ตไองเยขิญกบบญี่ หา ๓ ประการข่ึงเกยี วชอ่ งกบการพูดของเขา บญหาทวา่ น คอื การพูด ตนเองและเพง ช่อแก้บญหา ๓ ประการน อยูท่ ํการศกบาและความรอบร้ใู นเรอื งราว เหลIา\\นนปน้.. เอง ข การนูด (XII© 81)66011) การเตรียมการพดู แตล่ ะครงมีงานทตี อ่ ํงทำหลายอย่าง เชน่ ๑. แนวความคดิ หล'กัทจี ะให้แก่รขู้พง การวางลำต่บแนวความคิด การเลอื กสรรคำพข ดทจะใชใ้ นการหฃด การเลือกเรองทจี ะพขดให้ฝ0็ ดดลองกบกลา,ู มชนและสถาน^การณ ความยากในเรอื งดไกล่าวนจะบรรเทา ลง ๓ หากยขพ้ข่ ่ดทราเบจว'ตถํ1ประสงคข์ อ1งการหขดแต่ล^ะครงวา่ ฑIIดเพอใหข้ 1ุมนจมขนไดอ้ ะไร เมือทราบ วต่ ลุประสงคแ์ ลว ขนตอ่ ไปจะเลือกเรืองไดส้ ะดวกขน กล่าวโดยสรุปแลว วํตถุประสงคของการพูด ในชมุ นมุ ขนนนอยทู่ ี เแ โ แ , I ‘\"เ .^ ,.' ^ .,, ห !8 แ 88๒ทู่ & ก ่)โ แ ^ ■ { เ^ เ^ เ^ ^ ^ ^

©๔ (๑ ) เพอใหข้ ่าวสารแกผ่ ้พู า (ไโอ 1ฑ{01-111) ดวงจติ 'ของมนุ'ษย์มีความปรารถนา แรงกลาท่ีจะทราบข่าวสารตา่ ง ๆ วา่ อะไรกำล่งเั กดิ ขนในสไคมทีเ่ ขาดำรงชวิตอยู่ ในชาติและโลก ตอิ งทราบธรรมชาตขิ องสงตา่ ง ๆ ตอิ งการเรียนรกู มมนํ ติ ความสำเรีจ1ของบคุ คลท่ีมี,ชีวติ อยแู่ ละ ลว่ งลบไปแลร การพขุดเทือให้ขา่ วสารแกผ่ ข้พง์คือการบรรยายอธิบายกไ)การสาธติ (๒ ) เพอให้เกิดความรา่ เรา (7๐ เบนแบบการพดู เพอื่ สร่างความ รา่ เรงิ สนุกสนานแก่ส้พู ง โอกาสสำหร่บการพูดแบบนิ เซน่ ใบพิธีสมรส การเลยงส่งสรรค์ เรือง ทีพ่ ูดอาจเบนเรอี งตลก เลา่ นิทาน เลา่ ความจํดเจน หรือการอ่านบทกวีอมตะ (๓ ) เทือชกั จาู (70 0011711106) เหตุฒฃองการพูดแบบนอิ ยทู่ ส่ี พู้ ดู ติองการให้ ผฃ่ พ้ งเกิดความเซอ่ เกดิ ทรรศนคตแิ ลว่ ปฎ•\"ิบ่ตตาม คำพขุดของผข้พดุ ฃ ฃการ่พุดแบบนมเื บาหมายหลไ) ฅ ประการ ก. เพอสรางสรทธา เบาหมายการพูดเพือ่ สร่างศรทธา คือ การเปล1ยนแปลง ความคิดเหนของส้พู ง หรอื ให้ส้พู งยดมนในแนวความคดิ เตมิ มากยงขน สพู้ ดู พยายามนำหลกฐาน มาพิสข จนให้ผข ้พงเหน้ เทือให้เกดิ ความเซอ่ มนํ ข. เพอ]ๆห9'ปIฎ^ บต เ๘บ]นการพูดเพอจ^งู \\ เจร\\เหผแู้พ' ง^ลงมอ1ป'าฎ0บ^ตอ' 6ยา1งเดอย1างหน^ ง เพ่อื คณุ ค่าทางการเมอื ง สไคม เศรษฐกิจ หรอื คณุ คา่ สว่ นบคุ คล ค. เพอไห้เกิดความตรงฅรา คำพูดท่จี ะก่อให้เกิดความตรงี ตราในดวงจิต ของผขพ้ ง ตอ่ งเบนคำพข ดุ ทเราความฃเสกและอารมณผฃษ้ ง ข ให่ ผ้ ้พงประทไ]ใจในคๆฌค่าทางศีลธรรม คุณค่าทางสนุ ทรยิ ศาสตรี หรือคณุ คา่ ทางสงคม ๒. คนพฃุด (7116 ร1)631ะ61:) งานของคนพขดุ เรมิ ตนจากการเตรยมการพฃดุ จในิ ชจุม้นมชน โดยทไไปแลว่ ความผดิ หวไของคนชดุ เกิดจากต่วเขาหรือบุคลิกภาพของเขาเอง (๑ ) บุคลกิ ภาพขอาคมพูด คำวา่ ?61-ธ01131แ7 มาจากภาษาลาดินว่า?6180113 หมายความถงึ หนำกากท่นี กแสดงสวมเทือแสดงบทบาททเี่ ขาแสดง บุคลกิ ภาพของแตล่ ะคนเกิดมา จากฒรวมแหง่ พลไทางพไเธกุ รรมและสงแวดลอ่ มทางกายภาพตา่ ง ๆ เซน่ บดิ ามารดาทตี่ งิ บานเรอื น

0 (* เพอนเลน่ ญาตพิ นอง ถาศก,ยๆจากหลกการติดต่อทางวาจาแล่วบุคลกิ ภาพกคอื ผลรวมแพ่งพฤติกรรม ของคนพดู ทมตอ่ คนพง, ความเชอ่ มีนในกว่ เอง (๒ ) บญหาเกยวกบ!)*'คตกิ กาท เพราะเหตทุ ๆีว่าคนพดขกบคนพงไม่เคยสนทิ - กส๔ค^นอมด1นุทเา่คทยคกวนามมารกสู้ ่อกนทค1สนไมพ่พูดนแธสภดางพอรอะกหใวนา่ เงวทลงาสพอดู งผากยจารงตไ1มีนม่ เวี ทดไนกนาบรทญ่ี ่ฌหนาทาคคี วนาพมฃดเข่จทือุกุ่ มคีนนใตนอตงป'วรเอะงสบ ก. ทรรศนคต พฤตกิ รรมของคนพูดซึ่งก่วเขาแสดงออกในเวลาพูดนน ส่วน ใหญถ่ กู กำหนดโดยท่าทความรู้สก อนทา่ ทคี วามรสู้ กหรือทรรศนคตินิ!เบนสว่ นหนงึ ของก่มมนี ตภาพ ทเบนึ ท่กษะอย่างใดอยา่ งหนง เหตนุ คนพดู จงจำเบนตไงสรืางทรรศนคตเิ ทยี วกบ่ กว่ เอง ขอความ ทเขาพูด และผู้พงของเขา ก. ๑ ความถอ่ มตน คนพดู ไมค่ วรจะติดถงึ ต่วเ้ องในขณะพดู เพราะคน ทคี ิดเกยวกบตไมากจนเกินไปแลว่ จะกลายเบนการยกก่ว คนพดู ทีเชยวชาญเพง่ เล็งเฉพาะเรืองทเี ขา ตองพดู และพยายามให้คนพงเขาใจเรืองทีเขาพูดอยา่ งละเอยี ดแจ่มแจง ก. ๒ ความเกมอภาค การใหค้ วามนบถึอแก่คนพง ยอ่ มสามารถชว่ ย คนพขดให้สรไงสมพนธ์ภาพขกบคนพงได้ การพดทีกดคนพงหรอื ทีทำให้ฝขพื งรฃสกว่าตนกลายเบนคน ตาก่อย ควรงดเดดขาด เวลาเดยี วกนคนพดู กไม่กอ่ งเกดิ ปมดอยวา่ ตนตากว่าคนพง ก. ๓ ความอวงิ ใอ คนพูดทเี ชอ่ มีนในตว่ เองยอ่ มรู้ดีตลอดเวลาว่าเขากำลง่ ชุดอะไร ทงเช่อมนในสงทีเขาชุดดไย เพราะวา่ ความจริงจไและความกลไหาญแพง่ ความเชอ่ มนี ของคนพดู ยอ่ มเบนทรรศนคติชกขวนให้เกดิ ความเชอ่ ไดอ้ ยา่ งแรงกลา่ ก. ๔ ความมใอกว้าง ความเบนคนมีใจกวไงของคนพขดช่วยรูใ้ หค้ นพขด สรไงความตดิ ขนในใจของคนพงได้งา่ ยกว่าการแสดงออกชงความเบนคนใจแคบ ไมย่ อมพงความติด เห๘น' ของคนอ4น ก. ๕ ความแมนเนยม คนพลู ก่มุ่งหวงํ ใหค้ นพงเขาใจและยอมรบทรรศนะ ของเขา การสรไงปฏิกริ ยิ าอนเบนปฏิบีก่ ษใหเ้ กิดขนในใจผูพ้ งกเทา่ ก่บว่าคนพดู พา่ ยแพค้ นพงอย่าง ยบเยน ทรรศนคตแิ ละคำพดู ของคนพดู ตองปรบใหก้ ลมกลนื กบความรูส้ กของคนพง

. ๑๖ ก. ๖ รสไ}ยIIด การขอบ การไม่ชอบ เบนปฏกิ ริ ิยาของมนษุ ยใ์ นยามท่ี มนุษย์จดเจนก'บสงใดสิงหนง การตดสนิ เกดิ จากรสนิ ยมของแต่ละคน รสนิ ยิ มของคนแสดิ ง้ ออกให ปรากฎ่ในนิสิย เคร่ีองใช้สอิ ย เฮอฟา้ มติ ร บาน และวาจา รสนิ ยิ มของคนพูดแสดิ งออกในลกษณะ ของการเลอื กเร่อี งพูด ต5วอย่าง อทุ าหรณ์ทย่ี กมา!ทังในเวลาพดู ภาษาทีใชพ้ ดู ก. ๗ ความแอม่ ‘เสร่าเรงิ เมีอคนพูดมที รรศนคตริ ่าเรงิ แจม่ ใสิ บรรยากาศ ในหมู่คนพงยอ่ มพลอยสินุกสนิ านรา่ เริงตามไปตวิ ย ในเวลาเดียวกนจิตใจคนพงจะเกดิ ความสิบายใจ ฉะนนการพดู ในชมุ นุมขนไมว่ า่ จะในบจจปุ นหรอื กาลอนาคต เรอื งความสขิ ในเวลาพงควรยดลือ เบนหลไ]สำตญิ ก. ๘ ความหวงั เวลาของคนพงท่ีเสิยไปในการพงนนเบนสงิ มีคุณคา่ อยา่ ง ยง จิงมภี าษติ กล่าวกนว่า “เวลาเบนเงนิ เบนทอง” เม่ีอคนพงยอมสิละเวลามาพงทงี่ น้ํ คนพูดจงึ ตไ)งใหค้ นพงไดส้ งิ ที่มีคุณคา่ ต่อชวี ติ เขากลบไปตวิ ย คนพูดจงึ ติองพดู ใหค้ นพงเกดิ ความหริงในขรี ิต อนาคตของเขา ก. ๕ ความกระตอรอิ วมั บางครงปรากฎวา่ คนพดู เลือกเรอื งท่ีจะพดู ได้ เหมาะสิมดมี าก วางลำด'บขนตอนการพูดไวอ้ ย่างดเี ลศิ ภาษาทีพ่ ูดกเหมาะเจาะแก่คนพงไม่มี ปฏิกริ ยิ าตอบสินองเรืองทีเ่ ขาพูดเลย การทเี บนเขน่ นิ!เพราะคนพดู พูดดวยห่าทีและห่วงทำนองที่ไม่ ปลุกอารมณค์ นพง'ให้ตนตวิ ่ เขาพดู เรยี บมากเกนิ ไป ลนพูดตไ)งพูดดไยห่วงทำนองอนมชี ีวิตชวี า คนพงจงึ จะต่ีนติว การตนื เวท (รเส26 ? ฝ2๒) ตามปกติในธรรมดาชีวติ ประจำวน คนพดู จะไมเ่ กิด 01 ความตนิ เตนิ แต่พอคนพขดจำตอิ งพฃล่ กบกลจุ่ม่ ขนแตวิ เขามไ]จะเกดิ ความตนเตนทางกายภาพ อารมณ์ และจติ ภาพ จิตของคนพดู กำลไครนุ่ คิดอยา่ งหนไ)วา่ เขากำลไจะพดู ในชมุ ขนชงเขาไม่คุน เคยกบํ คนพงเลย การทีจะตอิ งพูดในชมุ นุมขนกลายเบนทม่ี าแหง่ ความตีน่ เติน ความเครง่ เครียด ในทางกายภาพนน หไใจคนพดู จะเดนแรง ริมที่ปากจะแหง้ ผาก หายใจถม่ี าก เสยิ งสินเครอื ความตนเวทีอาจเกิดจากสาิ เหตหุ ลายประการดวยกน เข่น กล'วพดู 'โมด่ ี กลไการวิจารณ์ ความกลวํ เบนของธรรมดาสาิ มญ่ สาิ หร'บมนษุ ย์ เพราะว่าความกลไเบนอุปกรณก์ ารบองกน ต',วเองของมนษุ ย์ ไมม่ ีนไ]พูดคนใดเลยทจี ะไม่!,สิกตน่ี เวที แตค่ วามตนเวทนี เบนความกลํวท่คี นพูด

0๗ สามารถควบคมุ ได้ ๓ เขาได้ฅกฝนหลกการควบคมุ หลกการบองกนความอ่นื เวทีมิใหเ้ กิดขนนึน มหลกการทนกพูดผเู้ ขยวขาญสว่ นมากปฎบตํ ด้น '๒ วิธดี ว้ ยดน้ คอื (ต ) การหายใจแรง ๆ กอ่ นหนาการปรากฎกายตอ่ ชมุ นุมขนคนพูดควรทำๆ,จๆ,ห้ สงบ สดู ลมหายๆจแรง ๆ หลายครง แล4วคอ่ ยก่อนลมหายๆจทสี ดู เขาไปออกมาขา คุ (๒ ) เผชิญหน้าคนพงดว้ ยความเขอมนั่ ในฅนเอง ^ คนพขดควรนกึ วา่ การพขดใน ขมุ นนุ ขนมใิ ช่เบนเหตกุ ารณคอขาดบาดฅายอย่างใดเลย ความจริงกเหมิอนกบการสนทนากบคน ทเราคนฺ เคยกนมาก่อนแลวนนเอง คนพดจะมีดวามเข่อี มวว้ ในตนเองได้ ก้ตอ่ เมอี เขาไดต้ ระเตรยี ม การพูดมาแล*ว'๔เบ!นอย-างด^ ๔. การทฒนาความเชอม๋นํ ในตนเอง ( ^6๒[)1ฑ6ฑเ 0{ ร — 00ฑผ61106 ) คนทกุ คนตอ่ งพํฒนาความเขือมํนๆนตนเองให้เกดิ ขนๆนทกุ กรณี มีๆขเ่ ทียงๆนดา้ นการพดู ๆนชุมนมุ ขนเท่านน ความแขงแกร่งของตนเองยอ่ มเบนอาวุธอว้วสำคไ^ทจี ะพนต่าอปุ สรรคชวี ติ ทุกประเภทที ถาโถมเขามาๆนวิถีชวี ิตของแต่ละคน ขอปฎบิ ตํ ต่อไปนึเบนแนวทางการพ*ฒนาความเขอม,นๆนตนเอง เบนการแก้ไขบ๋ญึ หาการติดต่อและการปรบปรงุ ดว้ ๆห้เขาดบ้ คนอืน่ ไดเ้ บนอย่างด (ต ) ความส1ุขในการสนทนา ทจุก่ คนควรจำไว้ว่าการพขดมใิ ช”่เบนสงจำเบนใน ฃวติ ประจำวนอยา่ งเดยี ว แตย่ ง1บนความสขุ อีกดวี ย การสนทนากบเพอนสนทิ กดี การอภิปราย ทีน่าสนใจกบคนอืนกดี เบนผลให้เกดิ ความทรงจำอนนา่ สนใจแกช่ วี ติ อยา่ งยง คนชา่ งชดุ ดบ้ คนอน่ื จะมคี นเบนมติ รมากกวา่ คนทีพูดไม่เบน (๒ ) ความปรารถนาทจะตดตอ่ ไมค่ วรกลไในการทีจะพูดกบคนอ่ืน เพราะ การพดู นอกจากจะให้ความสขุ แก่คนพดู แลว ยไทำให้วิตถุประสงค ของเราบรรลุผลสำเรจอกดว้ ย พดู คราวแรกอาจมีผลนอ่ ย แต่เม่ีอพูดบอ่ ย ๆ เขาฝลื สำเร์จย่อมมมี ากขนตามลำด้บ (๓ ) การวเคราะหฅ์ นเอง โดยทว่ ไปคนเราตดิ ว่าตนเองไมม่ ีความสามารถ ท'3น เพราะเขาไมท่ ราบความสามารถของเขาดพี อ จรีงอยคู่ นทุกคนไมส่ ามารถบรรลคุ วามสำเรจได้เหมอน ดน้ แตค่ นเรายอ่ มสามารถเรียนรู,ความลมเหลวของตนเองแลวแก้ไข เพราะสงทีสามารถแกไ้ ขได้ ย่อมจะแกไ้ ขได้เสมอไป จงจดจำไว้วา่ “ไมม่ ีสง1ใดสำเรจเท่ากบุ ความสำVรจ” แทนทจะมามวํ น่ง

เสียใจกโประวตํ ความลมเหลวหรือความทกุ ขใ์ นอดตี คนเราควรจะเตรยมการเพอสรางความสำเรจ และความจดํ เจนทดี ีในอนาคต (๔ ) ความรอบรเ้ รองการพูดในชุมนมขน คนชดุ จะเกดิ ความเขือมโในตนเอง ไดด้ ีทีสๆด ถาหากเขารอบรขิ้ทๆกุ สงเก่ียวกโการพขุดในข1มุ นๆมขน ความรขู้จะชว่ ยใช้เขาสราื งหลโปรขิ ญา หรือแนวคดิ อนมประสทิ ธิภาพในการ.พดู (' ๕') การจำแนวคดิ ในการพข่ดทจกุ ครงื ์ คนพขุดตโงจำสำดโขนตอนแนวความคดิ ทเขาจะพขดไดอ้ ย่างแม่นยำ การทจะจำได้โดยละเอยดดนพุดขตวง้ จำลำด้บขนตอน แนวดวามคิดทเขา จะพขดได้อยา่ งแมน่ ยำ การทจะจำได้โดยละเอยดคนพขุดตโงวางระเบียบและโครงเรอื งทเขาตโงพขุด ในรขปทีสขมบรุ ณๆ ท์ สี ดุ อย'า๑ง ๒อย1างหน^('ง๖เ')ข1นกาก*รงวว'ลเค6.เรจาะหหว์อาาดรรมะณแว์ ง ทเุ-กครนธท1กุฯลคๆนใอนาบรมางณคเรหงิ ลตากนอเยมขิ ใ่อนเ*ก1อเดำ^นขน!าจแเขล/อวงอ0าจรามตI/อณง์ ทำลายใหห้ มดไป หากปล่อยทํ้งไว้จะทำลายสมรรถนะของบๆุคคลลงไปจนหมดสนิ อารมณทีบโทอน คนพขดอกี ประการหนง คอื ความรขส้ กี วา่ ตน่ เองดโยกว่าคนอืน เมือเกิดอารมณ์เชน่ นขนความองอาจ กลำหาญ57ในการทขดจะหมดไป คนพฃ่ ดุ ตองเขาใจไว้ว่า “ชวี ติ คือการต,อ!ขอนไมม่ วี นํ สนิ สจ่ ด,, ฉะน'น เขาตโงปรโปรๆงตโโดยการวเิ คราะหส์ ถานการณ์ทจ่กุ อยา่ งในรขปทีเบนจรงิ เขาจะวเิ คราะห์ตนเองได้ ดี ๓ ศกึ ษาวิขาจติ วทิ ยาบรสิ ุทธในเรองทเกย่ี วกโอารมณ์และการปรโปรุงตวํ ทางสงิ คม ๕. คนทง (าโบอ ^๗!61106) เบาหมายของการพข่ดุ คอื การตอบสนองจากคนพง คนพฃุ่ด จงตโงเรียนรเู้ รองราวเก่ยี วกโคนพงโดยกดิ ว้ น เขาจิงจะทำใหค้ นพงเกิดปฏิกริ ยิ าสนองตอบการพูด ของเขา การพงเบนหลโสำดญ้ ทสี ดแห่งการเรียนรขู้ องมนุษย จากเกิดจนถงตาย คนอบรมนสิ ิยั เรยนร้ภู าษา ศกษาวขิ าการทกุ สาขา ปฏิบ้ตสิ มพนธ์ภาพทางสิงคม สงเหลา่ นเกดิ จากกระบวนการ พงทงสนิ ในการเลือกตงประธานาธิบดีสหรฐอเมริกาบ พ.ศ. ๑๙๕'๒ นกวิจโการเลือกตงได้พบช่อ เทจจริงวา่ คนลงคะแนนเสียงเพราะพงขา่ วการเลอื กตงทางวทิ ยจ ๕๒ เปอรเขนต ลงคะแนนเพราะ ขา่ วทางหนงสีอพุมห์ ๒๗ เปอรเี ขุนห์ คนทกุ คนนนพงมากกวา่ พูด ชุดมากกว่าอา่ น

อนึง่ ‘ การพง” กบ “การไดย้ นิ ” นน คนมโแข^ใจลดิ วา่ ทงสองประการน่เึ หมอี นกน ความจรงิ แลวแตกตา่ งก'นมาก เพราะวา่ การพงมีจดุ สนใจ แนวทางและกมมนตภาพ สว่ นการ ไดย้ ินคอื กระบวนการการไดร้ บเสียง ความรู้ทีเกดิ แก่อนิ ทรยี มิ นุษย ในยาม\"ได้ยินเสียง- คอื “การร,ู วา่ เบนเสยี ง” สว่ นการได้ยนิ คือ การพง๋ึ ท่มี ีวต่ ถปุ ระสงค์ เบนความสนใจอย่างใกล้ชิดกบเร่อี ง ทพง ทำความพยายามเพอื ใหไ้ ด้รบเสียง ความร้ทู ี่เกิด'ในเวลา'ไดย้ ินคอื การเขาใจความหมายของ เสยี งนน ๆ เพทนาการ1ของการ'ได้ยนิ มลี ก่ ษณะเดยี วกบการเห้น กลา่ วคือสีงทํเราไดย้ นิ หรอเหน้ ถกู กำหนดโดยวธิ ีทีเราดูมน กล่าวโดยเฉพาะในการติดต่อทางวาจานน่ึ การพง คอื “กระบวนการ ของการรบขา่ วสาร” เพราะฉะนน การพงจงเบนสญชาติแห่งองคป์ ระกอบทางทรรศนะของข่าวสาร ทีพูดทางวาจา ๑. กระบวนการการษง การรบขา่ วสารมีขนตอนอยู่ ๖ ประการ คอื (ต ) การไดย้ น ชุรบํ คล่นี เสียงและปลกุ ใหเ้ กิดเพทนาการเสียงในสมอง (๒ ) สมาธ คนพงมคี วามสนใจจดจ่อก'บเสยี งทเขา!ด้ยิน (๓ ) ความเขา้ ใจ เสียงตไ)งอย่ใู นภาบาทคี นพงมคี วามจดเจนมาก่อน (๔ ) การแปลความหมาย การแปลความหมาย •คนพงแปลความหมายข่าวสาร ที่ถ่ายทอดทางเสียง (๕ ) การเข้าใจ หลงจากพงเสยี งทสี ง่ ขา่ วสารมาแลว คนเกิดความเขไใจ (๖ ) ปฏกิ ิรยิ า พอคนพงเขาใจเขาจะแสดงปฏิกริ ยิ าใหป้ รากฎทางกายภาพ เข่น กลา่ วคำรบหรอปฏิเสธ พยกหนา ส่นคืรบะ ปรบมอี ยม ๒. องคประกอบฃองการนงท่ีดี การพงทีมปี ระสทิ ธภิ าพนึ่น ขนอยู่กบองค์ประกอบ ต่อโปน (ต ) ความทรอั ม คนพงทดี ีนึน่ จะตระเตรียมการพงของเขาโดยการเลอื กทีน,งชง เขาสามารถไดย้ นิ เสียงพขดอยา่ งชิดเจน และแลเห้นตว่ คั นพขด เขา.จะปลอ่ ยอารมณ์ไปตามขบวนการ แห่งความคดิ ทเคลือนไปตามแนวคดิ ของคนพดู ความสนใจของเขาจดจอ่ กํบคนพดู ตลอดเวลา (๒ ) การรับ คนพงตองการได้ยนิ เรอื งทคี นพูดติองพดู ความสนใจของเขาขอน ชว่ ยให้คนพงกลายเบนคนใจกว่าง เขาจะไมว่ จิ ารณค์ นพดฃจนกวฃา่ จะพด่จบคนพงได้ร'บแนวคิดท1กุ ประการจากคนพด''

(๓ ) การประมาณคณค่า คนพงท่ดี ีจะไม่ประมาณคุณคา่ แนวคดของคนพดไน เร่ีองที่เ'ขา1พูด แตป่ ระมาณคณุ ค่าสิงทไี่ ด้ ยินวา่ 'จะม,ีประโยชนแ์ กต่ นเองมากห้อยเพียง1ใด การ ประมาณคณุ คา่ เรืองทีพ่ งนีเบนองคประกอบท่สี ำคไ!!ของทกบ'ะการที่ง ๓ . อปุ สรรคการท4 ง อปุ Iสิรรคการแพ/Vงเ !เด' เคยกลเ า^วอธ^บายVนบI /างแล^ ว6เ.นบทท4หน4งอุป1สิรรค ตเอ^ใ,ป,น^๘เบ!นก0าแพงก^นม*เห*คนพ^งสนิ *1เจ^ค®าพูดของคนพูด (๑ ) ความเฉยเมย การที่คนพงไมแ่ สิดงอาการกระตอื รอื รนพจะพงสาเหตอุ าจสิบ เน่อี งจากความเกียจคราน ความอ่อนเพลีย ความไมส่ ินไจไนหไข่อ ไมช่ อบใจทีถ่ ูกบไคไมาไห้พง (๒ ) สนใจกับสงอน คนพงบางคนลมื คนชุดเพราะเขากำลไสินใจกบสิงอนื อยูไ่ น ขณะนน เขน่ เพลดิ เพลินกบการชมความงามของสภิ าพสิตรีสู้นง่ อยตู่ รงหนาพูดวิจารณคนชุดแทนที่ จะห้งสิงบพง มเี สียงไอไนหอ้ งประชมุ ดไรบกวน ฯลฯ (๓ ) ครนคำนิงเรองสว่ นตัว คนพงจะมใี จเบนสมิ าธทิ ีง่ คนชดุ ไม่ได้เบนอนขาด ถาหากว่าจติ ไจของเขาเกิดความวติ กกไวลเรืองส่วนตว่ เรืองใดเรืองหนงอยู่ หรอกำลไตกอยไู่ น อารมณ์ท,่ีนท3งต์ น คนพงจะสินไจคำชดุ เฉพาะที่เกียวกบเรืองของตนเท่านน (๔ ) ความตัานทาน คนที่งบางคนไมช่ อบพงแนวความคดิ ทคี นชุดกำลไเสนิ ออ่ ยู่ ที่งนํ้เพราะเขา'ไม่เห้นด,วิอกบเรืองเข่นน1นทีทุกคนพูด พรรคนคตเิ ขน่ นบองกนคนทง่ี ไม่ให้เกดิ ความ สินไจเรอื งทก่ี ำลไพงอยู่ (๕ ) ความขัดแยง้ ทางคล่ ธรรม คนบางคนไม่สิามารถพงเรอื งราวทีข่ดแยงกบ ครทํ ธาของตน เขายดิ มนอย่างแน่นแพนแลไวา่ อะไรถูกํ อะไรผดิ เขาจงิ ปฎิเสิธท่จี ะรบข่าวสิารท ข่ดแยงกํบศร,ทธาดงเดมิ ของเขา เขาจะตอ่ สู้ทุกประการเพอพทิ ก่ ษ์•ความเชอื มนทเขาเหนว่าถกู ตอง (๖ ) การขาดการผกฝน บุคคลท่ีไมไ่ ดร้ บํ การฝกื ฝน่ เพอทจ่ี ะพงคนอนชดุ เขาอาจ ขาดความสิามารถไนการวิเคราะหค้ ำชุดชองคนชุด คนประเภทนไมไ่ ด้รบการอบรมในการวิเคราะห์ เรอื งราวต่าง ๆ ออกเบนสว่ นเหตุและสว่ นฝืลเขาจิงขาดวฒุ บิ ญญาไนการเข่าไจความส่มพนธระหว่าง แนวความคิดกบเหตุการณ์

๙. การปรษปรุงความส์ามารถในการพง การพงเบนสงท ฝก็ สน่ อบรม,ให้มีทกษะ ได้ดจุ เดยวกบท'กษะในการตดิ ตอ่ อนี ๆ คนที่มีระดบสติบญ่ั ญาสูง ๆ บางคนมีความสามารถในการพง เลวกม ในเวลาเดยวกนคนสมู้ รี ะดบสตบิ ญญาปานกลางมคี วามเบนอ'จฉรยิ ะในการพง คนจะกลาย เบนนกพงทดได้นนเขาต่องผกฝ่นอบรมจนเกดิ ความเชยี วชาญ การปฎิบํติในการพงช่วยขยาย ขอบเขตความรอบรขู้ องคนให้กวางไพศาล ในเวลาเดียวกนสมรรถนะทางภาษาย่อมมมี ากขน นอก จากนเขาจะเกดิ ความเหนอกเห์นใจคนอนี กบทงสามารถปรบปรงุ ต่วให้เขากบคนอนื ได้เบนอยา่ งดี หลกการปรบปรงุ ในการตดิ ตอ่ ทางวาจา เทอื พ''ฌนาตนเองใหม้ ีสมรรถนะสงู ส่งในการติดต่อทากวาจา คนส้ปู รารถนาจะเบนน'กชุด ในชุมนุมชนทดี จงควรปรบปรุงตนเองโดยอาศ'ยหล'กการต่อไปน ๑. การวิเคราะห์ตนเอง (ร6!๐ !!!? ® แ?) คนพูดควรจะ'1!กฝน่ วิเคราะหต์ วเองโดย การศกษาวา่ บคุ ลกิ ภาพอะไรของตนพีมีส่วนช่วยใหก้ ารพูดบรรลุผลสำเรจ็ อะไรเบนอปุ สรรคข'ดขวาง ในการพขดู เขาควรขอความเห็นแบบวจิ ารณจ์ าก' เทือนสนิทสมาชกในครอบคร'ว หรอื คนอีนใดท่ีเ1ขา จะขอคำวจิ ารณไ์ ด้ ขอวิจารณ์ของคนเหล่านจะชว่ ยให้เขาปรบปรงุ การพูดและนิสยํ การพงของเขา ได้เบนอย่างดี นอกจากนเขาควรทราบดวยวา่ อะไรคอื จุดเดน่ อะไรคอื จุดออ่ นหรือขอบกพร่องของเขา เขาควรมี,บ’นทิ กึ สว่ นต'ว ทำบ'นทิ ึกรายละเอียดผลการพดู แตล่ ะครงื เทือเปรยี บเทียบและแกไ้ ขชอ่ บกพร่อง 10. การวจิ ารณ (011110181๐) การพดู โดยปราศจากการประมาณคุณค่าทางการวิจารณ ไมส่ ามารถสรา้ งนิสํยทดใดเ้ ลย คนจะปรบ้ ปรงุ ต'วไดม้ ากนร)้ ยเพียงใดขนอยู่ก'บขอเทจจริงพวี า่ เขา วิเคราะหแ์ ละติดสนตนเองอยา่ งยตุ ธิ รรมโดยไรอ้ คติหรอื ไม่ ( * ) คนอนวจารฌ์ ขอวิจารณ์ทุกประการของคนพงนน ควรแกก่ ารพจิ ารณา อยา่ งยง เพราะนนคือกระจกเงาท่ีชว่ ยใหค้ นพูดส่องดตู 'วเองทแี่ ท้จรงิ ชอ่ วิจารณ์ท่ดี ีนนจะบอกทงขอดี และขอเสียของคนพขดู ค”นพฃ่ ูดจงติองเช่าใจคำวิจารณ์ให้ถขกตอ่ ง อยา่ โกรธเคอื งเมีอ^ไดย้ นิ เขาติ และ อยา่ ดีใจจนเหลิงเมีอไดพ้ งคำชม จงแก้ไขช่อบกพรอ่ งและปรบปรุงจดุ เด่นใหด้ ีมากขนไปอกี

๒10 (ไ*) วจารฌต์ ัวเอง คนพดู !มค่ วรอาศยแต่การวจิ ารณ์ของคนอืนอย่างเดียว เขา ควรหดํ วิจารณต์ วเอง การวิจารณต์ นเองนนออา่ เบนการวจิ ารณ์พเี ขาใ)5างตว่ เขาต่องเขาโจตลอด เวลาว่าการวิจารณต์ ่วเองกเทือแก้ไขขือ่ บกพรอ่ ง การวจิ ารณตนเองนีจะมค่าต่อคนพดกต่อเมอื เขาใจ หลกการพข่ดในชจิมุ น1มุ ขนและประยจฺกตห, ลกเหลา่ นนในการพขด ฃ (' ๓ ) คารศิกนางานา]องนักพVุดคเดน่ การพขดของพพั ุดขพมี ขี ่อื เสยี งทกุ ายคุ จขืง่ ได้ พีมพีออกเผยแพรน่ นนบว่าเบนแหล่งให้ความรู้เทคนคิ อนลาค่าของการพดู คนพดู ควรสกี บาตว่ อยา่ งการ พูดของนกพูดดเี ดน่ ทกุ คน พยายามสีกบาการจดระเบียบแนวความคิด การพฒํ นาแนวความคดิ แลว่ นำเอาหล'กการทดเี หล่านนม^พํฒนาใหเ้ บนหลํกการของตนเอง ๓. การผีกฝน (?ะ301106) เพียงแตก่ ารสกี บาหลกํ การ เทคนคิ การพูด การอ่าน และการพงคนอีน่ พดู ไม่อาจสร่างความสามารถทางการพูดใหเ้ กิดขืน่ ได้แบบเดยี วกบคนพีปรารถนา จะเบนนกมวย เขาจะเบนนกมวยไมไ่ ด้เลยเพยี งแต่เขาอา่ นตำรามวย คนพดู ตอ่ งเตรียมการพูดสีเกฝน การพดู ตามหลกการทส่ี ีกบามาแลไ ความร้ไู มอ่ าจทดแทนการส!ี กฝนได้ เขาควรสีเกปนพดู จรีง ๆ ลำพไคนเดยี ว ดุจเดียวกบนิกร5องและนิกแสดงสีเกขอมการรอ่ งเพลงและการแสดงก่อนถงึ เวลาจริง ในสถานการณต์ ดิ ตอ่ ทีแ่ ท้จริงนน การพดู ยอ่ มเบนความจดเจนทดีที่สดุ คนพดู ควรพยายามแสวงหา โอกาสพี'จะพขุ่ดอยขิเ่ สมอ การส!ี กฝนทุกครงควรกระทำตว่ ยความม,นใจวา่ จะปรบี ปรุงสมรรถนะการพดู ใหด้ ขี น่ื การ ปรีบปรุงเกิดจากการท่ีคนพูดปฎบิ ตํ อย่างดีทีส่ ุดในการพูดของเขาแตล่ ะคร่ง ควรประมาณค่าดูเมอื ฝาน การส!ี กฝนไปนานพอควร ผลทแี่ ท้จรงิ ของการปรบปรุงการพุดนนเบนกระบวนการอนยาวนาน จน กว่าทํกบะทางการพูดจะเกิดขนแกต่ ว่ เขาจนกลายเบนนสิ ่ย้

บททึ ๓ การวิเคราะหค์ นพง การพขดในชจุมนมุ ชิ นจะา เกีดป' ระสิทธิผลสรไงความประทบใจให้แก่คนพีง การพขดนึ'นตอง เหมาะสมกบคนพง1ในเรองการเลือกห*ว^า!อเรอ^ง การวางระเบยี บแนวความตดิ และศิลปการพขดตาม หลกวาทศาสตร์ คนพขดยงทราบขอเทจจริงเกยวกบคนพงมากเพยี งใด เขาย่อมจะสามารถปร'บปรๆงุ การพดู ให้เหมาะสมกบคนพงมากเพยี งนน นกปราชญท์ างวาทศาสต/ในยุคโบราณ เช่น แอริสตอเตล ใช้หลกการวิเคราะห์คนพงเบนหลกการสร่างความสำเร็จ แม้นกวาทศาสต/ยุคบจี จุบนนทกุ คนต่างก์ ยอมรบหลกการวเคราะหคนพงนทงสน ๙ การจะวเิ คราะห์คนพงใหถ้ ขกตอ่ ้งค-รบถ1วนทจ่ กแง่ทๆกุ ๆมมุ อย่างสมบข รณนบว่าเบนของยากยิง อย่างไรกตามคนพดควรพยายามทำ เพราะเหตวา่ การพดโดยปราศจากการวิเคราะห์คนพงเสยี กอ่ น ^ฃ รํ ฃ่ ^ นน ดุจเดยี วกบนายแพท/ใหย้ าแก่คนไขโ้ ดยไม่ได้ วิเคราะหโ์ รค นายแพท/ผู้นนจะประสบความ สำเรจไดอ้ ย่างไร ? โอกาสสำเรจ็ ของคนพขดทไมว่ เิ คราะห์คนพงยอ่ มอยฃิ ใ่ นสกิ ษณะติดลบ วต่ ฤๆประสงคหลกของการวเิ คราะห์คนพงี อยขท่ ตี องการหาขอเทจจริงวา่ คนพดกบ่ คนพงมพน ฐานความจ,ดเจน อุดมคติ ความหวง่ ความซอส'ต/ มากนอยเพียงใด บนพนดินแหง่ ความจดเจน นึเอง คนพูดจะหวา่ นพขี และเกบเกียวแนวความติดใหม่ ส'จจะสำนกึ ใหม่ ๆ จากคนพีง อํตลํกษผฃองฟนิ พง คนพข ดจำเบนตองทราบขอมขุลต่าง ๆเ เกยี วก'บคนพงี ^เพอี เตรยี มการพขดให้มผี ลเบนพสิง ประทบใจแก่คนพง ลกษณะ'จำเพาะ (อต9กบี ณ) ของคนพงนนไดแ้ ก่ ๑. ลก่ ษณะทางกายภาพ (?11581081 01181:80161181108) คือล'กีษณะของคนพีงในเรีอง (๑ ) อายุ ความต่องการ ความสนใจ ทรรศนคติ และบญหาของมนุบยนน แตกต่างกนในเมีอ่ คนมรี ะดบอายตุ ่างกน่ เดกชายและหญ์งงา่ ยต่อการรบสิงพีเสนอแนะ เพราะวา

-•--- '---\"--1.-'' '๒๔ ดวงจิตยงไม่เกดิ ทรรศนคติทแ่ี นบแนน่ เบนพนฐานของอธยาศ'ย เร่ีอง1ใด ๆ กตามท่จี งู ไจไหเ้ ดกมองเหน ความรุ่งโรจน ความสวยงาม ความมํนคงไนชวี ติ เดกจะตรงึ ตรากบเรืองเหล่าน ส่วนคนวยบรรลนุ ิติภาวะแลว จะสนไจเกียวกํบเรอ่ื งความตอิ งการในบจจบุ น สวสํ ตภิ าพ ไนอนาคตของครอบคร่ว ฐานะทางสง่ คม แนวรุ่งโรจนทางการศึกบาของบตุ รธดิ า จติ ไจของ คนบรรลนุ ิตภิ าวะแลวมก่ ไม่เชอี งา่ ยต่อขอเสนอแนะทไี ด้พงเพียงครงแรก คนบรรลนุ ติ ภิ าวะติองการ ข^อพสูจนเพ4่อความแน161เจ เนทณุ ร^องท\"เฯเดยน คนบรรลุน''รต1ภาวะสน61เจมาก61เนเร^องเศรบฐก๔*จ? ส' ม*พ'น*ธ่ ภาพทางส่งคม \\ สำหรบคนว5ยชราเพราะเหตุทเี่ คยมา่ นชวี ติ มาอย่างโขกโชน จึงถือวา่ มีความจดเจนมาก ควงจิตแนบแน่นกบนิส่ย ความสนใจ แนวคิดเติม จึงยากแกก่ ารชกจงู ไปไนแนวคดิ ใหม่ ๆ อย่างไร กดคี นชรามํกยึดถือเอาสวสิ ตภิ าพของชวี ิตเบนหลํกสำคญํ เรอ่ื งพดู อนิ เหมาะสมกบํ คนชรากคิอเรอ่ื ง เท่ยี วก่บการกระทำความดี เบาหมายชวี ติ ทดี ี ความคิดอินมคี ณุ คา่ ต่อตนเอง ครอบครว่ และเพ่ีอน รว่ มสง่ คม (๒) เทศ เพศหญิงสนใจมากในเร่ืองครอบครว่ โรงเรียน ศาสนา เหตกุ ารณ ทางส่งคมในดานวิฒนธรรม และทางสง่ คม สว่ นเพศชายสนใจมากไนเรองธรุ กิจ การเมอี ง เศรบฐกิจ กีฬา และเรื่องที่กอ่ ไหเ้ กิดอารมณ6ตาง ๆ ๒. ลกษ(แะทางจฅวทยา (คธ701101081031 0บ81'3016118110ร ) ไดแกคุณสมบตของ คนพงตงิ ต่อไปนิ ( ต) ระดับสตบญญา คนพงแต่ละคนมคี วามสามารถทางสมองสมรรถนะที่จะ ทเอ&งนา่น^ปจราะณโย]ลชกนาจร^าวก0จ^สย1ปงทรเ่ีารกยี ฎนวIรานู้เกนดไจมา่เกทา่ เทยี มกน บางคนมมี าก บางคนมไี นระติบตาิ สดุ สาเหตุ

๑.® ระดับการศกบา การศกึ ษาศอี เครอง1ชความสามารถ'ของคนขนมลู ฐาน คนพงผมู้ ระดไ]การศกบาสิงย่อมเขใใจคุณคา่ ทางวุฒิบญญาและทางศลี ธรรมได้ง่าย แค่ตอบสินองขา ในเรองเกยวก1'บา]อเสนอทางอารมณ ส่วนคนพงทระด'บการศีกบาตำ เขาใจเรอื งราวชวี ติ ประจำวน งา่ ยกว่าเรอ่ื งอนื ใดทง่ สิน ๑.๒ ทมฐามความดัดเจม นายแพทย ทนายความ ครู ยอ่ มมีพนฐานความ จดเจนแตกตา่ งไปจากคนเดินตลาด ข่างเทคนคิ สถิ าปนกิ ฯลฯ ล''กบณะอาชีพของคนแคล่ ะคนมํก จะม6เลต'อความสินใจและแนวความคิดของเขาดวยเสมิ อไป 'กล่าวศอี คนมอี าชพี อยา่ งใด ม'กสินใจ เรอื งราวอน๓ ยวเนองกบอาชพี อย่างนนของเขา ๑.® ฐามะทางวัต1บธรรม คนพด^ังมรสนิ ยม การกลอ่ มเกลาทางวฒํ ินธรรม ไม่เทา่ เทยมกน ๑.๔ ลถามภาทการลมรส คนพงทส่ี มิ รสิแลวมกํ สนิ ใจดานครอบคร'วและ ชมุ นมุ ขน คน'โสดิ น5กศกบา สติ รืทใี ข้วขิ าชีพ สินใจในธรุ กิจ โอกาสกิ ใวหนใทางวิขาชีพ งานอดเิ รก การปร'บปรงุ ส่วนบุคคล สิมพํนธภ็ าพทางสิงคม ๑.๔ สถามภาททางสงั คม ความสินใจและทรรศนคตขิ องคนพงสิะท่อนใหเ้ หน จากการทเขาเข่าร่วมเบนสมิ าขกิ หรือชมุ นุมกจิ กรรมอยา่ งใดอย่างหนง เขน่ เบนสิมาขิกพุทธสมิ าคม สโิ มสิร พรรคการเมอง สมิ าคมอาชพี องคการวิขาชีพ คนพขุดควรจะทราบและให้ความนบถ© ความเขอขนมลู ฐานของแค่ละกล่มทคนพงเบนสมิ าขิก ๑.*) ความรใู้ 'พร,องท่ที 1ุ ด คนพดู ควรประมาณการวา่ คนพงเคยทราบเรองทเข'า กำลง่ พั ขดอขย่มากนํอยเพยี งใด ถาคนพงไม่เคยทราบมากอ่ น คนพขด่ ตอํ งให้รายละเอยดทุก1ขนตอน อย่างสิมบขรณ หากเคยท๑.ร๗าบบคาวงาพมอร'คูเ'กว■ยรวฝก*บก*ตพข,วดคแมตพใ่ ดูนดถาVนาคลนารพะดู หเบ๘ร!นอื หคนล,แกปกIลากรเหทน่าVนาส10นาหรVบคนพไง .ควร จะมกี ารแนะนำคนพงใหท้ ราบเร่ืองราวเก่ยี วก'บคนพดู เสียก่อนหากคนพูดมชี ีอเสยี งเบนทรูจ้ กกน^ ■เม*จ'•า๘เบ!น ตVองอยเแ่ ^ลวแนะน0าก๔แ๒^

ประเภทดฬพง จากตลการวิจยข่อมูลเทยี่ วกบคนพงปรากฎวา่ คนท่นี น่ นแบ่งออกเขน ๕ ประเภท คอ ๑. คนหงท่ีเบนมิตร คนพงประเภทนี คือ คนพงฅเู้ ห้นดไยก’บสาระแนวความคดิ ^ ของคนพดู จึงไมเ่ บนการยากทจี่ ะใหค้ นพงประเภทนเขอลือและริบเอาแนวตดิ นน ๆ ไปปฎิบต่ ๒. คนพงทไี่ ม่สนใจ ถาคนพงไมส่ นใจ คนพขดตอ่ งเราคนพงให้เกดิ ความสนใจใน เรอ่ี งทเขาพูด หไขไนร่ ี่องมีความสำค’ญมากเพราะลกู พ’นก’บความตอ่ งการ ความหวง่ อดุ มคตขิ อง คนพง เพอฝรึ ไงคำพข่ดใหเ้ กดิ พล’งและมขี ่วิตขีวา คนพฃ่ ดติองยกตวํ อย่างใหแ้ จ่มแจง พขดดไยความ *ก1เนระ^ว'คถ'•ือทเ^รถอูกรตนVอง คนพงประเภทไมส่ นใจนให้เขอ่ ได้ง่าย ๆ คนพูดตองพยายามใหค้ นพงแสดงปฏิกริ ิย^ คนหงท่ี ไม่มิความรเิ รึม๋ คนพงขนดิ นไมร่ -ิอ1 ะไรเทีย่ วก’บเร่ีองท่ีคนพขดพช่ ดเลย แตก่ ■ ตงใจพงดี คนพขดสอนคนพงโดยการเสนอข่อฃมลข่าวสารในรฃุปทีน่าสนใจแจม่ แจง ถขกตอ่ ง ๔. คนหงท่ีเบนกลาง คนพงขอ่ วา่ เบนกลางเพราะหไใจเขาเบดริบขา่ วสารของคนพขด เขาด5องการขา่ วสารและความสวา่ งในเรี่องราวต่าง ๆ เขาคาดหมายวา่ คนพดู จะให้ขอเทจจรงิ และ ความตดิ เห้นอ’นมีเหตจผุ ล คนพขดจงึ ควรอธิบายแนวคดิ และข*กขจงให้คนพงยอมรบิ ๕. คนหงทีเ่ บนึ สตํ รมิ คนพงแบบนตด่ คานความเขอและขอสร'เุปของคนพขด เพราะ ฉะนนคนพขดต่องมีขอ่ ขมลและขอเทจจริงทตา่ นไม่ได้ การพขดต่องเรมต่นต่วยเรืองทีโต้แยงไม่ได้ แลว ดำเนินเรองตอ่ เนองก’นไปตามหลกตรรกวิทยา จนกระทํงคนพงลืมแนวคดิ โต้แยงของเขา ลกํ ษณะฃอง!'โอกาสการพูค การพดู นนต่องเหมาะสมก’บโอกาส หรือเหมาะก’บผูพ้ งขง่ ประขมุ กน ณ โอกาสนน ๆ ในการวิเคราะหไรืองโอกาสมีข่อควรสนใจดงิ ตอ่ ไปน ๑. วตํ ลุประสงค์บองการชมุ นม การขมุ นมุ แต่ละคร^มีวตถุประสงค์เบนมูลฐาน คนพูดต่องทราบวต่ ถปู ระสงคข์ องการขมุ นมุ โดยละเอยี ด เพอคนหาจุดสนใจของคนพงในขมุ นมุ นนๆ

๒. ราอการชุมน*ุ ! คน,พดู ต,อง,ทราบควยวา่ การ'ชมุ นมุ มีรายการอะไรใภง้ เพ0เตรียม การพดู ของเขาให้จบในเวลาอนสมควร ส์กานทช่ี ุมนุม คนพดู ต^งทราบว่าหห้)งประขมุ ใหญเ่ กินไปหรีอเลกเกินไปสำหรน ๓. ปเร^มาณคนพ4ง/๑เนชมุ นมุ ทกุ คนต^อง^เดยนเสา)ยงพดู ของคนพดู ช*ด/เจน นอกจากนมคนพดู ตIอ/ งทราบดIรํ/ ย์ ว' าเขาย1 นพูดบนเวท. ฯหรร อบ' น* พน. ห*อ1 ง แสงVไ, ฟมเพ*1ยงพอหรอเปล, าI ระยะห'างระหว' ่างเขากVบคนพ1ง, ห่างมากนอ่ ยเพียงใด ๔. บนบประIนณี กอ่ นไปปรากฎต่วในชุมนุมทุกแห่ง คนพดู ต,องทราบใหแ้ นช่ ต เก่ยี วกบขนบประเพณีของชุมนุมวา่ เขาควรปฎิปตอิ ยา่ งไร งดไมป่ ฎปิ ตอะไร แต่งกายแบบไหน กใคนพดู ปฎปิ ติกลมกลนื ก่บชุมนมุ ได้อย่างแนบเนยี น เทา่ กบว่าเขาทำความสำเรีจไปแลวครีงหนงี . / ^ - ^ - ^ . . . .■ ■ ■ ■ ..^ .เ^ ................. -

บทท่็ ๔ การเลอื กเรื่อง คจุณค่าของการพขดขนอยขก่ บการเลือกเรืองและการจดลำดบขน^ตอนเนอหาเรอื งที่จะพขด ภารกจิ ของลนพูดมิใช่มีเพียงสริ างแนวความคิด แต่ยไตอ่ งสริ ่างขอมูลทมอี ยู่และแนวความคดิ ให้ ฅูพ้ งเขไใจไดง้ ่ายกบมีคณุ คา่ ต่อคนพี่ง แนวคดิ ของคนพดู ปรากฎออกมาในรปู ของการคดํ เลอกเรือง การวางลำดบเนอเรอง อนงึ การวางลำดไ]เนอเรองนเกียวของกบ่ การวิเคราะห้และการสงเคราะห้ กลา่ วโดยเฉพาะการสงิ เคราะหน้ นได้แก่ การกำหนดขอบเขตเนอเรอง การกำหนดเบาหมาย การ เลอกชอ การรวบรวมเรืองราวหรอื ขไเท้จจริงเพอ่ี สนิ บสนุนว่ตถุประสงคพีเศษของเรืองให้เดน่ ขด การจดระเบยี บขอเทจจริงในห้วขอใหญ่กบ่ ห'วขอยอ่ ย และก•ไรทำโครงเรอื งทจะพูด การเลอื กเรอื ง เนอื งจากวา่ การพดู แต่ละครงื อย่พู กี ารเรง่ เร่าให้คนพงตอบสนิ องการพูด โดยเกดิ แนว ความคิดตาม^ทคนพขลไดพ้ ขล การใล7ือกเร^ อื งพจี ะ1พขลจงึ มคี วามสำคญ่ ยง เพราะเรืองพีเลือกดนี นทำให้ วตถ1ป^ ร0ะสงคของการพข ล'บร)รฒุล เรองทเลอื กเพีอ่ จะพข่ ดตอ่ งเหมาะสิมก่บคนพขด คนพ่ีง โอกาส และ เวลาทกำหนดไว้ วIาคนพดเอง๑ข.าดคเหวามมาสะิน5ส,เมจตอ่ คควนามผฃกดระต**เอรรอื*!อ(งรทIนพ/ฃ6่ด1เนนเรน4อค1งนท*พI1ตI,ลนตจ่อะงพมดีคแวลาวมVสนใเขจาอจยะา่ หงแวทงVจ้ ๒รงิIอ/ ย1าถงเารหวาาIก เขาจะจุดเปลวระเบิดแหง่ ความสินใจให้เกดิ ขนแก่ใจของคนพงได้ เรอื งพพี ูดนนคนพูดตอ่ งมคี วาม รอ1บรขใ้ นเรอื งนนอย^่างแน่นอน กไ]ทงเขายไสามารถหาขอมขล ขอ^เ7ท้จจริงตน่ เกยวกบเรืองนนมา เพมเตมิ ค^วามรขเด1มิ ทมอี ยขุ'กอ่ นแลวขิ“องเขาอีกดวย“ แนวคดิ ขอ“งคนพขํดนนเกดิ จากวตถจิดิบแห่งความคิด ของเขาชงไดแ้ ก่ ความรู้ การสไเกต ความจดเจน หนาพกี ารงานประจำริน งานอดเิ รก ๒. เหมาะสมตอ่ คนพง การวเิ คราะห้คนพีง่ ดไทอี่ ธบิ ายไวใ้ นบทก่อนน2น ช่วยให้ คนพขลสามารถประมาณคา่ ความสนใจ ความพรไมพีจะรไ]ของคนพง ฉะนนคนพข่ ดตอ่ งเลอื กเรอื ง ใหเ้ หมาะสิมกบริย เพศ ฐานะทางสไคม ของคนพงแต่ละกลมุ่

^1*เ1^, ’' -199 ^ ฒฮเ ๖ฟ ๓ . เหมาะสมต่อโอกาส ในทกุ กรณีถวร้ เู้ ชิญไม่ไดก้ ำหนดเรื่องใหแ้ ก่คนพดู การ วิเคราะหโอกาสย่อมช่วยใ,ห้ค^นพขุดเลือกเรอื งพขุดได้เหม1าะสม เช่น งานรบํ ประ1ทานเลยื งเพีอสํงสรรค” ์ งานมงคลสมรส งานวนทระลกื ฃองชาติ การชุมนุมเพมพูนความรู้ฯลฯ โอกาสแต่ละโอกาสดง้ กลา่ วน เรองทจะพขดุ ย่อมแตกตา่ งก่น ๔. เหมาะสมตอ่ เวลา คนพดู ตหง้ ลือเบนหลกตายตว่ พเี ดยี ววา่ การพดู ของเขาแตล่ ะ ครง ตองจบลงในเวลาทกำหนดไว้ เพราะถาพุดนานเกินเวลาแล่วคนพํ่งอาจเบอหนา่ ยได้แม้ว่าจะมี สาระดเพยี งใดกตาม การจบในเวลาพกี ำหนดไวแ้ ละทงความประทบใจไว้กบดวงจติ ของคนพงยอ่ มมี คุณค่ามากมาย การวเคราะห1)'เร4 อง การวเิ คราะหค้ อื อะไร ? การวิเคราะหค้ อื กระบวนการแบ่งแยกเร่อื งทจะพดู ออกเบน ส่วน ๆ การแบง่ เชน่ นย่อมชว่ ยให้ชว่ งแนวความคดต่อเนี่องกน่ จูงแนวคิดของคนพงใหค้ ลอ่ ยตาม ไปตามลำดบ้ การแยกเรืองออกเบนสว่ น ๆ น เบีนการแบง่ ใหส้ อดคลอ่ งกบ่ ธรรมชาตขิ องมน'ุ ษย นนเอง กล่าวคือมนุษยนนแบง่ แยกทางเพศเบนชายเบนหญงิ แบง่ โดยอายุ เบน1ทารก เดก วย่ หนมุ่ แสบาIวงเร4อคงนทโพตดู นแนบกง่อโาดศย^ยสหมลร^กร6ถ.เหนญะIทตIอาVง!I;สปม1น^อเ๘บง!นหเบลนกอคจํ อฉรยิ ะ ปานกลาง และติากวา่ ปานกลาง การ ๑. กาล หมายถงึ ขอเทจจริงของเรอ่ื งราวพีนำมาพูดวา่ เกิดในสมย่ ใด ๒. แหลง่ กำเนิด เรอื งนนแหล่งกำเนิดอยูพ่ ไี หน ประเทศใด ๓. การหนำท เรืองทพูดอยู่ในสาขาใด เช่น ล่งคม วิทยาศาสตร่ื จริยศาสตรื่ สนทรยิ ศาสตร์ ๔. สาเหตุ อะ•VเIรเบ5๐น1 ฝ็าเหตแุ ละฟิลฃองเร4 องน2น^ ๔. ลกษณะกายฟา้ พ เรองพพี ดู เบนเรืองนามธรรม หรอื เรองรปู ธรรม กาหนคฃอบเชตIนอเรอง กระบวนการการแบง่ แยกเรื่องทำให้คนพดู จดํ ระเบยี บแนวคิดได้ถกู ตองตามหลกตรรก- วม^ทิคี ยวาามสกมาบรพูรขณุด่^ทีใจนกดค้วรเงอคงวิ”กรตจาะมสมแบตร1่คณนีใพน4,งตเก่วเดิ อคงวแาลมะเคบ^นอหพนงเ่ากยดิ ควเพามราเขะาสใบจสอนย่าไงปดดี^้วยเรแอื่ นงวบคาวงาเมรื่อคงดิ แหมล้จาะย

0 )0 แนวความคดิ ทค่ี นพดู บรรจไุ ว้ในการพูดของเขาเพียงครงเดยี ว การพดู ทจ่ี ะไดข้ อว่าสมบูรณในต่วัเอง ตองั เบนการพูดท่ีมืแนวคดิ เพยี งแนวคดิ เดยี วเสนอให้คนพงไดว้ จิ อั คนพดู เสนอเหตุฝล็ ขอเทจจรงิ ประกอบอางอิงความถกู ตองั แทง่ แนวความคดิ ของเขาแกค่ นพง การทจะทำไดด้ เี ลิศเขน่ น คนพูต ตองั เลิอกสรรโดยรอบคอบวา่ อะไรเบนแนวคดิ ทีส่ ำกญ่ ที่สดุ ของเขา แลวจงเสนอแนวคดิ นนแก่คนทงี่ การกำหนดวตํ ถุประสงค์ ก่อนท่ีนายขมํงธนจู ะปลอ่ ยลูกศรออกจากแหลง่ เขาตองั เลงโดยพินจิ พีเคราะห้เสียกอ่ นวา่ เบาอยตู่ รงไหน เม่อี เล็งตรงเบาแลอเั ขา'จงปล่อยลกู ศรไป ขอันฉนใด การพดู กฉนนนเหมอนก่น การ พดู ท่ดี มี ใิ ช่อยู่ตรงเนอเรืองทน่ี ำมาพูด หรือคนพูดเขย่ี วขาญในศสิ ิปของวาทศาสตร์ แต่อยู่ท “วตถู ประสงคข์ องการพด” วตถปฺ ระสงคข์ องการพดมีบทบาทสำคญในการพด เพราะบองกนมิให้คนพดู ' และคนพรงอิรอกิ'นรอกิ1ทศทางรขิ’องเร^องนะน รๆ ิ3เนการรพิ ดู\"แต7ละครงรคน.ิ พรดู 'ิต*รองิ ตอบรบญริ ห'ิ ารตอิรเป^ิ นเ-ส*ยก' อน “ ทา่ นตองั การอธบิ ายเรอื งราวต่าง ๆ แกค่ นพงหรือ?” “ ท่านตองั การใหค้ นอีน่ เหน้ ดวยกบแนวคิดของท่านหรอื ? ” “ ทา่ นตองั การใหค้ นอน่ี ทำอะไร ? ” เมือคนพดู ตอบบญ่ี หาด'งักลา่ วนไดแ้ ลว เขาจงึ กำหนดวตถูประสงค์พิเศษในการพดู ของ เขาลงไปว่า เขาตองั การให้คนพงรู้ เคิดความรูส้ ิก เขีอ่ มนํ หรือปฎบิ ํตอะไร ควรกำหนดว่ตถู ประสงคพเิ ศษนอาจทา่ ได้ ๒ วิธดวยกน่ ประการทหี นงบอกใหค้ นพงทราบเมอื เรมื ตนกลา่ วอาร่มภ- กถาการพดู ป1ระการท^สองวางแนวค•'ด''*อน'๘เบ]นแกนหลVกของเร^องลVง1เป,^เพอ๑ เVหคน'แพงเVข*า) เ1จVเดเอง การเล/*!ฝืกช4 อเร4อง เนอื งจากวา่ การพูดมกจะมิได้ประกาศข่อเรอื งๆ,หค้ นพิง'ทรๅบล่วงหนำ การเลอกขีอ่ เรือง จงมบทบาทสำคญํ ต่อการพูด การเลอกขอเรองควรเลอกขอ่ี ขง่ี เรา่ คนพงใหเ้ กิดความลนใจพงต่อไป ขอเรืองควรเบนประโยคหรอวลสน ๆ สว่ นข่อเรืองยาวนนนอกจากมกก่อใหเ้ กดิ ความเขา่ ใจลิดแลว ยงไร้คณุ คา่ ทางจติ วิทยาอกี ดวย

๓6 การรวบรวมเน^ อเร4องทจะพูฟิ คนพดู รวบรวมเนอิ เรอื งทีเขาจะพดู โดยการคืนครำรวบรวมแนวความคดิ ตวอย่าง ขอโต้ แยง เพอนำมาสรำงการพขดของเขา ดๆุจเดียวกบช1า่ งก่อสรว้งรวบรวมอ9ุปกรณ”์และรสํ ดุทกุ ประเภฑ มากอ่ นแลว จงลงมอกอ่ สรางอาคารตามรปู แบบทสถาปนิกเขียนไว้ อะไรกตามทชว่ ยให้คนพูด สามารถพVฌนาหไร?อ-ส4ณร์ างไ2'ว' ต-ถIุประสงื คพเศษในการพูดของเขาบรรฒุลส0าเรจ สงนนชณ์อวIาเ๘บ1น ((วตถุ ดบแหงการพดู ๑. ประเภทบองวเตถดุ บิ วตถดุ บิ แหง่ ความคิดทสำคญํ มอี ยู่ ๒ ประเภท คอ ก. ขอเทจจริง ( ?30*8 ) ได้แก่เหตุการณ์ การกระทำเรืองราวตา่ ง ๆ รวมทง ตวอย่าง สถิติ ข. ฃอยนยน ( ) ไดแ้ กพ่ ยานหลกฐานบคุ คลคู้พบเห็นเหตุการณนน จริง ๆ หรอการอธิบายขว้เท็จจรงิ โดยคู้เขียวชาญทยี อมรบกนในวงการทํวไป ๒. แหลง่ กำเนดิ ชองวตมุดบิ เมอี่ กล่าวถิงแหลง่ กำเนิดรํตถดุ ิบแหง่ การพดู แลว คน พดู เองนไณหละเบนแหลง่ กำเนิดรํตถดุ ิบขนปฐมภูมิ คนพดู ควรรวบรวมเรอื งราวทเขาทราบเกยวก'บ เนอเรองทจะพดู ตลอดทงความจดเจนทกุ ประการอนสมพนธก์ บเรืองนน การคนิ ควาของคนพูดจะ ทำให้คนพ11ดทราบชดดวา่ ความรขเ้ กยวกบ เรืองทีจะพข่ ดของเขา นนมอี ยขิ ่ แลวอย่างสมบฃิ รุ ณห์ รอื บกพร่อง มากนอยเพยี ง,ใด นอกจากนคนอ่ืน ๆ •กยอ่ มเบนขมุ แหลง่ กำเนิดว'ตถดุ บิ ทดี ีอีกเช่นกน คนพูดควรชกถาม อคIาวนามเอเหกสนาหรรอสเหนลIทานนคากอบ่กคารนคอIนVนหใานวเVตรถอจดุงรบากวาทรีจพฃะดพขูดองเคพนอพพขดงึ๋ ทแงนง^สว^นคดิ 'ของเขา การพงวิทยุ ชมโทรท่ศน ๓. การใช้หองสมดุ ขุมทรพยว์ ตถุดิบการพดู อยู่ องสมดุ หนงํ สอี ทกุ ประเภทใน ท ี่ห ่ ห่องสมุด น'บตงแต่สารานุกรม วารสาร จลุ สาร หน'งสือทีมพรายวน และหน'งสอื สารคดีทุกประเภท ลวนแตแ่ หลง่ คนควาหาวตถุดบิ การพดู ของคนพูด วธิ ีการคนหาเรองราวทตี อิ งการในห่องสมุด วิธี ฑตทสุดกคิอ การคืนจากสารบรรณบ'ตร ในสารบรรณบ'ตรหนํงสือจะบอกหํวชอ่ ๓ ประการ คือ ชอคนแตง่ ขอหนงํ สอ เนอเรอื งของหนํงส้ อื นอกจากนิบทสารบรรณบตรทุกแผ่นจะบอกหมายเลข หนงสอเอาไว้ดวย เพอสะ์ ดวกในการทจะไปขอร'บหนํงสอื ทตี องการจากบรรณาร'กษหอ่ งสม/1ดุ

0)๒ ๔. การคนครำ การคนควาเรืมจากการอ่านเอกสารต่าง ๆ หลกการอ่านที่ดคี วรจะอยู่ ในรปู ตอ่ ไปน (๑) ต่องเขใใจศ^ทท็ กุ ศพท็อย่างถูกต่อง (๒) ขอเทจ็ จรงิ เชน่ สถติ ิ นของเหตจุ่การณต่าง ๆI ที่ผขัเขียนบอกไว้ ตอ่ งทำการสอน ทานอีกครงหนงโดยละเอียดก่อนท่ีจะนำมาใช้พูดในชุมนมุ ซน (๑) อยา่ นำเอาสำนวนพูดของคนเขียนมาปนกนชอ่ เที่จจริง (๔) ชอ่ เทจ็ จริงและแนวคดิ ของถู้เขยี น ควรจดบนทึกรวบรวมไว้ แนวคดิ คดิ คาน ตอ่ งวิเคราะหโดยละเอยี ด (๕') บนทึกเ\"รอื งราวทอา่ นในรฃฺปที่ถฃกตอ่ งทึสจฺ่ด กระดาบบนทึกควรเบนกระดาษ การ์ดแซง เพราะใช้ทนกบทงสะดวกในการเกบ ควรพิมพดกี วา่ เขยี น อนึง่ หลไ!การจดบนทกึ นน ไดยทวเปแลวมอยู ๒ วธ ก. การย่อแนวความคิดทง็ หมดของลู้เขยี น ชอ่ ความทึย่อ ๆ ตามความเช่าใจ ของเราเอง จดบนํ ทํ ึกเฉพาะตอนทีสำคญ ๆ ซ่งึ พบจากหนํงสอื ทอี า่ น การทำโครงเรอื ง การพดู ทส็ มบรู ณ์ทกุ ครง คนพดู ตอ่ งตด่ ระเบยี บเนึอ่ เริองทเึ ขาจะพดู ออกเบน ๑ ส่วน ซงึ่ ไดแ้ ก่ ก. กลา่ วนำ ข. เนอึ่ เรอง ค. สรปุ หลง่ จากการเลอกเรอื ง กำหนดเน่ึอเรอื ง กำหนดเบาหมายพเิ ศษ รวบรวมวตถดุ บิ ทจี่ ะ พดู ไว้เรียบรอยแตว่ งานขนตอ่ ไปคอื การทำโครงเรือง การทำโครงเรอื งนึม่ ีความสำค,ญมาก เพราะ ก่อใหเ้ ถิดฝ็ลเบนการพฃดท่สี ขมบิรณ์ โครงเรอื งคอื การวางวตถจดิบการพขดทร็ วบรวมไว้ใหเ้ บนระเบียบ

๓๓ มล0'าดบ็ 'ขนตอน ช่วยให้คนพขดเขไใจเนอหาทจี่ ะพขดได้อยา่ งละเอียด ทำใหก้ ารพขดเกดิ เอกภาพ คน พูดสามารถจูงแนวคิดคนพงได้ตลอด นบํ จากการกลา่ วนำจนถืงการสรปุ โครงเรองจงถือได้วา่ เบน \" แผนขนป■ฐ“มภขมิของการพข่ด ” การจดทำโครงเรอื งนน มีแบบการทำอยู่ ไอ แบบด้วยกน คอิ ๑. โครงเรอื งแนวความคดิ ( 7๐1)1001 0๗ ๒ 6) คือคนพขดเขียนไว้เฉพาะดำพฃ่ดท่ี เบนแนวความคดิ หลก ตามลำดบความสำคํญทจะพูดก่อนหรือหลง ๒. โครงเรองรุปประโยคส์มบรู ณ์ (0๐011)16*6 ร60*6006) โครงเรองแบบนได้เขยี นแนวความคิดทกุ อย่างไว้อยา่ งสมบรู ณ์ เบนแบบที่ดีที่สดุ สำหรับคนพูด เพราะเบนโครงทเ่ี ขยี นไวส้ น ๆ แต่มีรายละเอยี ดสมบรู ณ์ การทำโครงเรอื งแบบนมี สำดว้]ขนตอนดง้ ตอ่ ไปน (๑) ขอื เรืองท่ีจะพฃด่ (๒) วต่ ถๆฺประสงคืทวํ ไปของการพขด (ฅ) วํตถปุ ระสงคพื เิ ศบของการพดู (๔) กล่าวนำ - (๕) เนอเรอื ง (๖) สรุป โครงเรืองดชี ว่ ยใหก้ ารพฃ่ดสมบขรณ์

บทท6) ๕ การวางระเบียบการพดู การพดู ท่ดี มี ใี ช่การเสนอมวลความคดิ และรายละเอยี ดมากมาย แต่อยทู่ ่กี ารจดระเบยี บ แนวความค* ด* 611นรฃิ ป.*1ทสมบขิ รณ๙ ่ ความตอ| เ4นอง'ของแนวค-**ดแบบลขกุ เซเIบ๘นI ส*ง\"' 'จ0าเบ๘น! มากกวา1อ^น 6เ1ด เพราะวา่ คนพฃด่ เองจะ'ไมส่ ามารถ,จด,จำแนวความคดิ ที่กระจํดกระจายไร้ระเบียบพงหมดของเขาเพ0 เสนอแก่คนพง พงคนพงกย่อมไม่อาจจดจำแนวคดิ อรไ้ รร้ ะเบยี บมาจดสร้างเบนระบบทตนสามารถ เชา่ ใจได้อกี ดวิ ย การพดู ทด่ี นี นควรแบ่งออกเบนขนตอนและเวลาเดียวกน ควรมี “เอกภาพ” ขนตอน ของการพดู แบIงออกเบ5^1น 6ว ข2น^*3คอ กล1าวน0 า ^เนอ4 เรอง และขIอ/ สรปุ I ข2น^ ท2ง^ 60 ข2นน^ ม^ เด^แบIงเ(บ^1น ขนตอนทีป่ ราศจากความสมพนธก่น หากเบนการแบง่ ในรปขิ ทีสรา้ งเอกภาพอนสมบขรณท์ ส,ดุ! แกก่ าร พูดนน ๆ ดุจเดียวกบรา่ งกายประกอบดิวยอว,ยวะต่าง ๆ อวรเ้ วะแต่ละอยา่ งทำหนำทแี่ ตกต่างกน่ เพอ สรา้ งเอกภาพของร่างกาย การกลาวนำ การกลา่ วนำ (7116 111*70(1116*1011) มหี นำท่ีขนํ มูลฐาน ๒ ประการ คอิ ๑ . ปลกุ ความสนใจของคนพงให้เกิดขน ๒. เบนบทนาคู้พงเขาหาเนอเรอง การหนำที ๒ ประการดิงกล่าว คนพดู จะทำใหส้ ำเร้จไดโ้ ดยการใข้วธิ ีใดวิธหี นํงหรีอ ผสมทงี่ ๒ วธิ เี ช่าดวิ ยกน จากการตรวจสอบการพดู ของนกํ พูดชน่ นำของโลกทุกยคุ ปรากฎวา่ ใน ข3นการกล่าวนำนได้รวมระเบียบวิธสี รา้ งความสนใจ และระเบยี บวิธีนำเชา่ หาเนอเรอ่ื ง /

๓๕' ๑. ระเบอบวธสร์ างความสน์ ใจ (\\16เ1า0ส์8 0{ 0681:๒8 1ฑ1:61681) จุดมงุ หมาย สำคไ!]ท่ีสุดของการกล่าวนำอยูท่ .่ี ปลกุ ความสนใจของคนพ?1หเ้ กิดขน สรางสมพนธภาพพนฐาน ระหวา่ งคนพดู กบคนพง และเบนการเตรียมคนพงึ๋ ใหพ้ รไ’)มทจะพงเรือ่ งราวอ่ีน ๆ ที่จะตามมาท่ีหลง อ'นหลก่ การสรางความสนใจใหเ้ กดิ แกค่ นพงนมอี ยู่ ๒ ชนดิ ดวยกน กลา่ วคือ การกลา่ วยกย่องและ กลา่ วถงเร่อี งท่ีสมพไเธโ์ ดยตรงกบเนอเร่อื งทจ่ี ะพดู ('๑) การกล่าวยกย่อง การกลา่ วยกย่องหรือการพดู ปลุกคนพงใหเ้ กดิ ภาคภมู ใิ จ นนย่อมทำไดห้ ลายแบบ เขน่ คนพฃดอาจกลา่ วขอบคๆณุ ประธานในท่ปี ระชจุมหรอื อาจพบดี เรื่องใด ๆI กได้อนเกยวกบเวลา โอกาส สถานท หรอื คนพง (๒ ) การกล่าวนำอันส้มพนั ธกบั เนอเรอง หลกการกล่าวนำแบบนได้แก่ ก. การตงคาถาม การตงคำถาม ๑ ขอ หรือมากกว่า ๑ ข่อ ย่อมกลาย เบนกโลบายปลุกความสนใจของคนพงใหเ้ กิดขนได้ ถไหากว่าคำถามทีถ่ ามนนมลื ่ก'ิ ษณะเรา่ ความ สนใจ ทำทายคนพง ขํ้นในบจจนุ ํน ง. เรอื งขำข0น บางครืง่ เรอ่ื งขำข่นย่อมสามารถช่วยสรืางสมพนธภาพระหว่าง คนพูดก่บคนพงไดเ้ บนอยา่ งดี นํกพูดบางคนจงมกนยิ มใชค้ ำพูดขำขนในการกลา่ วนำของเขา เข่น ประธานาธบิ ดี จอน เอ'ฟ. เคนเนด จ. คำพดู ทีเ่ ราใจ นกพดู ท่เี บนนกํ บิ วชุ นกํ กิ ารเมอื ง น,กการทหาร มกใช้คำพูด เร่งเราใจในการกลา่ วนำ พเ^/งแลIว/ ก๔ม๒า^ถ. งขะรน!ะน0เบาคียนบพวงธิ เขีนIา/หำเาฃเนาอหเราอเนงอเรค่อื นงพดู ตหอVลงบงํ จอากกคกนาพรแงส'ร๑เห่า^งทครวาาบมวสเานเนใ^จอใเรห4อ้เกงทดิ พขเขนาแจกะ่คชนดุ มีขอบเขตอย่างไร ขอ่ เท่จี จรืงในเรื่องนอยู่บนรากฐานอะไร \\

๓\\) เนอเรือง ครวู ขาวาทศาสตร๙ทิ กุ คนม*1ค่ วามเห๔นพVองเ๘บ]นเอกฉVนท*-วIา คนพูดควรเต‘ร' (ยมมเนอุ เร4องท4 จะพดู ให้เสรจ็ เรยี บฬ้ยเสยี กอ่ นแลวจ้ งํ ตดสนิ ใจวา่ จะกล่าวนำเรองแบบใด ทงนเพราะเหตวุ ่าคนชุดก่อนท ไจอะกปลรา่ะวกนาำรได*ค้เ3ขอาตอกงทารรอาบธ0บกอ่า^ยนเนว่า4อเขเราอตงอแงลพะดู กเารรอื สงรอาะงไเนรอหาของเเรน4อองเร6เ.อื่ห4ง/ตขร^องงตกราารอพยูด!ู คมเนีกทารรรห^ศนนาคทตหี^ขลอกง คนพง ชงจะก่อผลออกมาในรูปของพฤติกรรมประจำวนต่อไป ถไตองการให้การพขดมีประสิทธผิ ลอย่างแท้จรงิ แนวติดหลก แนวตดิ รอง และเหตุผจ ล ประกอบเนอเรอ่ื ง ต่องวางระเบียบขนตอนไว้ใหถ้ ขกตองตามหกก่ ตรรกศาสตร์ ^ แบบของการวาง ระเบียบแนวความตดิ เบนระเบียบวิธคี วบคมสรไงความสนใจให้เกดแก่คนพง เบนแผนการจูงความ สนใจของคนพงไปในแนวทีศทางท่ีตองการ โดยเหตทุ ี่ความสนใจของคนพงม'กขาดตอนเบนชว่ ง ๆ แบบของการวางระเบียบแนวความตดิ จงมีอยข่หลายแบบก่งตอ่ ไปน ๑. แบบกาล (711116 ?8แ6ผ1) หมายถงึ การอธิบายกระบวนการ1ของเหตุการณที่เตดิ ขนตามระเบยี บของกาลหรือพงศาวดารของเรอื งนน ๆ กล่าวอดตี กาลสีบลำดบเร่ือยมาจนรืเงบจึ๋ จุบน ๒. แบบกายภาพ (ร0306 ?8พ61-11) เบนการอธิบายท่นี ํยมกนโดยเรมิ อธบิ ายจาก เร่อื งใกล้ไปหาเร่ืองไกล หรอื จากภายในไปหาภายนอก ๓. แบบบทนิยาม (06*11111101181 ?8แ601) การพขดประเภทใหข้ อเทจ้ จริงกบการพฃ่ ด แบบ'ซกจงู 'ใจ มกใช้แบบนยิ ามนเบนหลกํ ในการวางระเบยี บแนวตดิ เพราะวํตถุประสงคของการ ให้บทนยิ ามกเพอ่ี สรางความเขาใจของคนพงในเรอื่ งนนใหก้ ระจา่ งชด่ ไมค่ ลุมเครอื ๔. แบบเนอเรอื ง (7๐01081 ?3116111) หมายถงการรวมสว่ นต่าง ๆ ของแนวติด ประเภทเดยี วกนให้เบนพวกหรือกลจุ่่มเดยี วก่น การวางระเบียบแบบนเทา่ ท่แี บง่ ไวก้ มอี ยข่ ๒ แบบ แบบแรกแบ่งแนวตดิ ออกเบนประเภท พลเรอื น ทหาร สรรสรไง ปฎิบต้ ิ ทฤษฎ กฎหมาย จรยิ ศาสตร์ นิตบิ ญญตํ บรหิ าร ตลุ าการ แบบทสี องแบ่งเบน เศรษฐศาสตร์ การเมอื ง ตรรกศาสตร์ สุนทริยศาสตร์ ปร'ขญา บรรณารไาษศาสตร์ ประวตํ ศาสตร์ นริ กุ ติศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ การศกษา และอนื ๆ ๔. แบบเหตุ (0311831 ?8116111) การวางระเบียบแนวตดิ แบบนอาจเรืมตนอธบิ าย จากเหตไุ ปหาผล หรอื จากผลไปหาเหตุกได้

๖. แบบตรรกสา์ ส์ตรี (1,081๗ เบนการอธิบายแนวคิดตามหล,กตรรกศาสตร,์ ประเภทอนุมาน คอ การอธบิ ายจากแนวคดิ หรอื สมมตฐิ านที่ตงไว้เทือหา1ขอยคุ ิ ในเรอื งนน เข่น คนเบนสงทต่ี องตาย นาย ก. เบนคน เพราะฉะนน นาย ก. เบนสงทตองตาย ๗. แบบจติ วทิ ยา (?ธ701ไ01081031 ?สแ61ฑ) หล'กการวางระเบยี บแนวความคิด แบบน มรากฐานจากปฏกิ ริ ิยาของคนพง คือ วางแนวคดิ ในรูปท่ีคนพงจะเกิดความสนใจ เหนความ สำคญ และยอมรบแนวคิดท่นี ำมาเสนอในการพดู การวางแนวคดิ แบบจติ วทิ ยาน มีหลกการที่ คนพขุดควรสนใจดงิ ต่อไปน (๑ ) ขนาดแห่งความสนใจ คอื วางแนวคิดทนา่ สนใจมากทสุดไปหาแนวคดิ ท นำสนใจนํอยทสุด (๒ ) ขนาดแหง่ ความสำคัญ จดวางแนวคดิ เที่อสรืางความประทบใจใหก้ บคนพง แนวคิดท่สี ำคํญมากทสาุดอาขจพดุ , ครงํ้ แรก หรอื นำมาพขดคารืงสุดท่าี ยกได้ ทงนขนกบดิงหวะทคนพฃ่ ุด ตองการจะสราื งความประทบใจเมอื ใด ๓) ขนาดแห่งความขับข้อน สำหากวา่ เนอเรืองที่พขุดนนเบนเรอื งทางเทคนิค คนพูดตองเตรยี มหาหลกฐาน ข่อเที่จจริง ความเหนของผู้เชยวชาญในเรืองนน ๆ มาเสนอแกค่ นพง ในทๆุกแงท่ ๆกุ มาุม ๙ . แบบการแก้บญหา (?10เว16111-ร01งเ1011 ?8ผ61๐) การวางระเบยี บแนวคิดแบบน อเบุปนมกาานรนอนธเบิอางยขม่อขเทเ^น่จี ตจอรนงิ ตกาามรอห^ธลบกาวยิทเ๘บย]นาศข&านนสํ ตๆรี ด0ง^นชงหลกตรรกศาสตร์เรียกว่า การหาเหตผุ ลแบบ (๑) ยอมรบวา่ มีบญหาเกิดขนและจำเบนอยา่ งยงทตี่ องหาขอ่ แกไ้ ข (๒) วิเคราะหธ้ รรมชาติและสาเหตุชองสถานการณนนโดยอาศ'ยข่อเทีจ่ จรงิ เบนหลก

(ฅ) เสนอขไแกไ้ ขบ่ีญหาอนเกดิ จากการรวบรวมชอ่ เท็จจริงท่ีได้รวบรวมเอาไว (๔) ตรวจสอบแนวแก้ไขทกุ ประการทีเ่ สนอไว้ (๕') ลงมือปฎิบไแเกไ้ ขตามแนวทางท่ีคคเลอื กแลไเหน็ วา่ เบนแนวทางแก้ไชก้นด ทลด ปอ้ ควรพจิ ารณา ในการพดู แตล่ ะครงนน คนพูดควรระว'งอยา่ งยงในการเสนอแนวคดิ ของเขา อยา่ เสนอ แนวคิดคราวเดียวก้นหลายแนวคิด ถาหากวา่ มแื นวคิดสำคํญหลายประการทีจ่ ะตองเสนอ ควรจด ระเบยี บแนวคดิ ใหด้ ี อย่าใหค้ นพงเกดิ ความสบสนและวา่ วุ่นกบแนวความคดิ มากหลาย การเสนอแนว ความคิดเพยี งเรืองใดเรืองหนงที่ครอบคลมุ เนอเรืองไดท้ ง่ี หมด ยอ่ มมคื ณุ ค่าดีกวา่ เสนอหลายแนวคิด ป้อสรปุ ในการพูดทุกครง ขอสรุปนบว่ามืความจำเบนอยา่ งยงประการหนง ขไ)สรุปชว่ ยให้คน พงทราบเนอเรืองทพขดมาแล่วทงหมดอย่างสมบขรณ’ ประการท่ีสองช่วยให้คนพงยอมรบแนวคิดของคน พขุด เมอกล่าวในทรรศนะอนกว่าง ขไส'รปุ จทฃสมิ บรณจะชว่ ยใหค้ นพฃดุ ยุตจกิ าฃรพดุ ครงนนของเขาใน อาการกน้ เหมาะสม ชว่ ยใหค้ นพงจดจำเนอหาของการพดู กบทงสรางให้คนพงตอบสนองขไเสนอ แนะของคนพดู อกี ดวย หลกมูลฐานของช่อสรุปมือยุ่ ฅ ประการ ลือ การชาความ การประยุกต์และ การเพมพล่งแกเ่ นอเรือง ขไยจุตขิ องการพฃุดอาจใชห้ ลกขไใดขไหนงใน ฅ ชอ่ น หรอื ผสมทง ฅขไ เดเขVาเบ๘ !นหลIก/ เด*5เยวกน๘ก'-VI V ๑. การ‘ช^าความ, ( ^ ) * .)1 1 6 1 1 1 0 0 หลVกการท■ฝสรชาง®เVหข*อ2สรบเ^มความสVมพ^นธไดยตรงกVบ เน^ อเร^ องชงพดู มาก6 ^ค* *อ การชV' าความ นกพดู สวนมากนยมเขวธตอเบน4 / 1I -V1 6 .เนเรองของการชV าความ ^ 61 3 -\"* * 5 1 1^ (& ) สรป ยอ่ เรืองที่พดู มาทไหมด กล่าวเฉพาะแนวคดิ หลก่ การสรุปช่วยให้ คนพ0เ/งเขVา61เจและจด0จาเ*ร9อง^ดยง2ข*น

(๒ ) ย่อความ เบนการย่อเรอื งท่ีพดู การยอ่ ความคิอการนำเอาแนวความคิดหล'ก กบแนวความคิดสนบสนุนมาผสมกนในรปประโยคท่สี มนรณ ยอ่ มมคี ุณค่าทางการพดมากกว่าการสรุป (๓ ) ไการยโาค' วาม นงาเ,อาเนโอเรโองทโพดู แ.ลวโมากลาวชโาอกคโรงเโพอยVาเหโเห. ๔น 1 ความลำติญ ๒. การประยุกตห์ รือการใช้ 1,!10311011) ในการพูดทกุ ครงื ใคณ์ นชุดยอ่ Iมม•ีคฝวาม ปรารถนาทจะใหแ้ นวคิดของเขาได้ลูกนำไปปฎบิ ตํ เพ่อี ใหไ้ ดบ้ รรลผุ ลตามท่ีมงุ่ หวไเอาไว้ ขอสรปุ น เองจะสรางความสนใจ ความตรงื ตรา พลไดลใจ ให้เกดิ ขนแกค่ นพง แนวปฎบิ ตํ ิในเรอื งนได้แก่ (ต ) การกระทำในฉับมลนั ในบางครงคนพดู ปรารถนาใหค้ นพงของเขาลงมอี ปฎบิ ตํ ตามแนวคิดของเขาท'นที ก่อนหนำท่คี นพงจะลุกจากท่ปี ระชมุ เข่น การเรียกร*องใหล้ ง'ชี่อเพอื ยนี่ ขอ่ เสนอ การเขญชวนบรจิ าคทรว้น!ํ เพ่ีอการกศุ ล (๒ ) การกระทำในอนาคท คนพดู ตองการใหค้ นพงนำเอาแนวคิดของเขาไป ปฎิบตํ ในอนาคต เขน่ การพูดหาเสยี งของนกการเมอี ง การบำเพีญ่ 'จริยธรรม (๓ ) การทอบตนองทางอารมณ์ คนพดู ใชว้ าทคิลปพดู ปลกุ อารมณของคนพ,่ีง ให้ลุกโพลงขน เพอ่ี นำเอาแนวคิดของเขาโปปฎบํตตอ่ ไ่ ป (๔ ) การอทศิ ทนท่ออดมการ คนพูดปลกุ คนพง่ี ให้ตนื ตํวขนโดยใหย้ ดนํน0^ต่อI อดุ มคตอนดงามของขาติ หรือของสไคม สรไงคนพง่ี ใหเ้ กิดทรรศนคคอิ ทุ ีศตนเพี่อหลกการอย่างใด อย่างหนง ๓. การเทมนล่งแกเ่ นอเรอื ง (^61๗0106016^) หล,กการสรางขอ่ สรปุ แบบนไดแ้ ก่ (ต ) ยกตวั อย่างทางรVปธรรม นกพูดจะนำเอาตวิ อยา่ งบุคคลจรงิ ๆ ทางประวต้ ิ ศาสตรืมาอางองต่อคนพง่ี สนบสนุนแนวคิดของเขา (๒ ) คำภาททิ หรอคำคม บางครงคำคมหรือภาษิตจะช่วยให้คนพงยอมรบแนว คิดของคนชุดได้