Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore SAR 61.

Description: SAR 61.

Search

Read the Text Version

๑  รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self Assessment Report) ของ กองอนศุ าสนาจารย์ กรมยทุ ธศึกษาทหารบก ประจําปีงบประมาณ ๒๕๖๑ ( ตั้งแต่ ๑ ต.ค.๖๐– ๓๐ ก.ย.๖๑ ) เพื่อรับการประเมินคณุ ภาพการศึกษา โดย คณะอนุกรรมการประเมินคณุ ภาพการศกึ ษาของ ทบ. จัดทําเมอ่ื ม.ิ ย. ๖๒

ก  คาํ นํา รายงานการประเมินตนเองของกองอนุศาสนาจารย์ กรมยุทธศึกษาทหารบก เป็นการทํารายงาน การประเมินตนเอง ประจําปีงบประมาณ ๒๕๖๑ ตั้งแต่ ๑ ตุลาคม ๒๕๖๐ ถึง ๓๐ กันยายน ๒๕๖๑ โดยมี จุดมุ่งหมายเพ่ือรายงานผลการดําเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาตามตัวบ่งช้ีและเกณฑ์กลางของกองทัพบก พร้อมท้ังได้นําเสนอผลการวิเคราะห์ จุดอ่อน จุดแข็ง และแนวทางการพัฒนาของแต่ละมาตรฐาน เพ่ือใช้เป็น ข้อมูลย้อนกลับ ในการวางแผนการบริหารจัดการและพัฒนาการจัดการศึกษาของกองอนุศาสนาจารย์ กรมยทุ ธศกึ ษาทหารบก ต่อไป พ.อ. (วสิ ทิ ธ์ิ วิไลวงศ์) ผอ.กอศจ.ยศ.ทบ. มิ.ย. ๖๒

ข  สารบัญ หนา้ คาํ นาํ ก สว่ นท่ี ๑ ขอ้ มลู พนื้ ฐานของสถานศกึ ษา ค ส่วนท่ี ๒ รายงานผลการตดิ ตามการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาตามขอ้ เสนอแนะ ต สว่ นที่ ๓ ผลการดาํ เนนิ งาน ๑ - มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพการบริหารสถานศกึ ษา ๙ - มาตรฐานที่ ๒ คณุ ภาพหลักสตู รและการจดั การเรยี นรู้ ๑๖ - มาตรฐานที่ ๓ คุณภาพครู อาจารย์ ๒๐ - มาตรฐานท่ี ๔ คณุ ภาพผู้เรียน ๒๔ - วิเคราะห์ภาพรวม ๒๕ - บทสรปุ ผบู้ รหิ าร ส่วนท่ี ๔ ภาคผนวก - เอกสารอ้างอิง - ภาพกิจกรรมหลกั สตู ร

ค  สว่ นที่ ๑ ขอ้ มูลพื้นฐานของสถานศึกษา ๑. ที่ตั้งสถานศึกษา : ถนนเทอดดําริห์ แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร ๑๐๓๐๐ โทรศัพท์ ๐-๒๒๔๑-๔๐๖๖, ๐-๒๒๔๑-๔๗๒๔ ๒. ประวัติสถานศกึ ษาโดยสังเขป : เมื่อปีพุทธศักราช ๒๔๖๑ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้กระทรวงกลาโหม สง่ กองทหารอาสาไปชว่ ยราชสัมพันธมิตร ในงานสงครามโลกครั้งที่ ๑ และทรงมีพระราชดําริ ให้มีอนุศาสนาจารย์ไปด้วย ทรงเลือกอํามาตย์ตรี พระธรรมนิเทศทวยหาญ มีพระราชดํารัสตอนหนึ่งว่า “น่ีแน่ะ เจา้ เป็นผู้ที่ข้าไดเ้ ลอื กแล้ว เพื่อให้ไปเป็นผู้สอนทหาร ด้วยเห็นว่าเจ้าเป็นผู้สามารถที่จะส่ังสอนทหารได้ ตามท่ีข้าได้ รู้จักชอบพอกับเจ้ามานานแล้ว เพราะฉะนั้นขอให้เจ้าช่วยรับธุระของข้า ไปสั่งสอนทหารทางโน้นตามแบบอย่างท่ี ข้าได้เคยสอนมาแล้ว เจ้าก็คงจะได้เห็นแล้วไม่ใช่หรือ..เออ นั่นแหละ ข้าขอฝากให้เจ้าช่วยสั่งสอนอย่างน้ันด้วย เข้าใจละนะ” โดยในคราวน้ัน ให้มีหน้าที่ ตามที่จอมพลสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพษิ ณโุ ลกประชานาถ เสนาธกิ ารทหารบก ทรงกําหนดไปยงั กองทตู ทหารมใี จความเป็น ๕ ขอ้ คือ ๑. ให้ทําการอยใู่ นกองทตู ทหาร ๒. ส่งตัวไปเย่ียมเยือนทหารในท่ีต่าง ๆ ซึ่งทหารแยกย้ายกันอยู่นั้นเนือง ๆ เพ่ือส่ังสอนตักเตือนทาง พระพทุ ธศาสนาและจรรยาความประพฤติ ๓. ให้ถามสขุ ทุกขก์ นั อย่างใจจรงิ ทั้งให้คอยรับธรุ ะต่าง ๆ ของทหาร เชน่ จะสั่งมาถงึ ญาติตนใน สยามหรอื ส่งเงิน ส่งของมาให้ ใหร้ ับธรุ ะทกุ ๆ อย่าง ๔. ทหารคนใดเจ็บไข้ ใหอ้ นศุ าสนาจารย์ไปเยย่ี มปลอบโยนเอาใจ ๕. ถ้ามีเหตุอนั ไม่พึงประสงคท์ ี่ทหารคนใดถงึ แก่ความตาย ใหอ้ นศุ าสนาจารยท์ าํ พิธีเทศนาอา้ ง พระธรรมตามแบบสงั ฆปฏบิ ัติในขณะฝังศพ ปีพุทธศักราช ๒๔๖๒ เมื่อเสร็จสงครามโลกครั้งท่ี ๑ แล้ว กระทรวงกลาโหมได้ต้ัง กองอนุศาสนาจารย์ขึ้นเม่ือวันที่ ๑ มิถุนายน ๒๔๖๒ ทรงมีพระกรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ ให้รองอํามาตย์ตรี พระธรรมนิเทศทวยหาญ เป็นหัวหน้าคณะอนุศาสนาจารย์คนแรกและทรงพระราชทานยศเล่ือนเป็นรองอํามาตย์ เอก กองอนุศาสนาจารย์ กรมยทุ ธศึกษาทหารบก ตัง้ อยูท่ อ่ี าคารศาสนสถานกลางกองทพั บกในปจั จุบัน ซ่ึงอาคารดังกล่าวได้ทําพิธีวางศิลาฤกษ์ เม่ือวันท่ี ๒๐ กันยายน ๒๕๑๐ และก่อสร้างแล้วเสร็จ เมื่อวันท่ี ๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๑๑ ด้วยงบประมาณ จํานวน ๓,๑๙๗,๐๐๐.- บาท (สามล้านหน่ึงแสนเก้าหม่ืนเจ็ดพันบาท ถ้วน) ววิ ฒั นาการ กองอนุศาสนาจารย์ เม่ือ ๑ มิ.ย. ๒๔๖๒ สังกดั กรมตําราทหารบก

ง  เมื่อ ๕ ต.ค. ๒๔๖๙ สังกัดกรมยุทธศกึ ษาทหารบก เมอ่ื ม.ค. ๒๔๘๙ เม่อื ๑๑ ต.ค. ๒๔๙๑ สงั กัดโรงเรยี นนายรอ้ ยทหารบก เมอื่ ๑ ต.ค. ๒๔๙๙ เมอ่ื ๓๐ พ.ค. ๒๕๒๘ สงั กดั กรมสวสั ดกิ ารทหารบก เม่อื ๑๕ เม.ย. ๒๕๓๐ สังกัดกรมยทุ ธศกึ ษาทหารบก เมือ่ ๑๐ พ.ค. ๒๕๔๔ สงั กดั กรมกิจการพลเรอื นทหารบก กรมกจิ การพลเรือนทหารบก มอบการบงั คับบัญชา ใหก้ ับกรมยทุ ธศึกษาทหารบก สงั กดั กรมยทุ ธศกึ ษาทหารบก ภารกิจและหนา้ ท่กี องอนศุ าสนาจารย์ ภารกิจรวม มีหนา้ ท่ีรับผิดชอบกิจการ อศจ.ทบ. อํานวยการและดําเนินงานเก่ียวกับการศาสนา ใหค้ ําแนะนําแกผ่ ูบ้ งั คบั บญั ชาในปญั หาทัง้ ปวงทีเ่ กยี่ วขอ้ งกบั ศาสนาและขวญั ๑. หน้าที่ทว่ั ไป ปฏบิ ตั กิ ารหรอื อาํ นวยการเกย่ี วกับการศาสนา และใหค้ ําแนะนําแก่ผู้บังคับบญั ชา ในปญั หาทั้งปวงเกย่ี วกบั ศาสนาและขวญั ๒. หน้าที่เฉพาะ ปฏิบัติการเก่ียวกับการบริการทางศาสนาและวางโครงการให้ทหารมีโอกาสได้ ปฏบิ ัตศิ าสนกจิ ดงั นี้ ๒.๑ เยยี่ มเยยี นผ้เู จบ็ ป่วยและนักโทษทหาร ๒.๒ ชว่ ยเหลอื และประสานงานในการดําเนนิ การใหท้ หารมีขวญั ดี ๒.๓ มสี ่วนในการอบรมผคู้ ดั เลอื กเข้ามาเป็นทหารและทาํ การบรรยายอบรมทหารเกย่ี วกบั ศาสนา ๒.๔ ตดิ ต่อประสานงานกับองคก์ ารสงเคราะหต์ า่ ง ๆ เช่น สภากาชาด หรอื วดั ในท้องถ่นิ ๒.๕ รบั และแจกจ่ายเอกสารเกี่ยวกบั ศาสนา และรายงานการปฏิบัติของตน ๒.๖ ใหค้ าํ ปรกึ ษาแกเ่ จา้ กรมยทุ ธศกึ ษาทหารบก และส่วนอํานวยการอื่น ๆ ในกรมยุทธศึกษา- ทหารบก ในเรอ่ื งเกี่ยวกับศาสนา ศีลธรรม ขวญั ทหาร และกิจการอนุศาสนาจารย์ ๒.๗ รว่ มมอื ในการวางแผนอบรมคุณลักษณะทหาร ๒.๘ ดําเนินการเร่ืองการกําลังพลและการฝึกฝนอนุศาสนาจารย์ให้เป็นผู้มีคุณธรรม และสมรรถภาพเหมาะสมกบั ตาํ แหนง่ หน้าที่ ๒.๙ เสนอความเห็นในการดาํ เนนิ กจิ การอนุศาสนาจารย์ตอ่ เจา้ กรมยุทธศกึ ษาทหารบก ๒.๑๐ วางแผน จัดทําแผน และระเบียบปฏิบัติหน้าท่ีของอนุศาสนาจารย์ท้ังในยามปกติ และยามสงคราม ๒.๑๑ ติดต่อ ร่วมมือกับส่วนราชการและผู้บังคับหน่วยในกองทัพบก ในเร่ืองที่เกี่ยวกับ กจิ การในหน้าที่อนุศาสนาจารย์ ๒.๑๒ ควบคมุ กจิ การอนศุ าสนาจารย์ และการปฏิบัติหน้าที่ของอนุศาสนาจารย์ประจําหน่วย ในทางวทิ ยาการ ๒.๑๓ ควบคมุ ดแู ลความประพฤติของอนศุ าสนาจารย์

จ  ๒.๑๔ อํานวยการอบรม และการสอนศีลธรรมวัฒนธรรมแก่ทหาร และบุคคลในสังกัด กองทัพบกให้มีความประพฤติและอัธยาศัยดีงาม มีขวัญและกําลังใจเข้มแข็ง มีความจงรักภักดีต่อประเทศชาติ ศาสนา และพระมหากษัตรยิ ์ ๒.๑๕ ดาํ เนินการในเรือ่ งการบาํ รงุ รกั ษาขวัญและกําลังใจของทหาร ๒.๑๖ ปฏิบัติพธิ ที างศาสนาและการกศุ ลของกองทพั บก ๓. สญั ลกั ษณส์ ถานศกึ ษา : ดาวห้าแฉกอยบู่ นธรรมจักร ดาวหา้ แฉก หมายถึง คณุ สมบตั ิทพ่ี งึ ประสงคข์ องนายทหารอนุศาสนาจารย์ ๕ ประการ ไดแ้ ก่ ๑. ความประพฤตดิ ี หมายถงึ ปฏิบตั ิตนตามวินยั ทหารและจรรยาบรรณของ อศจ. ทบ. จาํ นวน ๑๓ ขอ้ อย่างเคร่งครัด ๒. หนา้ ทีด่ ี หมายถึง มคี วามรับผดิ ชอบงานในหนา้ ทีอ่ นศุ าสนาจารย์ โดยไม่ขาดตก บกพรอ่ ง ๓. สงั คมดี หมายถงึ เปน็ ที่ยอมรับนบั ถือของกาํ ลังพล และประชาชนท่ัวไป ๔. ความรูด้ ี หมายถึง เป็นผู้มีความรตู้ ามคณุ สมบัติทก่ี องทพั บกกาํ หนด ๕. ความสามารถดี หมายถึง สามารถปฏิบัติงานในหน้าท่ีของอนุศาสนาจารย์ได้อย่าง เตม็ ขดี ความสามารถแมอ้ ยใู่ นสภาวะยากลาํ บากและขาดแคลน ธรรมจักร หมายถึง การน้อมนําเอาหลักธรรมของพระพุทธศาสนาเข้าหากําลังพลและ ประชาชน ตลอดถึงการขับเคลื่อนสนั ติสุขไปสู่สงั คมและประเทศชาติ ๔. ปรชั ญา ปณิธาน วสิ ยั ทัศน์ เอกลกั ษณ์ อัตลักษณ์ พนั ธกจิ ๔.๑ ปรัชญา : “นํากาํ ลังพลเขา้ หาธรรมะ นําธรรมะพัฒนากําลงั พลให้เปน็ คนดี เกง่ และมีความสขุ ” ๔.๒ วิสยั ทศั น์ : “ กองอนศุ าสนาจารย์ กรมยุทธศึกษาทหารบก มุง่ พฒั นากาํ ลังพลของกองทพั บก ใหเ้ ปน็ เลศิ ดว้ ยคุณธรรม” ๔.๓ พนั ธกจิ : ๔.๓.๑ พัฒนากองอนุศาสนาจารย์ให้เป็นองค์กรแห่งการเผยแผ่พระพุทธศาสนาทั้งด้าน การศกึ ษาและการปฏิบัติธรรมตามแนวสติปฎั ฐาน ๔ ๔.๓.๒ อบรมและส่งเสริมให้กาํ ลงั พลดําเนนิ ชวี ิตตามแนววถิ พี ทุ ธ ๔.๓.๓ ฝึกอบรมและให้การศึกษาแก่อนุศาสนาจารย์ และกําลังพลที่ปฏิบัติหน้าที่ใน สายงาน อนุศาสนาจารยใ์ หม้ ีความรูค้ วามสามารถในการปฏิบตั ภิ ารกิจไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ ๔.๓.๔ ฝึกอบรมและให้การศึกษาแก่กําลังพลกองทัพบก ให้มีอุดมการณ์ความรักชาติยึดมั่นใน หลกั ศาสนา และเทดิ ทนู สถาบนั พระมหากษัตรยิ ์ ๔.๓.๕ ขยายเครือข่ายศาสนสัมพันธก์ บั สถาบัน และองคก์ รทางศาสนาในประชาคมอาเซยี น ๔.๔ วัตถปุ ระสงค์ :

ฉ  ๔.๔.๑ เพ่ือให้กองอนุศาสนาจารย์เป็นองค์กรแห่งการเผยแผ่พระพุทธศาสนาทั้งด้านการศึกษา และการปฏบิ ตั ิธรรมตามแนวสตปิ ัฎฐานสี่ ๔.๔.๒ เพ่ือพัฒนาบุคลากรสายงานอนุศาสนาจารย์ และกําลังพลที่ปฏิบัติหน้าท่ีในสายงาน อนศุ าสนาจารยใ์ ห้มคี วามรคู้ วามสามารถในการปฏิบตั ภิ ารกจิ ได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ ๔.๔.๓ เพ่ือให้กําลงั พลกองทัพบก ดําเนินชีวิตตามแนววิถีพุทธ มีอุดมการณ์ความรักชาติ ยึดม่ัน ในหลักศาสนา และเทดิ ทนู สถาบันพระมหากษัตริย์ ๔.๔.๔ เพื่อใหเ้ กิดความร่วมมือกับสถาบัน และองคก์ รทางศาสนาในประชาคมอาเซียน ๕. เอกลกั ษณข์ องกองอนศุ าสนาจารย์ “เป็นหนว่ ยจดั การศกึ ษาด้านการศาสนาและศลี ธรรม ฝกึ อบรมด้านวัฒนธรรมประเพณี และวิปัสสนา กรรมฐานตามแนวสติปัฏฐานสข่ี องกองทพั ” ๖. อตั ลกั ษณ์ ๖.๑ ปฏบิ ตั งิ านในหน้าท่ขี อง อศจ. ไดอ้ ยา่ งมหี ลกั เกณฑ์ ๖.๒ ปฏบิ ตั ิพิธีตามลําดบั ข้ันตอนของพธิ ีการทางทหารเป็นมาตรฐานเดยี วกนั ๖.๓ สามารถใหข้ อ้ เสนอแนะเกยี่ วกบั พิธตี า่ งๆ ไดแ้ ละมหี ลักฐานอา้ งอิง ๖.๔ มคี วามรับผิดชอบในหน้าที่ ๖.๕ มีผลการปฏิบัติงานเป็นทไ่ี วว้ างใจของผู้บังคบั บญั ชา ๖.๖ มมี นุษย์สัมพนั ธใ์ นการทาํ งานรว่ มกับผอู้ นื่ ท้ังภายในหน่วยและต่างหน่วย ๖.๗ มีความคิดริเร่ิมหาความร้อู ยู่เสมอ ๖.๘ ความประพฤตดิ ี เป็นแบบอยา่ งของกําลังพลภายในหนว่ ย ๖.๙ มคี วามคิดรเิ ร่มิ สร้างสรรค์งานใหม่อยูเ่ สมอ ๖.๑๐ ไม่มปี ัญหาดา้ นกาํ ลงั พลภายในหน่วย ๗. เปา้ หมายของสถานศกึ ษา/ประเดน็ ยทุ ธศาสตรแ์ ละกลยทุ ธ์ของสถานศกึ ษา : “เป็นองค์กรแห่งการเผยแผ่พระพุทธศาสนาท้ังด้านการศึกษาและการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตาม แนวสตปิ ฎั ฐานสี่” ๘. ความรว่ มมอื ๘.๑ กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม เรอื่ ง การประชมุ สัมมนาเครือขา่ ยศาสนพิธกี ร ๘.๒ สถานีโทรทัศน์ WBTV. เร่ือง การเผยแผ่ธรรมะผ่านสอื่ ในรายการ “ธรรมานศุ าสตร”์ ๘.๓ มูลนิธิเผยแผ่ธรรมะของอนุศาสนาจารย์ทหารบก เร่ือง สนับสนุนงบประมาณในการเผยแผ่ ธรรมะและบาํ เพญ็ สาธารณกศุ ล ๘.๔ สมาคมกองทุนสวัสดิการเพื่อสตรีจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เร่ือง การเย่ียมบํารุงขวัญทหารท่ี ปฏบิ ัตริ าชการตามแนวชายแดน ๘.๕ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เร่ือง วิทยากรดําเนินรายการร่วมเน่ืองในวันวิสาขบู ชา วนั สาํ คัญสากลของโลก

ช  ๘.๖ US Chaplain เรื่อง การฝกึ ร่วมคอบรา้ โกลดแ์ ละการดาํ เนนิ งานศาสนสมั พนั ธ์ ๙. โครงสร้างและการจัดส่วนราชการ(แผนภูมิโครงสร้างองค์กร (Organization Chart) แผนภูมิ การบริหารงาน (Administrative Chart) และแผนภูมปิ ฏบิ ัติงาน (Activity Chart)) ๙.๑ แผนภูมิโครงสรา้ งองคก์ ร (Organization Chart) กรมยุทธศกึ ษาทหารบก กองอนศุ าสนาจารย์ กรมยทุ ธศกึ ษาทหารบก สํานักงานประกันคุณภาพการศึกษา แผนกอบรม แผนกกาํ ลงั พล  แผนกวิชาการและการศึกษา แผนกศาสนพธิ ี  ฝ่ายธรุ การ ส่วนจัดการศกึ ษา ภาคปฏิบตั ิ ส่วนสนบั สนุน ส่วนโสตทัศนูปกรณ์ เตรียมการ การศึกษา อาจารย์สอน ประเมินผล  ภาควิชาการ ส่วนหลกั สตู ร

ซ  ๙.๒ แผนภมู กิ ารบรหิ ารงาน (Administrative Chart) ผอ.กอศจ.ยศ.ทบ. พ.อ.วิสทิ ธิ์ วิไลวงศ์ รอง ผอ.กอศจ.ยศ.ทบ. พ.อ.สุรนิ ทร์ อ้วนศรี สาํ นักงานประกนั คณุ ภาพการศึกษา พ.อ.สรุ นิ ทร์ อว้ นศรี แผนกอบรม แผนกวิชาการและการศึกษา ฝ่ายธรุ การ พ.อ.ดร.อัครนิ ทร์ กําใจบุญ พ.ท.เกรียงไกร จันทะแจม่ พ.ท.ไชโย นามนนท์ แผนกกาํ ลงั พล แผนกศาสนพธิ ี พ.ท. ณรงค์กรณ์ สมี งคุณ (รรก.) พ.ท.สาํ ราญ มณปี รุ อัตราอนมุ ัติ ๓๕ นาย บรรจุจริง ๒๓ นาย ๑๖ นาย - นายทหารสัญญาบตั ร ๖ นาย - นายทหารประทวน

ฌ  ๙.๓ แผนภมู ิปฏบิ ตั ิงาน (Activity Chart) ผอ.กอศจ.ยศ.ทบ. รอง ผอ.กอศจ.ยศ.ทบ. แผนกอบรม แผนกกําลังพล แผนกวิชาการและการศกึ ษา - จดั ทาํ แผนการอบรมศลี ธรรม - ดาํ เนนิ การด้านกาํ ลังพล ฯ - จดั ทําแผนพัฒนากิจการ อศจ. - รกั ษา และควบคมุ ระเบียบแบบ - จัดทาํ แผนงาน โครงการ และ และ ดําเนินการอบรมศลี ธรรม งบประมาณตา่ ง ๆ ของ วัฒนธรรมประจําเดือน ธรรมเนยี มของ อศจ.ทบ. กอศจ.ยศ.ทบ. - จดั ทําแผนการบรรยายธรรมทาง - จัดทาํ แผนการตรวจกจิ การ - ดําเนนิ การเปดิ หลักสตู รการ สถานวี ิทยุ และดาํ เนินการอบรม ทางสถานีวิทยุ และส่ือสงิ่ พมิ พ์ อศจ.ทบ.ประจําปี ศาสนาและศีลธรรม - จดั ทําแผนการสอนในหลกั สูตร - จดั ประชุมสายวิทยาการ อศจ. - ดาํ เนนิ การเปดิ หลกั สตู ร อศจ. เหลา่ สายวทิ ยาการ, แผนการ - ดําเนินการดา้ นสวัสดิการ ขวัญ อบรมในเรือนจาํ กาํ ลงั ใจ และการสงเคราะห์ ชั้นตน้ และ อศจ. ชนั้ สูง - วเิ คราะห์ วิจัย และประเมนิ - ดาํ เนนิ การฝกึ อบรม อศจ. และ - ดาํ เนนิ การเปดิ การศกึ ษาศนู ย์ - ดาํ เนนิ การหลกั สูตรการ ผช.อศจ. ตามวงรอบ ศึกษาพระพทุ ธศาสนา พฒั นาบุคลากร ทบ. - ดําเนนิ การโครงการพฒั นา วนั อาทิตย์ ยศ.ทบ. - ดําเนนิ การโครงการปฏบิ ัติ บคุ ลากร - ดาํ เนินการเปิดการอบรมพิธีกร ฯ ธรรมในพรรษาของ ทบ. - ดําเนินการโครงการพฒั นาอาจารย์ - ดาํ เนนิ การโครงการปฏบิ ัตธิ รรม ฝ่ายธรุ การ - พัฒนาและวิจัยโสตทศั นูปกรณ์ เฉลมิ พระเกียรติ ฯ - งานธรุ การ กอศจ.ฯ - จดั ทาํ หลักสตู รและเอกสารเผย - ดําเนินการเร่อื งการเยย่ี ม - งานสารบรรณทง้ั หมด บาํ รุงขวญั ทหารและครอบครัว - ดําเนนิ การด้าน สป.2-4 แผ่ธรรมะ - รายงานผลการพฒั นาจริยธรรม - การเงิน และสวัสดิการ - จัดทําปฏทิ ินแผนงานและ และขวญั ทหารตามวงรอบ - กาํ กบั ดูแลอาคารศาสนสถาน ฯ จดหมายเหตุ แผนกศาสนพธิ ี - บริการทางศาสนพิธีหน่วยใน ทบ. สาํ นักงานประกันคณุ ภาพการศึกษาฯ - ใหค้ าํ แนะนํา และกาํ กับดูแลการ - วางแผน อํานวยการ ประสานงาน ปฏิบัตศิ าสนพิธี อศจ.และ ผช. ฯ กาํ กับดแู ลและให้ขอ้ เสนอแนะ - ประสานงาน และ ให้คําแนะนํา เก่ียวกับงานประกนั คุณภาพฯ ในด้านศาสนพิธแี ละพิธกี รรม - ดําเนนิ การควบคมุ ตรวจสอบ - ดาํ เนนิ การดา้ นศาสนพิธที ัง้ มวล ประเมนิ คณุ ภาพงานประกนั ฯ - โครงการดูแลวัดใน ๓ จชต. - พฒั นาบคุ ลากรในดา้ นการประกนั ฯ - โครงการอุปสมบทเฉลิมพระเกยี รติ - รายงานผลและเผยแพร่ผลการ - โครงการวันสาํ คญั ทางศาสนา ฯ ดาํ เนินงานประกันฯ

ญ  ๑. ขอ้ มูลกาํ ลงั พล และสรปุ ความเพียงพอหรอื ความตอ้ งการกาลังพล ตารางท่ี ๑ จาํ นวนขา้ ราชการ กอศจ.ยศ.ทบ. ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ อตั รา อัตรา บรรจุ ปฏบิ ตั ิงาน ไปชว่ ย ศกึ ษา คุณวุฒิทางการศกึ ษา เต็ม อนุมตั ิ จริง จริง ราชการ ตอ่ ผูท้ ่บี รรจจุ ริง (คน) ลําดับ ประเภท ป.โท , เอก ป.ตรี ตํ่าก ่วา ป ิรญญาตรี ๑ นายทหาร 2๒ ๒๒ ๑๖ ๑๔ ๒ - ๙ ๑๒ ๑ สัญญาบัตร ๒ นายทหาร 1๓ ๑๓ ๗ ๗ ๑ - -- - ประทวน รวม ๓๕ ๓๕ ๒๓ ๒๑ ๓ - ๙ ๑๒ ๑ รอ้ ยละ ๑๐๐ ๑๐๐ ๖๕ ๖๐ ๘ - ๒๕ ๓๔ ๒ ตารางที่ ๒ จํานวนข้าราชการ กอศจ.ยศ.ทบ. แยกตามแผนก ปงี บประมาณ ๒๕๖๑ คณุ วุฒิทางการศกึ ษา อัตรา อัตรา บรรจุ ปฏบิ ัตงิ าน ไปชว่ ย ศกึ ษา ผูท้ บ่ี รรจจุ รงิ (คน) เตม็ อนุมตั ิ จริง จริง ราชการ ตอ่ ลําดบั แผนก ป.โท , เอก ป.ต ีร ตํ่ากว่า ปริญญาต ีร ๑ ส่วนบงั คบั บญั ชา ๘ ๖ ๖ ๖ ๒ - ๑๕ - ๒ แผนกอบรม ๑๐ ๗ ๗ ๗ - - ๔๓ - ๓ แผนกกําลังพล ๕ ๓ ๓ ๑ - - -๒ - ๔ แผนกวชิ าการฯ ๗ ๖ ๖ ๕ ๑ - ๕๑ - ๕ แผนกศาสนพธิ ฯี ๕ ๒ ๒ ๒ - - -๒ - รวม ๓๕ ๒๔ ๒๔ ๒๑ ๓ - ๑๐ ๑๓ - มาชว่ ยราชการ ๔ นาย ๑. พ.อ. เสนห่ ์ เขยี วมณี ฝสธ.ประจาํ ผูบ้ ังคับบญั ชา เป็น ชดุ ตรวจคุณภาพชวี ติ จบ. ๒. พ.ท. ไชโย นามนนท์ ประจํา ยศ.ทบ เปน็ หน.ฝา่ ยธรุ การ ๓. ร.ต. จงกล คงปรีชา ประจาํ ยศ.ทบ. เป็น นายทหารงบประมาณ ๔. ร.ต. จารกึ ตรโี มกข์ นชง.ยศ.ทบ. เปน็ นายทหารควบคุมเครอ่ื งช่วยฝกึ

ฎ  ๒. ขอ้ มลู ครู อาจารย์ และสรปุ ความเพยี งพอหรือความตอ้ งการครู อาจารย์ ตารางท่ี ๓ จํานวนครู อาจารย์ กอศจ.ยศ.ทบ. แยกตามรายวชิ า ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ คุณวฒุ ทิ างการศกึ ษา ลาํ อตั รา อตั รา บรรจุ ปฏิบตั ิงาน ไปชว่ ย ศึกษา ผูท้ บ่ี รรจุจริง (คน) ดับ เตม็ อนมุ ัติ จริง จริง ราชการ ต่อ วชิ า วา่ ง ป.โท , เอก ป.ตรี ตํ่ากว่า ปริญญาต ีร ๑ พระไตรปิฎกศกึ ษา ๑ ๑ - - ๑ - - -๑ - - - -๑ - ๒ ศาสนพธิ ีและพิธีกรรม ๑ ๒ - - ๑ - - ๑- - - - ๑- - ๓ วาทศาสตร์ ๑๑ - - ๑ - - ๑- - ๔ การสอนวชิ าการ ๑๑ - - ๑ - - -- - ศาสนาและศีลธรรมฯ - - ๑- - ๕ การเผยแผธ่ รรมะผา่ น ๑ ๑ - - ๑ - - ๑- - - -- - สอื่ - - - -๑ - ๖ การปลกู ฝังอดุ มการณ์ ๑ ๑ - ๑ - - ๕๘ - ทหาร ๗ ศาสนาเปรยี บเทียบ ๑ ๑ - - ๑ ๘ พทุ ธปรชั ญา ๑๑ - - ๑ ๙ จิตวทิ ยาการให้ ๑๑ - ๑ - คําปรึกษา ๑๐ วปิ ัสสนากรรมฐาน ๑๑ - - ๑ รวม ๑๐ ๑๐ - ๒ ๘ ตารางที่ ๔ จํานวน ครู อาจารย์ กอศจ.ยศ.ทบ. ปงี บประมาณ ๒๕๖๑ อตั ราเต็ม อตั ราอนมุ ัติ บรรจุจริง อย่ใู น อยูใ่ น สอน/ไมอ่ ยู่ สอนจรงิ มคี ณุ สมบตั ิพรอ้ มในการ ๒๒ ๒๒ ๑๖ ตาํ แหน่ง/ ตาํ แหน่ง/ ในตําแหนง่ ๑๔2 ขอรับประเมินใหม้ ีวทิ ย ไม่สอน สอน - ฐานะ ๑1 ๑๔ ๔ ผลการวิเคราะห์ความเพียงพอของครูอาจารยก์ ับภารกจิ การจัดการเรียนรู้และงานท่เี กย่ี วข้อง ด้านปริมาณ กอศจ.ยศ.ทบ. มีสถานะเป็น นขต.บก.ยศ.ทบ. และ หน่วยจัดการศึกษาของ ทบ. จึงตอ้ งจัดครู อาจารย์ จาํ นวน ๑๔ นาย สนับสนนุ การปฏบิ ัติงานใน ๒ สถานะ ดังน้ี                                                             1 พ.ต. สุชาติ สมมาตร อศจ.ยศ.ทบ. ปฏิบตั ริ าชการ UN (ร้อย.ช.ไทย/เซาทซ์ ดู าน ผลัดท่ี ๑) 2 พ.ท. บวรวิทย์ ไชยศิลป์ หน.กาํ ลังพล ลาออกเม่อื ๒ เม.ย. ๖๒

ฏ  ๑. นขต.บก.ยศ.ทบ. ๑.๑ งานตามนโยบายผบู้ งั คบั บญั ชา (เวลาไม่แนน่ อน) ๑.๒ งานบริการด้านศาสนพิธี จาํ นวน ๔๗๘ ครัง้ /ปี ๑.๓ งานบริการศาสนพิธี บก.ทบ. โดยตรง ๙ ครั้ง/ปี ๑.๔ งานอบรมศีลธรรม ยศ.ทบ. และ นขต.ทบ.ส่วนกลาง เดอื นละ ๘ ครงั้ ๑.๕ งานตรวจกจิ การ อศจ.ทบ. ปีละ ๕ ครง้ั ๑.๖ การปฏบิ ัตธิ รรมของ ทบ. ณ วดั อัมพวนั จว.ส.ห. และ จว.อ.ย. ปีละ ๘ รนุ่ ๑.๗ กิจกรรมอุปสมบทเฉลมิ พระเกยี รติ ๒ ครง้ั ๑.๘ กฐนิ พระราชทาน ทบ. ๑ ครงั้ ๑.๙ กฐนิ สามคั คี ทบ. ๑ ครง้ั ๑.๑๐ สนับสนนุ ครู อาจารย์ ออกปญั หาสอบคัดเลอื กแก่ กคพบ.ยศ.ทบ. ปลี ะ ๒ ครง้ั ๑.๑๑ สนับสนุนครู อาจารย์ทั้งหมด เรียงปัญหาสอบ ส่งปัญหาสอบ แก่ กคพบ.ยศ.ทบ. ปีละ ๓ คร้งั ๆ ละ ๓ วัน ๒. หน่วยจัดการศกึ ษา ๒.๑ จัดครู อาจารยไ์ ปสอน รร.หนว่ ย/เหล่าสายวทิ ยาการ ๔๐ ครัง้ /ปี ๒.๒ จดั ครู อาจารย์อบรม/สมั มนา ๘ นาย/ปี ๒.๓ จดั ครู อาจารย์รว่ มประเมนิ คุณภาพการศึกษา ๑ นาย/ปี ๒.๔ จดั การเรียนการสอนภายใน กอศจ.ยศ.ทบ. ดา้ นคุณภาพ แม้ภารกิจจะเกนิ กาํ ลังคน กอศจ.ยศ.ทบ. ก็สามารถสนับสนุนภารกิจท้ัง ๒ ด้านอย่าง เต็มกาํ ลงั ตารางท่ี ๕ รายชอื่ ผบู้ รหิ าร ครู อาจารย์ กอศจ.ยศ.ทบ. ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ ลาํ ดบั ตาํ แหน่ง อตั รา ยศ ชอ่ื -สกลุ วฒุ ิการศึกษา หมายเหตุ ๑ ผอ.กอศจ. พ.อ.(พ.) พ.อ. วสิ ิทธ์ิ วิไลวงศ์ พธ.บ., อม., ป.ธ.๘,นบส. ๒ ทป่ี รึกษากอศจ. พ.อ. พ.อ. เสน่ห์ เขยี วมณี พธ.บ., ป.ธ.๙, นบส. ชรก.กอศจ.ยศ.ทบ. ๓ รอง ผอ.กอศจ. พ.อ. พ.อ. สรุ ินทร์ อว้ นศรี ป.ธ.๙ ๔ หน.อบรม พ.อ. พ.อ. อคั รนิ ทร์ กาํ ใจบญุ พธ.บ.,ศษ.บ.,ศษ.ม.,พธ.ด., ป.ธ.๙,นบส. ๕ หน.กาํ ลงั พล พ.ท. วา่ ง ๖ หน.วิชาการและ พ.ท. พ.ท. เกรียงไกร จนั ทะแจม่ พธ.บ., พธ.ม., ป.ธ.๔, นบส. การศึกษา ๗ หน.ศาสนพธิ ี พ.ท. พ.ท. สาํ ราญ มณปี รุ ศน.บ., ป.ธ.๗ ๘ ประจํา ยศ.ทบ. พ.ท. พ.ท. ไชโย นามนนท์ พธ.บ., ป.ธ.๗ ชรก.กอศจ.ยศ.ทบ. ๙ ประจําแผนก พ.ต. พ.ต. พลวัฒน์ จําปาตมุ พธ.บ., ป.ธ.๖ แผนกกาํ ลงั พล

ลาํ ดบั ตําแหนง่ อตั รา ยศ ชอื่ -สกุล วฒุ ิการศึกษา ฐ  หมายเหตุ ๑๐ ประจําแผนก ร.อ. ปิดบรรจุ “ ๑๑ อศจ. พ.ท. พ.ท. ณรงค์กรณ์ สมี งคณุ พธ.บ., ป.ธ.๖ รรก.หน.กาํ ลงั พล ๑๒ อศจ. พ.ต. ร.อ. วีรเสน พรมปาน ศน.บ.,ศน.ม., ป.ธ.๗ แผนกอบรม ๑๓ อศจ. พ.ต. พ.ต. สดุ ใจ วงละคร พธ.บ., พธ.ม.,ป.ธ.๖ “ ๑๔ อศจ. พ.ต. ปิดบรรจุ “ ๑๕ อศจ. ร.อ. ร.อ. วีรพนธ์ บตุ รนาม พธ.บ., กศ.ม., ป.ธ.๖ “ ๑๖ อศจ. ร.อ. ปิดบรรจุ “ ๑๗ อศจ. ร.อ. ปดิ บรรจุ “ ๑๘ อศจ. พ.ต. พ.ต. สชุ าติ สมมาตร พธ.บ., พธ.ม., ป.ธ.๗ ราชการ UN ๒๐ อศจ. พ.ต. พ.ต. อรุณ สุภะโกศล พธ.บ., พธ.ม., ป.ธ.๘ วชิ าการฯ ๒๑ อศจ. ร.อ. ร.อ. พรสวรรค์ จนั โปรด วศ.บ., พธ.บ., พธ.ม., ป.ธ.๙ “ ๒๒ อศจ. ร.อ. ร.ท. สธุ ีรชาติ ศรโี รจนานรุ ักษ์ ศศ.บ., ป.ธ.๙ “ ๒๓ อศจ. พ.ต. ปดิ บรรจุ แผนกพธิ ี ๒๔ อศจ. พ.ต. ปิดบรรจุ “ ๒๕ ประจาํ กอง พ.ต. พ.ต. วชิ ัย สทิ ธผิ ล พธ.บ., ป.ธ. ๖ ชรก.สกศ.ยศ.ทบ. ตารางที่ ๖ รายชื่อเจ้าหนา้ ท่ีสนบั สนนุ การสอน ปีงบประมาณ ๒๕๖๒ ลําดบั ตําแหนง่ อัตรา ยศ ชอื่ -สกุล วุฒกิ ารศกึ ษา หมายเหตุ ๑ นชง. ร.ต. ร.ต. จารกึ ตรโี มกข์ มศ.๕ กอศจ.ยศ.ทบ. ๒ ชา่ งเขยี น จ.ส.อ. จ.ส.อ.สุรศักดิ์ คงเกราะ รป.บ. กอศจ.ยศ.ทบ. ๓ ช่างโสตทศั นูปกรณ์ จ.ส.อ. จ.ส.อ.ประสงค์ มอญเกา่ คศ.บ. กอศจ.ยศ.ทบ. ๔ เสมียน จ.ส.อ. ส.อ.สุวิรตั น์ เสารอ่ น รป.บ. แผนกกาํ ลงั พล ๕ เสมียน จ.ส.อ. จ.ส.ต. วิทวัส เสนียว์ งศ์ ณ อยธุ ยา ปว.ช. แผนกวิชาการฯ ๖ เสมียน จ.ส.อ. จ.ส.อ.ชลติ แก้วกระจา่ ง ศศ.บ. แผนกพธิ ี ๗ เสมียน จ.ส.อ. จ.ส.อ.ธนู ส่วนลา รป.บ. แผนกอบรม ๘ เสมียน ส.อ. ปดิ บรรจุ แผนกกาํ ลงั พล ๙ เสมียน ส.อ. ปดิ บรรจุ แผนกวิชาการฯ ๑๐ เสมียน ส.อ. ปดิ บรรจุ แผนกอบรม ๑๑ เสมยี น ส.อ. ปดิ บรรจุ กอศจ.ยศ.ทบ. ๑๒ เสมียน ส.อ. ว่าง แผนกอบรม ๑๓ เสมยี น ส.อ. ว่าง แผนกพธิ ี

๓. หลักสตู รการศึกษา ฑ  ๓.๑ หลกั สูตรทง้ั หมดของสถานศกึ ษา มีจํานวน ๕ หลกั สูตร ระยะเวลา ส./ชม. ๓.๑.๑ หลกั สตู รผลิตกาํ ลังพล - หลักสตู ร ๑๓/๔๕๕ ๑๕/๕๒๕ ๓.๑.๒ หลกั สตู รตามแนวทางรบั ราชการ ๒ หลักสตู ร ๔/๑๔๐ ๓.๑.๓ หลักสูตรเพิ่มพนู ความรู้ ๓ หลักสูตร ตารางที่ ๗ ขอ้ มลู หลกั สตู รท่เี ปดิ สอนใน กอศจ.ยศ.ทบ. คณุ สมบตั ิผู้เข้ารบั ํจานวน ันกเ ีรยน ลําดบั ชื่อหลักสตู ร ประเภท วนั ที่ไดร้ ับ ส.ต.- จ.ส.อ. ส.ต.–พ.ท. ร.ต. - ร.ท. ร.ท. - ร.อ. ร.ต. - ร.ท. การศกึ ษา หลักสตู ร อนุมตั ิ ไม่จํากัด ไม่ ํจา ักด ไม่ ํจา ักด ไม่ ํจา ักด ไม่ ํจา ักดชนั้อายุทบ. นอก ยศ ทบ. ๑. นายทหาร ตามแนวทาง รบั ราชการ อนศุ าสนาจารย์ชนั้ ต้น ๖ ก.พ.๕๗ ๒๕ ๒๐ ๕ (ช้นั นายรอ้ ย) ๒ นายทหาร ตามแนวทาง รบั ราชการ อนศุ าสนาจารย์ช้นั สูง ๖ ก.พ.๕๗ ๒๕ ๒๐ ๕ (ช้นั นายพัน) ๓ การปฐมนเิ ทศ อศจ. บรรจใุ หม่ เพม่ิ พูนความรู้ ๙ ม.ิ ย.๕๒ ๑๕ ๑๒ ๓ ๔ ๓๐ ๒๐ ๔/๑๗๕ การศาสนาและศลี ธรรม เพิ่มพูนความรู้ ๗ มี.ค.๕๗ ๕๐ ๕ พิธกี รด้านศาสนา ประเพณีและวฒั นธรรม เพ่ิมพูนความรู้ ๒๐ พ.ค.๕๔ ๖๐ ๕๐ ๑๐ ๕/๓๕ ไทย ๓.๒ หลักสตู รทเ่ี ปิดการศึกษา ปงี บประมาณ ๒๕๖๑ มจี าํ นวน ๑ หลักสตู ร ตารางท่ี ๘ ขอ้ มลู หลักสตู รทเี่ ปิดสอนใน กอศจ.ยศ.ทบ. ลําดับ หลักสตู ร ระยะเวลา วันเปิด – ปิด จาํ นวน ศึกษา การศกึ ษา ทน่ี ่ัง (สัปดาห์) ๑ หลกั สตู รนายทหารอนุศาสนาจารย์ชนั้ สูงรุน่ ท่ี ๙ ๑๕ ๒ ต.ค.๖๐ – ๑๒ ม.ค.๖๑ ๑๕ ๓.๒.๑ สรปุ ในปงี บประมาณ ๒๕๖๑ มผี ู้เข้ารบั การศึกษา จาํ นวนท้ังสิ้น ๑๕ นาย แยกเป็น - นายทหารสัญญาบัตร จาํ นวน ๑๕ นาย - นายทหารประทวน จํานวน - นาย

- นักเรยี นนายสิบ ฒ  จาํ นวน - นาย - ลูกจา้ งประจํา/พลอาสาสมัคร/พนกั งานราชการ จาํ นวน - นาย ๓.๒.๑ สรุปในปีงบประมาณ ๒๕๖๑ มีผู้เข้ารับการฝึกอบรมหลักสูตรเพ่ิมพูนความรู้ จํานวน ๑๐ รุน่ ดงั น้ี - การปฐมนเิ ทศ อศจ.บรรจุใหม่ จํานวน ๑ รุ่น ๆ ละ ๑๕ นาย เวลา ๔ สัปดาห์ - พธิ ีกรด้านศาสนาฯ จํานวน ๑ รุน่ ๆ ละ ๖๐ นาย เวลา ๔ สปั ดาห์ - พฒั นาบุคลากรกองทัพบก จํานวน ๓ ร่นุ ๆ ละ ๘๐ นาย เวลา ๙ วัน - ปฏบิ ตั ธิ รรมในพรรษา จาํ นวน ๓ ร่นุ ๆ ละ ๘๐ นาย เวลา ๙ วัน ๔. คณุ ลักษณะทพ่ี งึ ประสงคข์ องผสู้ ําเรจ็ การศึกษา ตารางท่ี ๙ แสดงคุณลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์ของผู้สําเรจ็ การศึกษา ลาํ ดับ หลกั สูตร คุณลกั ษณะทีพ่ งึ ประสงค์ หมายเหตุ ตามแนวทาง ๑ นายทหารอนศุ าสนาจารย์ชน้ั สูง ๑. มีความรู้ ความสามารถปฏิบตั หิ นา้ ทีต่ าม รบั ราชการ (ชั้นนายพัน) ภารกิจของ อศจ.ระดบั กองพลและกองทพั ภาค ๒. ใหข้ อ้ เสนอแนะผูบ้ ังคับหนว่ ยและสามารถ กํากบั ดแู ลการปฏบิ ัตหิ นา้ ทีข่ อง อศจ.หนว่ ย รองไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ ๓. มีความรู้ ความเขา้ ใจการปฏบิ ัติหน้าทต่ี าม ภารกิจของ ทบ. ๕ ประการ ได้แก่ การปอ้ งกนั ประเทศ, การรกั ษาความม่ันคง ภายใน, การรักษาความสงบเรียบร้อย ภายในประเทศ การพัฒนาประเทศเพือ่ ความมั่นคง และการปฏิบตั ิภารกิจอน่ื ๆ ทางทหาร ทไี่ มใ่ ช่การสงคราม ๔. เป็นผู้นําทดี่ ี มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม มอี ดุ ม- การณค์ วามรกั ชาติ ศาสนา และ พระมหากษตั รยิ ์ มีสขุ ภาพรา่ งกายแข็งแรง ปฏิบตั ิหนา้ ทตี่ ามภารกจิ ทไี่ ด้รบั มอบหมาย ไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ      

ลาํ ดบั หลกั สตู ร คุณลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์ ณ  หมายเหตุ ๒ หลักสตู รนายทหารอนศุ าสนาจารย์ ๑. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจการปฏบิ ตั หิ น้าท่ี ตามแนวทาง รับราชการ ชัน้ ตน้ ตามภารกจิ ของ อศจ.ระดบั กรม เพ่มิ พนู ความรู้ (ช้ันนายร้อย) ๒. มคี วามรู้ ความเข้าใจการปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ีตาม เพ่มิ พูนความรู้ ภารกิจของ ทบ. ๕ ประการ ไดแ้ ก่ การป้องกันประเทศ, การรักษาความมนั่ คง ภายใน, การรักษาความสงบเรียบร้อย ภายในประเทศ การพัฒนาประเทศเพ่อื ความมั่นคง และการปฏิบตั ิภารกิจอื่น ๆ ทางทหาร ท่ไี มใ่ ชก่ ารสงคราม ๓. เปน็ ผนู้ าํ ที่ดี มคี ณุ ธรรม จริยธรรม มี อดุ มการณค์ วามรักชาติ ศาสนาและ พระมหากษัตริย์ มสี ขุ ภาพร่างกายแขง็ แรง ๓ การปฐมนเิ ทศ อศจ.บรรจใุ หม่ ๑. มอี ุดมการณ์และศรทั ธาในวิชาชพี อศจ. ตระหนกั และยดึ มั่นในจรรยาบรรณของ อศจ. ๒. มีความรู้ ความเขา้ ใจในการปฏบิ ัติงานของ อศจ. ในหนว่ ยระดับกรม ๓. มีระเบียบวนิ ัย และปฏบิ ัตติ นเหมาะสมกบั ความเปน็ นายทหารสัญญาบัตร ๔. มีความเปน็ ผูน้ ําที่ดี มคี ุณธรรม ๕. มีความรู้ในวิชาการพื้นฐานของทหารแตล่ ะ เหล่า ๔ การศาสนาและศลี ธรรม ๑. มีความรเู้ กยี่ วกับหลกั การและบทบัญญตั ิ ของศาสนาใหญ่ ๆ สามารถนําไปปฏบิ ัติ ตอ่ ศาสนิกในศาสนานนั้ ๆ ได้ถกู ตอ้ งและ เหมาะสม ๒. เขา้ ใจและซาบซง้ึ ในหลักธรรมทางพระ พุทธศาสนา ๓. เปน็ คนดมี คี ณุ ธรรม มสี ุขภาพร่างกาย แขง็ แรง    

ลาํ ดับ หลักสตู ร คุณลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ ด  ๕ พิธีกรดา้ นศาสนาประเพณแี ละ ๑. มีความรคู้ วามเขา้ ใจในระเบยี บปฏบิ ตั ิ หมายเหตุ วฒั นธรรมไทย ศาสนพธิ ี ประเพณีและวฒั นธรรมไทยได้ เพิ่มพูนความรู้ อยา่ งถูกตอ้ ง ๒. สามารถปฏบิ ตั หิ นา้ ที่พิธกี รในงานพิธีตา่ ง ๆ ได้เปน็ แบบฉบับเดยี วกนั ๕. งบประมาณทไี่ ดร้ ับประจาํ ปี ๒๕๖๑ ตารางท่ี ๑๐ แสดงงบประมาณท่ีไดร้ บั ในปีงบประมาณ ๒๕๖๑ ลําดับ รายการ งบประมาณทข่ี อต้ัง งบประมาณทีไ่ ดร้ บั ๑ หลักสูตรนายทหารอนศุ าสนาจารย์ช้นั สูง รุ่นที่ ๙ ๕๑๖,๖๘๐.- ๕๐๖,๖๘๐.- ๒ หลักสูตรการปฐมนิเทศนายทหารอนุศาสนาจารย์ ๑๗๓,๖๔๕.- ๑๗๓,๖๔๕.- บรรจุใหม่ รุ่นท่ี ๗ ๓ การประกนั คุณภาพการศึกษา ๓๕,๐๐๐.- ๓๕,๐๐๐.-

ต  รายงานผลการปรับปรุงพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาตามข้อเสนอแนะ ของคณะอนกุ รรมการประเมินคณุ ภาพการศกึ ษาของ ทบ. หรือ คณะกรรมการประเมินคณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา ตารางท่ี ๑๑ สรุปผลการปรับปรุงพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามข้อเสนอแนะจากการประเมินคุณภาพเมื่อปี ๒๕๖๐ สถานะ ระยะเว ดําเ ินนการแล้ว อ ู่ยระห ่วางดําเ ินนการ ลําดับ จดุ ท่ีควรพฒั นาและ การดาํ เนินงาน ลา ผลดําเนินการ หลกั ฐาน ผู้รบั ผดิ ชอบ ข้อเสนอแนะ ปรบั ปรุงพัฒนา ดาํ เนินก ยังไม่ดําเ ินนการ เอกสาร าร ๑. ชอ่ื โครงการไม่ตรงกบั เปล่ียนชอื่ โครงการให้ ๒๕๖๒ / เปลยี่ นชอ่ื แผนก ท่ีระบไุ ว้ใน SAR ตรงกับ SAR / โครงการ วิชาการฯ แผนกอบรม ๒ การกาํ หนดวิสยั ทัศน์ กาํ หนดวิสยั ทศั น์ใหม่ ๒๕๖๒ / ประชมุ เป็นนามธรรม ไมไ่ ด้ ใหม้ หี ้วงเวลาในการ ทบทวน แผนก ระบหุ ้วงเวลาบรรลุ บรรลเุ ปา้ หมาย / วิสยั ทศั น์ วชิ าการฯ เปา้ หมาย ระบบ แผนก ๓ ระบบสารสนเทศครู ทาํ ระบบสารสนเทศ ๒๕๖๒ สารสนเทศ วิชาการฯ อาจารย์ เป็นเอกสาร ด้วยระบบอเิ ลก็ ทรอ ออนไลน์ นิกส์ ระบบ สารสนเทศ ๔ ระบบสารสนเทศงาน ระบบสารสนเทศงาน ๒๕๖๒ งานประกัน ประกัน ประกันไม่เรยี ลไทม์ แบบเรียลไทม์

๑ ส่วนท่ี ๒ ผลการดําเนนิ งานประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน กอศจ.ยศ.ทบ. ได้ดําเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ตามมาตรฐานและตัวบ่งชี้การตรวจสอบ และประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษา ระดับ รร.หน่วยและเหล่าสายวิทยาการของ ทบ. (พ.ศ.๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) จาํ นวน ๔ มาตรฐาน ๑๐ ตวั บ่งช้ี ดงั น้ี มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพการบรหิ ารสถานศกึ ษา ตัวบง่ ช้ี ๑.๑ คณุ ภาพการบริหารสถานศกึ ษา เกณฑ์ที่ ๑ มีกระบวนการทบทวน จัดทํา วสิ ัยทัศน์ พันธกิจ แผนแม่บท/แผนพัฒนาของสถานศึกษา อยา่ งเปน็ ระบบ ครอบคลุมการบริหารสถานศึกษาทกุ ด้าน กอศจ.ยศ.ทบ. มกี ารวิเคราะห์สภาพแวดล้อม (SWOT ANALYSIS) ทบทวนวิสยั ทศั น์ พนั ธกิจ แผนแมบ่ ท ดว้ ยการประชุมผบู้ ริหาร ครู อาจารยเ์ พอ่ื ร่วมวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อม กําหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ แผนแม่บท โดยมี แผนกอบรมฯ เป็นหน่วยรับผิดชอบ ผลการวิเคราะห์/ทบทวน/การดําเนินงานทําให้ครู อาจารย์ ทุกคนได้มีส่วน ร่วมในการกําหนดวิสัยทัศน์ฯ และได้วสิ ัยทัศน์เพื่อนําไปกําหนดอัตลักษณ์ของ นทน./นสน. และความโดดเด่นของ สถานศึกษามากขึ้น (เอกสาร ๑.๑.๑.๑) เกณฑ์ท่ี ๒ มีแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ท่สี อดคล้องกับแผนแม่บท/แผนพฒั นาสถานศกึ ษา กอศจ.ยศ.ทบ. มีการประชุมจดั ทํา แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ให้สอดคล้องกับแผนแม่บท/แผนพัฒนา สถานศึกษาโดยใช้วิสัยทัศน์ อัตลักษณ์ และความโดดเด่นของสถานศึกษาเป็นตัวตั้ง แล้วกําหนดแผนงาน/ โครงการ/กิจกรรมให้สอดคล้อง ซึ่งได้มอบหมายให้แผนกอบรมฯ เป็นหน่วยรับผิดชอบ มีแผนงาน/โครงการ/ กิจกรรม ที่สําคัญ คือ โครงการพัฒนาศักยภาพ อศจ./ผู้เรียน และ แผนการตรวจกิจการ อศจ.ทบ. ประจําปี (เอกสาร ๑.๑.๒.๑) เกณฑท์ ี่ ๓ มีการดําเนินงานตามแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ตามเปา้ หมายทกี่ ําหนด กอศจ.ยศ.ทบ. มกี ารดาํ เนินงานตามแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม โดยกําหนดความเร่งด่วนดังนี้ โครงการ พัฒนาศักยภาพ อศจ./ผู้เรียน สอดแทรกประสบการณ์ในการปฏิบัติงานระหว่างเรียน วิพากย์หลักสูตร ประเมิน ผู้สําเร็จการศึกษาไปยังหน่วยต้นสังกัด ออกตรวจกิจการ อศจ.ทบ. ประจําปี โดยมีแผนกอบรมฯ แผนกวิชาการฯ และแผนกกําลังพลฯ รับผิดชอบ (เอกสาร ๑.๑.๓.๑) แต่อย่างไรก็ตามการดําเนินการดังกล่าวมีข้อขัดข้องเพียง เลก็ น้อย เช่น หน่วยไมส่ ่งแบบประเมินผสู้ าํ เร็จการศกึ ษากลับมายงั สถานศกึ ษา เป็นตน้ เกณฑท์ ่ี ๔ มีการประเมินผล แผนงาน/โครงการ/กจิ กรรม ตามเป้าหมายทีก่ ําหนด กอศจ.ยศ.ทบ. ใช้วิธีการประเมิน แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ด้วยแบบประเมินศักยภาพ อศจ./นทน. การสังเกตเมอ่ื พบจดุ บกพรอ่ งแล้วกแ็ นะนําใหป้ รับปรงุ เปล่ยี นแปลงให้ถูกต้อง (เอกสาร ๑.๑.๔.๑)    

๒ เกณฑ์ท่ี ๕ มกี ารนําผลการประเมินในเกณฑท์ ี่ ๔ ไปปรบั ปรงุ พัฒนา แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ในปตี อ่ ไป กอศจ.ยศ.ทบ. ได้นาํ ผลการประเมินฯ จากการไปตรวจกจิ การ อศจ.ทบ. ประจาํ ปี ที่เป็นจุดบกพร่อง เช่น อศจ.ทบ. บกพร่องในการปฏิบัติงาน มีความประพฤติไม่เหมาะสม เป็นต้น นํามากําหนดแนวทางพัฒนา เช่น การขอตัวมาช่วยราชการที่ กอศจ.ยศ.ทบ. และทําหลักสูตรพัฒนาศักยภาพ อศจ.ทบ. ระยะสั้น ซึ่งมีข้อขัดข้อง ในเรื่องการสนบั สนุนทพี่ กั แก่ อศจ. ระหวา่ งมาชว่ ยราชการ หรอื ระหว่างอบรม สําหรับการปรับปรุงพัฒนาในกระบวนการเรียนการสอน ได้ปลูกฝังจิตสํานึกแห่ง อศจ. ด้วยการให้กล่าว วินัย อศจ.ทบ. ๑๓ ข้อ และคําปฏิญญา หน้าพระพุทธสิงห์ชัยมงคล ภายหลังการไหว้พระสวดมนต์ (เอกสาร ๑.๑.๕.๑) รายการเอกสารอา้ งอิง เอกสารแสดงการประชุมกําหนดวสิ ยั ทัศน์ อตั ลักษณ์ ความโดดเด่น ๑. เอกสารหมายเลข ๑.๑.๑.๑ เอกสารแสดงโครงการพัฒนาศักยภาพ อศจ./ผ้เู รยี น ๒. เอกสารหมายเลข ๑.๑.๒.๑ เอกสารแสดงการวิพากยห์ ลักสูตร, ประเมนิ ผ้สู าํ เร็จการศึกษา และตรวจกจิ การ ๓. เอกสารหมายเลข ๑.๑.๓.๑ อศจ.ทบ. ประจําปี ๒๕๖๑ เอกสารแสดงการประเมนิ โครงการพัฒนาศกั ยภาพ อศจ./นทน. ๔. เอกสารหมายเลข ๑.๑.๔.๑ เอกสารแสดงการปลกู ฝงั จติ สาํ นกึ แหง่ อศจ.ทบ. ๕. เอกสารหมายเลข ๑.๑.๕.๑ ตารางท่ี ๑ สรปุ คะแนน ตวั บ่งช้ี ๑.๑ คณุ ภาพการบรกิ ารสถานศกึ ษา ลาํ ดบั เกณฑ์การประเมิน คะแนน คะแนนเตม็ ผลการประเมนิ ๑. มีกระบวนการจดั ทําและ/หรอื ทบทวนวสิ ยั ทศั น์ พนั ธกจิ แผนแม่บท/แผนพฒั นาของ ๓ ๓ สถานศึกษา อยา่ งเปน็ ระบบ ครอบคลุมการบรหิ ารสถานศกึ ษาทุกด้าน ๒. มีแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมท่สี อดคลอ้ งกบั แผนแมบ่ ท/แผนพัฒนาสถานศึกษา ๓ ๓ ๓. มกี ารดาํ เนินงานตามแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ในเกณฑ์ที่ ๒ ๒๒ ๔. มีการประเมินผล แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ตามเปา้ หมาย/วตั ถุประสงค์ทก่ี ําหนด ๑ ๐ ๕. มีการนําผลการประเมินในเกณฑ์ที่ ๔ ไปปรบั ปรุง พฒั นา แผนงาน/โครงการ/ ๑ ๐ กิจกรรม ในปตี อ่ ไป รวมคะแนน ๑๐ ๘    

๓ ตัวบง่ ชี้ ๑.๒ ผลการบริหารสถานศกึ ษา เกณฑ์ท่ี ๑ การบริหารและพฒั นาบคุ ลากรในสถานศกึ ษา (Man) กอศจ.ยศ.ทบ. มีเป้าหมายการพัฒนาบุคลากรในสถานศึกษาให้มีความรู้ในวิชาชีพอนุศาสนาจารย์ โดย จัดอบรมเพ่ิมเติมความรู้ประจําปี มีการบริหารและพัฒนาบุคลากรในสถานศึกษาด้วยการส่งเข้ารับการอบรม หลักสูตรครูทหารชั้นสูงของ ทบ. และหลักสูตรครูทหารบก (เอกสาร ๑.๒.๑.๑) ซึ่งมีแผนกวิชาการและการศึกษาฯ รับผิดชอบ จากการวิเคราะห์ความต้องการบุคลากรแล้ว ไม่เพยี งพอตอ่ การปฏบิ ตั ิงานแต่ได้มีแผนงานในการบริหาร และพัฒนาบุคลากรโดยขอรับการสนับสนุน อศจ.หน่วยนอกช่วยราชการ เช่น การตรวจกิจการ อศจ.ทบ. และการ สนับสนุนงานสําคัญของ ทบ. (เอกสาร ๑.๒.๑.๒) ซ่ึงสามารถดําเนินการได้ตามที่กําหนด ผลการดําเนินงาน บรรลุ เปา้ หมาย และกอศจ.ยศ.ทบ.ฯ ได้จัดทาํ ฐานขอ้ มลู บคุ ลากรในรูปแบบออนไลน์ (เอกสาร ๑.๒.๑.๓) เกณฑท์ ่ี ๒ การบริหารและพัฒนาสงิ่ สนบั สนุนการเรยี นรู้ (Material) กอศจ.ยศ.ทบ. มเี ป้าหมายการพฒั นาสิง่ สนบั สนุนการเรียนรู้ให้สามารถใช้การได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๙๐ มีการบริหารและพัฒนาส่ิงสนับสนุนการเรียนรู้โดยยึดหลักประหยัด เกิดประโยชน์สูงสุด ด้วยการนําเทคโนโลยี (ทีไ่ มม่ ีลขิ สทิ ธ์ิ) มาสนับสนนุ (เอกสาร ๑.๒.๒.๑) และมอบหมายใหแ้ ผนกวิชาการและการศึกษาฯ เป็นผู้รับผิดชอบ ผลการวิเคราะห์ความต้องการส่ิงสนับสนุนการเรียนรู้มีความเพียงพอ มีแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม/ระบบ/อื่นๆ ที่ใช้ในการบริหาร ดําเนินการได้ตามท่ีกําหนด ผลการดําเนินงานบรรลุเป้าหมายบางส่วน ซ่ึงส่ิงที่ควรปรับปรุง พัฒนา คือ ระบบประเมินผลอิเล็กทรอนิกส์ และอย่างไรก็ตามกอศจ.ยศ.ทบ.ฯ ได้วางแผนในการจัดทําฐานข้อมูล สิ่งสนบั สนุนการเรียนรใู้ นรปู แบบออนไลน์ต่อไป เกณฑท์ ี่ ๓ การจดั การความรู้ในสถานศกึ ษา (Knowledge management) กอศจ.ยศ.ทบ. มีเป้าหมายการจัดการความรู้เพื่อตอบสนองนโยบายของ ทบ. ให้เป็นองค์กรแห่งการ เรียนรู้ มีการดําเนินการจัดการความรู้โดยให้แต่ละแผนกเสนอหัวข้อการจัดทํา คณะกรรมการฯ ดําเนินการ คดั เลอื ก จดั ทํา นิเทศและเผยแพร่ โดยมีแผนกอบรมฯ เป็นหน่วยรับผิดชอบ (เอกสาร ๑.๒.๓.๑) ผลงานท่ีได้จาก การจัดการความรู้สามารถนําไปเป็นบทเรียนให้อนุศาสนาจารย์ฯ ท่ีปรับย้ายเข้ามาปฏิบัติงานในกอศจ.ยศ.ทบ. เรียนรู้และปฏิบัติงานได้ทันที เช่น การตรวจกิจการอนุศาสนาจารย์ฯ การปฏิบัติศาสนพิธี การทําส่ือ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ และขนั้ ตอนการอบรมศลี ธรรม เปน็ ต้น (เอกสาร ๑.๒.๓.๒) เกณฑท์ ่ี ๔ การบรกิ ารทางวิชาการ กอศจ.ยศ.ทบ.ฯ มีการให้บริการทางวิชาการตามความชํานาญ /ความเชี่ยวชาญในด้านต่าง ๆ โดย กาํ หนดให้แผนกอบรมฯ เป็นหน่วยงานรับผิดชอบ มีการบันทึกสถิติการไปสอน และปฏิบัติพิธี สรุปผลที่ได้จากการ บรกิ ารทางวชิ าการและการนําไปไปใชป้ ระโยชน์ (เอกสาร ๑.๒.๔.๑) แตก่ ็มีข้อขดั ข้องในการดําเนนิ งานคือ บุคลากร ไม่เพียงพอในการสนับสนุน ซ่ึงกอศจ.ยศ.ทบ.ฯ ได้แก้ไขปัญหาโดยการขอรับการสนับสนุนอนุศาสนาจารย์ฯ หน่วย ขา้ งเคียง (เอกสาร ๑.๒.๔.๒)    

๔ จากการบริการทางวิชาการ ทําให้กอศจ.ยศ.ทบ.ฯ เป็นท่ีรู้จักและการยอมรับจากหน่วยงานท้ังภายใน และภายนอกกองทัพบก ครู อาจารย์ได้มีโอกาสทบทวนความรู้และประสบการณ์ด้านวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ ความรู้ทางวิชาการศาสนา การปฏิบัติเก่ียวกับพิธีการ ให้ถูกต้องและเป็นไปในทิศทางเดียวกันกับกรมศาสนาและ สาํ นกั พระราชวงั เกณฑท์ ี่ ๕ การประกนั คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา กอศจ.ยศ.ทบ.ฯ มีเป้าหมายให้งานประกันคุณภาพการศึกษาเป็นงานปกติในการปฏิบัติงานของ หน่วยงาน โดยมีสํานักงานประกันคุณภาพการศึกษาฯ รับผิดชอบ มีการดําเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ภายในหน่วยโดยแต่งต้ังคณะอนุกรรมการฯ (เอกสาร ๑.๒.๕.๑) มีการให้ความรู้แก่บุคลากร การแบ่งมอบแผนกที่ เกี่ยวข้องกับงานปกติเป็นผู้รับผิดชอบมาตรฐานท่ีมีลักษณะงานเดียวกัน ได้จัดทํา SAR เป็นระบบอิเล็กทรอนิกส์ เมื่อปี ๒๕๖๐ (เอกสาร ๑.๒.๕.๒) แต่ขาดช่วงไป เน่ืองจากการปรับลดจํานวนมาตรฐานและตัวบ่งช้ี ประโยชน์ท่ี ได้รับจากประกันคุณภาพการศึกษา คือ โรงเรียนและบุคลากรมีความกระตือรือร้นในการพัฒนาตนและพัฒนาการ เรียนการสอนอยู่เสมอ แต่ก็มีขีดจํากัดในด้านภาระงานที่เกินกําลังคน แนวทางการพัฒนาและเป้าหมายต่อไปใน การดําเนินงานด้านประกันคุณภาพการศึกษา คือ ปรับปรุงพัฒนาระบบสารสนเทศงานประกันคุณภาพการศึกษา ออนไลน์แบบ REAL TIME ซึ่งมีแผนจะเริ่มใช้ในปี ๒๕๖๒ โดยให้แผนกวิชาการและการศึกษาฯ เป็นหน่วย รบั ผิดชอบ เกณฑ์ท่ี ๖ ผู้บริหารสถานศึกษามีคุณสมบัติเป็นไปตามนโยบายการศึกษาของ ทบ. พ.ศ.๒๕๖๐ – ๒๕๖๔ กาํ หนด ผูบ้ รหิ ารสถานศึกษามคี ณุ สมบัติ เปน็ ไปตามเงือ่ นไขท่ีกาํ หนด คือ ผ่านการอบรม (เอกสาร ๑.๒.๖.๑) ดงั น้ี ๑. หลกั สตู รครูทหารชนั้ สูง ๒. หลกั สูตรผู้ตรวจสอบและประเมินคณุ ภาพการศกึ ษา ๓. หลักสูตรผ้ปู ระเมินวิทยฐานะ รายการเอกสารอ้างอิงตวั บ่งชี้ท่ี ๑.๒ ๑. เอกสารหมายเลข ๑.๒.๑.๑ เอกสารส่งครู อาจารย์เขา้ รับการศกึ ษา อบรม สมั มนา ๒. เอกสารหมายเลข ๑.๒.๑.๒ เอกสารขอรับการสนบั สนนุ อศจ.หน่วยนอกช่วยราชการ ๓. เอกสารหมายเลข ๑.๒.๑.๓ ระบบฐานขอ้ มลู บคุ ลากรออนไลน์ ๔. เอกสารหมายเลข ๑.๒.๒.๑ แสดงระบบสนบั สนุนการเรยี นรู้ ๕. เอกสารหมายเลข ๑.๒.๓.๑ เอกสารแสดงการดําเนินงาน KM ๖. เอกสารหมายเลข ๑.๒.๓.๒ เอกสารแสดงผลการจัดทาํ KM ของหน่วย ๗. เอกสารหมายเลข ๑.๒.๔.๑ เอกสารสรุปผลการบริการทางวิชาการ ๘. เอกสารหมายเลข ๑.๒.๔.๒ เอกสารขอรับการสนบั สนุน อศจ.หน่วยขา้ งเคียง ๙. เอกสารหมายเลข ๑.๒.๕.๑ เอกสารแสดงผรู้ บั ผิดชอบมาตรฐานและตัวบ่งชี้ การประกันคณุ ภาพการศึกษา    

๕ ๑๐. เอกสารหมายเลข ๑.๒.๕.๒ เอกสารแสดงระบบ SAR อิเลก็ ทรอนกิ ส์ ๑๑. เอกสารหมายเลข ๑.๒.๖.๑ เอกสารแสดงการสง่ ช่ือผู้บรหิ ารเข้าอบรมฯ ตารางท่ี ๒ สรุปคะแนน ตวั บง่ ช้ี ๑.๒ ผลการบรหิ ารสถานศกึ ษา คะแนน คะแนนทไี่ ด้ คะแนนเต็ม ๒ เกณฑก์ ารพิจารณา ๒ ๒ ๒ ๑. การบริหารและพฒั นาบุคลากรในสถานศึกษา (Man) ๒ ๒ ๒. การบริหารและพฒั นาสง่ิ สนับสนุนการเรยี นรู้ (Material) ๒ ๑.๕ ๓. การจัดการความรใู้ นสถานศกึ ษา (Knowledge management) ๒ ๙.๕ ๔. การบรกิ ารทางวชิ าการ ๒ ๕. การประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษา ๑๐ รวมคะแนน ตวั บ่งช้ี ๑.๓ การพฒั นาสถานศกึ ษาให้มคี วามโดดเดน่ หรอื มเี อกลกั ษณ์ เกณฑ์ที่ ๑ การกาํ หนดความโดดเด่น/เอกลกั ษณข์ องสถานศึกษา กอศจ.ยศ.ทบ. ได้มีการกําหนดความโดดเด่น/เอกลักษณ์ ให้เป็น “หน่วยจัดการศึกษาด้านการศาสนา และศลี ธรรม ฝึกอบรมดา้ นวัฒนธรรมประเพณี และวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปฏั ฐานสี่ของกองทัพ” (เอกสาร ๑.๓.๑.๑) ซ่ึงความโดดเด่นดังกล่าว ได้รับการยอมรับจาก ทบ. ส่วนราชการ องค์กรทางศาสนา และหน่วยงาน เอกชน จึงขอรับการสนับสนุน อศจ. ไปบริการทางวิชาการด้านศาสนพิธี (เอกสาร ๑.๓.๑.๒) ความโดดเด่นของ กอศจ.ยศ.ทบ. ประกอบด้วย (เอกสาร ๑.๓.๑.๓) ๑. ความเช่ียวชาญด้านศาสนพธิ ีทางราชการ ๒. ความเชีย่ วชาญดา้ นการศาสนาและศีลธรรม ๓. ความเชีย่ วชาญดา้ นการปฏบิ ตั ิธรรม เกณฑ์ที่ ๒ มีแผนงาน/โครงการ/กจิ กรรม พฒั นาความโดดเดน่ /เอกลักษณ์ตามท่สี ถานศกึ ษากาํ หนด กอศจ.ยศ.ทบ. มีเป้าหมายการพัฒนาสถานศึกษาด้านความโดดเด่น/เอกลักษณ์ให้อนุศาสนาจารย์มีความ เช่ียวชาญด้านศาสนพิธีทางราชการ การศาสนาและศีลธรรมและการปฏิบัติธรรมตามแนวสติปัฏฐาน ๔ โดย ปรับปรุงหลักสูตรการศึกษาให้มีเนื้อหาวิชาเหล่าน้ีทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ นอกจากน้ันยังกําหนดแผนงาน/ โครงการ/กิจกรรม ที่จะพัฒนาความโดดเด่น/เอกลักษณ์ ด้วยการให้ นทน./นสน. ได้ฝึกปฏิบัติจากประสบการณ์ จริงโดยการร่วมปฏิบัติศาสนพิธีในพิธีสําคัญของ ทบ. เช่น กฐินพระราชทาน ทบ., กฐินสามัคคี ทบ., โครงการ อุปสมบท/ปฏิบัติธรรมเฉลิมพระเกียรติ เป็นต้น นอกจากน้ันได้ฝึกทักษะการอบรมศีลธรรมของ นทน. ตาม รปจ.    

๖ ของหลักสตู ร ภายหลงั เคารพธงชาติ โดยกําหนดใหแ้ ผนกศาสนพิธีเป็นหน่วยรบั ผดิ ชอบ ซึ่งได้กําหนดกรอบเวลาใน การดาํ เนนิ งานตลอดหลักสตู รและใหม้ กี ารประเมนิ ในแตล่ ะครั้งทีป่ ฏบิ ตั ิ (เอกสาร ๑.๓.๒.๑) เกณฑ์ท่ี ๓ มีการดําเนินงานตาม แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ในเกณฑ์ที่ ๒ และมีผลผลิต/ผลงานเกิดขึ้นเป็น รปู ธรรม กอศจ.ยศ.ทบ. มีการดําเนินงาน ตามแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ท่ีกําไว้ในเกณฑ์ที่ ๒ โดยจัดทําคู่มือการ ฝึกทักษะการปฏิบัติงานในหน้าที่ อศจ. ให้กับ นทน. โดยให้ทุกคนประเมินเพ่ือนร่วมชั้นและตนเองเม่ือมีการฝึก ปฏิบตั ิ และใหส้ ่งคืนก่อนปิดหลักสตู ร ๑ สัปดาห์ ถ้าไม่ส่งจะไม่ประกาศผลการศึกษาให้ทราบ ซึ่งการปฏิบัติเป็นไป ตามแผนร้อยละ ๙๐ สําหรับปัญหาท่ีเกิดข้ึน คือ นทน.บางนายทําสมุดคู่มือหาย ไม่มีส่งเม่ือถึงกําหนด โดยในปี ๒๕๖๒ ได้กาํ หนดมาตรการควบคมุ ด้วยการเรียกตรวจทุกสัปดาห์ (เอกสาร ๑.๓.๓.๑) เกณฑท์ ี่ ๔ มกี ารประเมินแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทสี่ รา้ งความโดดเดน่ /เอกลกั ษณ์ของสถานศกึ ษา กอศจ.ยศ.ทบ. ได้มีการประเมนิ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ๒ แนวทาง คอื ๑. การส่งแบบประเมินผู้สําเร็จการศึกษากลับไปท่ีหน่วย (ผู้บังคับบัญชา, เพ่ือร่วมงาน, ผู้สําเร็จ การศกึ ษา) (เอกสาร ๑.๓.๔.๑) ๒. การกาํ หนดแผนออกตรวจกจิ การ อศจ.ทบ. ประจาํ ปี ด้วยการสอบถามผู้บังคับบัญชา ตรวจเอกสาร ปฏิบัติงานในสายงาน และสังเกตการณ์การปฏิบัติงานในหน้าที่ เช่น การสอนทหารสวดมนต์, การอบรมศีลธรรม วัฒนธรรมทหาร เป็นต้น (เอกสาร ๑.๓.๔.๒) เกณฑ์ท่ี ๕ การนําความโดดเด่น/เอกลักษณ์ของสถานศึกษาไปใช้ประโยชน์ กอศจ.ยศ.ทบ. ไดน้ ําผลผลิต/ผลงานทเี่ กิดจากการสร้างความโดดเด่น/เอกลักษณ์ ของสถานศึกษาไปใช้ ประโยชน์ด้วยการบริการวิชาการแก่ส่วนราชการ องค์กรทางศาสนา และภาคประชาชน เช่น การสนับสนุนที่นั่ง อบรมหลักสูตรพิธีกรด้านศาสนาประเพณีและวัฒนธรรมไทยแก่ ตชด., และ สธ. เป็นต้น นอกจากนั้นยังสนับสนุน อศจ.ยศ.ทบ. แก่ จบ. ในการเป็นคณะกรรมการประเมินคุณภาพชีวิตทหารด้านคุณธรรมจริยธรรมทุกปี (เอกสาร ๑.๓.๕.๑) รายการเอกสารอ้างองิ ๑. เอกสารหมายเลข ๑.๓.๑.๑ เอกสารแสดงการกําหนดวสิ ยั ทัศน์ อตั ลักษณแ์ ละความโดดเด่น ๒. เอกสารหมายเลข ๑.๓.๑.๒ เอกสารสรุปการบริการทางวชิ าการ ๓. เอกสารหมายเลข ๑.๓.๑.๓ เอกสารคู่มอื ศาสนพธิ ี, วชิ าการศาสนาและศีลธรรม เอกสารแสดงการปฏิบัตธิ รรม ๔. เอกสารหมายเลข ๑.๓.๒.๑ เอกสารแสดงการฝกึ ทกั ษะการปฏบิ ัตพิ ิธี การเปน็ พิธกี รและอบรมศลี ธรรม ๕. เอกสารหมายเลข ๑.๓.๓.๑ (ปฏิบตั ใิ นปี ๒๕๖๒) ๖. เอกสารหมายเลข ๑.๓.๔.๑ เอกสารประเมนิ ผูส้ ําเร็จการศกึ ษา ๗. เอกสารหมายเลข ๑.๓.๔.๒ เอกสารสรปุ ผลการตรวจกิจการ อศจ.ทบ. ประจาํ ปี ๒๕๖๑ ๘. เอกสารหมายเลข ๑.๓.๕.๑ เอกสารแสดงการสนับสนนุ ทนี่ ั่งอบรมฯ จัด อศจ.สนบั สนนุ จบ.    

๗ ตารางท่ี ๓ สรปุ คะแนนตัวบ่งชี้ ๑.๓ การพัฒนาสถานศึกษาใหม้ คี วามโดดเดน่ หรือมเี อกลักษณ์ คะแนน เกณฑก์ ารพจิ ารณา ผลการ คะแนนเต็ม ประเมนิ ตนเอง ๑. การกาํ หนดความโดดเด่น/เอกลักษณข์ องสถานศกึ ษา ๒๒ ๒. มแี ผนงาน/โครงการ/กจิ กรรม พัฒนาความโดดเดน่ /เอกลักษณต์ ามทส่ี ถานศึกษา ๒ ๒ กาํ หนด ๓. มกี ารดาํ เนินงานตาม แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ในเกณฑท์ ี่ ๓ และมผี ลผลติ / ๒ ๒ ผลงานเกิดขึน้ เป็นรปู ธรรม ๔. มกี ารประเมิน แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทส่ี รา้ งความโดดเด่น/เอกลกั ษณข์ อง ๒ ๑ สถานศกึ ษา ๕. การนาํ ความโดดเด่น/เอกลักษณ์ของสถานศึกษาไปใชป้ ระโยชน์ ๒๒ รวมคะแนน ๑๐ ๙ ตารางท่ี ๔ สรปุ ผลการประเมินตนเอง มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพการบรหิ ารสถานศึกษา เกณฑ์การพจิ ารณา คะแนน ตวั บ่งชี้ ๑.๑ คณุ ภาพการบริหารสถานศึกษา คะแนนเต็ม ผลการประเมิน ตัวบง่ ช้ี ๑.๒ ผลการบริหารสถานศกึ ษา ตนเอง ตัวบ่งชี้ ๑.๓ การพัฒนาสถานศึกษาให้มคี วามโดดเดน่ หรอื มเี อกลักษณ์ ๑๐ ๘ รวม คะแนนเฉล่ยี (คะแนนเตม็ ๑๐) = ผลรวมของคะแนน ÷ จํานวนตวั บ่งชี้ ๑๐ ๙.๕ ระดบั คุณภาพ ๑๐ ๙ ๓๐ ๒๖.๕ ๒๖.๕ ÷ ๓ = ๘.๘๓ ดี การวเิ คราะห์มาตรฐานที่ ๑ จดุ เดน่ /จดุ แขง็ - กอศจ.ยศ.ทบ. มีความโดดเด่นด้านการสอนศาสนาและศีลธรรม วัฒนธรรมประเพณีและ การปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐานส่ี จึงเป็นท่ียอมรับของส่วนราชการ องค์กรทางศาสนาและ ภาคประชาชน    

๘ จดุ ท่ีควรพฒั นา - การสนับสนนุ และบริการทางวิชาการ มีผลกระทบกับการปฏิบตั ิงานสอนของครู อาจารย์ ขอ้ เสนอแนะเพอื่ การพฒั นา - การปรับโครงสร้างหน่วยโดยแยกส่วนการศึกษา ออกจากส่วนบริหาร เพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพ การเรียนการสอน    

๙ มาตรฐานที่ ๒ คณุ ภาพหลกั สตู รและการจดั การเรียนรู้ ตัวบง่ ช้ี ๒.๑ การบรหิ ารและพฒั นาหลักสตู รทมี่ คี ณุ ภาพ เกณฑ์ท่ี ๑ มกี ารนาํ นโยบายของหนว่ ยเหนือมาใชใ้ นกระบวนการบริหาร ปรบั ปรุงและพัฒนาหลกั สตู ร กอศจ.ยศ.ทบ. ไดน้ าํ หลักการนโยบายแผนพฒั นาของหนว่ ยเหนือมาดําเนินการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร ให้ทันสมัยสอดคล้องกับความต้องการของ ทบ./หน่วยท่ีเก่ียวข้อง/สถานการณ์ปัจจุบันและอนาคตของกําลังพลให้มี ความรู้ความสามารถตามตาํ แหน่งหนา้ ท่ซี ึง่ จะส่งผลให้มปี ระสทิ ธิภาพในการปฏบิ ัติตามภารกจิ (เอกสาร ๒.๑.๑.๑) ได้มอบหมายให้ แผนกวิชาการ กอศจ.ยศ.ทบ. โดย หน.วิชาการและการศึกษาฯ กํากับดูแล และ รบั ผิดชอบในการปรับปรงุ และพัฒนาหลักสตู ร ดังนี้ ๑) ด้านหลักสูตร คือ มุ่งเน้นการพัฒนาหลักสูตรที่ได้อนุมัติให้เปิดทําการเรียนการสอน ตามคําแนะนําจากผลการประเมินคุณภาพการศึกษาประจําปีงบประมาณ ๒๕๖๐ โดยทําการปรับปรุงหลักสูตร สาระสําคญั การเรยี นการสอนใหม้ ีความทนั สมัย สอดคลอ้ งต่อภารกิจหลกั กองทพั บกและนโยบายนโยบายการฝึก - ศึกษา ประจําปี ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔ ๒) ด้านครูและอาจารย์ คือ มุ่งเน้นการส่งเสริมและการพัฒนาความรู้ประสบการณ์ครู อาจารย์สู่การ เป็นครูทหารกองทัพบกทมี่ ีมาตรฐานในด้านวิชาการและการจัดการดา้ นการศกึ ษา รวมท้งั การสง่ เสริมและพัฒนาครู และอาจารย์ในด้านความรู้ โดยส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้เข้ารับการศึกษาตามหลักสูตรต่างๆท่ีกองทัพบกกําหนด เช่น หลกั สตู รครูทหาร เพือ่ เป็นการพฒั นาศักยภาพของครอู าจารย์ในหนว่ ยให้มคี วามรู้ความสามารถตามตําแหน่งหน้าที่ ซึ่งจะสง่ ผลให้มปี ระสทิ ธิภาพในการปฏิบัตติ ามหน้าท่ภี ารกิจในหนว่ ย ๓) ด้านผู้เรียน คือ มุ่งเน้นในการพัฒนาศักยภาพของผู้เข้ารับการศึกษาให้มีความรู้ตามแนวทางรับ วิชาการทหารในตําแหน่งหน้าที่เพ่ือรองรับการปฏิบตั ิภารกิจของกองทัพบกและนโยบายอื่นๆ ท่ีเก่ียวข้อง ผ่านการ ทาํ กจิ กรรมและการศึกษาวชิ าการความรูท้ จ่ี ดั ขน้ึ ภายในสถานศึกษา ๔) ด้านการจัดการและการบริหาร คือ มุ่งเน้นการอํานวยการ กํากับการ และการประสานสอดคล้อง ร่วมกันกับหน่วยเหนือ หน่วยรอง ท่ีเก่ียวข้องภายในสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ เพ่ือให้กระบวนการศึกษามี คณุ ภาพและความทนั สมยั ตอ่ ภารกจิ ของกองทพั บก เกณฑท์ ี่ ๒ มีกระบวนการบรหิ ารและพฒั นาหลกั สูตรตามหลักวชิ าการอย่างเปน็ ระบบ กอศจ.ยศ.ทบ. มีกระบวนการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรที่อยู่ในความรับผิดชอบโดยมีขั้นตอน/ วิธกี าร ดังนี้ ๑. ตรวจสอบหลักสูตรทไ่ี ด้รับอนมุ ตั เิ กนิ ๕ ปี ๒. แต่งต้ังคณะกรรมการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร เพ่ือพิจารณาเน้ือหาวิชาหลักให้ทันสมัย สอดคล้องกับนโยบายการศึกษาของ ทบ., นโยบายการฝึก - ศึกษาของ ยศ.ทบ., ผู้บังคับบัญชาและผลการตรวจ กจิ การ อศจ.ทบ. ๓. ขอให้หน่วยเจา้ ของเหลา่ ชว่ ยพจิ ารณาความเหมาะสมของวชิ าเหล่า สายวิทยาการ ๔. ทดลองใช้ ประเมนิ และขออนุมัติ ทบ.

๑๐ ปัจจุบัน กอศจ.ยศ.ทบ. มีหลักสูตรท่ีต้องดําเนินการปรับปรุง จํานวน ๕ หลักสูตร ขณะน้ีอยู่ระหว่าง รออนมุ ัตริ ะเบียบการจัดทําหลกั สูตรใหมข่ อง ทบ. (เอกสาร ๒.๑.๒.๑) เกณฑท์ ี่ ๓ มกี ารดาํ เนนิ การตามกระบวนการปรับปรุงและพัฒนาหลักสตู ร กอศจ.ยศ.ทบ. ได้ปรับปรุงพัฒนาหลักสูตรโดยแต่งต้ังคณะทํางานปรับปรุงพัฒนาหลักสูตร โดยมอบหมาย ให้แผนกวชิ าการและการศึกษาฯ เปน็ หน่วยรับผดิ ชอบ แต่ยังไมส่ ามารถดําเนินการการได้ตามกระบวนการ เน่อื งจากอยู่ ระหว่างการอนมุ ัตริ ะเบียบการจัดทําหลกั สูตรใหมข่ อง ทบ. เกณฑท์ ี่ ๔ มีการประเมนิ ผลการบริหาร และพัฒนาหลกั สูตร กอศจ.ยศ.ทบ. แบ่งการประเมนิ ผลการบรหิ ารและพัฒนาหลักสตู รเป็น ๓ ส่วน ดังนี้ ๑. ก่อนเปดิ สาํ รวจอายขุ องหลักสตู ร ๒. ระหว่างเปิด ทําการวิพากย์หลักสูตรโดย ครู อาจารย์ และผู้เรียนเพื่อพิจารณาวิชาที่ ล้าสมัย ๓. หลังปดิ หลักสูตร ส่งแบบประเมนิ ผู้สําเรจ็ การศึกษาไปยงั หนว่ ยต้นสังกัด คณะทํางานพัฒนาปรับปรุงหลักสูตร ประชุมพิจารณาความเหมาะสมแล้วขออนุมัติ ทบ. ปัจจุบันอยู่ ระหว่างการร่างหลกั สูตรเพือ่ เสนอคณะทาํ งานพจิ ารณา (เอกสาร ๒.๑.๔.๑) เกณฑท์ ี่ ๕ มีการนาํ ผลการประเมนิ ไปปรบั ปรุง พฒั นาการบริหารและพฒั นาหลกั สตู ร กอศจ.ยศ.ทบ. นําผลการประเมินในประเด็นความรู้ในวิชาชีพ ความสามารถในการปฏิบัติงาน ความ เป็นผู้มีคุณธรรม มีจิตอาสาและทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ ไปปรับปรุงพัฒนาการบริหารและพัฒนาหลักสูตร เป้าหมายการพฒั นา คอื ผสู้ ําเรจ็ การศึกษาเชีย่ วชาญในวชิ าชีพ เป็นผู้นําทางคุณธรรม และมีทักษะการปฏิบัติงาน ตามนโยบาย จก.ยศ.ทบ. (๕ + ๑) ปัจจบุ นั ยังไมด่ าํ เนนิ การพฒั นาอยรู่ ะหวา่ งรอระเบียบใหม่จาก ทบ. รายการเอกสารอ้างอิง รายงานสรุปสถานภาพหลกั สูตรของ กอศจ.ยศ.ทบ. ๑. เอกสารหมายเลข ๒.๑.๑.๑ คาํ สง่ั แตง่ ต้งั ผู้รับผิดชอบปรบั ปรุงและพัฒนาหลกั สูตร ๒. เอกสารหมายเลข ๒.๑.๒.๑ รา่ งหลักสูตรใหม่ ๓. เอกสารหมายเลข ๒.๑.๔.๑ ตารางที่ ๕ สรปุ คะแนนตวั บง่ ช้ี ๒.๑ การบริหารและพัฒนาหลักสูตรทมี่ คี ุณภาพ คะแนน เกณฑก์ ารพิจารณา คะแนนเตม็ ผลการประเมิน ตนเอง ๑. มกี ารนํานโยบายของหนว่ ยเหนอื มาใชใ้ นกระบวนการบริหารและพัฒนาหลักสตู ร ๒ ๒. มกี ระบวนการบรหิ ารและพัฒนาหลักสตู รตามหลกั วชิ าการอย่างเปน็ ระบบ ๒ ๓. มีการดาํ เนนิ การตามกระบวนการบรหิ าร และพัฒนาหลกั สตู ร ๔. มกี ารประเมินผลการบริหาร และพฒั นาหลักสตู ร ๒๒ ๕. มกี ารนําผลการประเมินไปปรบั ปรงุ พัฒนาการบรหิ ารและพฒั นาหลกั สูตร ๒๒ รวม ๒๒ ๒๑ ๑๐ ๙

๑๑ ตวั บ่งช้ี ๒.๒ ประสทิ ธิภาพการจัดการจัดการเรยี นรู้ เกณฑ์ท่ี ๑ มีการจัดทาํ ขอบเขตการสอน/ประมวลรายวชิ า และมีแผนการสอน/แผนจดั การเรยี นรู้ เพื่อใหก้ ารจัดการเรยี นร้มู ีคุณภาพ ตามจุดมงุ่ หมายของหลักสูตร และวัตถุประสงค์รายวิชา กอศจ.ยศ.ทบ. ได้จัดทําขอบเขตการสอน ,ประมวลการสอน และแผนการสอนวิชาหลักทุกรายวิชา เพ่ือให้ครู อาจารย์ มีความเข้าใจ วัตถุประสงค์ของการเรียนการสอนในรายวิชาท่ีรับผิดชอบ สามารถกําหนดกิจกรรมการเรียนการสอนให้เหมาะกับ ผู้เรียน อันจะสามารถทําให้การเรียนการสอนมีคุณภาพย่ิงขึ้น กอศจ.ยศ.ทบ.กําหนดให้ครู อาจารย์ทุกคน จัดทํา แผนการสอนและประมวลรายวิชา ทีม่ คี วามสอดคลอ้ งกบั แถลงหลกั สูตร (เอกสาร ๒.๒.๑.๑) เกณฑท์ ่ี ๒ มีการประชมุ เตรยี มความพรอ้ มในการจัดการเรียนรู้ตามหลกั สตู รก่อนเปดิ การศกึ ษาทุกหลักสตู ร กอศจ.ยศ.ทบ. ได้ประชุมเตรยี มความพร้อมในการจัดการเรียนการสอนก่อนเปิดหลักสูตรการศึกษาเพ่ือให้ ครู อาจารย์สามารถวางแผนการดําเนินงานล่วงหน้า และให้การเปิดการศึกษาเป็นไปด้วยความเรียบร้อย เพ่ือให้ ผู้อํานวยการศึกษา กอศจ.ยศ.ทบ. ได้รับทราบถึงปัญหา ข้อขัดข้องท่ีเกิดขึ้นจากการเปิดการศึกษาครั้งที่ผ่านมา รวมถึงพิจารณาแนวทางการแกไ้ ขปัญหา ใหก้ ารเปดิ การศกึ ษาเป็นไปด้วยความเรยี บรอ้ ย (เอกสาร ๒.๒.๒.๑) เกณฑท์ ่ี ๓ มกี ารจดั การเรียนรู้ ตามประมวลรายวชิ าและแผนการสอน/แผนจดั การเรียนรู้ กอศจ.ยศ.ทบ. โดยแผนกวิชาการและการศึกษาฯ มีการเตรียมการล่วงหน้าเก่ียวกับการจัดการเรียนการ สอนทุกครั้งมีการสรุปผลการจัดการเรียนการสอนหลังจากที่ครู อาจารย์ ได้ทําการสอนจบในแต่ละครั้ง มีการทํา บันทึกท้ายแผนการสอน เพ่อื ทบทวนเนื้อหาการสอนว่าเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของรายวิชา สอดคล้องกับแผนการ สอน ประมวลรายวิชาที่จัดทําข้ึนหรือไม่ พบปัญหาอุปสรรคอย่างไร และสามารถนําข้อมูลที่ได้ไปปรับปรงุ แผนการ สอนในครงั้ ต่อไป เพื่อให้ผเู้ รยี นไดร้ ับความร้ตู รงตามที่กาํ หนดไว้ในแถลงหลกั สูตรอยา่ งครบถว้ น (เอกสาร ๒.๒.๓.๑) เกณฑ์ที่ ๔ มกี ารประเมนิ ผลการจัดการเรียนรูท้ ุกหลกั สตู ร ได้ประเมินการจัดการเรียนการสอนทุกหลักสูตร โดยให้ นทน.ประเมินการจัดการเรียนการสอนทุกวิชา และ รายงาน/สรุปผลการประเมินการจัดการเรียนการสอน ท่ีครอบคลุมการประเมินจุดมุ่งหมายของหลักสูตร ผู้สอน วิธีการ จัดการเรียนการสอน สื่ออุปรณ์ เอกสาร ตํารา การวัดและการประเมินผลหลักสูตรท่ีเปิดสอนประจําปีงบประมาณ ๒๕๖๑ คิดเปน็ ร้อยละ ๑๐๐ (เอกสาร ๒.๒.๔.๑) เกณฑ์ท่ี ๕ มกี ารนําผลการประเมินการจัดการเรียนรไู้ ปปรบั ปรงุ พัฒนาการจัดการเรยี นรขู้ องแต่ละหลักสูตร จากผลการประเมินการจัดการเรยี นการสอน กอศจ.ยศ.ทบ. ไดด้ ําเนินการปรบั ปรงุ แกไ้ ขปัญหาขอ้ ขดั ข้อง ในการเปิดทําเรียนการสอนในหลักสูตร เช่น ยศ.ทบ. ไม่สามารถสนับสนุนที่พักสําหรับผู้เข้ารับการศึกษาได้ โดยได้ ขอรับการสนับสนุนท่ีพักจาก รร.กบ.ทบ.แทน ท้ังน้ีสามารถคํานวณร้อยละของการนําผลการประเมินหลักสูตรไป กําหนดแนวทางการพัฒนาการจดั การเรียนรไู้ ด้ ร้อยละ ๑๐๐ (เอกสาร ๒.๒.๕.๑) รายการเอกสารอา้ งองิ เอกสารแสดงขอบเขตการสอน,ประมวลฯ,แผนการสอน อศจ.ชนั้ สูง รุ่นที่ ๙ ๑. เอกสารหมายเลข ๒.๒.๑.๑ เอกสารแสดงการแบ่งมอบหน้าที่และประชุมเตรียมการเปดิ หลกั สูตรฯ ๒. เอกสารหมายเลข ๒.๒.๒.๑ บนั ทกึ ทา้ ยแผนการสอนแตล่ ะครั้ง ๓, เอกสารหมายเลข ๒.๒.๓.๑

๑๒ ๔. เอกสารหมายเลข ๒.๒.๕.๑ เอกสารขออนุมตั ปิ รับปรงุ การจดั การเรียนการสอนหลกั สูตร อศจ.ช้ันสูง รุน่ ที่ ๙ ตารางท่ี ๖ สรปุ คะแนนตวั บง่ ชี้ ๒.๒ ประสทิ ธภิ าพการจดั การเรียนรู้ คะแนน เกณฑก์ ารพิจารณา คะแนนเตม็ ผลการประเมนิ ๑. มกี ารจดั ทาํ ขอบเขตการสอน/ประมวลรายวชิ า และมแี ผนการสอน/แผนจัดการ ๒๒ เรียนรู้ ๒. มกี ารประชมุ เตรยี มความพร้อมในการจดั การเรยี นรตู้ ามหลักสตู รกอ่ นเปดิ ๒๒ การศึกษาทกุ หลกั สตู ร ๓. มีการจดั การเรยี นรู้ ตามประมวลรายวิชาและแผนการสอน/แผนจดั การเรยี นรู้ ๒๒ ๔. มีการประเมินผลการจดั การเรียนรู้ทุกหลกั สตู ร ๒๒ ๕. มกี ารนําผลการประเมินการจัดการเรียนรู้ ไปปรบั ปรงุ พฒั นาการจัดการเรียนรู้ ๒๒ แตล่ ะหลกั สตู ร ๑๐ ๑๐ รวม ตวั บ่งช้ี ๒.๓ การจดั การเรียนการสอนทเ่ี นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาํ คัญ เกณฑท์ ่ี ๑ มีการจัดการเรยี นรูท้ ่ีหลากหลาย กอศจ.ยศ.ทบ. มีการจัดการเรยี นการสอน โดยเน้นผเู้ รียนเป็นสําคัญ โดยดาํ เนนิ การศึกษาเป็นคณะ หรอื การ สอนเชิงอภิปราย เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ และประสบการณ์ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน หรือระหว่างผู้เรียนด้วยกัน รวมทั้งสนับสนุนการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง เตรียมการศึกษาล่วงหน้าก่อนเข้ารับการศึกษา โดยศึกษาจาก ระบบอีเลิร์นนิ่งของ กอศจ.ยศ.ทบ. เพ่ือให้เกิดความรู้และทักษะก่อนที่จะเข้ารับการศึกษาในชั้นเรียน และให้ผู้เรียน เลอื กทําผลงานท่ีตนเองสนใจเสนออาจารยป์ ระจําวิชา (เอกสาร ๒.๓.๑.๑) เกณฑ์ที่ ๒ มีการส่งเสริมผู้เรยี นให้ทาํ กจิ กรรม/ชน้ิ งาน/โครงการทีเ่ ชื่อมโยงกบั หนว่ ยงาน/กองทัพหรือสงั คม การจัดการเรียนการสอนของ กอศจ.ยศ.ทบ. มีวิธีการท่ีหลากหลายโดยการจัดกิจกรรมเสริมทักษะใน หลักสตู รการแบง่ กลมุ่ ให้ศึกษาเปน็ คณะ จดั กจิ กรรมให้ผเู้ รยี นได้ปฏิบัตงิ านในสถานจริง เชน่ การบรรยายธรรม การ สอนศีลธรรม การผลติ ส่อื แบบอิเลก็ ทรอนกิ ส์ เป็นต้น (เอกสาร ๒.๓.๒.๑) เกณฑ์ท่ี ๓ มกี ารสง่ เสริมทักษะการเรียนรูด้ ้วยตนเองให้ผเู้ รยี นไดเ้ รียนรจู้ ากการปฏบิ ตั ิท้งั ในและนอกหอ้ งเรยี น กอศจ.ยศ.ทบ. ส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเองให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากการปฏิบัติท้ังในและนอก หอ้ งเรียนโดยการมอบหมายหวั ข้อให้แกผ่ เู้ รียนไดศ้ ึกษาหาความรู้ดว้ ยตนเองจากห้องสมดุ ยศ.ทบ. คอมพิวเตอรข์ อง สถานศกึ ษา (อนิ เตอร์เนต) นอกจากนั้นไดน้ าํ ไปศกึ ษาดูงาน/ฝกึ ปฏิบตั ิพิธีฯ นอกสถานศกึ ษา และให้ทาํ รายงานเสนอ หน้าช้ันเรียน ทั้งน้ีสามารถคํานวณร้อยละของหลักสูตรที่มีการส่งเสริมให้เกิดทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเอง ร้อยละ ๑๐๐ (เอกสาร ๒.๓.๓.๑)

๑๓ เกณฑ์ท่ี ๔ มกี ารวัดและประเมนิ ผล ท่แี สดงถงึ ผู้สําเร็จการศกึ ษาทกุ นาย มีความรู้ความสามารถในการปฏิบัติ เป็นรายบคุ คลอยา่ งแท้จรงิ มีการดําเนนิ การวัดและการประเมินผลดา้ นความรคู้ วามสามารถและทักษะของผู้เรียน ด้วยวิธีการสอบวัด ความรู้ (ตัวบ่งชี้ ๔.๒ เกณฑ์ท่ี ๑) และกําหนดให้มีการวัดและประเมินผลผู้เรียนก่อนการศึกษา (Pre-test) และ ประเมินผลหลังเข้ารับการศึกษา (Post-test) สําหรับการวัดและการประเมินด้านคุณธรรมและจริยธรรม เป็นการ วัดจากการสงั เกตการณ์ (ตวั บ่งชี้ ๒.๑ เกณฑท์ ี่ ๔) มีขน้ั ตอนการวัดผลและประเมินผลดังน้ี ๑.การแตง่ ตั้งคณะกรรมการสรา้ ง,วิเคราะห์,ปรับปรุงและจัดทําคลังข้อสอบ ตลอดจนคัดเลือกข้อสอบและ เกบ็ รักษา (เอกสาร ๒.๓.๔.๑) ๒.การแต่งต้งั คณะกรรมการควบคมุ ห้องสอบ (เอกสาร ๒.๓.๔.๒) เกณฑท์ ี่ ๕ มกี ารนาํ ผลการประเมิน ผสู้ าํ เรจ็ การศกึ ษาไปปรับปรงุ และพัฒนาการจดั การเรียนรู้ การทดสอบความรกู้ อ่ นเขา้ เรียนจะถูกนํามาปรับปรุงวิธีการสอน เพ่ือให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ในระดับ การคิดวเิ คราะห์ ซ่งึ เป็นไปตามนโยบายของ ทบ. มกี ารนําผลจากการวดั และประเมนิ ผลมาทําการปรับปรุงการเรียน การสอนและพัฒนาหลกั สูตรโดยเน้นผเู้ รยี นเป็นสาํ คญั (เอกสาร ๒.๓.๕.๑) รายการเอกสารอ้างอิง ๑. เอกสารหมายเลข ๒.๓.๑.๑ โครงการพัฒนาศักยภาพ นทน. ๒. เอกสารหมายเลข ๒.๓.๒.๑ ผลงาน นทน.ที่บรู ณาการวิชาคอมพวิ เตอร์ วชิ าการอบรม วิชาการสอนการ ศาสนาและศลี ธรรม และวิชาวาทศาสตร์ ๓. เอกสารหมายเลข ๒.๓.๓.๑ เอกสารแสดงระบบอเี ลิรน์ นิ่ง กอศจ.ยศ.ทบ. และตารางแสดงการคํานวณ ๔. เอกสารหมายเลข ๒.๓.๔.๑ รายงานการนาํ ผลการวดั และการประเมินผลก่อนการศกึ ษา (Pre-test) ไป ปรบั ปรงุ พฒั นาผู้เรยี น กอศจ.ยศ.ทบ. ๕. เอกสารหมายเลข ๒.๓.๔.๒ คําส่ังแตง่ ตงั้ คณะกรรมการสร้างขอ้ สอบ วเิ คราะห์ปรบั ปรงุ ขอ้ สอบ และจดั ทาํ คลงั ขอ้ สอบและควบคุมหอ้ งสอบ ๖. เอกสารหมายเลข ๒.๓.๕.๑ รายงานผลจากการวัดผลและประเมินผลหลงั เขา้ รับการศกึ ษา

๑๔ ตารางท่ี ๗ สรปุ คะแนนตวั บง่ ชี้ ๒.๓ การจัดการเรยี นรูท้ เ่ี น้นผู้เรยี นเปน็ สําคญั เกณฑก์ ารพิจารณา คะแนน ๑. มกี ารจดั การเรียนรทู้ หี่ ลากหลาย คะแนนเตม็ ผลการประเมิน ๒. มีการส่งเสรมิ ผเู้ รียนใหท้ าํ กจิ กรรม/ชนิ้ งาน/โครงการทเ่ี ชอ่ื มโยง กบั หนว่ ยงาน/ กองทพั /สังคม ๒๒ ๓. มีการสง่ เสรมิ ทักษะการเรยี นรดู้ ้วยตนเอง ใหผ้ ูเ้ รยี นได้เรียนรูจ้ ากการปฏบิ ัตทิ งั้ ใน ๒๒ และนอกหอ้ งเรยี น ๔. มีการวัดและประเมินผลผสู้ าํ เรจ็ การศกึ ษาท่แี สดงว่า มคี วามรู้ ความสามารถใน ๒๒ การปฏิบตั ิเปน็ รายบุคคลอยา่ งแทจ้ รงิ ๕. มกี ารนําผลการประเมนิ ผสู้ ําเรจ็ การศึกษาไปปรับปรุง และพัฒนาการจดั การ ๒๒ เรียนรู้ ๒๑ รวม ๑๐ ๙ ตารางที่ ๘ สรปุ ผลการประเมนิ ตนเอง มาตรฐานที่ ๒ คณุ ภาพหลกั สตู รและการจดั การเรยี นรู้ เกณฑก์ ารพิจารณา คะแนน คะแนนเตม็ ผลการประเมิน ตนเอง ตัวบง่ ช้ี ๒.๑ การบรหิ ารและพัฒนาหลักสตู รทม่ี คี ณุ ภาพ ๑๐ ๙ ตวั บง่ ชี้ ๒.๒ ประสทิ ธภิ าพการจดั การเรียนรู้ ๑๐ ๑๐ ตัวบง่ ชี้ ๒.๓ การจัดการเรยี นรู้ที่เนน้ ผู้เรียนเปน็ สําคญั ๑๐ ๙ รวม ๓๐ ๒๘ คะแนนเฉลีย่ (คะแนนเต็ม ๑๐) = ผลรวมของคะแนน ÷ จาํ นวนตัวบ่งช้ี ๒๘ ÷ ๓ = ๙.๓๓ ระดบั คณุ ภาพ ดเี ยี่ยม ผลการวเิ คราะหม์ าตรฐานที่ ๒ คณุ ภาพหลกั สตู รและการจัดการเรียนรู้ จุดเด่น/จดุ แขง็ - กอศจ.ยศ.ทบ. ได้พัฒนาโปรแกรม/นําระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ มาประยุกต์ใช้กับสื่อการสอน เพื่อให้ผู้เรียนได้สามารถเข้าถงึ ข้อมูล เอกสาร ตําราเรียน และช่วยในการศึกษาค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเองได้ ทุก สถานที่ ทุกเวลา - กอศจ.ยศ.ทบ. มหี ลกั สตู รให้บริหารจัดการไมม่ ากเกินไป คณะกรรมการพัฒนาหลักสตู รจึงกํากบั ดแู ล ไดอ้ ยา่ งทัว่ ถงึ จดุ ท่คี วรพฒั นา - หอ้ งพกั สาํ หรบั ผูเ้ รียนไมเ่ พยี งพอและเป็นปญั หาสําหรับการเข้าศกึ ษาของผู้เรยี น

๑๕ ขอ้ เสนอแนะเพื่อการพัฒนา - ยศ.ทบ. ควรให้โควตาห้องพักสําหรับผู้เรียนของ กอศจ.ยศ.ทบ. เช่นเดียวกับสนับสนุนห้องพักสําหรับ สถาบันการศกึ ษาอ่นื ซง่ึ เป็น นขต.บก.ยศ.ทบ.

๑๖   มาตรฐานท่ี ๓ คุณภาพครู อาจารย์   ตวั บ่งช้ี ๓.๑ ระบบการบริหารงานดา้ นครู อาจารย์ เกณฑ์ท่ี ๑ มีการวิเคราะหข์ ้อมูลครู อาจารย์ เพ่อื วางแผนบริหารงานด้านครู อาจารย์ กอศจ.ยศ.ทบ. ได้จัดทําฐานข้อมูลครู อาจารย์ในรูปแบบออนไลน์ (เอกสาร ๓.๑.๑.๑) โดยมีแผนก วิชาการและการศึกษาฯเป็นหน่วยรับผิดชอบ เพื่อนําไปไปใช้ประโยชน์ในด้านบริหารจัดการกําลังพล เช่น การ พิจารณาปรับย้ายหมุนเวียน การทําแผนพัฒนา จํานวนครู อาจารย์ด้านปริมาณ ไม่เพียงพอต่อปริมาณงาน แต่ สามารถปฏิบัติงานสนองนโยบายหน่วยเหนือได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีการกําหนดสมรรถนะครู อาจารย์ ทุก ตําแหน่ง (เอกสาร ๓.๑.๑.๒) เกณฑท์ ี่ ๒ มีแผนบรหิ ารและพฒั นาครู อาจารย์ กอศจ.ยศ.ทบ.ได้กําหนดเป้าหมายการพัฒนาครูอาจารย์ที่ปรับย้ายเข้ามาใหม่ให้เข้ารับการอบรมครู ทหารช้ันสูงและอบรมผู้ประเมินคุณภาพการศึกษาทุกคน โดยได้นําผลการวิเคราะห์ข้อมูลครู อาจารย์มาใช้ในการ จัดทํา แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม บริหารและพัฒนาครู อาจารย์ รายปี ครอบคลุมการสรรหา อศจ.บรรจุใหม่ ปรบั ย้ายหมนุ เวยี นมารับราชการใน กอศจ.ยศ.ทบ. และการพัฒนาศกั ยภาพครอู าจารย์ (เอกสาร ๓.๑.๒.๑) เกณฑท์ ่ี ๓ มีการดําเนนิ การตามแผนบริหารและพฒั นาครู อาจารย์ อย่างเปน็ รูปธรรม กอศจ.ยศ.ทบ.ได้ดําเนินการตามแผนฯ บริหารและพัฒนาครู อาจารย์ ท่ีกําหนด เช่น การส่งครู อาจารยท์ ี่ปรบั ย้ายมาใหม่เขา้ รับการอบรมครทู หารชนั้ สงู และการประกันคณุ ภาพการศึกษา (เอกสาร ๓.๑.๓.๑) เกณฑท์ ี่ ๔ มีการประเมินผลการดาํ เนนิ งานตามแผนบรหิ ารและพฒั นาครู อาจารย์ กอศจ.ยศ.ทบ. ได้ประเมินและสรุปผลการประเมินการดําเนินงานตามแผนฯ บริหารและพัฒนาครู อาจารย์ด้วยการตรวจสอบบัญชีครู อาจารย์ว่าว่าใครผ่านการอบรมและไม่ผ่านการอบรม เป็นไปตามเป้าหมายที่ กาํ หนดหรอื ไม่ (เอกสาร ๓.๑.๔.๑) เกณฑ์ท่ี ๕ มีการนาํ ผลการประเมนิ ตามเกณฑ์ ข้อ ๔ ไปปรับปรงุ พฒั นา กอศจ.ยศ.ทบ. ได้นําผลการประเมินตามเกณฑ์ข้อ ๔ ไปปรับปรุงพัฒนาการบริหารและพัฒนาครู อาจารย์ ด้วยการวางแผนใช้ประโยชน์จากการพัฒนา หากยังไม่สามารถปฏิบัติงานได้ จะจัดการอบรมในรูปแบบ unit school เชน่ การส่งครู อาจารย์ไปอบรมการทําวิทยฐานะ และ ประเมินคุณภาพการศึกษา เม่ือกลับมาหน่วย แล้วจะเปดิ การอบรม unit school เพ่อื ทบทวนความรู้ และขยายผลสคู่ รู อาจารย์ท่านอ่นื (เอกสาร ๓.๑.๕.๑) รายการเอกสารอา้ งอิง ระบบฐานขอ้ มูลครู อาจารย์ ๑. เอกสารหมายเลข ๓.๑.๑.๑ เอกสารกําหนดสมรรถนะหลักของครู อาจารย์ ๒. เอกสารหมายเลข ๓.๑.๑.๒ เอกสารแสดงการสง่ ครู อาจารย์อบรมสัมมนา ๓. เอกสารหมายเลข ๓.๑.๓.๑ เอกสารแสดงบญั ชกี ารพัฒนาครู อาจารย์ ๔. เอกสารหมายเลข ๓.๑.๔.๑

๑๗   ๕. เอกสารหมายเลข ๓.๑.๕.๑ เอกสารแสดงการนําความรู้มาขยายผล และทาํ unit school ตารางที่ ๙ สรปุ คะแนนตวั บง่ ช้ี ๓.๑ ระบบการบรหิ ารงานด้านครู อาจารย์ เกณฑก์ ารพจิ ารณา คะแนน ๑. มีการวิเคราะห์ขอ้ มลู ครู อาจารย์ เพ่อื วางแผนบริหารงานด้านครู อาจารย์ คะแนนเตม็ ผลการประเมิน ๒. มีแผนบรหิ ารและพัฒนาครู อาจารย์ ๓. มีการดาํ เนนิ การตามแผนบรหิ ารและพฒั นาครู อาจารย์ อย่างเปน็ รปู ธรรม ๓๓ ๔. มกี ารประเมนิ ผลการดําเนินงานตามแผนบรหิ ารและพฒั นาครู อาจารย์ ๒๒ ๕. มีการนาํ ผลการประเมนิ ตามเกณฑข์ ้อ ๔ ไปปรบั ปรุงพฒั นา ๒๒ ๒๑ รวม ๑๑ ๑๐ ๙ ตวั บ่งช้ี ๓.๒ คุณภาพครู อาจารย์ ตามมาตรฐานครทู หารบก เกณฑท์ ่ี ๑ ครู อาจารย์มีความเพยี งพอตอ่ การจดั การเรยี นรู้ ระดับความพอเพียงของจํานวนครูอาจารย์ภายใน กอศจ.ยศ.ทบ. ท่ีปฏิบัติงานสอนจริงและอยู่ใน ตําแหน่งคิดเป็นร้อยละ ๘๗.๕ เม่ือเทียบกับอัตราท่ีได้รับการอนุมัติในภาพรวม โดยเทียบบัญญัติไตรยางศ์สรุป คะแนนด้านปริมาณความเพียงพอได้ ๐.๖๓๖ x ๒ = ๑.๒๗ (เอกสาร ๓.๒.๑.๑) เกณฑท์ ี่ ๒ ครู อาจารยไ์ ด้รับการเพ่มิ พนู ความรู้/ประสบการณ์ จากขอ้ มูลครู อาจารย์ ทไ่ี ดร้ บั การเพ่มิ พูนความรู้ พบว่า ระดับจํานวนครูอาจารย์ภายใน กอศจ.ยศ.ทบ. ท่ีได้รับการเพ่ิมพูนความรู้ ประสบการณ์ ด้านการสอนและการประกันคุณภาพการศึกษา คิดเป็นร้อยละ ๙๓ เมื่อ เทยี บกับจํานวนครูอาจารยท์ ง้ั หมดที่บรรจุในอัตราครูและอาจารย์ภายใน กอศจ.ยศ.ทบ. สรุปคะแนนได้ ๒ คะแนน (เอกสาร ๓.๒.๒.๑) เกณฑท์ ่ี ๓ ครู อาจารย์ มีการจัดทําผลงานทางวชิ าการและนาํ ไปใชป้ ระโยชน์ กอศจ.ยศ.ทบ. มีระบบและกลไกในการสนับสนุน การสร้างผลงานทางวิชาการ/งานวิจัย/งาน สร้างสรรค์ ตามความชํานาญ ตามความต้องการหรือตามความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อให้ได้ผลท่ีเกิดประโยชน์ ต่อการจัดการเรียนการสอน การพัฒนาสถานศึกษา และบริการวิชาการ โดยมุ่งส่งเสริมให้ ครู อาจารย์สร้าง ผลงาน เผยแพร่ผลงาน และนํามาใช้ประโยชน์ สรุปร้อยละของผลงานทางวิชาการตามระดับคุณภาพได้ร้อยละ ๑๐๐ (เอกสาร ๓.๒.๓.๑) เกณฑท์ ี่ ๔ ครู อาจารย์ มีหนังสือรับรองมาตรฐานการเปน็ ผสู้ อน ครู อาจารยท์ ่ีไดร้ บั หนังสอื รบั รองมาตรฐานการเป็นผสู้ อน คิดเป็นรอ้ ยละ ๓๗.๕ เมอ่ื เทียบกบั จาํ นวน ครอู าจารย์ทงั้ หมดทบ่ี รรจอุ ยูใ่ นตาํ แหนง่ วทิ ยฐานะและมปี ระสบการณม์ ากกว่า ๑ ปี ภายใน กอศจ.ยศ.ทบ. สรุป คะแนนเมอื่ เทยี บบญั ญตั ิไตรยางศ์ ๐.๓๗๕ x ๒ = ๐.๗๕ (เอกสาร ๓.๒.๔.๑)

๑๘   เกณฑท์ ่ี ๕ ครู อาจารย์ ไดร้ ับการแต่งตงั้ ให้มีวทิ ยฐานะ กอศจ.ยศ.ทบ. มเี ป้าหมายให้ครูอาจารย์มีวิทยฐานะโดยทําแผนส่งผู้ท่ีมีคุณสมบัติครบเข้ารับการอบรม หลักสูตรครูทหารบก โดยมอบหมายให้แผนกวิชาการฯ และแผนกกําลังพล เป็นหน่วยรับผิดชอบ หลังจากน้ัน ดาํ เนนิ การขอหนงั สือรบั รองมาตฐานการเป็นผู้สอน และกระตนุ้ ใหค้ รู อาจารยจ์ ัดทาํ ผลงานเพื่อเสนอคณะกรรมการ ประเมินวิทยฐานะ และขอแต่งต้ังให้มีวิทยฐานะตามลําดับ แต่เนื่องจากเป็นช่วงเร่ิมต้นของการทําวิทยฐานะ ครู อาจารย์บางคนจึงยังไม่เห็นความสําคัญ ซึ่ง กอศจ.ยศ.ทบ. ได้กําหนดมาตรการควบคุมโดยให้ครู อาจารย์ท่ีได้ หนงั สือรบั รองมาตรฐานการเป็นผ้สู อน ทําผลงานเพอ่ื เสนอขอวิทยฐานะภายในปี ๖๓ รายการเอกสารอ้างอิง เอกสารสรปุ ขอ้ มลู ระดบั ความพอเพยี ง ตําแหนง่ ครูและอาจารย์ กอศจ.ยศ.ทบ. ๑. เอกสารหมายเลข ๓.๒.๑.๑ เอกสารสรปุ ขอ้ มลู ครู อาจารย์ที่ไดร้ บั การเพ่มิ พนู ความรู้ในรอบปงี บประมาณ ๒. เอกสารหมายเลข ๓.๒.๒.๑ เอกสารสรุปขอ้ มลู การคํานวณรอ้ ยละของผลงานทางวิชาการตามระดบั คณุ ภาพ ๓. เอกสารหมายเลข ๓.๒.๓.๑ คณุ ภาพตอ่ จํานวนครอู าจารย์ท่ีบรรจุ เอกสารสรุปขอ้ มลู การการคาํ นวณร้อยละของครู อาจารย์ ที่มีหนังสอื รับรอง ๔. เอกสารหมายเลข ๓.๒.๔.๑ มาตรฐานการเปน็ ผ้สู อน ตารางท่ี ๑๐ สรุปคะแนนตวั บง่ ชท้ี ่ี ๓.๒ คณุ ภาพครู อาจารย์ ตามมาตรฐานครทู หารบก เกณฑก์ ารพิจารณา คะแนน ๑. ครู อาจารย์มีความเพยี งพอตอ่ การจดั การเรียนรู้ คะแนนเต็ม ผลการประเมนิ ๒. ครู อาจารย์ไดร้ ับการเพิม่ พูนความร/ู้ ประสบการณ์ ๓. ครู อาจารย์ มีการจดั ทําผลงานทางวิชาการและนําไปใชป้ ระโยชน์ ๒ ๑.๒๗ ๔. ครู อาจารย์ มหี นังสอื รบั รองมาตรฐานการเป็นผสู้ อน ๒๒ ๕. ครู อาจารย์ ไดร้ บั การแตง่ ตัง้ ให้มวี ทิ ยฐานะ ๓๓ ๒ ๐.๗๕ รวม ๑๐ ๑๐ ๗.๐๒ ตารางที่ ๑๑ สรุปผลการประเมนิ ตนเอง มาตรฐานท่ี ๓ คุณภาพครู อาจารย์ คะแนน เกณฑก์ ารพิจารณา คะแนนเตม็ ผลการประเมิน ตัวบง่ ชี้ ๓.๑ ระบบการบรหิ ารงานดา้ นครู อาจารย์ ๑๐ ๙ ตัวบง่ ชี้ ๓.๒ คณุ ภาพครู อาจารย์ ตามมาตรฐานครทู หารบก ๑๐ ๗.๐๒ ๒๐ ๑๖ รวม ๑๖ ÷ ๒ = ๘.๐๑ คะแนนเฉลย่ี (คะแนนเต็ม ๑๐) = ผลรวมของคะแนน ÷ จาํ นวนตัวบ่งช้ี ดี ระดับคุณภาพ

๑๙   การวเิ คราะห์มาตรฐานท่ี ๓ จดุ เด่น/จดุ แขง็ - ครู อาจารย์ กอศจ.ยศ.ทบ. มีความเช่ียวชาญด้านการศาสนาและศีลธรรม และพิธีกรทางศาสนา ประเพณีและวฒั นธรรม จึงสามารถสรา้ งผลงานทางวชิ าการออกเผยแพรไ่ ด้อย่างต่อเนอื่ ง จุดทค่ี วรพฒั นา - ครู อาจารย์ ไดร้ บั มอบหมายใหบ้ รกิ ารทางวชิ าการค่อนข้างมาก และเวลาสว่ นหน่ึงตอ้ งใช้ในการ เตรียมการ และจดั การเรยี นการสอน จึงมเี วลาในการทาํ วิทยฐานะเพอื่ ตน ข้อเสนอแนะเพอ่ื การพัฒนา - ควรมแี ผนการใช้งาน โดยมอบหมายงานบริการทางวิชาการให้ครู อาจารยท์ มี่ ีหนังสอื รบั รอง มาตรฐานการเป็นผู้สอน ให้นอ้ ยลง เพื่อใหม้ ีเวลาในการเตรียมการสอน และทําวทิ ยฐานะ

๒๐ มาตรฐานที่ ๔ คณุ ภาพผเู้ รยี น ตัวบ่งชี้ ๔.๑ กระบวนการบรหิ ารจัดการผเู้ รียน เกณฑ์ท่ี ๑ มกี ารจัดเก็บขอ้ มลู ผ้เู รยี นอยา่ งเปน็ ระบบ กอศจ.ยศ.ทบ. ไดจ้ ัดทําฐานข้อมูลผู้เรียนแต่ละหลักสูตร โดยนําคําส่ัง และผลการศึกษาของแตล่ ะรุ่น ลงในระบบอิเล็กทรอนิกส์ เพ่ือให้เกิดความสะดวก รวดเร็วในการสืบค้น ลดภาระในการสืบค้นเอกสารในแฟ้มและ ส่งให้ผู้สําเร็จการศึกษากรณีต้องการหลักฐานย้อนหลัง โดยได้ดําเนินการร้อยละ ๙๕ อย่างไร (เอกสาร ๔.๑.๑.๑) ซ่งึ ไดม้ อบหมายใหแ้ ผนกวชิ าการและการศึกษาฯ เปน็ หนว่ ยรบั ผิดชอบ มีการนําผลการวิเคราะห์ข้อมูลผู้เรียนไปใช้ ในการปรับปรงุ หลักสูตร ซงึ่ ขณะนี้อยูร่ ะหว่างรอ ทบ.อนมุ ัตริ ะเบยี บการจัดทาํ หลกั สตู รใหม่ เกณฑท์ ่ี ๒ มแี ผนการพัฒนาผ้เู รยี น ท่ีม่งุ พฒั นาผเู้ รียนใหม้ ีคุณลักษณะตามหลกั สตู ร และตามท่ี ทบ. ตอ้ งการ กอศจ.ยศ.ทบ. มีเป้าหมายการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะตามหลักสูตร ที่สอดคล้องกับอัตลักษณ์ และความโดดเด่นของ กอศจ.ยศ.ทบ. โดยนําผลการวิพากษย์หลักสูตร ผลการตรวจกิจการ อศจ.ทบ. และนโยบาย การศึกษาของ ทบ. มาวิเคราะห์เพื่อจัดทําแผนพัฒนาผู้เรียน และ โครงการ/กิจกรรมการพัฒนาผู้เรียนให้มี คุณลักษณะตามหลักสูตร และตามท่ี ทบ. ต้องการมีความครอบคลุมการพัฒนาด้านความรู้ ทักษะ, ด้านความ แข็งแรงของร่างกาย และดา้ นคณุ ธรรมจริยธรรม (เอกสาร ๔.๑.๒.๑) เกณฑท์ ่ี ๓ สถานศกึ ษาดาํ เนนิ การตาม แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม พัฒนา ผูเ้ รยี นอย่างเปน็ รูปธรรม ดําเนินการตาม แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม พัฒนาผู้เรียน โดยมอบหมายให้แผนกศาสนพิธีฯ ร่วมกับ แผนกวิชาการฯ รับผิดชอบ เช่น โครงการพัฒนาศักยภาพ อศจ., โครงการฝึกปฏิบัติศาสนพิธีในวันสําคัญของ กองทัพบก ซ่ึงได้ดําเนินการกับผู้เรียนทุกคนในหลักสูตรนายทหารอนุศาสนาจารย์ช้ันสูง รุ่นท่ี ๙ ผู้เรียนมีส่วนร่วม ด้วยการรบั บ่งการไปวางแผน ปฏบิ ตั ิ และประเมนิ ผลดว้ ยการสงั เกตการณ์ วจิ ารณ์ นอกจากนัน้ ยังได้สอดแทรกให้ มีการออกกําลังกายในตอนเช้าทุกวันพุธ ทําความสะอาดสถานศึกษาทุกเช้าก่อนเข้าเรียน ปลูกฝังจิตอาสาและให้ ฝกึ ปฏิบัติงานในหนา้ ทฝ่ี า่ ยอาํ นวยการไปในตวั ด้วย (เอกสาร ๔.๑.๓.๑) เกณฑท์ ี่ ๔ มีการประเมนิ ผลการดาํ เนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม พัฒนาผ้เู รียน หลงั จากทไ่ี ดด้ ําเนินโครงการ/กิจกรรม ผูร้ ับผิดชอบโครงการ/กจิ กรรม จะมกี ารแจกแบบสอบถามให้กับผู้ เขา้ รับการศึกษาประเมินโครงการ/กจิ กรรม เพ่อื ใหไ้ ดแ้ นวคิดหรือข้อเสนอแนะอันจะนํามาใช้ในการปรับปรุงพัฒนา โครงการ/กิจกรรมให้สอดคล้องกับบริบทของสถาบันการศึกษาและผ้เู ข้ารับการการศึกษา (เอกสาร ๔.๑.๔.๑) เกณฑท์ ี่ ๕ มีการนาํ ผลการประเมนิ ตามเกณฑ์ที่ ๔ ไปปรับปรงุ พฒั นา ก่อนและหลังจากการเปิดหลักสูตรการศึกษา กอศจ.ยศ.ทบ. จะจัดประชุมเตรียมความพร้อมก่อนเปิด การศกึ ษา ซ่งึ จะนาํ ผลการประเมิน แผนงาน/โครงการ/กจิ กรรม ตลอดจนขอ้ ดีข้อเสีย ข้อเสนอแนะท่ีได้จากสรุปผล การประเมิน มาเสนอในที่ประชุมฯ เพื่อให้ ผอ.กอศจ.ยศ.ทบ. และ คณะครูอาจารย์ ได้ร่วมกันเสนอแนะแนว ทางการแก้ไขปญั หาขอ้ ขัดข้องท่เี กิดขึ้น ก่อนนํามาใช้ในการเปิดการศึกษา (เอกสาร ๔.๑.๕.๑,) รายการเอกสารอ้างองิ

๒๑ เอกสารหมายเลข ๔.๑.๑.๑ เอกสารแสดงฐานขอ้ มูลผ้สู ําเร็จการศึกษาแตล่ ะหลกั สตู ร เอกสารหมายเลข ๔.๑.๒.๑ เอกสารแสดงโครงการ/กิจกรรมพฒั นาผู้เรียน เอกสารหมายเลข ๔.๑.๓.๑ เอกสารแสดงการดําเนนิ การตามโครงการ/กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น เอกสารหมายเลข ๔.๑.๕.๑ เอกสารแสดงการวพิ ากษ์หลักสตู รและประชมุ ก่อนเปดิ หลกั สตู ร ตารางที่ ๑๒ สรปุ คะแนน ตวั บง่ ชี้ ๔.๑ กระบวนการบรหิ ารจัดการผเู้ รยี น คะแนน คะแนนเตม็ ผลการประเมนิ ลําดับ เกณฑก์ ารประเมนิ ๒๒ ๑. มีการจัดเก็บขอ้ มลู ผเู้ รียนอยา่ งเป็นระบบ ๒๒ ๒. มีแผนการพัฒนาผเู้ รียนทม่ี งุ่ พัฒนา ผู้เรยี นให้มคี ุณลกั ษณะตามหลักสูตรและ ๒๒ ตามที่ ทบ. ตอ้ งการ ๓. สถานศกึ ษาดําเนินการตามแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม พฒั นาผูเ้ รยี นอยา่ งเป็น ๒๒ ๒๒ รูปธรรม ๑๐ ๑๐ ๔. มีการประเมนิ ผลการดําเนนิ งานแผนงาน/โครงการ/กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน ๕. มีการนาํ ผลการประเมนิ ตามเกณฑข์ ้อ ๔ ไปปรบั ปรงุ พฒั นา รวมคะแนน ตัวบ่งชี้ ๔.๒ ผู้เรียนมีคณุ ลกั ษณะทางทหารตามที่กองทัพบกต้องการ เกณฑท์ ี่ ๑ ผเู้ รยี นมคี วามรแู้ ละทักษะทางทหารตามท่กี ําหนดในหลกั สูตร กอศจ.ยศ.ทบ. มเี ปา้ หมายการพัฒนาผูเ้ รียนให้มีความรแู้ ละทักษะทางทหารดา้ นความเปน็ ผนู้ ํา การฝึก บุคคลท่ามอื เปล่า โดยมอบหมายให้แผนกวิชาการและการศกึ ษาฯ รว่ มกบั แผนกศาสนพิธฯี เป็นหนว่ ยรบั ผิดชอบ มกี ารกําหนดเกณฑแ์ ละวิธกี ารประเมิน ๒ ลกั ษณะ คอื แบบประเมินและการสังเกตการณ์ เมอ่ื พบขอ้ บกพรอ่ งหรอื เห็นว่าการปฏิบัติใดเปน็ ประโยชนก์ บั ผ้เู รยี นจะเชญิ วทิ ยากรมาบรรยายพเิ ศษ เช่น การฝกึ ท่ากระบใ่ี นโอกาสต่าง ๆ เปน็ ต้น (เอกสาร ๔.๒.๑.๑) เกณฑท์ ่ี ๒ ผเู้ รียนมสี มรรถนะทางรา่ งกายตามมาตรฐานทก่ี องทพั บกกาํ หนด กอศจ.ยศ.ทบ. มีเป้าหมายการพัฒนาผู้เรยี นให้มสี มรรถนะทางรา่ งกายตามมาตรฐานทก่ี องทพั บกกําหนด ดว้ ยการกาํ หนดใหม้ ีการออกกําลังกายทกุ เชา้ วันพธุ และเทสตามสกอร์หน่วยใชร้ ่ม โดยมอบหมายให้แผนกกาํ ลงั พล เปน็ หน่วยรบั ผดิ ชอบ มีการกาํ หนดเกณฑ์และวธิ ีการประเมนิ ตามสกอร์หน่วยใชร้ ่ม โดยใหผ้ ู้เรยี นเทสเป็นรายบคุ คล หากไม่ผ่านเกณฑใ์ หเ้ ทสซอ่ มทุกวนั ผลการดําเนินการทาํ ให้ผู้เข้ารับการศกึ ษาสามารถเทสร่างกายผา่ นสกอร์หน่วย ใช้รม่ สามารถไปเทสร่างกายเพอื่ เรยี นหลักสตู รสง่ ทางอากาศได้ (เอกสาร ๔.๒.๒.๑) เกณฑท์ ี่ ๓ ผเู้ รียนมจี ติ อาสา มคี ณุ ธรรม จริยธรรม กอศจ.ยศ.ทบ. พฒั นาผู้เรยี นใหม้ จี ติ อาสา มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ดว้ ยการสอดแทรกในกจิ กรรมตลอด หลักสตู ร เช่น รบั สมคั รจติ อาสาทาํ งานนอกเวลาเรียน เพิม่ คะแนนจิตอาสาในทุกวิชา และมีวชิ าวิปสั สนากรรมฐาน

๒๒ ในหลักสตู ร ๕ วนั โดยมอบหมายให้แผนกวชิ าการฯ เปน็ หนว่ ยรบั ผิดชอบ ผลการดําเนินการผเู้ ขา้ รับการศกึ ษา มี ความเห็นแกต่ วั น้อยลงเห็นแก่ประโยชนม์ ากข้ึน ผ้เู รยี นเก็บแก้วกาแฟลา้ งหลังเลิกเรยี นทุกวัน (เอกสาร ๔.๒.๓.๑) เกณฑท์ ่ี ๔ ผเู้ รียนมีความสามารถดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศ กอศจ.ยศ.ทบ. ได้พัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถด้านเทคโนโลยีสารสนเทศด้วยการประยุกต์วิชา คอมพิวเตอร์กับวิชาการสอนวิชาการศาสนาและศีลธรรมฯ ด้วยการผลิตสื่อการสอนแบบอิเล็กทรอนิกส์ และให้ ส่งผลงานเปน็ คะแนนเก็บ โดยมีแผนกวชิ าการและการศึกษาฯ เป็นหนว่ ยรบั ผดิ ชอบ มีการกาํ หนดเกณฑแ์ ละวิธีการ ประเมิน คอื ผลงาน (ความตรงตอ่ เวลา, การทํางานเป็นทีม, เน้ือหาสาระ) ๘๐ คะแนน สอบวัดผล ๒๐ คะนน รวม ๑๐๐ คะแนน (เอกสาร ๔.๒.๔.๑) เกณฑท์ ่ี ๕ ผูเ้ รียนมีความสามารถและทกั ษะการสอ่ื สารภาษาอังกฤษ กอศจ.ยศ.ทบ. ได้พัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถและทักษะการส่ือสารภาษาอังกฤษข้ันพ้ืนฐานสําหรับ กําลังพล ทบ. ด้วยการให้รายงานแถวเป็นภาษาอังกฤษ การร่างจดหมายราชการเป็นภาษาอังกฤษ มีการประเมิน ดว้ ยการสงั เกต ผลงาน สอบข้อเขยี น ผลการปฏบิ ัตขิ อ้ เขียนอยใู่ นเกณฑด์ ี การสือ่ สารอยใู่ นเกณฑ์พอใช้ ซง่ึ ยังไม่ เป็นไปตามเป้าหมายที่กําหนด สาเหตุเกิดจากความไม่ต่อเน่ืองในการส่ือสาร ผู้เข้ารับการศึกษาไม่เห็นความสําคัญ ของการใชภ้ าษาอังกฤษ (เอกสาร ๔.๑.๕.๑) รายการเอกสารอ้างอิง เอกสารแสดงการพัฒนาผเู้ รียนใหม้ ที กั ษะดา้ นตา่ งๆ ๑. เอกสารหมายเลข ๔.๒.๑.๑ เอกสารแสดงการออกกําลงกาย เทสร่างกาย ๒. เอกสารหมายเลข ๔.๒.๒.๑ เอกสารแสดงการสอดแทรกกจิ กรรมจติ อาสา คุณธรรมจรยิ ธรรม ๓. เอกสารหมายเลข ๔.๒.๓.๑ เอกสารแสดงผลงานสื่ออิเลก็ ทรอนกิ ส์ของเรยี น ๔. เอกสารหมายเลข ๔.๒.๔.๑ เอกสารแสดงการฝึกทกั ษะภาษาอังกฤษให้กับนักเรยี น ๕. เอกสารหมายเลข ๔.๒.๕.๑ ตารางท่ี ๑๓ สรปุ คะแนน ตวั บ่งช้ี ๔.๒ ผ้เู รยี นมคี ณุ ลักษณะทางทหารตามทกี่ องทัพบกตอ้ งการ เกณฑก์ ารพิจารณา คะแนน คะแนนเตม็ ผลการประเมนิ ๑. ผู้เรียนมคี วามรแู้ ละทกั ษะทางทหารตามท่กี าํ หนดในหลกั สตู ร ๒๒ ๒. ผเู้ รยี นมสี มรรถนะทางร่างกายตามมาตรฐานทกี่ องทพั บกกําหนด ๒๒ ๓. ผูเ้ รียนมีจติ อาสา มคี ุณธรรม จริยธรรม ๒๒ ๔. ผูเ้ รียนมีความสามารถดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ ๒๒ ๕. ผู้เรียนมีความสามารถและทกั ษะการสอ่ื สารภาษาองั กฤษ ๒๑ รวม ๑๐ ๙

ตารางท่ี ๑๔ สรปุ ผลการประเมินตนเอง มาตรฐานที่ ๔ คุณภาพผเู้ รียน ๒๓ เกณฑก์ ารพจิ ารณา คะแนน ตวั บง่ ช้ี ๔.๑ กระบวนการบรหิ ารจดั การผ้เู รยี น คะแนนเตม็ ผลการประเมิน ตัวบ่งชี้ ๔.๒ ผเู้ รยี นมีคุณลักษณะทางทหารตามที่กองทัพบกต้องการ ๑๐ ๑๐ รวม ๑๐ ๙ คะแนนเฉลีย่ (คะแนนเต็ม ๑๐) = ผลรวมของคะแนน ÷ จํานวนตวั บง่ ชี้ ๒๐ ๑๙ ๑๙ ÷ ๒ = ๙.๕ ระดับคุณภาพ ดเี ยย่ี ม การวเิ คราะห์มาตรฐานท่ี ๔ จดุ เดน่ /จดุ แขง็ ๑. คณะกรรมการดําเนินงานติดตามผู้สําเร็จการศึกษาฯ สามารถดํารงการติดต่อส่ือสารกับผู้สําเร็จ การศึกษาทกี่ ลบั ไปปฏบิ ัตงิ านท่ีหน่วยไดอ้ ย่างใกล้ชดิ จงึ ไดร้ ับแบบประเมนิ กลบั มาครบทกุ ฉบบั ๒. คณะกรรมการดําเนนิ งานติดตามผู้สาํ เรจ็ การศึกษาฯ ไดก้ าํ หนดกจิ กรรมการเรยี นการสอนทเี่ นน้ ทักษะในการปฏบิ ัติ เพ่อื ให้เกดิ ความชาํ นาญงานในหนา้ ท่ี และนํา นทน.ไปศกึ ษาดูงานในสถานทท่ี ีม่ ีการปฏิบตั ิจรงิ ตลอดหลกั สูตร จุดทค่ี วรพฒั นา ๑. เม่อื ผสู้ ําเรจ็ การศกึ ษากลบั ไปปฏิบตั ิงานที่หน่วยแลว้ บางหนว่ ยใชง้ านผสู้ าํ เร็จการศกึ ษา ไม่ตรง ตาม ชกท.ทก่ี ําหนด จึงทาํ ใหต้ อบสนองงานหน่วยไดไ้ ม่เตม็ ที่ ๒. วัฒนธรรมองค์กรของบางหน่วย หล่อหลอมผู้สําเร็จการศึกษาที่กลับไปปฏิบัติงานท่ีหน่วย จนบางครัง้ มผี ลกระทบกบั จรรยาบรรณวชิ าชพี ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา ๑.หน่วยควรใช้งานผู้สําเร็จการศึกษาจาก กอศจ.ยศ.ทบ. ให้ตรงตาม ชกท.ท่ีกําหนด เพื่อให้เกิด ประสทิ ธิภาพในการปฏิบัตงิ าน ๒. กอศจ.ยศ.ทบ. ควรเน้นย้ําบทบาทหน้าที่ตาม ชกท.และ จรรยาบรรณวิชาชีพนายทหาร อนุศาสนาจารยใ์ ห้หน่วยใช้ทราบเป็นลายลักษณอ์ ักษร หลังส่งผเู้ สร็จการศกึ ษากลับหน่วย

24 ตารางที่ ๒๓ สรปุ ผลการประเมินตนเอง ของ กอศจ.ยศ.ทบ. คะแนนเฉลยี่ ระดบั คณุ ภาพ (คะแนนเต็ม ๑๐) เกณฑ์การพิจารณา ดเี ยี่ยม ๙.๖๖ ดเี ย่ียม มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพการบริหารสถานศกึ ษา ๑๐.๐๐ มาตรฐานที่ ๒ คุณภาพหลักสตู รและการจัดการเรียนรู้ ๘.๐๐ ดี มาตรฐานท่ี ๓ คุณภาพครู อาจารย์ ๙.๕ ดีเยยี่ ม มาตรฐานที่ ๔ คณุ ภาพผู้เรียน ๙.๒๙ ดเี ยย่ี ม รวม การวเิ คราะหภ์ าพรวมระดบั สถาบนั จุดเดน่ /จดุ แขง็ - กองอนุศาสนาจารย์ กรมยุทธศึกษาทหารบก เป็นหน่วยที่มีองค์ความรู้ด้านประเพณีและวัฒนธรรมไทย จึงเป็นหน่วยงานท่ีมีเข้มแข็งด้านการบริการทางวิชาการตามความชํานาญของหน่วย และผู้เข้ารับการศึกษาได้รับ การหล่อหลอม ปลูกฝังด้านคุณธรรมจริยธรรมอย่างเต็มขีดความสามารถ ตามปรัชญาของหน่วยที่ว่า “นํากําลังพล เขา้ หาธรรมะ นาํ พฒั นากาํ ลังพลใหเ้ ป็นคนดี มคี วามสขุ และเก่ง” ขอ้ เสนอแนะเพอ่ื การพฒั นาเร่งดว่ น - กองอนุศาสนาจารย์ กรมยุทธศึกษาทหารบก ควรเพิ่ม อฉก.เฉพาะเกี่ยวกับการจัดการศึกษา ซึ่งแยก ต่างหากจากการปฏิบัติหน้าที่ในฐานะ นขต.บก.ยศ.ทบ. และเพ่ิมอัตรา รอง ผอ.กอศจ.ยศ.ทบ. อีก ๑ ตําแหน่ง เพ่ือ กาํ กับดแู ลเรอื่ งการจดั การศึกษาโดยเฉพาะ ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย - การปรับปรุงโครงสรา้ ง ยศ.ทบ. ควรปรบั กอศจ.ยศ.ทบ. ให้มี รร.อศจ.ยศ.ทบ. โดยมี ผอ.กอศจ.ยศ.ทบ. เปน็ ผบ.รร.อศจ.ยศ.ทบ. และ รอง ผอ.กอศจ.ยศ.ทบ. (๑) เปน็ รอง ผบ.รร.อศจ.ยศ.ทบ. หมายเหตุ แนวทางปฏบิ ตั ิ คือ ขอ อศจ.จากอัตรา อศจ.รร.จปร. และ ผช.อศจ.มทบ. มาลงอัตราของ รร.อศจ.ยศ.ทบ.

25 บทสรปุ ผบู้ รหิ าร ในปงี บประมาณ ๒๕๖๑ กอศจ.ยศ.ทบ. ไดเ้ ปดิ การศกึ ษาจํานวน ๑ หลกั สูตร มผี ู้เข้ารับการศกึ ษา จาํ นวน ๑๕ นาย กอศจ.ยศ.ทบ. มภี ารกจิ สนับสนนุ หนว่ ยเหนือที่สาํ คัญ ได้แก่ ๑. พธิ ถี วายผ้าพระกฐินพระราชทานของ ทบ. ณ วัดหงส์รตั นารามราชวรวหิ าร ๒. พิธถี วายผ้ากฐนิ สามัคคขี อง ทบ. ณ วัดวชิรธรรมมาราม ๓. พิธีอุปสมบทถวายเปน็ พระราชกุศล ณ วดั พชิ ยญาติการาม ๔. พธิ กี ารท่สี าํ คัญภายใน บก.ทบ. เชน่ วันเปิดกองทพั บก,วันกองทัพบก,วันขน้ึ ไปใหม่ เปน็ ตน้ กอศจ.ยศ.ทบ. มีบุคลากร จํานวน ๒๒ นาย โดยมีครูอาจารย์ เพียง ๑๖ นายเท่านั้น ในแง่ปริมาณไม่ เพียงพอต่อปริมาณงาน เน่ืองจาก กอศจ.ยศ.ทบ. นอกจากเป็นหน่วยจัดการศึกษาแล้ว ยังเป็น นขต.บก.ยศ.ทบ. ด้วย ซ่ึงต้องปฏิบัติภารกิจในฐานะกองฝ่ายกิจการพิเศษอีกด้วย จึงอาจมีผลกระทบกับการจัดการเรียนการสอนบ้าง แตอ่ ย่างไรก็ตาม กอศจ.ยศ.ทบ. ก็ไดจ้ ัดทําแผนการปฏิบตั งิ านและแผนการจัดการศึกษาใหส้ อดคลอ้ งกัน มีทรัพยากรสนบั สนุนการเรยี นรทู้ ี่ทนั สมยั ไดแ้ ก่ เครอื่ งคอมพิวเตอร์ จํานวน ๑๒ เคร่ือง ซงึ่ ยังไมเ่ พียงพอ ต่อจํานวนนกั เรียน โดย กอศจ.ยศ.ทบ. ไดแ้ ก้ปญั หาโดยใหน้ ักเรยี นนาํ คอมพิวเตอรพ์ กพา (โนต้ บคุ ) มาเสริมด้วย ภารกจิ สําคญั ของ กอศจ.ยศ.ทบ. ที่ต้องดําเนนิ การ ประกอบดว้ ย ๑. การสนับสนนุ ยศ.ทบ. ในการจดั สร้างอทุ ยานพทุ ธรรมสกิ ขา สามารถดําเนินการได้ ๒. การจัดการอบรมภาษาองั กฤษให้ครู อาจารย์ แบบ unit school ยงั ไมส่ ามารถดําเนนิ การ เน่อื งจากหน่วยไมม่ บี ุคลากรที่มคี วามรู้ดา้ นภาษาองั กฤษ วสิ ัยทศั น์ /เป้าหมายการพัฒนาสถานศึกษา คอื ๑. เป็นแหลง่ ศกึ ษาคน้ คว้าพุทธธรรมของกองทัพบก ทั้งแบบ In Door และ Out Door ผลการ ดําเนินการบรรลเุ ปา้ หมายเพียงบางสว่ น นั่นคือ แบบ In Door ๒. นักเรียนสามารถอธิบายหัวขอ้ ธรรมและนําการปฏิบตั ธิ รรมเป็นภาษาอังกฤษได้ ซึ่งยงั ไมบ่ รรลุ เป้าหมาย การดําเนนิ งานของสถานศกึ ษาที่ตอบสนองนโยบายการศกึ ษาของ ทบ. พ.ศ.๒๕๖๐ – ๒๔๖๔ หรอื นโย- บายของหนว่ ยเหนอื ทด่ี ําเนนิ การไดด้ ี มีผลเป็นรูปธรรมชัดเจน ไดแ้ ก่ นกั เรยี นมที ักษะด้านเทคโนโลยี สามารถจําทํา สอื่ มลั ติมีเดียในการเผยแผห่ ลกั ธรรมส่กู ําลงั พลได้ ผลการประเมนิ คณุ ภาพของ กอศจ.ยศ.ทบ. ในภาพรวมอยู่ในระดับ ๙.๒๙ เกณฑ์ ดีเย่ยี ม เพราะ กอศจ.ยศ.ทบ. ได้ปฏิบตั งิ านตามเกณฑแ์ ละตัวบง่ ช้ี ในการประกันคุณภาพการศกึ ษา คณุ ภาพการบรหิ ารสถานศึกษา อยู่ในระดับ ๙.๖๖ เกณฑ์ ดีเยย่ี ม เพราะผูบ้ ริหารสง่ เสริมใหย้ ึดระบบ มาตรฐานการศกึ ษาในการปฏิบตั งิ าน ผลงานที่แสดงถึงคุณภาพของการบรหิ ารสถานศกึ ษา คอื ความยึดมัน่ การทํางานเพอื่ ส่วนรวม เสียสละ มีจติ อาสา สง่ิ ท่คี วรปรับปรุงพัฒนา จํานวนบคุ ลากรไม่เพียงพอตอ่ การปฏิบัตงิ าน แนวทางการปรับปรุงพฒั นา ปรบั ปรงุ โครงสร้าง กอศจ.ยศ.ทบ. โดยขอปรับเกลย่ี อตั รามาจากหนว่ ยท่มี ี อศจ. ๒ นายขึ้นไป คณุ ภาพหลักสตู รและการจดั การเรียนรู้ อยใู่ นระดบั ๑๐.๐๐ เกณฑ์ ดเี ยยี่ ม เพราะ กอศจ.ยศ.ทบ. จัด การศึกษาปลี ะ ๑ หลกั สูตร ซง่ึ สามารถบรหิ ารจดั การได้ ผลงานทีแ่ สดงถงึ คณุ ภาพหลักสูตรและการจดั การเรียนรู้ คอื คุณภาพของผู้สาํ เรจ็ การศึกษา สง่ิ ทีค่ วรปรับปรงุ พฒั นา คอื การปรบั ปรุงหลกั สตู รให้มคี วามทันสมยั สอดคลอ้ ง กบั ความกา้ วหนา้ ของเทคโนโลยี แนวทางการปรับปรงุ พัฒนา คือ ปรับระบบการเรยี นการสอนภาคทฤษฎี เป็น ระบบอเี ลิร์นน่งิ

26 คณุ ภาพครอู าจารย์ อยใู่ นระดับ ๘ เกณฑ์ ดี เพราะครู อาจารย์ มีภาระงานมาก เป็นอุปสรรคในการ พัฒนา ผลงานทีแ่ สดงถงึ คณุ ภาพครอู าจารย์ งานสรา้ งสรรค์ งานวิชาการ สง่ิ ทค่ี วรปรบั ปรุงพัฒนา เพิ่มศกั ยภาพ ดา้ นภาษาอังกฤษใหก้ บั ครู อาจารย์ แนวทางการปรับปรุงพัฒนา จดั อบรมภาษาองั กฤษ แบบ Unit School คณุ ภาพผเู้ รยี น อยู่ในระดบั ๙.๕ เกณฑ์ ดเี ยย่ี ม เพราะระบบมาตรฐานจากงานประกันคุณภาพการศกึ ษา เป็นตัวกาํ หนดให้โรงเรยี นปฏิบตั ิ ผลงานทแ่ี สดงถึงคณุ ภาพผูเ้ รียน คอื เมือ่ กลบั ไปหน่วยแล้วผู้สําเรจ็ การศกึ ษา ปฏิบตั งิ านในหนา้ ท่ี อศจ.หนว่ ยไดด้ ขี ้นึ มภี าวะของความเปน็ อศจ.มากขึน้ มีลักษณะทางทหาร มีความรเิ ริม่ ในการ ปฏบิ ตั ิงาน ส่ิงทค่ี วรปรบั ปรุงพฒั นา คอื การเสรมิ สร้างสาํ นึกจติ อาสา ทกั ษะทางภาษาองั กฤษ และทกั ษะทาง จิตวิทยา แนวทางการปรบั ปรุงพัฒนา จดั การอบรมเพม่ิ เติมความรู้ประจําปี ความสาํ เร็จ/ความภาคภูมใิ จ/ ความโดดเด่นของสถานศกึ ษา คือ เปน็ องค์กรจดั การศึกษา อบรม ด้านการ ศาสนาและศลี ธรรม ปฏบิ ัติธรรมและประเพณวี ฒั นธรรมของ ทบ. นาํ ใชป้ ระโยชน์โดยบรกิ ารวิชาการแกห่ น่วยงาน ทงั้ ภาครฐั และประชาชน สิ่งทส่ี ถานศึกษาควรปรบั ปรุงอย่างเรง่ ด่วน คอื อัตราโครงสร้าง ซง่ึ ไมม่ อี ตั ราครู อาจารย์ สิง่ ที่เป็นข้อจาํ กัดตอ่ การพฒั นาคุณภาพ/ความทา้ ทายของสถานศึกษา คือ ปริมาณคน ไมเ่ พียงพอกับ ปริมาณงาน ซง่ึ ได้กําหนดแผนเฉพาะหนา้ คือ ขอตวั อศจ.หน่วยท่มี ี อศจ. ๒ นาย มาช่วยราชการที่ กอศจ.ยศ.ทบ. เป้าหมายและแนวทางการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา เพ่ือให้มคี ุณภาพดขี น้ึ ในปีตอ่ ไป จดั ทาํ ระบบ ตรวจสอบการดําเนินงานประกนั คุณภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษา โดยใช้ศกั ยภาพของบคุ ลากรในสถานศึกษา สิ่งทสี่ ถานศกึ ษาสามารถดาเนินการได้เอง คือ ระบบ e-learning และไมส่ ามารถดําเนนิ การได้เองต้อง ขอรับการสนับสนุนจากหน่วยเหนอื คอื ระบบควบคมุ คุณภาพการศึกษากลางของ ทบ. .........................

ภาคผนวก เอกสารอ้างอิง ๑. พระราชบัญญัติการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ ๒. คาํ สงั่ กห. (เฉพาะ) ท่ี ๓๖/๔๔ ลง ๒๐ มี.ค.๔๔ เรือ่ ง นโยบายการพฒั นาคุณภาพและมาตรฐานการศกึ ษา สถาบันของกระทรวงกลาโหม ๓. คําสั่ง ทบ. (เฉพาะ) ท่ี ๗๕๗/๔๕ ลง ๑๙ มิ.ย.๔๕ เรือ่ ง นโยบายและการกาํ หนดการประกนั คุณภาพการศกึ ษา ของ ทบ. ๔. นโยบายการศกึ ษาของกองทพั บก พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๖๔ ๕. คมู่ ือประเมินคุณภาพการศกึ ษา รร.หน่วย และเหลา่ สายวิทยาการของ ทบ. พ.ศ.๒๕๖๒ ภาพกจิ กรรมของหลักสูตร รางวัลของครู ภาพปฐมนิเทศหลกั สตู ร การเรยี นการสอน การฝึกปฏิบัติผปู้ ระกาศ ปฏิบตั ธิ รรม จิตอาสา ปฏิบัตงิ านกฐนิ ทบ. ปฏิบตั งิ านกฐนิ ยศ.ทบ. ออกกาํ ลงั กายพฒั นาโรงเรยี น


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook