Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงการ ระบบการเบิกจ่ายพสัดุ กรณีศึกษา สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคนคิจันทบุรี

โครงการ ระบบการเบิกจ่ายพสัดุ กรณีศึกษา สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคนคิจันทบุรี

Description: โครงการ ระบบการเบิกจ่ายพสัดุ กรณีศึกษา สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคนคิจันทบุรี

Search

Read the Text Version

โครงการ ระบบการเบกิ จ่ายพสั ดุ กรณีศึกษา สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลยั เทคนคิ จนั ทบรุ ี นายกาณฑ์ เอ้อื ถาวรสขุ นางสาวเพ็ญนภา โสมะภีร์ โครงการนี้เป็นสว่ นหน่งึ ของวิชาโครงการ รหัสวชิ า 3204-8501 หลกั สตู รประกาศนยี บัตรวิชาชพี ชนั้ สงู (ปวส.) สาขาวชิ าคอมพวิ เตอรธ์ รุ กิจ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2561 วทิ ยาลัยเทคนิคจนั ทบุรี สถาบนั การอาชวี ศกึ ษาภาคตะวนั ออก

หวั ขอ้ โครงการ : ระบบการเบิกจา่ ยพสั ดุ กรณศี กึ ษา สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ โดย วิทยาลัยเทคนิคจันทบรุ ี ครทู ่ปี รกึ ษา : นายกาณฑ์ เอื้อถาวรสุข สาขาวชิ า : นางสาวเพ็ญนภา โสมะภรี ์ ปกี ารศึกษา : นางจิรวรรณ มะลาไสย : นางพรี ญา ดนุ ขุนทด : คอมพิวเตอร์ธุรกจิ : 2561 บทคดั ย่อ ในปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศมีความก้าวหน้ามากขึ้น จึงได้มีการนำมาใช้กันอย่าง แพร่หลาย ซึ่งในการเก็บข้อมูลพัสดุแบบเก่านั้น ยังมีความยุ่งยากและไม่เป็นระเบียบ ทำให้ต้องนำ เทคโนโลยีเขา้ มามีส่วนช่วยในการทำงาน เพอื่ ความสะดวก รวดเรว็ มคี วามถกู ตอ้ งแม่นยำ และมคี วาม น่าเชื่อถือ ทำให้ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย โดยมีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อสร้างระบบการเบิกจ่ายพัสดุ 2. เพื่อหาความพึงพอใจของการสร้างระบบการเบิกจ่ายพัสดุ ซึ่งการทำระบบการเบิกจ่ายพัสดุนั้น ช่วยทำให้เกิดประโยชน์ด้านระบบการจัดเก็บข้อมูลพัสดุ เพื่ออำนวยความสะดวกแก่คณะครูอาจารย์ และระบบงานพสั ดุ ทั้งยังมีการดำเนินงานท่ีมีประสิทธภิ าพ สะดวก และรวดเร็ว โดยมีระบบสนับสนุน ในการเก็บข้อมูลการเบิกพัสดุ และเก็บข้อมูลพัสดุ ทำให้สามารถออกรายงานการเบิกพัสดุได้อย่าง ถูกตอ้ ง โดยมีแบบสอบถามมีความคิดเห็นเกี่ยวกับ โครงการระบบการเบิกจ่ายพัสดุ ในภาพรวมมี ค่าเฉลี่ยรวมทั้งหมดอยู่ในระดับ มาก โดยมีค่าเฉลี่ย 4.38 (S.D = 0.56) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่าในด้านประสิทธิภาพและความปลอดภัยของโปรแกรมมีค่าเฉลี่ยรวม 4.30 (S.D = 0.65) ด้าน การออกแบบและการจัดรูปแบบมีค่าเฉลี่ยรวม 4.47 (S.D = 0.51) ด้านประโยชน์ของโปรแกรมต่อ การปฏิบตั ิงานมีค่าเฉลย่ี รวม 4.38 (S.D = 0.49) เม่อื พจิ ารณาแยกเป็นรายข้อ โดยเรียงลำดับจากข้อที่ ได้ค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย 3 อันดับแรก ได้แก่ ลำดับที่ 1. รูปแบบตัวอักษรมีความอ่านง่าย มี คา่ เฉลี่ย 4.67 (S.D = 0.52) ลำดับที่ 2. โปรแกรมใช้งานง่ายและสะดวก มคี ่าเฉลย่ี 4.50 (S.D = 0.55) และลำดับท่ี 3 ความพึงพอใจในภาพรวมต่อการใช้งานระบบ มคี า่ เฉลี่ย 4.33 (S.D = 0.52) ก

Project name : Procurement System By : Mr. Kan Auethawonsuk Miss Pennapa Somaphi Consultants Teachers : Mrs. Jirawan Malasai : Mrs. Peeraya Dunkuntod Major : Business Computer Semester : 2018 Abstract Now a day, information technology is more advanced. It has been widely used in the old archive. Technology must be brought to contribute to the work. For convenience, accuracy and reliability. It saves time and money. The objectives are: 1 . To create a system for the disbursement of goods. 2 . To find satisfaction with the creation of the system of disbursement and the system to make the package. It helps to make the most of the storage system, To facilitate the teachers and the package system. It also has efficient, convenient and fast operation with support system for collection of data and storage. So the report can be issued correctly. The questionnaire was reviewed and Procurement System in total, The overall mean was at a high level, with a mean of 4.38 (S.D = 0.56). The efficiency and safety of the program were 4.30 (SD = 0.65). The design and layout had a mean of 4.47 (SD = 0.51). 4.38 (SD = 0.49). When considered separately the letters are easy to read, with an average of 4.67 (SD = 0.52), respectively. The program is easy to use and the average is 4.50 (SD = 0.55) and 3. The overall satisfaction with the system was 4.33 (SD = 0.52). ก

กติ ติกรรมประกาศ โครงการระบบการเบิกจ่ายพัสดุเป็นงานระบบส่วนใหญ่ จึงทำให้มีความล่าช้าในการทำงาน แต่ได้ประสบความสำเร็จในการทำโครงการครั้งนี้ จากครูจิรวรรณ มะลาไสย และคณะครูทุกท่าน โดยมีการช่วยเหลือ และให้คำปรึกษาต่าง ๆ ในเรื่องที่ทำความเข้าใจได้ยาก และตรวจสอบ แก้ไข จึง ทำใหง้ านน้ีมคี วามสำเรจ็ ไปได้ดว้ ยดี ขอขอบพระคณุ เปน็ อยา่ งสงู ไว้ ณ ท่นี ้ี ขอกราบขอบพระคุณบิดา มารดาที่ได้ให้แนวคิดในการศึกษาตลอดมา กรอบขอบพระคุณ คณะอาจารย์ผู้ประสิทธิ์ประสาทวิชา ญาติพี่น้องที่คอยให้ความช่วยเหลือและคอยเปน็ กำลังใจอันเป็น พลังใจสำคญั ทที่ ำใหเ้ กดิ ความมงุ่ ม่นั ความพยายามทจี่ ะทำการศกึ ษาคน้ ควา้ ฉบบั นี้จนเสรจ็ สมบรู ณ์ คุณประโยขนอ์ นั พึงมีจากการศกึ ษาคน้ คว้าฉบบั นี้ ผ้ศู กึ ษาขอน้อมบูชาและอุทิศให้กับพระคุณ บิดามารดา และครูอาจารย์ที่ได้ชี้แนะ และวางพื้นฐานการศึกษา จนได้รับความเสร็จสมดังเป้าหมาย ทกุ ประการ คณะผู้จัดทำ 2561 ข

สารบัญ เร่ือง หนา้ บทคัดย่อ ก กิตติกรรมประกาศ ข สารบัญตาราง ฉ สารบญั ภาพ ช บทท่ี 1 บทนำ 1.1 ความเปน็ มาและความสำคญั 1 1.2 วตั ถุประสงค์ของการวิจยั 1 1.3 ขอบเขตของการวจิ ยั 1 1.4 ข้อกำจัด 3 1.5 สมมติฐานการวิจัย 3 1.6 คำจำกดั ความทใี่ ชใ้ นงานวจิ ยั 3 1.7 ประโยชน์ที่คาดวา่ จะไดร้ ับ 4 บทท่ี 2 แนวคดิ ทฤษฎี เอกสารและงานวิจยั ทเี่ ก่ียวข้อง 2.1 การวิเคราะห์และออกแบบระบบ 5 2.2 หลกั การเขียนผงั งานระบบ 6 2.3 ความหมายของ Data Flow Diagram และ Entity Relationship Diagram 10 2.4 วธิ ีสร้าง DFD (Data Flow Diagram) 11 2.5 ความรเู้ บอ้ื งต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล 12 2.6 AppServ 19 2.7 ภาษา PHP 20 2.8 ภาษา SQL 21 2.9 กรอบแนวคิดในการวจิ ัย 23 2.10 งานวิจัยทเ่ี กี่ยวข้อง 23 บทท่ี 3 วธิ ีดำเนินการวิจยั 3.1 การออกแบบระบบฐานข้อมลู 26 3.2 การออกแบบประเมินความพีงพอใจ 31 บทที่ 4 ผลการวจิ ยั 4.1 โปรแกรมจดั การพัสดุ 33

สารบญั (ต่อ) หนา้ 36 เร่ือง 4.2 สรุปผลการวเิ คราะหแ์ บบทดสอบ 39 39 บทท่ี 5 สรุปผลการวิจยั อภปิ รายผลและขอ้ เสนอแนะ 39 5.1 สรปุ ผลการวจิ ยั 39 5.2 อภิปรายผล 40 5.3 ปญั หาและอุปสรรค 5.4 ขอ้ เสนอแนะ 41 50 บรรนาณุกรม ภาคผนวก ก 51 แบบเสนอโครงการ 68 บทคัดย่อ ภาษาอังกฤษ 72 ภาคผนวก ข ระยะเวลาความคืบหนา้ 73 ภาคผนวก ค วธิ กี ารใชร้ ะบบ แบบสอบถาม ภาคผนวก ง ประวตั ผิ จู้ ดั ทำ

สารบญั ตาราง ตารางที่ หนา้ 2.1**ตารางสญั ลักษณ์มาตรฐานทใี่ ชเ้ ขยี นผังงานระบบ 8 2.2 ตารางสญั ลกั ษณท์ ่ีใชใ้ น Data Flow Diagram (DFD) 10 4.1 แสดงร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม จำแนกขอ้ ตามเพศ 36 4.2 แสดงรอ้ ยละของตอบแบบสอบถาม จำแนกระดบั การศึกษา 36 4.3 ตารางสรปุ แบบสอบถามความคิดเห็นของอาจารย์ และนักเรียน นักศึกษา 37 ฉ

สารบัญภาพ หนา้ 11 ภาพที่ 23 2.1 สัญลกั ษณ์ทใ่ี ชใ้ นการเขยี น E-R Diagram 26 2.2 ภาพแสดงกรอบแนวคิดในการวจิ ยั 27 3.1 แผนภาพกระแสข้อมูล (Data Flow Diagram) 28 3.2 แผนภาพกระแสขอ้ มูล (Data Flow Diagram) 28 3.3 Level 2 store 29 3.4 Level 2 store2 29 3.5 ER – Diagram ระบบการเบิกจ่ายพัสดุ 29 3.6 การออกแบบตารางข้อมลู พสั ดุ 30 3.7 การออกแบบตารางข้อมลู Department 30 3.8 การออกแบบตารางข้อมลู Borrow 30 3.9 การออกแบบตารางขอ้ มูล Document 30 3.10 การออกแบบตารางข้อมูล Guser 33 3.11 การออกแบบตารางขอ้ มูล User 33 4.1 หนา้ Login 34 4.2 หนา้ รายการพัสดุ 34 4.3 หน้าเพ่ิมรายการพัสดุ 34 4.4 หน้าเบกิ พัสดุ 35 4.5 หน้าเบิกพัสดุ 35 4.6 หนา้ แก้ไขพสั ดุ 35 4.7 หน้าติดติอเรา 4.8 หน้าแก้ไขข้อมูล ช

1 บทที่ 1 บทนำ 1.1 ความเป็นมาและความสำคญั งานพัสดุ เปน็ งานที่สำคัญงานหน่ึงของแผนก ทีต่ อ้ งดำเนินการควบคู่กับงานการเรียน การสอน มีหน้าที่ให้บริการแก่นักศึกษา ครู ในแผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ได้บริหารพัสดุได้อย่างเป็นระบบ ระเบียบ โดยนำเทคโนโลยีที่ทันสมัยเข้ามาใช้ เนื่องจากการใช้งานที่ง่ายและสามารถเข้าถึงได้ทุกเพศ ทุกวัย อยา่ งเช่น เครื่องคอมพวิ เตอร์ ซึ่งนอกจากจะมีความสามารถในการพิมพ์เอกสาร ออกแบบและ พัฒนางานต่างๆได้แล้ว ทั้งความจุ ความเร็ว ความสวยของภาพ และความทันสมัย ทำให้สามารถนำ ระบบปฏบิ ัติการลงไปใส่ในเครอื่ งคอมพิวเตอรไ์ ด้อยา่ งมีประสิทธิภาพมากยิ่งขนึ้ เนื่องจากระบบการเบิกจ่ายพัสดุของเดิมที่จะนำมาประปรุงนั้นยังไม่สามารถตอบสนองต่อ ความต้องการของผู้ใช้งานได้ตรงต่อความต้องการ เพราะยังไม่มีระบบบัญชีผู้ใช้ ข้อมูลยังไม่เป็น ปัจจบุ นั ไม่สามารถแสดงรายงานการเบกิ พัสดอุ อกมาได้ จากปัญหาข้างตน้ คณะผ้จู ัดทำจึงไดม้ แี นวคิดทจ่ี ะนำเทคโนโลยสี ารสนเทศมาประยุกต์ใช้ในการ ดำเนินงานดงั กล่าว จึงได้มีการจัดทำระบบการเบิกจ่ายพัสดุ เพ่ือการอำนวยความสะดวกแก่ผู้เบิกจ่าย พัสดใุ หส้ ามารถดำเนนิ งานตา่ ง ๆ ไดอ้ ยา่ งงา่ ยดายและราบรนื่ 1.2 วตั ถุประสงค์ของการวจิ ัย 1.2.1 เพ่อื สร้างระบบการเบิกจา่ ยพสั ดุ (กรณีศกึ ษา สาขาวิชาคอมพิวเตอรธ์ ุรกจิ ) 1.2.2 เพอ่ื หาความพงึ พอใจของการสร้างระบบการเบิกจ่ายพสั ดุ 1.3 ขอบเขตการวิจยั 1.3.1 ประชากรและกลมุ่ ตัวอย่าง 1.3.1.1 ประชากร คอื คณุ ครวู ทิ ยาลัยเทคนิคจนั ทบุรี 1.3.1.2 กลุ่มตวั อย่าง คือ คุณครูสาขาวิชาคอมพวิ เตอรธ์ ุรกิจ จำนวน 6 คน 1.3.2 ตัวแปรทศี่ ึกษา 1.3.2.1 ตวั แปรตน้ คือ ระบบการเบกิ จ่ายพสั ดุ 1.3.2.2 ตัวแปรตาม คือ คณุ ครมู ีความพงึ พอใจตอ่ ระบบการเบิกจ่ายพสั ดุ 1.3.3 เครอ่ื งมอื ทีใ่ ชใ้ นโครงการ 1.3.3.1 เครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ Intel® Core(TM) i5-8300H CPU @ 2.30GHz (RAM) 8.00GB System Type 64-bit Operating System 1.3.3.2 โปรแกรม Notepad++

2 1.3.3.3 โปรแกรม Appserv 1.3.3.4 ภาษา PHP 1.3.3.5 Web browser 1.3.3.6 ใช้คอมพิวเตอร์สำหรบั แสดงผลระบบ 1.3.4 วธิ ีการเก็บรวบรวมข้อมูล 1.3.4.1 ศกึ ษาและรวบรวมขอ้ มูล 1.3.4.2 จดั ทำโปรแกรม เรอื่ งระบบเบิกจา่ ยพสั ดุ (กรณีศึกษา สาขาวิชาคอมพวิ เตอร์ ธรุ กจิ ) 1.3.4.3 ใหอ้ าจารย์แผนกคอมพวิ เตอรธ์ ุรกจิ วิทยาลยั เทคนคิ จนั ทบรุ ี ทดลองใช้ 1.3.4.4 นำแบบสอบถามความพึงพอใจใหอ้ าจารย์ไดล้ งความคดิ เหน็ 1.3.4.5 เกบ็ รวบรวมแบบสอบถามท้งั หมดและนำมาประมวลผลให้สมบรู ณ์ตอ่ ไป 1.3.5 สถิติที่ใชใ้ นการวเิ คราะห์ขอ้ มูล 1.3.5.1 การสร้างแบบสอบถามความคิดเห็นในการใช้บริการระบบแบบสอบถามความ คิดเห็นในการใชบ้ ริการระบบ ผู้วิจยั ได้สร้างข้ึนมานี้เปน็ แบบประเมินที่ยดึ ตามหลักเกณฑ์การประเมิน ของ Likert Scale ซึ่งมีข้นั ตอนสรา้ งดังน้ี 1) รวบรวมข้อมูลและศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง เพื่อกําหนดแนวทางทางการ สรา้ งแบบสอบถามความคดิ เหน็ ในการใชบ้ ริการระบบ 2) สร้างแบบสอบถามความคิดเห็นในการใช้บริการระบบ โดยมีตัวเลือก 5 ตวั เลือก 5 ระดับ คอื พึงพอใจระดับ มากท่สี ดุ มาก ปานกลาง น้อย และนอ้ ยท่สี ุด 1.3.5.2 การวิเคราะหข์ อ้ มูล ขอ้ มลู ที่ไดจ้ ากการเกบ็ รวบรวม นาํ มาตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์ และทาํ การประมวลผล ดว้ ยเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ โดยใช้โปรแกรมสแปรดชสี ซึง่ ใชส้ ถติ ใิ นการวิเคราะห์ ดังนี้ 1.3.5.2.1 การวิเคราะห์ข้อมูลปริมาณ (Quantitative data) คณะผู้จัดทำ ดําเนินการวิเคราะห์ ข้อมูลที่ได้รับจากแบบประเมินคุณภาพ และแบบสอบถามความคิดเห็นในการใช้ บริการระบบ แบบมาตราส่วนประมาณค่า ด้วยสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive statistics) เพื่อหา คา่ สถติ พิ ้ืนฐาน ได้แก่ ความถี่ (Frequency) คา่ ร้อยละ (Percentage) คา่ เฉล่ยี เลขคณิต (Mean)และ ค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน (Standard deviation) เพื่ออธิบายลักษณะข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง ซึ่ง นาํ เสนอในรปู ตารางประกอบคําอธิบาย 1.3.5.2.2 เกณฑ์การให้คะแนนและเกณฑ์การแปลความหมายสําหรับข้อมูล แบบมาตราส่วน ประมาณค่า (Rating Scale) คณะผู้วิจัยกําหนดเกณฑ์การให้คะแนนของลิเคอร์ท (Likert, 1932) ไวด้ ังนี้

3 1) แบบประเมนิ ความพึงพอใจในการใช้งานระบบ เกณฑ์การให้คะแนนการประเมินคุณภาพระบบ 5 หมายถึง ดมี าก 4 หมายถงึ ดี 3 หมายถงึ ปานกลาง 2 หมายถงึ นอ้ ย 1 หมายถึง ปรบั ปรุง 2) สถติ ทิ ีใ่ ชว้ เิ คราะห์ข้อมลู - คา่ เฉลย่ี (x̅) x̅ = ∑in=1 x n - ค่าความเบ่ียงเบนมาตรฐาน ( s ) s = √∑ni=1(x − x̅)2 n−1 เมอ่ื x̅ แทน คะแนนเฉลี่ย s แทน คา่ เบ่ียงเบนมาตรฐาน xi แทน คะแนนความพึงพอใจของนักศึกษาคนท่ี i n แทน จำนวนนักศกึ ษาในกลุ่มตัวอย่าง 1.4 ขอ้ จำกัด เป็นระบบที่ใช้กับเครื่อง PC และสามารถใช้บนระบบเครือข่ายได้ แต่ยังไม่สามารถใช้งานบน โทรศัพทม์ อื ถอื ได้

4 1.5 สมมติฐานการวจิ ัย 1.5.1 ระบบเบกิ จา่ ยพสั ดุ มีคุณภาพอย่ใู นระดับดี 1.5.2 ผูใ้ ชง้ านระบบเบกิ จ่ายพสั ดุ มีความพึงพอใจต่อโปรแกรมในระดบั มาก 1.6 คำจำกัดความที่ใชใ้ นงานวจิ ยั 1.6.1 เบิกจ่ายพัสดุ ( Parcel Disbursement) มีความหมายตามพระราชบัญญัติ การจัดซื้อจัด จา้ งและการบริหารพสั ดุภาครัฐ พ.ศ.2560 ไดใ้ ห้ความหมายเอาไว้วา่ พสั ดุ คือ สินค้า งานบริการ งาน ก่อสร้าง งานจ้างที่ปรึกษาและงานจ้างออกแบบ หรือควบคุมงานก่อสร้าง รวมทั้งการดำเนินการอื่น ตามที่กำหนดในกฎกระทรวงและ การบริหารพัสดุ หมายความว่า การเก็บ การบันทึก การเบิกจ่าย การยืม การตรวจสอบ การบำรุงรักษา และการจำหน่ายพัสดุ ระบบ (System) มีความหมายตาม พจนานกุ รม ฉบับราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ.2525 ได้ใหค้ วามหมายเอาไว้ว่า ระบบ คือ ระเบยี บเกี่ยวกับ การรวมสิ่งต่างๆ ซึ่งมีลักษณะซับซ้อนให้เข้าลำดับประสานเป็นอันเดียวกันตามหลักเหตุผลทาง วิชาการ หรือหมายถึงปรากฏการณ์ทางธรรมชาติซึ่งมีความสัมพันธ์ ประสานเข้ากัน โดยกำหนดรวม เป็นอนั หนึ่งอันเดียวกนั ระบบเบิกจ่ายพัสดุ (Material Requisition System) หมายถึง การสร้างระบบงานเพื่อทำการ เบกิ จา่ ยพัสดุ ซึง่ สามารถตรวจนบั จำนวนพัสดุที่มีอย่ใู นแผนก รวมถงึ การทำเพ่ิมลดพัสดุและการแสดง รายงานรายการพสั ดุญ 1.6.2 คอมพิวเตอร์ หมายถึง เครื่องคำนวณ อิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถทำงานคำนวณผลและ เปรียบเทียบค่าตามชุดคำสั่งด้วยความเร็วสูงอย่างต่อเนื่องและอัตโนมัติ พจนานุกรมฉบับ ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525 ได้ให้คำจำกัดความของคอมพิวเตอร์ไว้ค่อนข้างกะทัดรัดว่า เครื่อง อเิ ล็กทรอนกิ สแ์ บบอัตโนมัติ ทำหน้าทเี่ สมอื นสมองกล ใช้สำหรับแก้ปญั หาตา่ งๆ ทง้ั ท่งี ่ายและซับซ้อน โดยวิธีทางคณิตศาสตร์ หรืออาจกล่าวได้ว่า เครื่องคอมพิวเตอร์หมายถึง เครื่องมือที่ช่วยในการ คำนวณและการประมวลผลขอ้ มูล 1.7 ประโยชนท์ ค่ี าดวา่ จะไดร้ ับ 1.7.1 ไดร้ ะบบการเบกิ จ่ายพัสดุ (กรณศี กึ ษา สาขาวิชาคอมพวิ เตอร์ธุรกิจ) 1.7.2 ครแู ผนกคอมพวิ เตอรธ์ ุรกิจมีความพึงพอใจในการใชง้ านระบบ 1.7.3 สามารถนำความรู้ทไี่ ด้รับไปปรบั ใช้ในชีวติ ประจำวันได้

5 บทท่ี 2 แนวคิด ทฤษฎี เอกสารและงานวจิ ยั ท่ีเกีย่ วข้อง ********ในการดำเนินโครงงานระบบการเบิกจ่ายพัสดุของแผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคนิค จันทบุรี จะต้องศึกษาหลักการและทฤษฏีของการเขียนโปรแกรมที่นำมาช่วยในการสร้างโปรแกรม ระบบการเบิกจ่ายพัสดุ โดยใช้โปรแกรม PHP มาสร้าง เพื่อให้สามารถจัดทำโปรแกรมจัดเก็บข้อมูล พัสดุตา่ ง ๆ อย่างมปี ระสิทธภิ าพเพ่ิมยงิ่ มากข้ึน โดยศึกษาหลกั การและทฤษฏี ดังหัวข้อต่อไปน้ี 2.1**การวิเคราะห์และออกแบบระบบ 2.2**หลกั การเขียนผังงานระบบ 2.3**ความหมายของ DFD และ ER Diagram 2.4**วธิ ีสรา้ ง DFD 2.5**ความรู้เบือ้ งต้นเก่ียวกับระบบฐานข้อมูล 2.6 โปรแกรม AppServ 2.7**ภาษา PHP 2.8**ภาษา SQL 2.1 การวเิ คราะหแ์ ละออกแบบระบบ การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบ (System Analysis and Design) การวิเคราะห์และ ออกแบบระบบคือ วิธีการที่ใช้ในการสร้างระบบสารสนเทศขึ้นมาใหม่ นอกจากการสร้างระบบ สารสนเทศใหม่แล้ว การวิเคราะห์ระบบช่วยในการแก้ไขระบบสารสนเทศเดิมที่มีอยู่แล้วให้ดีขึ้นด้วยการ วิเคราะห์ระบบก็คือ การหาความต้องการ (Requirements) ของระบบสารสนเทศว่าคืออะไร หรือ ต้องการเพม่ิ เตมิ อะไรเข้ามาในระบบ และการออกแบบก็คือ การนำเอาความต้องการของระบบมาเป็น แบบแผน หรือเรียกว่าพิมพ์เขียวในการสร้างระบบสารสนเทศนั้นให้ใช้งานได้จริง ตัวอย่าง ระบบสารสนเทศ เช่น ระบบการขาย ความต้องการของระบบก็คือ สามารถติดตามยอดขายได้ เป็นระยะๆ เพื่อฝ่ายบริหารสามารถปรับปรุงการขายได้ทันท่วงที ตัวอย่างรายงานการขายที่กล่าว มาแล้วจะชี้ให้เห็นว่าเราสามารถติดตามการขายได้อย่างไรนักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst หรือ SA) คอื บคุ คลท่มี ีหน้าทว่ี เิ คราะห์และออกแบบระบบ การท่มี ีนกั วเิ คราะห์ระบบในองค์กรนั้น เป็นการ ได้เปรียบเพราะจะทำให้รู้โดยละเอียดว่า การทำงานในระบบนั้นๆ เป็นอย่างไร และอะไรคือความ ต้องการของระบบ ในกรณีที่นักวิเคราะห์ระบบไม่ได้อยู่ในองค์กรนั้น ก็สามารถวิเคราะห์ระบบได้ เชน่ กันโดยการศึกษาสอบถามผูใ้ ช้ และวิธีการอน่ื ๆ ซึง่ จะกลา่ วในภายหลงั ผใู้ ช้ในทนี่ ีก้ ค็ อื เจ้าของ และ ผู้ที่เกี่ยวข้อง ในระบบสารสนเทศนั้นเอง ผู้ใช้อาจจะเป็น คนเดียว หรือหลายคนก็ได้ เพื่อใ ห้

6 นักวิเคราะห์ระบบทำงานได้อย่างคล่องตัวมีลำดับขั้นและเป้าหมายที่แน่นอน นักวิเคราะห์ระบบควร ทราบถึงว่า ระบบสารสนเทศนน้ั พัฒนาขนึ้ มาอยา่ งไร มขี ้นั ตอนอยา่ งไรบา้ ง 2.2 หลักการเขยี นผังงานระบบ 2.2.1 ผังงานระบบ คือ รปู ภาพหรือสัญลกั ษณ์ท่ีใช้แทนลำดับ หรอื ขน้ั ตอนในโปรแกรมรปู ภาพ หรือสัญลกั ษณ์ทใ่ี ชเ้ ปน็ เอกลักษณ์ และแทนความหมายอย่างใดอยา่ งหนง่ึ ประเภทของผังงาน โดยทั่วไปผงั งานคอมพิวเตอร์แบง่ เป็น 2 ประเภทใหญ่ 2.2.1.1 ผังงานระบบ(System Flowchat) เป็นผังงานที่แสดงถึงขั้นตอนการทำงาน ภายในระบบหนึ่ง โดยจะแสดงถึงความเกี่ยวข้องของส่วนที่สำคัญต่าง ๆ ในระบบนั้น เช่น เอกสาร เบ้อื งต้น หรอื สือ่ บันทกึ ข้อมูลท่ใี ช้อยู่เป็นอะไร และผา่ นไปยังหน่วยงานใด มกี ิจกรรมอะไรในหนว่ ยงาน นั้น แล้วจะส่งต่อไปหน่วยงานใด เป็นต้น ดังนั้นผงั งานระบบอาจเก่ียวขอ้ งกับคน วัสดุ และเครื่องจกั ร ซึ่งแต่ละจุดจะประกอบไปด้วย การนำข้อมูลเข้าวิธีการประมวลผลและการแสดงผลลัพธ์(Input Process Output)วา่ มาจากทใี่ ดอย่างกวา้ ง ๆ จึงสามารถเขยี นโปรแกรมจากผงั งานระบบได้ 2.2.1.2 ผังงานโปรแกรม(Program Flowchat) หรือเรียกสั้น ๆ ว่า “ผังงาน” ผังงาน ประเภทน้ีแสดงถงึ ข้นั ตอนของคำส่ังท่ีใช้ในโปรแกรม ผังงานนอ้ี าจสร้างจากผงั งานระบบโดยผเู้ ขียนผัง งานจะดึงเอาแต่ละจุดที่เกี่ยวข้องการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ปรากฏในผังงานระบบมา เขยี น เพอ่ื ใหท้ ราบวา่ ถา้ จะใช้คอมพิวเตอร์ทำงานในจดุ น้ันเพือ่ ให้ไดผ้ ลลัพธ์ท่ีตามต้องการ ควรท่ีจะมี ขั้นตอนคำส่ังอย่างไร และจะไดน้ ำมาเขียนโปรแกรมคอมพวิ เตอรท์ ำงานต่อไป 2.2.2 การใชง้ านผังงานระบบ เพื่อให้ทราบถึงความเกย่ี วพันของระบบตังแต่เร่ิมต้น ว่ามีการ ปฏิบตั แิ ตล่ ะขั้นตอนอยา่ งไร ใช้วธิ กี ารอะไรบา้ ง เหมาะสำหรบั ผบู้ รหิ าร ผู้วิเคราะห์ระบบ และ ผู้เขียนโปรแกรม จะได้ทราบถงึ ความสมั พนั ธข์ องแผนกต่าง ๆ 2.2.3 ประโยชนแ์ ละข้อจำกัดของผงั งานระบบ ผังงานระบบเป็นเอกสารประกอบโปรแกรมซึ่งจะ ช่วยให้การศึกษาลำดับขั้นตอนของโปรแกรมง่ายขั้น จึงนิยมเขียนผังงานระบบประกอบ การเขียน โปรแกรม ดว้ ยเหตุผลดงั น้ี ********** 2.2.3.1**คนส่วนใหญส่ ามารถเรียนรู้และเข้าใจผังงานระบบได้ง่าย เพราะผังงานระบบไม่ ขน้ั อยู่กบั ภาษาคอมพิวเตอรภ์ าษาใดภาษาหน่งึ โดยเฉพาะ ***********2.2.3.2**ผังงานระบบเป็นการสื่อความหมายด้วยภาพ ทำให้ง่ายและสะดวกต่อ การ พิจารณาถึงลำดับข้นตอนในการทำงาน ซึ่งน่าจะดีกว่าบรรยายเป็นตัวอักษร การใช้ข้อความ หรือ คำพดู อาจจะสอ่ื ความหมายผิดไปได้ ***********2.2.3.3**ในงานโปรแกรมที่ไม่สลับซับซ้อน สามารถใช้ผังง า น ร ะ บ บ ต ร ว จ ส อ บ ความถูกต้องของลำดับขั้นตอนได้ง่าย โปรแกรมจะแก้ไขได้สะดว กและรวดเร็วข้ึน

7 ***********2.2.3.4**การเขยี นโปรแกรมโดยพิจารณาจากผังงานระบบ สามารถทำใหร้ วดเรว็ และง่าย ขน้ึ 2.2.3.5**การบำรุงรักษาโปรแกรมหรือการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโปรแกรมให้มีประสิทธภิ าพ ถ้าดูจากผงั งานระบบจะช่วยให้สามารถทบทวนงานในโปรแกรมก่อนปรับปรุงได้ง่ายข้ึน 2.2.4*ข้อจำกัดของผังงานระบบผู้เขียนโปรแกรมบางคนไม่นิยมการเขียนผังงานระบบก่อนที่จะ เขียนโปรแกรมเพราะเสียเวลาในการเขียนเป็นรูปภาพหรือสัญลักษณ์ต่าง ๆ นอกจากนี้ยังมีเหตุผล อนื่ ๆ ไดแ้ ก่******** *********** 2.2.4.1**ผังงานระบบเป็นการสื่อความหมาระหว่างบุคคลต่อบุคคลมากกว่าที่จะส่ือ ความหมายระหว่างบุคคลกับเครื่อง เพราะผังงานระบบไม่ขึ้นอยู่กับภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใด ภ า ษ า หนึ่งทำให้เครื่องไม่สามารถรับและเข้าใจว่าในผังงานระบบนั้นต้องการให้ทำอะไร *********** 2.2.4.2**เมื่อได้พิจารณาจากผังงานระบบจะไม่สามารถทราบได้ว่า ขั้นตอน การ ทำงานใดสำคัญกว่ากันเพราะทุก ๆ ขั้นตอนใช้รูปภาพหรือสัญลักษณ์ในลักษณะเดียวกัน *********** 2.2.4.3**การเขียนผังงานระบบเป็นการสิ้นเปลอื ง เพราะจะต้องใช้กระดาษและอุปกรณ์ อ่นื ๆ ประกอบการเขยี นภาพ บางคร้ังการเขียนผงั งานระบบอาจจะต้องใช้กระดาษมากกวา่ 1 แผน่ ท้ัง ๆ ที่การอธิบายงานเดียวกันจะใ ช้ เ นื้ อ ที่ เ พี ย ง 3-4 บรรทัดเท่านั้น******************* *********** 2.2.4.4**ผังงานระบบจะมีขนาดใหญ่ ถ้าโปรแกรมที่พัฒนาเป็นงานใหญ่ ทำให้ผังงาน ระบบแลดูเทอะทะไม่คลอ่ งตัว และถ้ามีการปรบั เปลี่ยนผังงานระบบจะทำได้ยาก บางครั้งอาจจะต้อง เขียนผังงานขน้ั ใหม่ *********** 2.2.4.5**ในผังงานระบบจะบอกขั้นตอนการปฏิบัติงานว่าเป็นลำดับอย่างไร ปฏิบัติงาน อะไรแตจ่ ะไม่ระบใุ ห้ทราบว่าทำไมจึงต้องเป็นลำดับและต้องปฏบิ ตั งิ านอยา่ งนั้น *********** 2.2.4.6**ในภาษาคอมพวิ เตอรท์ ่ีใชก้ ันในปัจจุบนั เชน่ ภาษาซี ผังงานระบบ ไม่สามารถ แทนลักษณะคำสง่ั ในภาษาได้ชดั เจน ตรงไปตรงมา 2.2.5*สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงานระบบต้องใช้สัญลักษณ์ต่าง ๆ นำมาเรียงกันเพื่อแสดง ลำดับการทำงาน โดยมีลกู ศรเชอ่ื มระหว่างภาพต่างๆ สัญลกั ษณ์ทีใ่ ชใ้ นการเขียนผังงานระบบที่นิยมใช้ กันนั้นเป็นสัญลักษณ์ของหน่วยงานสถาบันมาตรฐานแห่งชาติสหรัฐอเมริกา (American National Standard Institute: ANSI) แ ล ะ อ ง ค ์ ก า ร ม า ต ร ฐ า น น า น า ช า ต ิ (International Standard Organization: ISO) หน่วยงานดังกล่าว ทำหน้าที่รวบรวมและกำหนดสัญลักษณ์มาตรฐานที่จะใช้ เขียนผงั งานระบบดังนี้

8 ตารางท*่ี 2.1**ตารางสัญลักษณ์มาตรฐานทีใ่ ชเ้ ขียนผังงานระบบ สัญลกั ษณ์ ความหมาย ตวั อยา่ งการใช้ คาอธิบาย แสดงการเริ่มตน้ หรือการ START 1 เร่ิมผงั งานระบบ สิ้นสุดของการเขยี นผงั งาน STOP 2 จบผงั งานระบบ ระบบ (Terminal Interrupt) 1 รับ(อา่ น) คา่ A โดยไม่ การรับขอ้ มลู หรือแสดง ระบุสื่อทบี่ นั ทึกคา่ A ขอ้ มลู (Input Output 2แสดงคา่ B โดยไม่ระบสุ ่ือ Media) รับ (อ่าน)คา่ A ที่บนั ทึกบน บตั ร 1 ใบ การรับขอ้ มลู หรือแสดง ขอ้ มลู โดยใชบ้ ตั รเจาะรูเป็น อ่านค่า ID ทีบ่ นั ทึกบนเทป กระดาษ ส่ือ(Punch card) การรับขอ้ มูลหรือแสดง ให้พิมพค์ ่า A ทางกระดาษ ขอ้ มลู โดยใชเ้ ทปกระดาษ ตอ่ เน่ือง (Punch Tape) แสดงค่า A ทางจอภาพ การแสดงขอ้ มูลหรือผลลพั ธ์ พิมพท์ างเคร่ืองพิมพล์ งบน กระดาษตอ่ เนื่อง (Continuous Paper) การแสดงผลลพั ธ์ทาง จอภาพ (Display)

9 ตารางท*่ี 2.1**ตารางสัญลักษณม์ าตรฐานทใี่ ช้เขียนผงั งานระบบ (ต่อ) สัญลกั ษณ์ ความหมาย ตวั อยา่ งการใช้ คาอธิบาย แสดงจุดตอ่ เนื่องที่อยคู่ นละ หลงั จากกาหนดค่า A=3 หนา้ (Off-Page Connector) แลว้ ใหไ้ ปทาตามจุด ต่อเนื่องช่ือ B ซ้ึงไมไ่ ดอ้ ยู่ หนา้ เดียวกนั 2.2.6*หลักเกณฑ์ในการวิเคราะห์งาน การวิเคราะห์งานหรือการวิเคราะห์ปัญหา นับว่าเป็น หัวใจสำคัญของการเขียนโปรแกรมหรือชุดคำสั่ง ต่าง ๆ เพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงาน การวิเคราะห์ งานเป็นการศึกษาถึงรายละเอียดของปัญหาเกี่ยวกับงานที่ต้องการเขียนโปรแกรมเข้าเครื่อง คอมพิวเตอร์นำมาศึกษา วิเคราะห์และตีความเพื่อช่วยให้เข้าใจง่ายเช่น ต้องการให้เครือ่ งทำงาน อะไร ลกั ษณะผลลัพธ์ทต่ี ้องการแสดงวิธี การประมวลผลทตี่ อ้ งใช้และข้อมูลทีจ่ ะต้องป้อนเข้าไปกล่าว โดยสรปุ การวิเคราะห์งานจะเป็นการศึกษาผลลัพธ์(Output) ขอ้ มลู ทีน่ ำเข้า (Input) และวิธีการ ประมวลผล (Process) รวมทั้ง การกำหนดชื่อตัวแปร (Variable) ที่จะใช้ในโปรแกรมนั่นเองวิธีการ วเิ คราะหง์ านให้ได้ผลดีนั้นมี หลายแบบแต่หลักเกณฑ์ใหญ่ ๆ ท่ีนิยมใช้กันอย่างทัว่ ไปสามารถแยก เป็นขอ้ ๆ ตามลำดบั ดังต่อไปนี้ 2.2.6.1**สิ่งที่โจทย์ต้องการ หมายถึง สิ่งที่ต้องการให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำให้ เช่น ต้องการให้คำนวณคะแนนเฉลี่ยของนักศึกษา ต้องการให้คำนวณเงินเดือนและค่าแรง เป็นต้นงานแต่ ละชิ้นอายต้องกานใช้เครื่องทำงานให้มากว่าหนึ่งอย่าง ซึ่งควรจะเขียนไว้เป็นข้อ ๆ ให้ชัดเจน การ พิจารณาถึงสิง่ ทีโ่ จทย์ต้องการเป็นส่วนที่สำคัญมาก เพราะถ้าไม่ทราบก็ไม่สามารถจะทำขั้นตอนตอ่ ไป ไ ด ้ เ ล ย ห ร ื อ ถ ้ า เ ข ้ า ใ จ ส ่ ว น น ี ้ ผ ิ ด ก ็ จ ะ ท ำ ใ ห ้ ง า น ผ ิ ด ท ั ้ ง ห ม ด ********** ************* *********** 2.2.6.2**ผลลัพธ์ที่ต้องแสดง (Output) หมายถึง การวิเคราะห์ลักษณะของงาน หรือ รูปแบบผลลัพธ์ที่ต้องการให้คอมพิวเตอร์แสดงออกมาว่าควรจะมีลักษณะอย่างไร มีรายละเอียดที่ ต้องการให้แสดงในรายงานมากน้อยเพียงใดหรือรายละเอียดชนิดใดที่ไม่ต้องการให้แสดงออกมาใน รายงาน ในกรณีนี้เป็นหน้าที่ของผู้เขียนโปรแกรมเองว่าจะต้องการรูปแบบรายงานออกมาโดยมี รายละเอียดที่จำเป็นและสวยงามเพียงใด เนื่องจากรายงานหรือผลลัพธ์นี้มีความสำคัญต่อผู้บริหาร เนื่องจากผู้บริหารจะใช้รายงานหรือผ ล ลั พ ธ์ ไ ปช่วยในก า ร ตั ด สิ น ใ จ ห รื อ ก า ร วิเคราะห์และแ ก้ ไ ข ปัญหาตา่ ง ๆ ได้ *********** 2.2.6.3**ข้อมูลที่ต้องนำเข้า (Input) หมายถึง ข้อมูลที่ต้องป้อนเข้ามาเพื่อใช้ใน การประมวลผล ซึ่งเป็นขั้นตอนที่ต่อเนื่องจากการวิเคราะห์ลักษณะของผลลัพธ์คือ เมื่อพิจารณาถึง ลักษณะของ Output ที่แน่นอนแล้วข้อมูลที่ต้องนำเข้าไปก็ควรจะพิจารณาให้เหมาะสมกับผลลัพธ์ที่

10 ต้องการแสดงด้วย ทั้งนี้อาจจะต้องพิจารณาถึงขั้นตอนในการประมวลผลควบคู่ไปด้วย* *********** 2.2.6.4**ตัวแปรที่ใช้ (Variable) หมายถึง การกำหนดชื่อแทนความหมายของข้อมูล ต่าง ๆ เพื่อความสะดวกในการอ้างถึงข้อมูลนั้นและการเขียนโปรแกรมด้วยการตั้งชื่อตัวแปรที่ใช้ควร คำนึงถึงความหมายที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลการตั้งชื่อตัวแปรนี้จะขึ้นอยู่กับกฎเกณฑ์ของ ภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมเพราะภาษาคอมพิวเตอร์แต่ละภาษามีกฎเกณฑ์และ ความสามารถในการตงั้ ตัวแปรแตกตา่ งกันไปแต่โดยท่วั ๆ ไปการตั้งชอ่ื ตัวแปรจะพจิ ารณาความหมาย ของข้อมูลว่าตรงกับคำใดในภาษาอังกฤษ แล้วนำมาตัดแปลงหรือย่อให้เข้ากับหลักเกณฑ์ของ ภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้ *********** 2.2.6.5**วธิ ีการประมวลผล (Processing) หมายถงึ วธิ ีการประมวลผลโดยแสดงข้ันตอน ต่าง ๆ ที่ต้องทำตามาลำดับ เริม่ จาการรบั ข้อมูลนำไปประมวลผลจนได้ผลลัพธ์ ข้ันตอนน้ีจะต้องแสดง การทำงานที่ต่อเนื่องตามลำดับ จึงต้องจัดลำดับก่อนหลังให้ถูกต้อง ในขั้นตอนของวิธีการนี้ถ้ายิ่งกระ ทำใหล้ ะเอยี ดก็จะช่วยในการเขียนโปรแกรมยิง่ งา่ ยขึ้น 2.3 ความหมายของ Data Flow Diagram และ Entity Relationship Diagram 2.3.1 Data Flow Diagram หรอื (DFD) คือ แผนภาพการวเิ คราะห์ระบบของนักวิเคราะห์ระบบ ที่ช่วยให้สามารถเข้าใจในกระบวนการทำงานของแต่ละหน่วยงาน ซึ่งทราบถึงการรับ/ส่งข้อมูล การ ประสานงานระหว่างกิจกรรมต่าง ๆ ในการดำเนินงาน ซึ่งเป็นแบบจำลองของระบบ แสดงถึงการไหล ของข้อมูลทัง้ INPUT และ OUTPUT ระหว่างระบบกับแหลง่ กำเนดิ รวมทัง้ ปลายทางของการส่งข้อมูล ซึ่งอาจเป็นแผนก บุคคล หรือระบบอื่น โดยขึ้นอยู่กับระบบงานและการทำงานประสานงานภายใน ระบบนน้ั นอกจากน้ียังช่วยให้รถู้ ึงความต้องการของข้อมลู และข้อบกพร่อง (ปัญหา) ในระบบงานเดิม เพอื่ ใชใ้ นการออกแบบการปฏิบตั งิ านในระบบใหม่ 2.3.2 Entity Relationship Diagram หรือ (ER Diagram) คือ แผนผังแสดงความสัมพันธ์ ระหว่าง Entity หรือกลุ่มข้อมูล ซึ่งจะแสดงชนิดของความสัมพันธ์ว่าเป็นชนิดหนึ่งต่อหนึ่ง (One to One) หนึ่งตอ่ หลายส่ิง (One to Many) หรอื หลายสิง่ ตอ่ หลายสิง่ (Many to Many) ตารางท*่ี 2.2**ตารางสัญลกั ษณท์ ่ีใชใ้ น Data Flow Diagram (DFD) DeMarco & Gane & Sarson ความหมาย Yourdon Process – ข้นั ตอนการทำงานภายในระบบ

11 ตารางท*่ี 2.2**ตารางสัญลักษณ์ที่ใชใ้ น Data Flow Diagram (DFD) (ตอ่ ) DeMarco & Gane & Sarson ความหมาย Yourdon Data Store – แหล่งข้อมูลสามารถเปน็ ไดท้ ง้ั ไฟล์ข้อมลู และฐานข้อมูล External Entity – ปจั จัยหรอื ส่ิงแวดล้อมทมี่ ี ผลกระทบต่อระบบ Data Flows – เสน้ ทางการไหลของข้อมลู แสดงทศิ ทางของข้อมูลจากขั้นตอนการทำงาน หนงึ่ ไปยงั อกี ขั้นตอนหน่งึ ภาพที่ 2.1 สญั ลักษณ์ท่ใี ช้ในการเขียน E-R Diagram 2.4 วธิ สี รา้ ง DFD (Data Flow Diagram) 2.4.1 กำหนดส่ิงที่อยู่นอกเหนือระบบทั้งหมด และหาว่าข้อมลู อะไรบ้างทเี่ ข้าสูร่ ะบบหรือออก จากระบบทีเ่ ราสนใจเชา้ สู่ระบบทอ่ี ยู่ภายนอก ขน้ั ตอนนสี้ ำคัญมาก เพราะจะทำใหท้ ราบว่าขอบเขต ของระบบนน้ั มีอะไรบ้าง

12 2.4.2 ใชข้ ้อมูลท่ีไดจ้ ากข้ันตอนท่ี 1 นำมาสรา้ ง DFD ต่างระดับ 2.4.3 ข้นั ตอนต่อมามีอีก 4 ขั้นตอน โดยให้ทำท้ัง 4 ข้ันตอนน้ีซ้ำหลาย ๆ ครง้ั จนกระท่งั ได้ DFD ระดบั ตำ่ สุด 2.4.3.1 เขียน DFD ฉบบั แรก กำหนดโพรเซสและข้อมลู ที่ไหลเข้าออกจากโพรเซส 2.4.3.2 เขยี น DFD อืน่ ๆ ที่เปน็ ไปไดจ้ นกระท่งั DFD ทถ่ี กู ทสี่ ดุ ถา้ มีส่วนหน่งึ สว่ นใดท่ี รู้สึกไม่งา่ ยนักก็พยายามเขยี นใหม่อีกครัง้ หนง่ึ แต่ไม่ควรเสยี เวลาเขียนจนกระทั่งได้ DFD ทส่ี มบูรณ์ แบบ เลือก DFD ที่เห็นว่าดีท่ีสุดในสายตาของเรา 2.4.3.3 พยายามหาวา่ มีขอ้ ผิดพลาดอะไรบ้าง หรือไมซ่ ง่ึ มีรายละเอยี ดในหวั ขอ้ ผดิ พลาด ใน DFD 2.4.3.4 เขยี นแผนภาพแตล่ ะภาพอยา่ งดีซ่ึง DFD ฉบับน้ีจะใชต้ ่อไปในการออกแบบและ ใชด้ ้วยกันกบั บุคคลอนื่ ๆ ท่ีเกี่ยวขอ้ งในโครงการดว้ ย 2.4.4 นำแผนภาพทั้งหมดทเี่ ขยี นมาแล้วเรยี งลำดบั และ ทำสำเนาแล้วพร้อมท่ีจะนำไปตรวจสอบ ข้อผดิ พลาดกบั ผูร้ ่วมทีมงาน ถ้ามีแผนภาพใดทีม่ จี ุดอ่อนให้กลับไปเรม่ิ ตน้ ใหมท่ ี่ขัน้ ตอนท่ี 3 อกี ครงั้ หนึง่ 2.4.5 นำ DFD ที่ได้ไปตรวจสอบข้อผดิ พลาดกับผใู้ ช้ระบบเพื่อหาวา่ มีแผนภาพใดไม่ถกู ต้อง หรือไม่ 2.4.6 ผลิตแผนภาพฉบับสุดท้ายท้งั หมด 2.5 ความรู้เบ้ืองต้นเก่ียวกับระบบฐานข้อมลู 2.5.1 ฐานขอ้ มูล (database) หมายถึง การจัดรวบรวมข้อนิเทศหรอื ขอ้ มูลของเรือ่ งต่าง ๆ ไวใ้ น รูปแบบทจ่ี ะเรียกมาใชไ้ ดท้ นั เม่ือต้องการ ในการเรยี กน้ัน อาจเรียกเพียงส่วนใดส่วนหน่ึงมาใช้ ประโยชน์เปน็ คร้ังเปน็ คราวก็ได้ ฐานขอ้ มูลทดี่ ีควรจะได้รบั การปรับให้ทนั สมัยอยู่เสมอ กลุ่มของ แฟม้ ข้อมูลท่มี คี วามสมั พนั ธก์ ันและถูกนำมารวมกัน เช่น ฐานข้อมูลในบรษิ ัทแห่ง หนึง่ อาจประกอบไป ดว้ ยแฟม้ ข้อมลู หลายแฟ้มข้อมลู ซึ่งแตล่ ะแฟม้ ต่างก็มีความสัมพนั ธก์ ัน ได้แก่ แฟ้มข้อมลู พนกั งาน แฟม้ ข้อมลู แผนกในบริษัท แฟ้มขอ้ มูลขายสนิ ค้า และแฟ้มข้อมลู สินค้า เปน็ ตน้ สรุปไดว้ า่ ฐานข้อมูล คอื การรวบรวมข้อมลู ท่ีเราต้องการจะจดั เก็บ ซงึ่ ต้องมีความสมั พันธ์กนั หรือเปน็ เร่อื งเดยี วกนั ไว้ ดว้ ยกัน เพอื่ สะดวกในการใชง้ าน 2.5.2 ระบบการจัดการฐานข้อมูล (Data Base Management System : DBMS) หมายถึง ซอฟต์แวร์ที่สร้างขึ้นเพื่อรวบรวมข้อมูลให้เป็นระบบ เพื่อจะได้นำไปเก็บรักษา เรียกใช้หรือนำมา ปรับปรุงให้ทันสมัยได้ง่าย ทั้งนี้จำเป็นต้องคำนึงถึงการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลเป็นเรื่องสำคัญ ด้วย โปรแกรมทใี่ ช้เป็นเคร่ืองมือในการจัดการฐานข้อมูล ซ่งึ ประกอบด้วยหน้าท่ี ตา่ ง ๆ ในการจัดการ กับข้อมลู รวมทั้งภาษาทใ่ี ชท้ ำงานกับข้อมลู โดยมกั จะใช้ ภาษา SQL ในการโตต้ อบระหวา่ งกันกับผู้ใช้

13 เพื่อให้สามารถกำหนดการสร้างการเรียกดู การบำรุงรักษาฐานข้อมูล รวมทั้งการจัดการควบคุมการ เข้าถึงฐานข้อมูล ซึ่งถือเป็น การป้องกันความปลอดภัยในฐานข้อมูล เพื่อป้องกันมิให้ผู้ที่ไม่มีสิทธิการ ใช้งานเข้ามาละเมิดข้อมูลในฐานข้อมูลที่เป็นศูนย์กลางได้ นอกจากนี้ DBMS ยังมีหน้าที่ในการรักษา ความมั่นคงและปลอดภัยของเป็นศูนย์กลางได้ นอกจากนี้ DBMS ยังมีหน้าที่ในการรักษาความมัน่ คง และความปลอดภัยของข้อมูล การสำรองข้อมูล และการเรียกคืนข้อมูลในกรณีที่ข้อมูลเกิดความ เสียหาย สรุปได้ว่า “การพัฒนาระบบการจัดการฐานข้อมูล” คือ โปรแกรมทำหน้าที่ในการกำหนด ลักษณะขอ้ มลู ที่จะเก็บไวใ้ นฐานข้อมลู อำนวยความสะดวกในการบนั ทกึ ข้อมูลลงในฐานข้อมูล กำหนด ผูท้ ไ่ี ดร้ ับอนุญาตให้ใช้ฐานข้อมลู ได้พร้อมกบั กำหนดดว้ ยวา่ ให้ใชไ้ ดแ้ บบใด เช่น ให้อ่านขอ้ มูลได้ อย่าง เดียวหรือให้แก้ไขข้อมูลได้ด้วย นอกจากนั้น ยังอำนวยความสะดวกในการค้นหาข้อมูลและการแก้ไข ปรับปรุงข้อมูล ทำให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงข้อมูลได้ง่าย สะดวกและมีประสิทธิภาพ เสมือนเป็นตัวกลาง ระหว่างผใู้ ชก้ บั ฐานข้อมลู ใหส้ ามารถตดิ ตอ่ กันได้ 2.5.3 ประวัติความเป็นมาของระบบจัดการฐานข้อมูล การจัดการฐานข้อมูลเริ่มต้นจากกา รที่ องค์การบริหารการบิน และ อวกาศสหรัฐอเมริกา หรือ นาซ่าได้ว่าจ้างบริษัทไอบีเอ็ม (IBM) ประเทศ สหรัฐอเมรกิ าให้ออกแบบระบบเกบ็ รวบรวมข้อมูลที่ได้จากการสำรวจดวงจันทรใ์ นโครงการอะพอลโล โครงการอะพอลโลเป็นโครงการสำรวจอวกาศอย่างจริงจัง และมีการส่งมนุษย์ขึ้นบนดวงจันทร์ ได้ สำเร็จด้วยยานอะพอลโล 11 ได้พัฒนาระบบการดูแลข้อมูลเรียกว่า ระบบ GUAM (Generalized Upgrade Access Method) ซึ่งถือเป็นต้นกำเนิดของระบบการจัดการฐานข้อมูล ต่อมาบริษัท ไอบีเอ็ม ได้พัฒนาระบบการจัดการฐานข้อมูลขึ้นมาใหม่เพื่อให้ ใช้งานกับธุรกิจทั่ว ๆ ไปได้เรียก ว่า DL/I (Data Language/I) จนในที่สุดก็ได้กลายมาเป็นระบบ IMS (Information Management System) ในช่วงปี พ.ศ.2525 มีการนำระบบฐานข้อมูลเข้ามาใช้กับคอมพิวเตอร์อย่างเต็มที่ได้มีการ คิดค้น และผลิตซอฟต์แวร์เกี่ยวกับฐานข้อมูลออกมามากมาย การเจริญเติบโตของการจัดการ ฐานข้อมูลชุดหน้าไปอย่างรวดเร็ว พร้อมกับระบบคอมพิวเตอร์และมีการพัฒนามาจนถึงทุกวันนี้ ปจั จบุ ันได้มีการนำคอมพวิ เตอร์มาใช้ในการเก็บข้อมูล โดยใช้โปรแกรมสำเรจ็ รปู ทวั่ ไปโดยท่ีผู้ใช้ไม่ต้อง เขียนโปรแกรมเองเพียงแต่เรียนรู้คำสั่งการเรียกใช้ข้อมูลหรือการจัดการข้อมูล เช่น การป้อนข้อมูล การบันทึกข้อมูล การแก้ไขและเปลี่ยนแปลงข้อมูล เป็นต้น ในอดีตยุคที่มีไมโครคอมพิวเตอร์เกิดข้ึน แรก ๆ โปรแกรมสำเร็จรูปทางด้านการจัดการฐานข้อมูลที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย คือ Personal Filling System ต่อมาได้มีโปรแกรมฐานข้อมูลเพิ่มขึ้นหลายโปรแกรม เช่น Data star DB Master และ dBase II ได้รับความนิยมมาก จนกระทั่ง ในปี พ.ศ.2528 ผู้ผลิตไดส้ ร้าง dBase III Plus ออกมา ซึ่งสามารถจัดการฐานข้อมูลแบบสัมพันธ์ (relational) เชื่อมโยงแฟ้มข้อมูลต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ค้นหา และนำมาสร้างเป็นรายงานตามความต้องการได้สะดวก รวดเร็ว ต่อมาได้มีการสร้าง โปรแกรม

14 สำเร็จรปู เกี่ยวกับฐานข้อมลู ออกมา เช่น FoxBASE, FoxPro, Microsoft Access และ Oracle 2.5.4 องค์ประกอบของระบบการจัดการฐานข้อมูล ระบบการจัดการฐานข้อมูลประกอบด้วย ส่วนสำคัญหลัก ๆ 5 ส่วน คือ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ข้อมูล กระบวนการทำงาน และ บุคลากร ดัง รายละเอียดต่อไปนี้ 2.5.4.1 ฮาร์ดแวร์ (hardware) หมายถึง คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่าง ๆ เพื่อเก็บข้อมูล และประมวลผลข้อมูล ซึ่งอาจประกอบด้วยเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ตั้งแต่หนึง่ เครื่องข้ึนไปหน่วยเก็บข้อมูล สำรอง หน่วยนำเข้าข้อมูล และ หน่วยแสดงผลข้อมูล นอกจากนี้ยังต้องมีอุปกรณ์ การสื่อสารเพ่ือ เชื่อมโยงอุปกรณ์ทางคอมพิวเตอร์หลาย ๆ เครื่องให้สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้ เป็นต้น โดย เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ทีจ่ ะใชเ้ ป็นอุปกรณ์สำหรับประมวลผลข้อมลู ในฐานข้อมูลน้ัน สามารถเป็นได้ต้ังแต่ เครื่องเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ มินิคอมพิวเตอร์ หรือไมโครคอมพิวเตอร์ซึ่งถ้าเป็นเครื่อง เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ หรอื มนิ คิ อมพิวเตอรจ์ ะสามารถใช้ต่อกบั เทอรม์ ินลั หลายเคร่ือง เพ่อื ให้ผใู้ ช้งาน ฐานข้อมูลหลายคน สามารถดงึ ขอ้ มูลหรือปรบั ปรุงข้อมลู ภายในฐานข้อมูลเดียวกนั พร้อมกันได้ ซ่ึงเป็น ลักษณะของการทำงานแบบมัลติยูสเซอร์ (multi user) การประมวลผลฐานข้อมูลในเครื่องระดับ ไมโครคอมพิวเตอร์ สามารถทำการประมวลผลได้ 2 แบบ แบบแรกเป็นการประมวลผลฐานข้อมูลใน เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์เครื่องเดียว โดยมีผู้ใช้งานได้เพียงคนเดียวเท่านั้น (single user) ที่สามารถ ดึงข้อมูลหรือปรับปรุงข้อมูลภายในฐานข้อมูลได้ สำหรับแบบที่สองจะเป็นการนำไมโครคอมพิวเตอร์ หลายตัวมาเชื่อมต่อกัน ในลักษณะของเครือข่ายระยะใกล้ (Local Area Network : LAN) ซึ่งเป็น รูปแบบของระบบเครือข่ายแบบลูกข่าย / แม่ข่าย (client /server network) โดยจะมีการเก็บ ฐานข้อมูลอยู่ทีเ่ ครื่องแม่ขา่ ย (server) การประมวลผลต่าง ๆ จะกระทำที่เครื่องแม่ข่ายสำหรับเคร่อื ง ลูกข่าย (client) จะมีหน้าทด่ี ึงข้อมลู หรือสง่ ข้อมลู เข้ามาปรบั ปรุงในเครื่องแม่ข่าย หรอื คอยรบั ผลลัพธ์ จากการประมวลผลของแมข่ ่าย ดังน้นั การประมวลผลแบบนีจ้ ึงเป็นการเปิดโอกาสให้ผใู้ ช้งานหลายคน สามารถใช้งานหลายคนสามารถใช้งานฐานข้อมูลร่วมกันได้ระบบฐานข้อมูลที่มีประสิทธิภาพดีต้อง อาศัยเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่มีประสิทธิภาพสูง คือสามารถเก็บข้อมูลได้จำนวนมากและประมวลผลได้ อย่างรวดเร็วเพื่อรองรับการทำงานจากผู้ใช้หลายคนที่อาจมีการอ่านข้อมูลหรือปรับปรุงข้อมูลพร้อม กนั ในเวลาเดียวกัน 2.5.4.2 ซอฟต์แวร์ (software) หมายถงึ โปรแกรมท่ใี ชใ้ นระบบการจัดการฐานข้อมลู ซ่ึง มกี ารพฒั นาเพ่อื ใช้งานไดก้ ับเครอ่ื งไมโครคอมพวิ เตอรจ์ นถงึ เครื่องเมนเฟรม ซงึ่ โปรแกรมแต่ละตัวจะมี คุณสมบัติการทำงานที่แตกต่างกัน ดังนั้นในการพิจารณาเลือกใช้โปรแกรมจะต้องพิจารณาจาก คุณสมบัติของโปรแกรมแต่ละตัวว่ามีความสามารถทำงานในสิ่งที่เราต้องการได้หรือไม่ อีกทั้งเรื่อง ราคากเ็ ปน็ เรื่องสำคญั เนอื่ งจากราคาของโปรแกรมแต่ละตวั จะไม่เท่ากันโปรแกรมท่ีมีความสามารถสูง

15 ก็จะมีราคาแพงมากขึ้น นอกจากนี้ยังต้องพิจารณาว่าสามารถใช้ร่วมกับฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ ระบบปฏิบัติการที่เรามีอยู่ได้หรือไม่ ซึ่งโปรแกรมที่ใช้ใน การจัดการฐานข้อมูล ได้แก่ Microsoft Access, Oracle, Informix, dBase, FoxPro, และ Paradox เปน็ ต้น โดยโปรแกรมทเี่ หมาะสำหรับผู้ เริ่มต้นฝึกหัดสร้างฐานข้อมูล คือ Microsoft Access เนื่องจากเป็นโปรแกรมใน Microsoft Office ตัวหนึ่ง ซึ่งจะมีอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์อยู่แล้ว และการใช้งานก็ไม่ยากจนเกินไปแต่ผู้ใช้งานต้องมี พน้ื ฐานในการออกแบบฐานขอ้ มลู มาก่อน 2.5.5 ข้อมลู (data) ระบบการจัดการฐานขอ้ มูลท่ดี แี ละมปี ระสิทธภิ าพ ควรประกอบดว้ ยข้อมลู ที่ มีคณุ สมบตั ขิ ้ันพนื้ ฐานดงั น้ี 2.5.5.1 มีความถูกต้อง หากมีการเก็บรวบรวมข้อมูลแล้วข้อมูลเหล่านั้นเชื่อถือไม่ได้ จะ ทำให้เกิดผลเสียอย่างมาก ผู้ใช้จะไม่กล้าอ้างอิงหรือนำไปใช้ประโยชน์ ซึ่งเป็นสาเหตุให้ การตัดสินใจ ของผู้บริหารขาดความแม่นยำ และอาจมีโอกาสผิดพลาดได้ โครงสร้างฐานข้อมูลที่ออกแบบต้อง คำนึงถึงกรรมวิธีการดำเนินงานเพื่อให้ได้ความถูกต้องแม่นยำมากที่สุด โดยปกติความผิดพลาดของ สารสนเทศส่วนใหญ่มาจากข้อมูลที่ไม่มีความถูกต้องซึ่งอาจมีสาเหตุมาจากคน หรือ เครื่องจักรการ ออกแบบระบบการจดั การฐานข้อมูลจงึ ต้องคำนึงถงึ ในเร่อื งนีด้ ้วย 2.5.5.2 มีความรวดเร็วและเป็นปัจจุบัน การได้มาของข้อมูลจำเป็นต้องให้ทันต่อความ ต้องอากรของผู้ใช้มีการตอบสนองตอ่ ผูใ้ ช้ได้อย่างรวดเร็ว ตีความหมายสารสนเทศได้ทันต่อเหตุการณ์ หรอื ความต้องการ มีการออกแบบระบบการเรียกค้น และแสดงผล ไดต้ รงตามความตอ้ งการของผใู้ ช้ 2.5.5.3 มีความสมบรู ณ์ของข้อมูล ซึง่ ขึ้นอยกู่ บั การรวบรวมและวธิ กี ารปฏบิ ัติดว้ ย ในการ ดำเนินการจัดทำข้อมูลตอ้ งสำรวจและสอบถามความต้องการข้อมูล เพื่อให้ได้ข้อมูลที่มีความสมบูรณ์ และเหมาะสม 2.5.5.4 มีความชัดเจนและกะทัดรัด การจัดเก็บข้อมูลจำนวนมากจะต้องใช้พื้นที่ในการ จัดเก็บข้อมูลมาก จึงจำเป็นต้องออกแบบโครงสร้างข้อมูลให้กะทัดรัดสื่อความหมายได้มี การใช้รหัส หรือย่อขอ้ มลู ให้เหมาะสมเพอ่ื ทจ่ี ะจัดเก็บไว้ในระบบคอมพวิ เตอร์ 2.5.5.5 มีความสอดคล้องกับความต้องการ ซึ่งเป็นเรื่องที่สำคัญ ดังนั้นจึงต้องมีการ สำรวจเพื่อหาความต้องการของหน่วยงานและองค์กร ดูแลสุขภาพการใช้ข้อมูล ความลึก หรือ ความ กว้างของขอบเขตของข้อมูลที่สอดคลอ้ งกบั ความต้องการ 2.5.6 กระบวนการทำงาน (procedures) หมายถึง ขั้นตอนการทำงานเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามท่ี ต้องการ เช่น คู่มือการใช้งานระบบจัดการฐานข้อมูล ตั้งแต่การเปิดโปรแกรมขึ้นมาใชง้ าน การนำเข้า ขอ้ มูล การแกไ้ ขปรบั ปรงุ ขอ้ มูล การค้นหาขอ้ มูลและการแสดงผลการค้นหา เปน็ ต้น 2.5.6.1 บคุ ลากร (people) จำเปน็ ตอ้ งเกยี่ วข้องกับระบบอยูต่ ลอดเวลา ซ่งึ บคุ ลากร ท่ีทำ หนา้ ท่ใี นการจัดการฐานข้อมลู มดี ังต่อไปนี้

16 2.5.6.1.1 ผบู้ ริหารข้อมลู (data administrators) ทำหนา้ ที่ในการกำหนดความ ต้องการในการใช้ข้อมูลข่าวสารขององค์กร การประมาณขนาดและอัตราการขยายตัวของข้อมูลใน องค์กร ตลอดจนทำการจัดการดูแลพจนานุกรมข้อมลู เป็นต้น 2.5.6.1.2 ผู้บริหารฐานข้อมูล (database administrators) ทำหน้าที่ในการ บริหารจัดการ ควบคุม กำหนดนโยบายมาตรการ และ มาตรฐานของระบบฐานข้อมูลทั้งหมดภายใน องค์กร ตวั อยา่ งเช่น กำหนดรายละเอียดและวิธีการจัดเกบ็ ข้อมูล กำหนดควบคมุ การใช้งานฐานข้อมูล กำหนดระบบรักษาความปลอดภัยของข้อมูล กำหนดระบบสำรองข้อมูล และกำหนดระบบการกู้คืน ข้อมูล เป็นต้น ตลอดจนทำหน้าที่ประสานงานกับผู้ใช้ นักวิเคราะห์ระบบ และนักเขียนโปรแกรม เพือ่ ให้การบรหิ ารระบบฐานข้อมูลสามารถดำเนินไปได้อย่างมีประสิทธภิ าพ 2.5.6.1.3 นักวิเคราะห์ระบบ (system analysts) มีหน้าที่ศึกษาและทำความ เข้าใจในระบบงานขององค์กร ศึกษาปัญหาที่เกิดขึ้นจากระบบงานเดิม และความต้องการของระบบ ใหม่ที่จะทำการพัฒนาขึ้นมา รวมทั้งต้องเป็นผู้ที่มีความรู้ ความเข้าใจในกระบวนการทำงานโดยรวม ของท้งั ฮารด์ แวรแ์ ละซอฟต์แวรอ์ ีกดว้ ย 2.5.6.1.4 นักออกแบบฐานข้อมูล (database designers) ทำหน้าที่นำผลการ วิเคราะห์ ซึง่ ได้แกป่ ัญหาที่เกิดขึ้นจากการทำงานในปัจจุบัน และความต้องการท่ีอยากจะให้มีในระบบ ใหม่ มาออกแบบฐานขอ้ มลู เพอ่ื แกป้ ญั หาทีเ่ กดิ ขึ้น และให้ตรงกับความตอ้ งการของผู้ใช้งาน 2.5.6.1.5 นักเขียนโปรแกรม (programmers) มีหน้าที่รับผิดชอบในการเขียน โปรแกรมประยุกต์เพื่อการใช้งานในลักษณะต่าง ๆ ตามความต้องการของผู้ใช้ ตัวอย่างเช่น การเก็บ บันทึกข้อมลู และการเรียกใชข้ ้อมูลจากฐานข้อมูล เปน็ ตน้ 2.5.6.1.6 ผู้ใช้ (end-users) เป็นบุคคลที่ใช้ข้อมูลจากระบบฐานข้อมูล ซ่ึง วตั ถปุ ระสงค์หลกั ของระบบฐานข้อมูล คือ การตอบสนองความตอ้ งการในการใชง้ านของผู้ใช้ ดังน้นั ใน การออกแบบระบบฐานข้อมูลจึงจำเป็นต้องมีผู้ใช้งานเข้าร่วมอยู่ในกลุ่มบุคลากรที่ทำหน้าที่ออกแบบ ฐานขอ้ มูลดว้ ย 2.5.7 หนา้ ท่ขี องระบบจดั การฐานขอ้ มลู ระบบการจัดการฐานขอ้ มูลมหี น้าที่สำคัญ ๆ หลายอยา่ ง เพ่อื ให้เกิดความถูกตอ้ งและสอดคลอ้ งกนั ของข้อมลู ภายในฐานขอ้ มูล ไดแ้ ก่ 2.5.7.1 การจัดการพจนานุกรมข้อมูล ระบบการจัดการฐานข้อมูลจะทำการจัดเก็บนิยาม ของข้อมูล และความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลไว้ในพจนานุกรมข้อมูล เป็นสารนิเทศที่บอกเกี่ยวกับ โครงสร้างของฐานข้อมูล โปรแกรมประยุกต์ท้ังหมดที่ต้องการเขา้ ถึงข้อมูลในฐานข้อมูลจะต้องทำงาน ผ่านระบบการจัดการฐานข้อมูล โดยที่ระบบจัดการฐานข้อมูลจะใช้พจนานุกรมข้อมูล เพื่อค้นหา โครงสร้างตลอดจนส่วนประกอบของข้อมูลและความสัมพันธ์ที่ต้องการ นอกจากนั้นแล้วการ

17 เปลย่ี นแปลงใด ๆ ท่ีมีต่อโรงสรา้ งฐานข้อมลู จะถูกบันทกึ ไวโ้ ดยอัตโนมัติในพจนานุกรมข้อมลู ทำให้เรา ไม่ตอ้ งเปล่ียนแปลงแกไ้ ขโปรแกรมเมอ่ื โครงสร้างขอ้ มลู มีการเปลย่ี นแปลง 2.5.7.2 การจัดเก็บข้อมูล ระบบการจัดการฐานข้อมูลจะสร้างโครงสร้างที่จำเป็นต่อการ จัดเก็บข้อมูล ช่วยลดความยุ่งยากในการนิยามและการเขียนโปรแกรมที่เกี่ยวข้องกับคุณสมบัติทาง กายภาพ ระบบการจัดการฐานข้อมูลในปัจจุบันไม่เพียงแต่จะช่วยในการจัดเก็บข้อมูลเท่านั้น แต่ยัง รวมถึงการจัดเก็บกฎเกณฑ์ตา่ ง ๆ ทใี่ ชใ้ นการตรวจสอบบรู ณภาพของข้อมูลอกี ด้วย 2.5.7.3 การแปลงและนำเสนอขอ้ มลู ระบบการจัดการฐานข้อมูลจะทำหน้าที่ในการแปลง ข้อมูลที่ได้รับเข้ามา เพื่อให้สอดคล้องกับโครงสร้างในการจดั เก็บข้อมูล ทำให้เราไม่ต้องไปยุ่งเก่ียวกบั ความแตกต่างระหว่างรูปแบบของข้อมลู ทางตรรกะและทางกายภาพ กล่าวคือทำให้มีความเปน็ อิสระ ของข้อมูล ระบบการจัดการฐานข้อมูลจะแปลงความต้องการเชิงตรรกะของผู้ใช้ ให้เป็นคำสั่งท่ี สามารถดึงข้อมูลทางกายภาพท่ตี ้องการ 2.5.7.4 การจัดการระบบความปลอดภัยของข้อมูล ระบบการจัดการฐานข้อมูลจะสร้าง ระบบรักษาความปลอดภัยของข้อมูล โดยการกำหนดรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้าใช้ระบบ และ ความสามารถ ในการใชร้ ะบบ เชน่ การอ่าน เพ่ิม ลบ หรือแกไ้ ขเปล่ียนแปลงข้อมลู การจดั การระบบ ความปลอดภัย ของข้อมลู มีความสำคัญมากในระบบฐานขอ้ มลู แบบท่ีมีผูใ้ ชห้ ลายคน 2.5.7.5 การควบคุมการเข้าถึงข้อมูลของผู้ใช้หลายคน ระบบการจัดการฐานข้อมูลจะใช้ หลักการออกแบบโปรแกรมที่เหมาะสม เพื่อใหแ้ น่ใจว่าผใู้ ช้หลายคนสามารถเข้าใช้ฐานข้อมลู พร้อมกัน ไดแ้ ละข้อมลู มคี วามถกู ตอ้ ง 2.5.7.6 การเก็บสำรองและกู้คืนข้อมูล ระบบการจัดการฐานข้อมูลจะมีโปรแกรมเพื่อ สนับสนุนการสำรองและกู้คืนข้อมูล เพื่อให้แน่ใจด้านความปลอดภัยและความมั่นคงของข้อมูล ใน ระบบ ระบบการจัดการฐานข้อมูลจะกู้ขอ้ มูลในฐานข้อมูลคืนมาหลังจากระบบเกิดความลม้ เหลว เชน่ เมอื่ เกดิ กระแสไฟฟา้ ขดั ขอ้ ง เปน็ ต้น 2.5.7.7 การควบคุมความถูกต้องของข้อมูล ระบบการจัดการฐานข้อมูลจะสนับสนุนและ ควบคุมความถูกต้องของข้อมูล ตั้งแต่ลดความซ้ำซ้อนของข้อมูล ไปจนถึงความไม่สอดคล้องกันของ ข้อมูล ความสัมพันธ์ของข้อมูลที่เก็บไว้ในพจนานกุ รมข้อมูลจะถูกนำมาใช้ในการควบคมุ ความถูกต้อง ของข้อมลู ด้วย 2.5.7.8 ภาษาท่ใี ชใ้ นการเข้าถงึ ฐานข้อมูล และ การเช่อื มตอ่ กบั โปรแกรมประยุกต์ระบบ การจัดการฐานข้อมูลสนับสนุนการเขา้ ถึงข้อมลู โดยผ่านภาษาคิวรี (query language) ซึ่งเป็นคำสั่งท่ี ใช้การค้นคืนจากฐานข้อมูล โดยผู้ใช้เพียงบอกว่าต้องการอะไร และ ไม่จำเป็นต้องรู้ว่ามีขั้นตอน อย่างไรในการนำขอ้ มูลออกมา เพราะระบบการจัดการฐานขอ้ มูลจะเป็นผู้กำหนดวิธีการในการเข้าถงึ ข้อมลู อยา่ งมีประสิทธิภาพเอง

18 2.5.7.9 การติดต่อสื่อสารกับฐานข้อมูล ระบบการจัดการฐานข้อมูลที่ทันสมัยจะต้อง สนบั สนุนการใช้งานฐานขอ้ มลู ผ่านทางเครอื ขา่ ยอนิ เทอรเ์ นต็ ได้ 2.5.8 ข้อดีของการใช้ฐานข้อมูล เมื่อมีการนำระบบการจัดการฐานขอ้ มูลมาใช้ เพื่ออำนวยความ สะดวกในการบันทึกข้อมูล แก้ไขปรับปรุงข้อมูล ค้นหาข้อมูล รวมทั้งกำหนดผู้ที่ได้รับอนุญาตให้ใช้ ฐานขอ้ มูล เปน็ ตน้ ทำใหฐ้ านข้อมูลมขี อ้ ดีมากมาย ไดแ้ ก่ 2.5.8.1 ลดความจำเจของงานดูแลเอกสาร ซ่งึ เปน็ งานประจำที่ทำใหผ้ ดู้ ูแลรสู้ กึ เบอื่ หน่าย และขาดแรงจูงใจ แต่เราสามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการปฏิบัติงานนี้แทนมนุษย์ได้ โดยผ่านโปรแกรม สำหรบั การจัดการฐานข้อมูล 2.5.8.2 ข้อมูลที่จัดเก็บมีความทันสมัย เมื่อข้อมูลในระบบฐานข้อมูลได้รับการดูแล ปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง ทำให้ข้อมูลที่จัดเก็บเป็นข้อมูลที่มีความทันสมัย ตรงกับเหตุการณ์ในปัจจุบัน และตรงกับความตอ้ งการอย่เู สมอ 2.5.8.3 ลดความซ้ำซ้อนในการจัดเก็บข้อมูล เนื่องจากการจัดทำฐานข้อมูลจะมี การ รวบรวมข้อมูลประเภทต่าง ๆ เข้ามาจัดเก็บไว้ในระบบและเก็บข้อมูลเพียงชุดเดียว ซึ่งทุกฝ่ายที่ เกี่ยวข้องจะสามารถเรียกใช้ข้อมูลที่ต้องการได้ เป็นการประหยัดเนื้อที่ในการจัดเก็บ และทำให้เกิด ความรวดเร็วในการค้นหาและจัดเก็บข้อมลู ดว้ ย 2.5.8.4 หลกี เลี่ยงความขัดแย้งของข้อมูลได้ เมอ่ื ขอ้ มูลถูกจดั เก็บระบบฐานข้อมูลจะทำให้ ข้อมูลลดความซ้ำซ้อนลง คือ มีข้อมูลแต่ละประเภทเพียงหนึ่งชุดในระบบ ทำให้ข้อมูลที่เก็บได้ไม่ ขัดแย้งกันเอง ในกรณีที่จำเป็นต้องเก็บข้อมูลที่ซ้ำซ้อนกัน เพื่อสาเหตุบางประการ เช่น เพื่อความ รวดเร็วในการประมวลผลข้อมูล ระบบจัดการฐานข้อมูลจะเป็นผู้ดูแลข้อมูลที่ซ้ำกันให้มีความถูกต้อง ตรงกัน 2.5.8.5 ใช้ข้อมูลร่วมกันได้ เนื่องจากระบบการจัดการฐานข้อมูลสามารถจัดให้ผู้ใช้แต่ละ คนเข้าใช้ขอ้ มูลในแฟ้มทีม่ ีข้อมูลเดียวกันได้ในเวลาเดียวกัน เช่น ฝ่ายบุคคลและฝา่ ยการเงนิ สามารถท่ี จะใช้ข้อมูลจากแฟม้ ประวตั พิ นักงานในระบบฐานข้อมลู ได้พร้อมกนั 2.5.8.6 ควบคุมมาตรฐานของข้อมูลได้ เมื่อข้อมูลต่าง ๆ ในหน่วยงานถูกรวบรวมเข้ามา ผู้บริหารระบบฐานข้อมูลสามารถที่จะวางมาตรฐานในการรับข้อมูล แสดงผลข้อมูล ตลอดจนการ จัดเก็บข้อมูลได้ เช่น การกำหนดรูปแบบของตัวเลขให้มีทศนิยม 2 ตำแหน่ง สำหรับค่าที่เป็นตัวเงิน การกำหนดรูปแบบของการรับ และแสดงผลสำหรับข้อมูลที่เป็นวันที่ นอกจากนี้การที่ข้อมูลมี มาตรฐานเดยี วกนั ทำให้สามารถแลกเปลยี่ นข้อมูลระหวา่ งระบบไดอ้ ยา่ งสะดวก 2.5.8.7 จัดทำระบบการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลได้ ผู้บริหารระบบฐานข้อมูล สามารถกำหนดรหัสผ่านเข้าใช้งานข้อมลู ของผูใ้ ช้แต่ละราย โดยระบบการจัดการฐานข้อมูลจะทำการ

19 ตรวจสิทธิ์ในการทำงานกับข้อมูลทุกครั้ง เช่น การตรวจสอบสิทธิ์ในการเรียกดูข้อมูล การลบข้อมูล การปรับปรุงข้อมูล และการเพม่ิ ขอ้ มลู ในแต่ละแฟ้มข้อมลู 2.5.8.8 ควบคุมถูกต้องของข้อมูลได้ ปัญหาเรื่องความขัดแย้งกันของข้อมูล ที่มีความ ซับซ้อน เป็นปัญหาในเรื่องความถูกต้องของข้อมูล ซึ่งเมื่อได้มีการจำกัดความซับซ้อนของข้อมูลออก ปัญหาเรื่องความถูกต้องของข้อมูลทีอ่ าจเกิดขึ้นได้ เช่น อายุโดยปกติของคนงาน ควรอยู่ระหว่าง 18- 60 ปี ถ้าหากในระบบฐานข้อมูล ปรากฏมีพนักงานที่มีอายุ 150 ปี ซึ่งเป็นไปไม่ได้ในทางปฏิบัติที่ หน่วยงานจะมีการว่าจ้างคนงานที่มีอายุเกิน 60 ปี และอายุของคนในปัจจุบันไม่ควรเกิน 100 ปี ผู้บริหารระบบฐานข้อมูลสามารถกำหนดกฎเกณฑ์ในการนำเข้าข้อมูล และระบบจัดการฐานขอ้ มูลจะ คอยควบคุมใหม้ กี ารนำเขา้ ข้อมลู เป็นไปตามกฎเกณฑใ์ หม้ ีความถกู ต้อง 2.5.9 ข้อเสียของการใช้ฐานข้อมูลแม้ว่าการประมวลผลขอ้ มูลด้วยระบบจดั การฐานข้อมูล จะมี ขอ้ ดหี ลายประการ แต่ก็จะมีขอ้ เสยี อยู่บ้างดงั ต่อไปนี้ 2.5.9.1 เสียค่าใช้จ่ายสูง เนื่องจากราคาของโปรแกรมที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูล จะมีราคาค่อนข้างแพง รวมทั้งเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพสูง คือ ต้องมี่ความเร็วสูง มีขนาด หน่วยความจำและหน่วยเก็บข้อมูลสำรองที่มคี วามจมุ าก ทำใหต้ ้องเสียค่าใช้จ่ายสูงในการจัดทำระบบ การจดั การฐานข้อมลู 2.5.9.2 เกดิ การสญู เสยี ขอ้ มูลได้ เนอ่ื งจากขอ้ มลู ต่าง ๆ ภายในฐานข้อมลู จะถูกจดั เก็บอยู่ ในที่เดียวกัน ดังนั้นถ้าที่เก็บข้อมูลเกิดมีปัญหา อาจทำให้ต้องสูญเสียข้อมูลทั้งหมดในฐานข้อมูลได้ ดงั นน้ั การจัดทำฐานข้อมลู ทีด่ จี ึงต้องมีการสำรองข้อมลู ไวเ้ สมอ 2.6 AppServ AppServ คอื โปรแกรมทร่ี วบรวมเอา Open Source Software หลายๆ อย่างมารวมกัน โดยมี Package หลักดังน้ี – Apache – PHP – MySQL – phpMyAdmin โปรแกรมต่างๆ ที่นำมารวบรวมไว้ทั้งหมดนี้ ได้ทำการดาวน์โหลดจาก Official Release ทง้ั ส้ิน โดยตวั AppServ จึงให้ความสำคญั ว่าทุกสิง่ ทกุ อย่างจะต้องใหเ้ หมือนกับต้นฉบับ เราจึงไม่ไดต้ ัด ทอนหรอื เพิ่มเตมิ อะไรท่ีแปลกไปกว่า Official Release แตอ่ ยา่ งได้ เพยี งแตม่ บี างสว่ นเท่านั้นท่ีเราได้ เพมิ่ ประสิทธภิ าพการติดตง้ั ให้สอดคล้องกบั การทำงานแตล่ ะคน โดยทก่ี ารเพ่ิมประสิทธิภาพน้ีไม่ได้ไป ยุ่ง ในส่วนของ Original Package เลยแม้แต่น้อยเพียงแต่เป็นการกำหนดค่า Config เท่านั้น เชน่ Apache กจ็ ะเปน็ ในส่วนของ httpd.conf, PHP กจ็ ะเป็นในส่วนของ php.ini, MySQL กจ็ ะเป็น

20 ในส่วนของ my.ini ดังนั้นเราจึงรับประกันได้ว่าโปรแกรม AppServ สามารถทำงานและความเสถียร ของระบบ ได้เหมือนกับ Official Release ทง้ั หมด จุดประสงค์หลักของการรวมรวบ Open Source Software เหล่านี้เพื่อทำให้การติดต้ัง โปรแกรมตา่ งๆ ที่ได้กล่าวมาใหง้ ่ายขึ้น เพื่อลดขัน้ ตอนการตดิ ตัง้ ที่แสนจะยุ่งยากและใชเ้ วลานาน โดย ผู้ใช้งานเพียงดับเบิ้ลคลิก setup ภายในเวลา 1 นาที ทุกอย่างก็ติดตั้งเสร็จสมบูรณ์ระบบต่างๆ ก็ พร้อมที่จะทำงานได้ทันทีทั้ง Web Server, Database Server เหตุผลนี้จึงเป็นเหตุผลหลักที่หลายๆ คนทั่วโลก ได้เลือกใช้โปรแกรม AppServ แทนการที่จะต้องมาติดตั้งโปรแกรมต่างๆ ที่ละส่วน ไม่ว่าจะเป็นผู้ที่ความชำนาญในการติดตั้ง Apache, PHP, MySQL ก็ไม่ได้เป็นเรื่องง่ายเสมอไป เนื่องจากการติดตั้งโปรแกรมที่แยกส่วนเหล่านี้ให้มารวมเป็นชิ้นอันเดียวกัน ก็ใช้เวลาค่อนข้างมาก พอสมควร แม้แต่ตัวผู้พัฒนา AppServ เอง ก่อนที่จะ Release แต่ละเวอร์ชั่นให้ดาวน์โหลด ต้องใช้ ระยะเวลาในการตดิ ตงั้ ไม่น้อยกวา่ 2 ชว่ั โมง เพื่อทดสอบความถกู ต้องของระบบ ดงั นัน้ จึงจะเห็นว่าเรา เองนั้นเป็นมือใหม่หรือมือเก่า ย่อมไม่ใช่เรื่องง่ายเลยที่จะติดตั้ง Apache, PHP, MySQL ใน พริบตาเดียว มีบางคำถามที่พบบ่อยว่า AppServ สามารถนำไปเป็น Web Server หรือ Database Server ได้ทันทีหรือไม่ ข้อนี้ต้องตอบว่าได้แน่นอน 100% แต่ทางผู้พัฒนาเองขอแนะนำว่า ระบบ จัดการ Memory และ CPU บน Windows ที่ทำงานเกีย่ วกับ Web Server หรือ Database Server ไม่เหมาะกับการใช้งานหนักๆ เป็นอย่างยิ่ง เพราะ Windows นั้นจะกลืนกินทรัพยากรอันมหาศาล และหากเทียบอัตรารองรับระบบงานกับ OS ตัวอื่นเช่น Linux/Unix จะยิ่งเห็นได้ชัดว่า OS ท่ีเป็น Windows ที่มีขนาด Memory และ CPU ที่เท่าๆ กัน OS ที่เป็น Linux/Unix นั้น จะรองรับงานได้ น้อยกว่ามากพอสมควร เช่น Windows รับได้ 1000 คนพร้อมๆ กัน แต่ Linux/Unix อาจรับได้ถึง 5000 พร้อมๆกัน หากท่านต้องทำงานหนักๆ ทางผู้พัฒนาแนะนำให้เลือกใช้ Linux/Unix OS จึงจะ เหมาะสมกว่า 2.7 ภาษา PHP PHP ย่อมาจาก PHP Hypertext Preprocessor แต่เดิมย่อมาจาก Personal Home Page Tools คอื ภาษาคอมพวิ เตอรจ์ ำพวก scripting language ภาษาจำพวกน้คี ำสัง่ ต่างๆจะเก็บอยใู่ นไฟล์ ที่เรียกว่า script และเวลาใช้งานต้องอาศัยตัวแปรชุดคำสั่ง ตัวอย่างของภาษาสคริปต์ก็เช่น JavaScript , Perl เป็นต้น ลักษณะของ PHP ที่แตกต่างจากภาษาสคริปต์แบบอื่นๆ คือ PHP ได้รับ การพัฒนาและออกแบบมา เพื่อใช้งานในการสร้างเอกสารแบบ HTML โดยสามารถสอดแทรกหรือ แก้ไขเนื้อหาได้โดยอัตโนมัติ ดังนั้นจึงกล่าวว่า PHP เป็นภาษาที่เรียกว่า server-side หรือ HTML-embedded scripting language นั้นคือในทุกๆ ครั้งก่อนที่เครื่องคอมพิวเตอร์ซึ่งให้บริการ เปน็ Web server จะสง่ หน้าเวบ็ เพจทเ่ี ขียนด้วย PHP ให้เรา มนั จะทำการประมวลผลตามคำสงั่ ท่ีมีอยู่ ให้เสร็จเสียก่อน แล้วจึงค่อยส่งผลลัพธ์ที่ได้ให้เรา ผลลัพธ์ที่ได้นั้นก็คือเว็บเพจที่เราเหน็ นั่นเอง ถือได้

21 ว่า PHP เป็นเครื่องมือที่สำคัญชนิดหนึง่ ที่ช่วยให้เราสามารถสรา้ ง Dynamic Web pages (เว็บเพจที่ มกี ารโตต้ อบกับผูใ้ ช)้ ไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพและมลี กู เล่นมากข้นึ PHP เป็นผลงานที่เติบโตมาจากกลุ่มของนักพัฒนาในเชิงเปิดเผยรหัสต้นฉบับ หรือ Open Source ดังนั้น PHP จึงมีการพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว และแพร่หลายโดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อใช้ร่วมกับ Apache Web server ระบบปฏบิ ัติอยา่ งเชน่ Linuxหรอื FreeBSD เป็นต้น ในปจั จบุ นั PHP สามารถ ใชร้ ว่ มกับ Web Server หลายๆตัวบนระบบปฏิบัตกิ ารอย่างเชน่ Windows 95/98/NT เปน็ ต้น 2.7.1 ลกั ษณะเดน่ ของ PHP 2.7.1.1 ใชไ้ ด้ฟรี 2.7.1.2 PHP เปน็ โปรแกรมวง่ิ ข้าง Sever ดงั นัน้ ขดี ความสามารถไม่จำกัด 2.7.1.3 Conlatfun นั่นคือPHP ว่ิงบนเครอ่ื ง Unix ,Linux ,Windows ไดห้ มด 2.7.1.4 เรียนรู้ง่าย เนืองจาก PHP ฝั่งเข้าไปใน HTML และใช้โครงสร้างและไวยากรณ์ ภาษาง่ายๆ 2.7.1.5 เร็วและมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะเมือใช้กับ Apach Xerve เพราะไม่ต้องใช้ โปรแกรมจากภายนอก 2.7.1.6 ใชร้ ่วมกบั XML ไดท้ ันที 2.7.1.7 ใช้กบั ระบบแฟม้ ข้อมลู ได้ 2.7.1.8 ใชก้ บั ขอ้ มูลตวั อกั ษรได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ 2.7.1.9 ใช้กบั โครงสรา้ งข้อมลู แบบ Scalar ,Array ,Associative array 2.7.1.10 ใชก้ ับการประมวลผลภาพได้ 2.8 ภาษา SQL SQL ย่อมาจาก Structured Query Language เป็นภาษาที่ใช้ในการจัดการของฐานข้อมูล เชิงสัมพันธ์ ผู้คิดค้น SQL เป็นรายแรกคือ บริษัทไอบีเอ็ม หลังจากนั้นมาผู้ผลิตซอฟท์แวร์ด้านระบบ จัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ได้พัฒนาระบบที่สนับสนุน SQL มากขึ้น จนเป็นที่นิยมใช้กันอย่าง แพร่หลายในปัจจุบนั โดยผผู้ ลิตแตล่ ะรายกพ็ ยายามพัฒนาระบบจัดการฐานข้อมูลของตนให้มีลักษณะ เด่นเฉพาะขึ้นมา ทำให้รูปแบบการใช้คำสั่ง SQL มีรูปแบบแตกต่างกันไปบ้าง ในขณะที่ American National Standards Institute (ANSI) ได้กำหนดรูปแบบมาตรฐานของ SQL ขึ้น ซึ่งเป็นมาตรฐาน ของคำสง่ั SQL ตาม ANSI-86 ต่อมาในปี 1992 ANSI ได้ปรับปรุงมาตรฐานของ SQL/2 และเป็นที่ยอมรับของ ISO (International Organization for Standardization) SQL/2 มรี ายละเอยี ดเพิม่ ขนึ้ เช่น • เพ่ิมประเภทของขอ้ มูลทมี่ จี ากเดิม

22 • สนับสนุนการใชก้ ลุม่ ตวั อักษร • มคี วามสามารถในการใหส้ ทิ ธิเ์ พ่ิมข้ึน (Privilege) • สนับสนุนการใช้ SQL แบบ Dynamic • เพ่มิ มาตรฐานในการใช้ Embedded SQL • มโี อเปอเรเตอรเ์ ชิงสมั พันธเ์ พมิ่ ขนึ้ นอกจากนี้ ANSI ได้ทบทวนและปรับปรุง SQL อีกครั้ง SQL/3 จุดประสงค์ของการกำหนดมาตรฐาน เพือ่ ประโยชนใ์ นการใช้คำส่ังน้ีร่วมกนั ในระบบที่แตกต่างกนั ได้ (Application Portability) นอกจากน้ี การเรียนรู้การใช้คำสั่ง SQL ตามมาตรฐานที่กำหนดขึ้น เป็นการง่ายที่จะนำไปประยุกต์ใช้หรือเรียนรู้ เพม่ิ เติมจากคำสง่ั SQL ของผ้ผู ลติ แต่ละรายได้ 2.8.1 การทำงานของ SQL 2.8.1.1. Select query ใชส้ ำหรับดึงข้อมูลที่ต้องการ 2.8.1.2. Update query ใช้สำหรับแก้ไขข้อมลู 2.8.1.3. Insert query ใชส้ ำหรับการเพิ่มข้อมูล 2.8.1.4. Delete query ใช้สำหรบั ลบข้อมูลออกไป 2.8.2 ประโยชนข์ องภาษา SQL 2.8.2.1 สร้างฐานขอ้ มลู และ ตาราง 2.8.2.2 สนับสนุนการจัดการฐานข้อมูล ซึ่งประกอบด้วย การเพิ่ม การปรับปรุง และ การลบขอ้ มลู 2.8.2.3 สนบั สนุนการเรยี กใช้หรอื ค้นหาข้อมูล 2.8.3 ประเภทคำสง่ั ของ SQL 2.8.3.1 คำสั่งกำหนดประเภทข้อมูล (Data Definition Language Command: DDL) เป็นกลุ่มคำสั่งใช้สำหรับการปรับเปลี่ยนโครงสร้างของฐานข้อมูล ประกอบด้วยคำสั่ง Create, Replace, Alter, Truncate, Rename, Drop 2.8.3.2 คำสั่งในการควบคุมโครงสร้างข้อมูล (Data Control Language Command: DCL) ประกอบด้วยคำสัง่ ทีใ่ ชใ้ นการควบคมุ การเกิดภาวะพร้อมกัน หรือการป้องกันการเกิดเหตุการณ์ ที่ผู้ใช้หลายคนเรียกใช้ข้อมูลพร้อมกัน และคำสั่งที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมความปลอดภัยของข้อมูล ดว้ ยการกำหนดสิทธขิ องผู้ใชท้ ่ีแตกตา่ งกนั เช่น คำส่ัง Grant และ Revoke 2.8.3.3 คำสั่งในการปรับปรุงข้อมูล (Data Manipulation Language Command: DML) ประกอบด้วยคำสัง่ ที่ใช้ในการเรียกใช้ ข้อมูล การเปลี่ยนแปลงข้อมลู การเพิ่มหรือลบข้อมูล ซึง ไดแ้ กค่ ำสงั่ Insert, Delete และ Update

23 2.8.3.4 คำสั่งที่ใช้ในการค้นหาข้อมูล (Data Retrieval Command) มีหน้าที่ในการ ค้นหาขอ้ มูล เพ่อื แสดงรายการขอ้ มูล หรือคำนวณ โดยมคี ำสัง่ เพียงคำสั่งเดยี วนน้ั คอื คำสั่ง Select 2.8.3.5 คำส่ังในการควบคุมการทำรายการขอ้ มลู (Transaction Control Command) เป็นคำสั่งที่ใช้ในการยืนยันรายการต่างๆ ที่ผู้ใช้งานได้กระทำกับฐานข้อมูล โดยคำสั่งในกลุ่มนี้จะ ประกอบด้วย “Commit” และ “Rollback” 2.8.4 รปู แบบการใช้คำสงั่ SQL 2.8.4.1 คำสั่ง SQL ที่ใช้เรียกดูข้อมูลแบบโต้ตอบ (Interactive SQL) เป็นการใช้คำส่งั SQL สง่ั งานบนจอภาพ เพื่อเรียกดขู ้อมลู จากฐานข้อมลู ไดโ้ ดยตรงในขณะทท่ี ำงาน 2.8.4.2 คำสั่ง SQL ที่ใช้เขียนร่วมกับโปรแกรมอื่น ๆ (Embedded SQL) เป็นการนำ คำสัง่ SQL ไปใชร้ ่วมกบั ชดุ คำสง่ั งานทเ่ี ขียนโดยภาษาตา่ ง ๆ เช่น COBOL, Pascal, PL เป็นตน้ 2.9 กรอบแนวคดิ ในการวจิ ัย ตวั แปรตน้ ตวั แปรตาม ด้านการออกแบบ ระดบั ความพึงพอใจ ดา้ นการใช้งาน รหัสพสั ดุ ด้านประโยชน์ ช่อื พัสดุ จำนวน หมายเหตุ ภาพที่ 2.2 ภาพแสดงกรอบแนวคิดในการวจิ ัย 2.10 งานวจิ ัยท่ีเกี่ยวข้อง กลีบแก้ว ขอถาวรทรัพย์ (2560) งานพัสดุ โรงเรียนสตรีภูเก็ต มีโปรแกรมพัฒนางานระบบ พัสดุและมีเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มี ประสิทธิภาพที่สามารถรองรับการทำงานในระบบ E-gp ทำให้การ ปฏิบัติงานพัสดุได้ตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.๒๕๖๐ ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ และ กฎกระทรวงต่างๆ และสามารถเบิกจ่ายเงินงบประมาณได้ตาม แผนการปฏิบัติงานที่วางไว้ได้อย่าง ถูกต้องและเป็นระบบได้อย่างคุ้มค่า มีประสิทธิภาพ โปร่งใส สามารถตรวจสอบได้และทำให้ทุก หนว่ ยงานในโรงเรยี นสตรภี ูเกต็ ไดพ้ สั ดตุ ามกำหนดระยะเวลาในการใชง้ านปรงุ ศกั ดิ์ อัตพุฒ (2560) งานพัสดุ โรงเรียนสตรีภูเก็ต มีโปรแกรมพัฒนางานระบบพัสดุและมีเครื่อง คอมพวิ เตอร์ท่ีมี ประสิทธภิ าพที่สามารถรองรบั การทำงานในระบบ E-gp ทำให้การปฏิบัติงานพัสดุได้

24 ตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.๒๕๖๐ ระเบียบ กระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซ้ือจดั จา้ ง และการบรหิ ารพัสดภุ าครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ และกฎกระทรวง ต่างๆ และสามารถเบิกจ่ายเงินงบประมาณได้ตามแผนการปฏิบัตงิ านที่วางไว้ได้อย่างถูกต้องและเปน็ ระบบได้อย่างคุ้มค่า มีประสิทธิภาพ โปร่งใส สามารถตรวจสอบได้และทำให้ทุกหนว่ ยงานในโรงเรียน สตรภี เู กต็ ไดพ้ ัสดตุ ามกำหนดระยะเวลาในการใช้งาน สุวรรณมาลี พิมพ์ครซ้าย (2557) การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1)ศึกษาสภาพและแนว ทางแก้ไขปัญหา เกี่ยวกับการเบิก/จ่ายวัสดุทางการแพทย์งานคลังวัสดุทางการแพทย์ โรงพยาบาล สกลนคร 2)สรา้ งยทุ ธศาสตร์การพัฒนาการเบิก/จา่ ยวสั ดุทางการแพทย์ เพื่อเสรมิ สรา้ ง ความพึงพอใจ ของผู้รับบริการ 3)ศึกษาผลการใช้ยุทธศาสตร์ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่าง จํานวน 74 คน จาํ แนก เปน็ 2 กลุ่ม 1) เจา้ หน้าท่ีปฏิบัติงานคลังวัสดทุ างการแพทย์ จาํ นวน 10 คน และ 2) เจา้ หน้าท่ี ประจําหน่วยเบิกของโรงพยาบาลสกลนคร และเจ้าหน้าที่ประจําหน่วยเบิกของเครือข่ายโรงพยาบาล สกลนคร จํานวน 64 คนดําเนินการวิจัย มี 4 ขั้นตอน คือ 1) ศึกษาสภาพปัญหา 2) สร้างและวพิ ากษ์ ยุทธศาสตร์ 3)ทดลองใช้ยุทธศาสตร์ และ 4) ถ่ายทอดและเผยแพร่ ยุทธศาสตร์ เครื่องมือที่ใช้ในการ วิจัย คือแบบสัมภาษณ์ การสนทนากลุ่ม แบบประเมินยุทธศาสตร์ และแบบทดสอบความรู้ ความ เข้าใจการวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์เนื้อหา ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพปัญหา ได้แก่ 1)เจ้าหน้าที่ส่วนใหญ่ยังขาดความรู้ความเข้าใจในระบบการ เบิกจ่ายวัสดุทางการแพทย์ 2) รูปแบบหรือระบบการเบิกจ่ายวัสดุทางการแพทย์ขาดความต่อเนื่อง และ 3)ระบบการจดั เกบ็ วสั ดุทางการแพทยข์ าดคุณภาพและ ประสิทธภิ าพ 2.ยุทธศาสตร์การพัฒนา ประกอบด้วย การพัฒนาการเบิกจ่ายวัสดุทางการแพทย์ ใช้ชื่อว่า ยุทธศาสตร์การเพิ่มประสิทธิภาพ งานบริการการเบิกจ่ายวัสดุทางการแพทย์ เพื่อความพึงพอใจของผู้รับบริการในโรงพยาบาลสกลนคร ซึ่งมี เป้าหมายเพื่อ 1) เจ้าหน้าที่ที่มีส่วนเกี่ยวข้องมีความรู้ความเข้าใจในระบบการเบิกจ่ายวัสดุ ทางการแพทย์ และมีพฤติกรรม บริการที่เหมาะสม และ 2)คลังวัสดุทางการแพทย์ โรงพยาบาล สกลนคร มีระบบการจัดเก็บวัสดุทางการแพทย์ที่มีคุณภาพ 3.แนวทางแก้ไขปัญหา ได้แก่ 1)อบรม เจ้าหน้าทที่ ่มี สี ่วนเกีย่ วข้องกับการปฏิบตั ิงานการเบิก/จ่ายวัสดุทางการแพทย์ โรงพยาบาลสกลนครให้ มีความรู้ความเข้าใจในระบบการเบิกจ่ายวัสดุทางการแพทย์ และ 2) พัฒนาระบบการจัดเก็บวัสดุ ทางการแพทย์ใหม้ ีคณุ ภาพและประสิทธิภาพ 4. ยุทธศาสตร์การพฒั นาการเบกิ จ่ายวสั ดทุ างการแพทย์ งานคลังวัสดุทางการแพทย์ โรงพยาบาลสกลนคร ใชช้ ือ่ วา่ ยุทธศาสตร์การเพม่ิ ประสทิ ธิภาพงานบริการ การเบิกจ่ายวัสดุทางการแพทย์เพื่อความพึงพอใจของผู้รับบริการ ในโรงพยาบาล สกลนคร ซึ่งมี เป้าหมายเพื่อ 1)เจ้าหน้าที่ที่มีส่วนเกี่ยวข้องมีความรู้ความเข้าใจในระบบการเบิกจ่ายวัสดุทางการ แพทย์และมีพฤติกรรมบริการที่เหมาะสม และ 2) คลังวัสดุทางการแพทย์ โรงพยาบาลสกลนครมี ระบบการจัดเก็บวัสดุทางการแพทย์ที่มี คุณภาพ ซึ่งยุทธศาสตร์ที่สร้าง มี 2 โครงการ ได้แก่

25 1)โครงการอบรมบุคลากร เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ ระบบการเบิกจ่ายวัสดุทางการ แพทย์และพฤตกิ รรมบริการ และ 2) โครงการพฒั นาระบบการจดั เกบ็ วสั ดทุ างการแพทย์ให้มี คณุ ภาพ 5.ความพึงพอใจต่อการเข้ารับอบรมโครงการอบรมบุคลากรเพื่อเสริมสรา้ งความรู้ความเข้าใจเกีย่ วกับ ระบบการ เบิกจ่ายวสั ดุทางการแพทย์ และพฤตกิ รรมบริการของเจ้าหน้าท่ีงานคลงั วสั ดุทางการแพทย์ โรงพยาบาลสกลนคร พบว่าท้งั โดยรวมและรายขอ้ ความพึงพอใจอยู่ในระดบั มาก

26 บทท่ี 3 วธิ ีดำเนินการวิจยั การวิเคราะห์ระบบงานสิ่งที่จำเป็น คือ นักวิเคราะห์ต้องทราบรายละเอียดของระบบว่ามี ความสัมพันธ์กับอะไร บุคคลกลุ่มใดที่จะสามารถเข้าใช้โปรแกรมได้ โปรแกรมที่ได้จัดทำขึ้นนั้น สามารถเข้าใช้ได้ทุกคน โปรแกรมได้สร้างขึ้นมาเพื่อสร้างความสะดวกให้กับกลุ่มบุคคลที่ต้องการ จัดเกบ็ ข้อมูลพัสดุ มดี ังน้ี 3.1 การออกแบบระบบฐานขอ้ มูล 3.1.1 แผนภาพกระแสข้อมูล 3.1.2 ER - Diagram 3.2 การออกแบบประเมินความพีงพอใจ 3.2.1 ประชากรและการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง 3.1 การออกแบบระบบฐานขอ้ มูล ในการจดั ทำโครงการระบบการเบกิ จ่ายพัสดุ ได้มีการกำหนดกระแสของข้อมูลไว้ดงั น้ี 3.1.1 แผนภาพกระแสข้อมลู (Context Diagram) ขอ้ มูลผ้เู บิก 0 รายการเบกิ พัสดุ ระบบการ ครู รายการเบกิ พสั ดุ ข้อมูลการสัง่ พัสดุ ผู้ดแู ลพสั ดุ พัสดุ เบิกจ่ายพสั ดุ แสดงรายการเบิกพสั ดุ ภาพท่ี 3.1 แผนภาพกระแสขอ้ มูล (Data Flow Diagram) Level Context Diagram ของ level 0 จากภาพที่ 3.1 กระแสของข้อมูลเริ่มต้นจาก ครู ที่ป้อนรายการพัสดุในระบบฐานข้อมูลพัสดุ และ ผู้ดูแลพัสดุ ท่ีแสดงรายการพัสดุ การเบิก จากนั้นครูก็ทำรายงานการเบิกพัสดุในระบบการจ่าย พสั ดุ

27 3.5.2 Data Flow Diagram level 1 รายการผเู้ บิกพสั ดุ ผดู้ ูแลพสั ดุ รายการพสั ดุ 1 รายการเบิกพสั ดุ ครู รายการเบิกพสั ดุ การเบิกพสั ดุ รายละเอียดรายการพสั ดุ รายละเอียดผเู้ บิกพสั ดุ ขอ้ มูลเบิกพสั ดุ เบิกพสั ดุ รายละเอียดรายการพสั ดุ D1 รายการพสั ดุ รายการผเู้ บิกพสั ดุ พสั ดุ รายการเบิกพสั ดุ รายการและจานวนท่ีเบิก DD23 ขอ้ มูลผเู้ บิกพสั ดุ 2 รายละเอียดรายการพสั ดุ STOCK รายการเบิกพสั ดุ ขอ้ มูลเบิกพสั ดุ รายการเบิกพสั ดุ ผดู้ ูแลพสั ดุ รายการแกไ้ ขพสั ดุ รายการเพ่มิ เติม พสั ดุ รายละเอียดการเบิกพสั ดุ รายละเอยี ดผเู้ บิกพสั ดุ รายละเอียดการคงเหลอื รายละเอยี ดรายการพสั ดุ D1 รายการพสั ดุ D2 รายการเบิกพสั ดุ รายการและจานวนคงเหลือ รายละเอยี ดรายการพสั ดุ รายการเบิกพสั ดุ ภาพท่ี 3.2 แผนภาพกระแสข้อมลู (Data Flow Diagram) Level Context Diagram ของ level 1

28 จากภาพที่ 3.2 กระแสของขอ้ มูลเริม่ ต้นท่ีครสู ง่ ขอ้ มูลต่าง ๆ ใหก้ ารเบิกพัสดุ และ ผูเ้ บกิ พัสดุ ส่งข้อมูล ต่าง ๆ ให้การคงเหลือ แสดงรายการพสั ดุ แสดงรายการเบกิ พสั ดุ D1 รายการพสั ดุ D2 รายการเบกิ พสั ดุ รายละเอยี ดรายการพสั ดุ รายละเอยี ดรายการเบิกพสั ดุ ใสข่ อ้ มลู Login 1 ใสข่ ้อมูล Login ผู้ดูแลพสั ดุ ครู หนา้ เบกิ พัสดุ ภาพท่ี 3.3 Level 2 store จากภาพท่ี 3.3 โปรเซส store มีเอนติตีท้ ่ีเกี่ยวข้องคือเอนติตีค้ รกู ับเอติตผ้ี ้ดู แู ลพัสดุ เริ่มต้น การทำงาน เมอื่ ครูหรือผู้ดแู ลพัสดุตอ้ งเข้าสรู้ ะบบงาน ตอ้ งเขา้ Login ทุกครัง้ เพอื่ ทำการเบกิ พัสดุ แสดงรายการพสั ดุ แสดงรายการเบกิ พัสดุ D1 รายการพสั ดุ D2 รายการเบกิ พสั ดุ รายละเอยี ดรายการพสั ดุ รายละเอยี ดรายการเบกิ พัสดุ เบิกพัสดุ 2 รายงานเบกิ พัสดุ ผดู้ แู ลพสั ดุ พัสดุ ครู หนา้ เก็บพัสดุ ภาพที่ 3.4 Level 2 store2 จากภาพท่ี 3.4 โปรเซส store2 มีเอนติตี้ท่เี ก่ยี วข้องคือเอนติตคี้ รูกับเอติตีผ้ ูด้ แู ลพัสดุ เริม่ ตน้ การทำงาน เม่อื ครูหรือผดู้ ูแลพสั ดตุ ้องทำการเบิกพัสดุ ลบพสั ดุ และแกไ้ ขพสั ดุ

29 3.1.2 ER - Diagram ภาพที่ 3.5 ER – Diagram ระบบการเบิกจา่ ยพสั ดุ 3.1.2.1 ขอ้ มลู ตารางพัสดุ ภาพท่ี 3.6 การออกแบบตารางข้อมลู พสั ดุ ตารางข้อมูล ท่ีมีการจัดเก็บข้อมูลรายการพัสดุ รายการยืมพัสดุ สมาชิก แผนก และระดับ ผู้ใชง้ าน ภาพท่ี 3.7 การออกแบบตารางขอ้ มลู Department ตารางข้อมูล Department มีการจัดเกบ็ ขอ้ มลู ของแผนก โดยมี detp_id ท่เี ป็นคียห์ ลกั (Primary Key)

30 ภาพที่ 3.8 การออกแบบตารางขอ้ มูล Borrow ตารางข้อมลู Borrow มกี ารจัดเกบ็ ข้อมลู รายการยมื โดยมี br_id คยี ์หลัก (Primary Key) ภาพท่ี 3.9 การออกแบบตารางข้อมูล Document ตารางข้อมูล Document มีการจดั เก็บข้อมูลรายการพสั ดุ โดยมี doc_id เป็นคียห์ ลกั (Primary Key) ภาพท่ี 3.10 การออกแบบตารางข้อมลู guser ตารางข้อมลู guser มีการจัดเก็บข้อมูลรายการพัสดุ โดยมี g_id เป็นคีย์หลกั (Primary Key) ภาพที่ 3.10 การออกแบบตารางขอ้ มลู user ตารางข้อมลู user มีการจัดเก็บข้อมลู รายการพสั ดุ โดยมี user_id เป็นคยี ์หลัก (Primary Key)

31 3.2 การออกแบบประเมินความพงี พอใจ การวิเคราะห์ข้อมูลปริมาณ (Quantitative data) คณะผู้จัดทำดําเนินการวเิ คราะห์ ข้อมูลท่ี ได้รับจากแบบประเมนิ คณุ ภาพ และแบบสอบถามความคิดเหน็ ในการใชบ้ รกิ ารระบบ แบบมาตราสว่ น ประมาณค่า ดว้ ยสถิตเิ ชงิ พรรณนา (Descriptive statistics) เพอ่ื หาคา่ สถิตพิ ืน้ ฐาน ไดแ้ ก่ 3.2.1 ประชากรและการส่มุ กลมุ่ ตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างสอบถามความคิดเหน็ ของนักศึกษา และครู จำนวนแบบสอบถาม 6 ฉบับ 3.2.1.1 เกณฑ์การให้คะแนนและเกณฑ์การแปลความหมายสําหรับขอ้ มูลแบบมาตราส่วน ประมาณค่า (Rating Scale) กําหนดเกณฑ์การใหค้ ะแนนของลิเคอรท์ (Likert, 1932) ไว้ดังนี้ 1) แบบประเมินความพึงพอใจในการใชง้ านระบบ เกณฑ์การให้คะแนนการประเมินคุณภาพระบบ 5 หมายถงึ ดมี าก 4 หมายถึง ดี 3 หมายถึง ปานกลาง 2 หมายถงึ น้อย 1 หมายถงึ ปรับปรุง เกณฑก์ ารใหค้ า่ รบั ระดบั คะแนนคุณภาพของระบบ 4.50-5.00 หมายถงึ ดมี าก 3.50-4.49 หมายถงึ มาก 2.50-3.49 หมายถึง ปานกลาง 1.50-2.49 หมายถงึ น้อย 1.00 -1.49 หมายถึง ปรังปรุง 2) สถติ ทิ ใ่ี ช้วเิ คราะหข์ ้อมลู - ค่าเฉล่ยี (x̅) x̅ = ∑ni=1 x n - ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( s )

32 s = √∑in=1(x − x̅)2 n−1 เมอ่ื x̅ แทน คะแนนเฉลีย่ s แทน ค่าเบย่ี งเบนมาตรฐาน xi แทน คะแนนความพึงพอใจของนักศึกษาคนท่ี i n แทน จำนวนนักศึกษาในกลุ่มตัวอยา่ ง

33 บทที่ 4 ผลการวิจัย ผลการดำเนินงานในการพัฒนาระบบจัดการฐานข้อมูลสารสนเทศการเบิกจ่ายพัสดุ แผนก คอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคนิคจันทบุรี ซึ่งผู้ศึกษาได้ดำเนินการเสร็จสิ้นเป็นโครงการตาม วตั ถุประสงค์ ซง่ึ มผี ลการดำเนนิ งานดงั น้ี 4.1กโปรแกรมจดั การพัสดุ 4.1.1 หน้าLogin การเข้าใช้ระบบให้พิมพ์ข้อมูล Username และ Password ที่ถูกต้อง และ คลกิ Login ภาพที่ 4.1 หนา้ Login 4.1.2 หน้ารายการพสั ดุ เม่ือเขา้ รหสั ผา่ นมาเรียบร้อยแล้ว ระบบก็จะเปล่ียนเข้ามาหนา้ หลักของ ระบบทสี่ ามารถ เบิกพสั ดุ แก้ไข ภาพที่ 4.2 หน้ารายการพสั ดุ

34 4.1.3 หน้าเพ่มิ รายการพสั ดุ กรอกขอ้ มูลรายการพสั ดุลงในช่องต่าง ๆ ภาพที่ 4.3 หน้าเพิ่มรายการพัสดุ 4.1.4 หน้าเบิกพสั ดุ กรอกช่ือผูท้ ี่มาเบิก และจำนวนลงไป แลว้ กดบนั ทึก ภาพที่ 4.4 หน้าเบกิ พสั ดุ 4.1.5 หน้าแสดงรายการเบิกพสั ดุ สามารถลบรายการท่เี กินออกไปได้ ภาพท่ี 4.5 หนา้ เบิกพัสดุ

35 4.1.6 หน้าคน้ หาพสั ดุ สามารถทำการค้นหาไดโ้ ดยการพิมพ์ช่ือพสั ดลุ งไปและกดคน้ หา ภาพท่ี 4.6 หนา้ ค้นหา 4.1.7 หน้าตดิ ต่อเรา มีช่องทางการตดิ ต่อต่างๆ ภาพท่ี 4.7 หนา้ ติดต่อเรา 4.1.8 หนา้ แก้ไขข้อมลู สว่ นตวั สามารถแก้ไขข้อมูลส่วนตัวตา่ งๆได้ และสามารถใสร่ ูปโปรไพลไ์ ด้ ภาพที่ 4.8 หน้าแก้ไขข้อมลู ส่วนตัว

36 4.2 สรุปผลการวิเคราะหแ์ บบทดสอบ จากการสอบถามความคิดเหน็ ของนักศึกษา และครู จำนวนแบบสอบถาม 6 ฉบับ มีรายละเอยี ด ดงั น้ี เกณฑ์การวดั คะแนนค่าเฉลีย่ ความพึงพอใจ 4.50 – 5.00 ดมี าก 3.50 – 4.49 ดี 2.50 – 3.49 ปานกลาง 1.50 – 2.49 พอใช้ 0.00 – 1.49 ปรับปรุง ตอนที่ 1 ขอ้ มูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ตารางท่ี 4.1 แสดงร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถาม จำแนกขอ้ ตามเพศ เพศ จำนวน(คน) ร้อยละ ชาย 1 14 หญงิ 6 86 รวม 7 100 จากตารางที่ 4.1 พบว่าสว่ นใหญผ่ ู้ตอบแบบสอบถามเปน็ เพศหญิง จำนวน 6 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 100 ตารางท่ี 4.2 แสดงร้อยละของตอบแบบสอบถาม จำแนกระดับการศกึ ษา ระดบั การศกึ ษา จำนวน(คน) รอ้ ยละ ปวช. 0 0 ปวส. 0 0 2 29 ปริญญาตรี 7 71 ปรญิ ญาโท 7 100 รวม จากตารางท่ี 4.2 พบวา่ ส่วนใหญ่ผู้ตอบแบบสอบถามเป็นปริญญาตรี จำนวน 2 คน คดิ เป็นร้อย ละ 29 และปรญิ ญาโท จำนวน 7 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 71

37 ตอนท่ี 2 ความคดิ เห็นของอาจารย์ และนักเรียน นกั ศึกษา ตารางที่ 4.3 ตารางสรปุ แบบสอบถามความคิดเหน็ ของอาจารย์ และนักเรียน นกั ศกึ ษา รายการประเมิน คา่ เฉล่ยี สว่ นเบย่ี งเบน ระดบั ���̃��� มาตรฐานS.D. ความ 1. ดา้ นประสิทธิภาพและความปลอดภัยของ คิดเหน็ โปรแกรม 4.50 0.55 ดมี าก 1.1 โปรแกรมใช้งานงา่ ยและสะดวก 1.2 ข้อมลู ในระบบมีความปลอดภยั 3.50 0.55 ดี 1.3 เขา้ ถึงขอ้ มูลทตี่ ้องการได้ง่าย 1.4 การทำงานของโปรแกรมมีความรวดเร็ว 4.50 0.55 ดีมาก 1.5 โปรแกรมมคี วามถกู ต้องแมน่ ยำ 2. ดา้ นการออกแบบและการจัดรปู แบบ 4.50 0.55 ดีมาก 2.1 การจดั รูปแบบของหนา้ โปรแกรมมีความเข้าใจ งา่ ย 4.50 0.55 ดีมาก 2.2 มีความสวยงาม ความทนั สมยั และนา่ สนใจ 4.50 0.55 ดมี าก 2.3 มกี ารจดั วางองคป์ ระกอบอยา่ งเหมาะสม 4.17 0.41 ดี 2.4 เนื้อหามีความสอดคล้องกัน 2.5 รูปแบบตวั อักษร มคี วามอา่ นง่าย 4.50 0.55 ดมี าก 3. ด้านประโยชนข์ องโปรแกรมต่อการปฏิบัติงาน 4.50 0.55 ดีมาก 3.1 เพ่ิมประสทิ ธภิ าพในการปฏบิ ัตงิ านท่ดี ขี ึน้ 4.67 0.52 ดมี าก 3.2 ชว่ ยในการเก็บรวบรวมข้อมูล และการ ประมวลผลข้อมูล 4.17 0.41 ดี 3.3 ตรงตามวถั ตปุ ระสงค์ที่ต้องการ 3.4 ความพึงพอใจในภาพรวมต่อการใช้งานระบบ 4.50 0.55 ดีมาก รวมค่าเฉลย่ี ดา้ นประโยชน์ 4.50 0.55 ดมี าก ค่าเฉล่ียรวม 4.33 0.52 ดี 4.38 0.56 ดี 4.38 0.56 ดี

38 จากตารางที่ 4.3 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามมีความคิดเห็นเกี่ยวกับ โครงการระบบการ เบกิ จา่ ยพัสดุ ในภาพรวมมีค่าเฉลยี่ รวมทงั้ หมดอยูใ่ นระดบั มาก โดยมคี า่ เฉลย่ี 4.38 (S.D = 0.56) เม่อื พจิ ารณาเป็นรายดา้ น พบว่าในด้านประสทิ ธภิ าพและความปลอดภยั ของโปรแกรมมีคา่ เฉล่ยี รวม 4.30 (S.D = 0.65) ด้านการออกแบบและการจัดรูปแบบมีค่าเฉลี่ยรวม 4.47 (S.D = 0.51) ด้านประโยชน์ ของโปรแกรมต่อการปฏิบัติงานมีค่าเฉลี่ยรวม 4.38 (S.D = 0.49) เมื่อพิจารณาแยกเป็นรายข้อ โดย เรียงลำดับจากข้อที่ได้ค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย 3 อันดับแรก ได้แก่ ลำดับที่ 1. รูปแบบตัวอักษรมี ความอ่านง่าย มีค่าเฉลี่ย 4.67 (S.D = 0.52) ลำดับที่ 2. โปรแกรมใช้งานง่ายและสะดวก มีค่าเฉลี่ย 4.50 (S.D = 0.55) และลำดับท่ี 3 ความพึงพอใจในภาพรวมต่อการใชง้ านระบบ มคี ่าเฉล่ยี 4.33 (S.D = 0.52)

40 บรรณานกุ รม กลีบแก้ว ขอถาวรทรัพย์. งานพัสดุ. [ออนไลน์] [สืบค้นวันที่ 11 ธันวาคม 2561]. จาก http://www.satreephuket.ac.th/account_dept/ information_year61/1 นภัทร รัตนนาคินทร์. ความหมายของ DFD และ ER Diagram. [ออนไลน์] [สืบค้นวันที่ 27 พฤศจิกายน 2561]. จาก http://www.macare.net/analysis/index.php?id=-3 บทเรยี นออนไลน์. ความหมายของภาษา PHP. [ออนไลน์] [สบื ค้นวันที่ 29 พฤศจกิ ายน 2561]. จาก http://www.mindphp.com/คมู่ ือ/73-คืออะไร/2127-php-คืออะไร.html บทเรียนออนไลน์. ความหมายของภาษา SQL. [ออนไลน์] [สืบค้นวันที่ 11 ธันวาคม 2561]. จาก http://www.mindphp.com/คมู่ อื /73-คอื อะไร/2088-sql-คืออะไร.html ภาณุพงศ์ ปัญญาดี. ความหมายของ Appserv. [ออนไลน์] [สืบค้นวันที่ 16 ธันวาคม 2561]. จาก https://www.appserv.org/th/เกีย่ วกบั / วิกิพีเดีย. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล. [ออนไลน์] [สืบค้นวันที่ 20 ธันวาคม 2561]. จาก https://th.wikipedia.org/wiki/ฐานข้อมูล สุวรรณมาลี พิมพ์ครซา้ ย. การพฒั นาการเบิกจ่ายวสั ดุ. [สืบคน้ เมอื่ วนั ท่ี 11 ธนั วาคม 2561]. จาก http://www.kmutt.ac.th/jif/public_html/article_detail.php?ArticleID=145394 สื่อการเรียนการสอนออนไลน์. การวิเคราะห์และออกแบบระบบ. [ออนไลน์] [สืบค้นวันที่ 25 ธันวาคม 2561]. จาก http://learningsystem.6te.net/?page=1 อั ต พ ุ ฒ . ง า น พั ส ดุ . [อ อ น ไ ล น์ ] [สื อ ค้ น เ ม่ื อ วั น ที่ 1 1 ธ ั น ว า ค ม 2 5 6 1 ]. จ า ก http://www.satreephuket.ac.th/account_dept/supply_download.html

สารบญั ตาราง ตารางที่ หนา้ 2.1**ตารางสญั ลักษณ์มาตรฐานทใี่ ชเ้ ขยี นผังงานระบบ 8 2.2 ตารางสญั ลกั ษณท์ ่ีใชใ้ น Data Flow Diagram (DFD) 10 4.1 แสดงร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม จำแนกขอ้ ตามเพศ 36 4.2 แสดงรอ้ ยละของตอบแบบสอบถาม จำแนกระดบั การศึกษา 36 4.3 ตารางสรปุ แบบสอบถามความคิดเห็นของอาจารย์ และนักเรียน นักศึกษา 37 ฉ

วธิ ีการใช้ระบบ 1. หน้าLogin การเข้าใช้ระบบให้พิมพ์ข้อมูล Username และ Password ที่ถูกต้อง และคลิก Login 2. หนา้ หลักของระบบ เมอ่ื เข้ารหสั ผ่านมาเรยี บรอ้ ยแล้ว ระบบกจ็ ะเปลยี่ นเข้ามาหนา้ หลักของ ระบบทส่ี ามารถ เบกิ พัสดุ แก้ไข และลบ

3. หนา้ เพิ่มรายการพสั ดุ กรอกข้อมลู รายการพสั ดุลงในช่องต่าง ๆ 4. หน้าเบกิ พัสดุ เลือกสข่ิ องท่ตี ้องการเบิก กรอกชอ่ื ผทู้ ีม่ าเบิก และจำนวนลงไป แล้วกดบนั ทกึ