Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พ.ย.62 ภูมิปัญญาท้องถิ่น ต.บ้านเลือก อ.โพธาราม จ.ราชบุรี

พ.ย.62 ภูมิปัญญาท้องถิ่น ต.บ้านเลือก อ.โพธาราม จ.ราชบุรี

Published by kl_1270070001, 2020-10-29 09:13:11

Description: กศน.ตำบลบ้านเลือก-พ.ย.62

Search

Read the Text Version

ทำเนยี บภมู ิปญั ญำทอ้ งถนิ่ เดอื นพฤศจกิ ำยน 2562 กศน.ตำบลบำ้ นเลือก ศนู ย์กำรศกึ ษำนอกระบบและกำรศกึ ษำตำมอธั ยำศัยอำเภอโพธำรำม สำนักงำนส่งเสรมิ กำรศกึ ษำนอกระบบและกำรศกึ ษำตำมอธั ยำศัยจังหวดั รำชบรุ ี สำนกั งำนส่งเสริมกำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอธั ยำศัย สำนักงำนปลัดกระทรวงศึกษำธกิ ำร

คำนำ ด้วย กศน.ตำบลบ้ำนเลือก ได้ดำเนินกำรจัดทำภูมิปัญญำในท้องถิ่น ให้กับประชำชนใน พื้นทตี่ ำบลบำ้ นเลือก เพื่อเพ่มิ พูนควำมรูแ้ ละทกั ษะในกำรดำเนนิ ชีวติ แบบพอเพียง สำมำรถเรียนรู้และฝึกฝน ได้ทั้งจำกกำรศึกษำด้วยตนเอง และได้รับกำรถ่ำยทอดจำกผู้อื่น กำรนำภูมิปัญญำมำเผยแพร่เพ่ือให้ ประชำชนในพ้ืนท่ีได้นำไปใชแ้ ละเรยี นรเู้ พ่ือเพิ่มอำชีพ และประสบกำรณ์ให้กับตนเองและครอบครัวให้มีกำร เจริญเติบโตอย่ำงต่อเน่ืองและเกื้อกูลในกำรผลิตซ่ึงกันและกัน โดยกำรใช้ทรัพยำกรท่ีมีอยู่ให้เกิดประโยชน์ และทักษะกำรเรียนรู้ ด้ำนกำรนำภูมิปัญญำไปใช้ได้อย่ำงเหมำะสม เกิดประโยชน์สูงสุด มีควำมสมดุล ของ สภำพแวดล้อม อย่ำงตอ่ เนื่อง และเกดิ ผลในกำรเพิ่มพนู ควำมอุดมสมบูรณ์ของทรัพยำกรธรรมชำติด้วยกศน. ตำบลบำ้ นเลอื ก หวังว่ำเอกสำรเลม่ นีค้ งมีประโยชนต์ อ่ ผอู้ ่ำนและผูป้ ฏิบัตงิ ำนต่อไป กศน.ตำบลบ้ำนเลือก พฤศจกิ ำยน 2562

สำรบญั คำนำ อรชร 1 สำรบญั 2 หนำ้ 3 กศน.ตำบลบ้ำนเลือก - วำทศิลป์ : พระครวู ทิ ิตพัฒนโสภณ - ศิลปะวฒั นธรรม : นำยสำริด น่วมทนงค์ - ช่ำงฝมี อื ด้ำนศิลปะงำนป้ันและแกะสลักช่อฟำ้ ใบระกำ : นำยประเสริฐ คณะผูจ้ ดั ทำ

1 แบบบันทึกชดุ ข้อมลู คลังปัญญำ-ภมู ิปญั ญำท้องถิ่น ตำบลบ้ำนเลือก อำเภอโพธำรำม จังหวดั รำชบุรี ช่ือภูมิปญั ญำ : ด้านวาทศลิ ป์ ชื่อ ท่านพระครูวทิ ติ พฒั นโสภณ เกิด. วนั เดอื นปเี กดิ : 5 ตลุ าคมม พ.ศ. 2495 ทอ่ี ยู่ปจั จุบัน (ท่สี ำมำรถติดต่อได)้ : วดั พระศรีอารย์ หม่ทู ี่ 9 ตาบล บา้ นเลอื ก. อาเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี รหัสไปรษณยี ์ 70120 โทรศัพท์ : 087-802-6366 ควำมเปน็ มำของบุคคลคลงั ปญั ญำ วัดพระศรีอารย์ ถือกาเนดิ ขนึ้ ดว้ ยความอปุ ถัมภ์ของหลวงปู่ขนั ธ์(ทา่ นพระครูสริ ิพัฒนกจิ เจ้าอาวาส วดั พระศรีอารย์ในขณะน้นั มีการอบรมส่งั สอนเกย่ี วกบั ศิลปะช้ันครทู ี่ต้องอาศยั ศิลปะหลายแขนงผสมผสานท้งั วรรณกรรม นาฏศิลป์ คตี ศลิ ป์ และวรรณศิลป์ และมคี วามเจริญรุ่งเรืองมากตลอดยุคสมัยหลวงปู่ขันธแ์ ม้แต่ บริษัทอาร์เอสโปรโมชนั่ ยงั เขา้ มาศึกษาจนสามารถปน้ั ศิลปนิ ไดอ้ ยา่ งมากมายในขณะนน้ั จนกระทั่งหลวงปู่ ขันธ์ได้มรณภาพลงวรรณกรรมทางดา้ นวาทศลิ ป์กจ็ ะไม่มผี ้ไู ด้สืบสานตอ่ ด้วยไม่มแี กนนาทจี่ ะมีการฟ้ืนฟใู น ศิลปวัฒนธรรมทางด้านวาทศิลป์ และครรู นุ่ เกา่ ตา่ งชราภาพลงไปทกุ วัน วดั และชุมชนหว่ งใยอนาคตของ วรรณกรรมทางด้านตา่ งๆท่ีทางวัดพระศรีอารย์ได้ทาการอบรมส่ังสอนศิลปะทางด้านต่าง อาจจะไม่มีใครสืบ สานต่อ หากปลอ่ ยไปอาจจะหายไปโดยไมร่ ้ตู ัว การพยายามรกั ษาศลิ ปะแขนงนเ้ี ริ่มจากทา่ นหลวงพอ่ สงา่ ซง่ึ ไดม้ ารบั ตาแหน่งเจา้ อาวาสองคต์ ่อจากหลวงปู่ขันธแ์ ละเกดิ ความคดิ ทจี่ ะต้องอนรุ ักษ์ศิลปะแขนงน้ีไวจ้ ากเกดิ ความร่วมมือของชมุ ชนวัดพระศรีอารย์จงึ เร่มิ ต้นเมอื่ กวา่ 30 ปีทแี่ ลว้ ชาวบา้ นกไ็ ดส้ ่งเยาวชนและลกู หลานใน ชุมชนมกี ารฝกึ ฝนและทกั ษะทางด้านวาทศิลป์กบั หลวงพ่อสง่าและมีพระผู้ช่วยคอื พระอาจารยส์ เุ ทพ ถาโร สบื ต่อกันเรื่อยมาไม่ไดข้ าดตอนส่วนการเรียนร้จู ะจัดเป็นการอบรมให้ความรู้และทกั ษะทางด้านการพดู สนุ ทร พจน์มคี นจากทว่ั ประเทศเขา้ มาเรียนร้ศู ิลปะแขนงนี้อย่างมากมายและมีชอ่ื เสยี งไปท่ัวประเทศหลวงพอ่ สง่า (เจ้าอาวาสองคป์ จั จุบัน) จงึ มีการจดั ค่ายการฝึกพดู ทางด้านการกล่าวสุนทรพจน์ให้กับโรงเรยี นตา่ งๆและผู้ท่ี สนใจจากทวั่ ประเทศโดยหลวงพอ่ ท่านจะเปน็ คนฝึกฝนและถา่ ยทอดเทคนิคดว้ ยตวั ทา่ นเอง จดุ เดน่ ของภูมปิ ัญญำ - เป็นแหลง่ ศกึ ษาดงู าน - เป็นสถานทถ่ี า่ ยทอดความรู้ สง่ิ ทใ่ี ชป้ ระโยชน์ในกำรฝกึ ฝนท่ีเกิดจำกภูมิปญั ญำ ซึง่ พ้ืนท่ีอ่นื ไมม่ ี ได้แก่ - ตาราการฝกึ พดู แบบฉบับวัดพระศรอี ารย์ - พระมหาสุเทพ ถาวโร - ตารารูปแบบเอกลักษณ์การฝกึ กล่าวสนุ ทรพจน์

รำยละเอียดของภมู ิปัญญำท้องถ่ิน - รูปแบบในการถา่ ยทอดความรู้ มีท้ังการศกึ ษาดูงาน การเข้ารับการอบรมและฝึกปฏิบตั ิจรงิ เพอ่ื นาประโยชนท์ ่ีไดร้ ับไปปฏบิ ตั ใิ ช้ไดจ้ ริงในชีวติ ประจาวัน รูปแบบและลกั ษณะกำรถำ่ ยทอด กำรประชำสมั พันธ์ เผยแพร่ภมู ปิ ัญญำท้องถน่ิ ยังไม่เคยมกี ารเผยแพร่/ ใชเ้ ฉพาะบุคคล / เคยเผยแพรเ่ ฉพาะในชมุ ชน มีการเผยแพรผ่ ่านสือ่ มวลชนและส่อื อย่างแพร่หลาย มกี ารดงู านจากบคุ คลภายนอก จานวน.........20.......ครั้ง จานวน......180......คน มกี ารนาไปใช้ ในพนื้ ท่ี........14.......คน นอกพน้ื ท.ี่ ...7......คน อื่นๆ (ระบุ)√ ลกั ษณะของภูมิปญั ญำท้องถน่ิ กำรพฒั นำต่อยอดภูมิปญั ญำใหเ้ ป็นนวัตกรรม คุณค่ำ (มูลค่ำ) และควำมภำคภูมิใจ ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถิน่ /นวตั กรรมที่คิดค้นขน้ึ มาใหม่ ภมู ปิ ญั ญาท้องถิน่ ดง้ั เดมิ ได้รับการถา่ ยทอดมาจาก ภูมิปญั ญาทอ้ งถิ่นที่ได้พัฒนาและต่อยอด แบบเดิมคอื การฝึกพูดและการกลา่ วสุนทรพจน์แบบลกั ษณะการท่องจา กำรพัฒนำตอ่ ยอดคือ การปลูกพืช ผกั โดยการนาสารท่ีไดจ้ ากการนาน้าหมักชวี ภาพมาฉีดพน่ ทาให้ พชื ผกั เกิดการเจริญงอกงามดขี น้ึ สมบรู ณ์ขึ้น และศัตรูพชื ทเ่ี ปน็ แมลงไม่มารบกวน และยังมีความ ปลอดภยั กบั ผูบ้ ริโภค

3 ภำพถ่ำยเจ้ำของภมู ิปญั ญำ ท่านพระครวู ฑิ ติ พัฒนโสภณ (เจ้าของภมู ปิ ญั ญาทางดา้ นวาทศิลป์)

4 รูปภำพภมู ปิ ัญญำ รปู ภาพคลังปัญญาที่เขา้ มาเรียนร้แู ละฝึกฝนศิลปะทางด้านวาทศิลป์ เดก็ นักเรยี นเขา้ มาเรียนรู้การพดู และกล่าวสนุ ทรพจนก์ บั พระมหาสเุ ทพ

5 แบบบนั ทึกชดุ ขอ้ มลู คลังปัญญำ-ภูมปิ ัญญำท้องถ่ิน ตำบลบำ้ นเลอื ก อำเภอโพธำรำม จงั หวัดรำชบรุ ี ช่อื ภูมปิ ัญญำ : การทาพธิ กี รรมทางดา้ นพทุ ธศาสนา ชอ่ื นายสารดิ นำมสกุล นว่ มทนงค์ วันเดือนปีเกิด : 23 พฤศจิกายน พ.ศ.2485 ทอี่ ยู่ปัจจบุ นั (ทส่ี ำมำรถติดต่อได)้ : บา้ นเลขท่ี 88/2 หมู่ท่ี 9 ตาบลบา้ นเลอื ก อาเภอโพธาราม จังหวดั ราชบุรี รหสั ไปรษณยี ์ 70120 โทรศพั ท์ : 0855827795 ควำมเปน็ มำของบคุ คลคลังปญั ญำ คุณลงุ สาริด น่วมทนงค์ เปน็ ผปู้ ฏบิ ัติตามพทุ ธศาสนพิธีตา่ งๆจะเปน็ เรอ่ื งพธิ กี รรมทางด้านพระพุทธศาสนาตลอด จนพธิ กี รรมทางด้าน งานบวช งานศพ งานแต่ง เรื่องการทาน้ามนต์ มาเปน็ ระยะ เวลา 28 ปี และเนน้ ความถกู ต้องแบบ โบราณโดยไดเ้ รียนร้พู ธิ ีกรรมตา่ งๆมาจากนายรวย ชูเลิศ ต้ังแต่ในสมัยหลวงปู่ขนั ธใ์ นสมยั นนั้ มีความคดิ สรา้ งสรรค์และฉลาด มีความเสยี สละ มีใจเป็นจติ อาสาในการถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์การทางด้านพิธีกรรมตา่ งๆแกผ่ สู้ นใจ มกี ารเรยี นรู้ทไ่ี ด้ จากการปฏบิ ตั ิจรงิ ทางานเพ่ือสว่ นรวมและชุมชน เปน็ แบบอย่างทด่ี ีในการดาเนนิ ชีวิต เป็นทีย่ อมรับของคนในชุมชน จุดเดน่ ของภมู ปิ ัญญำ - เป็นแหล่งศึกษาดงู าน - เปน็ สถานท่ถี า่ ยทอดความรู้ วัตถดุ บิ ทใี่ ช้ประโยชนใ์ นกำรผลติ ภัณฑ์ท่เี กดิ จำกภูมปิ ัญญำ ซึ่งพ้นื ท่ีอนื่ ไมม่ ี ได้แก่ - หนงั สือตาราบทสวดพิธีกรรมคาถาตา่ งๆ - ดอกไม้ ธูป เทยี น - ใบตองกล้วยน้าวา - ขนั ธ์๕ยกครู

6 รำยละเอียดของภูมิปัญญำท้องถิ่น - รูปแบบในการถา่ ยทอดความรู้ มที งั้ การศึกษาดูงาน การเข้ารบั การอบรมและฝึกปฏบิ ตั ิจริง เพอ่ื นาประโยชนท์ ่ไี ดร้ บั ไปปฏิบัติใช้ไดจ้ ริงในชวี ิตประจาวัน รปู แบบและลักษณะกำรถ่ำยทอด กำรประชำสมั พนั ธ์ เผยแพรภ่ ูมิปญั ญำท้องถ่ิน ยังไม่เคยมกี ารเผยแพร่/ ใชเ้ ฉพาะบุคคล เคยเผยแพร่เฉพาะในชุมชน มกี ารเผยแพร่ผ่านส่ือมวลชนและสอื่ อย่างแพรห่ ลาย มีการดงู านจากบุคคลภายนอก จานวน........-........ครง้ั จานวน.......-......คน มีการนาไปใช้ ในพื้นที่........-.......คน นอกพ้ืนที.่ ...-.....คน อนื่ ๆ (ระบ)ุ ลักษณะของภูมิปัญญำท้องถิ่น กำรพัฒนำต่อยอดภูมปิ ัญญำใหเ้ ป็นนวตั กรรม คณุ ค่ำ (มูลค่ำ) และควำมภำคภูมใิ จ ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน/นวัตกรรมทคี่ ิดค้นข้ึนมาใหม่ ภูมิปัญญาทอ้ งถ่นิ ดัง้ เดมิ ได้รบั การถา่ ยทอดมาจาก ภมู ิปญั ญาท้องถิ่นท่ีไดพ้ ัฒนาและตอ่ ยอด แบบเดิมคอื มีการยกครูขันธ์๕แตล่ ะประเพณีแบบดั้งเดมิ โบราณ กำรพัฒนำตอ่ ยอดคอื ปัจจบุ นั มีการพัฒนาการทาพธิ ีกรรมทางดา้ นประเพณีต่างๆสามารถทา ไดโ้ ดยมีการยกครูขันธ์๕ กอ่ น มี วัสดอุ ปุ กรณ์ ข้นั ตอนการทาการเตรียมพิธกี รรม ตัดแบบพญานาคต่างๆ หนา้ และเคราพญานาคมดี งั นี้ การตัดพวงมโหดเปน็ รปู เทวดา พญานาค พรหมและพระอินทรต์ ลอดจน สญั ลักษณท์ ่ีมีความเกยี่ วข้องทางพระพุทธศาสนามีการเจมิ และเปา่ คาถาให้แกผ่ ทู้ ี่จะบวชไดเ้ ป็นผนู้ าไปลาใน สถานท่ีศักสิทธ์ติ ่างๆในชมุ ชน สว่ นทางด้านพธิ ีกรรมทางด้านงานมงคลสมรสนัน้ คณุ ลงุ สารดิ ก็จะจดั ทาดา้ ย มงคลตามแบบฉบบั ของลุงเองและโบราณใหแ้ ก่ทัง้ สองและเปน็ การนาใหง้ านแต่งน้นั ไปตามพธิ กี รรมโดยมี การโรยขา้ วตอกดอกไมม้ กี ารนาใบเงิน ใบทอง ใบนาคและเตรยี มเคร่อื งไหวบ้ รรพบุรษุ ทแ่ี ปลกไปจากงาน แตง่ ทัว่ ไปส่วนในเร่ืองพิธีกรรมทางด้านงานศพคณุ ลุงสาริดจะทาพธิ สี ะกดผทู้ ี่ตายไปแล้วโดยทาการมัดตาสังข์ และลงคาถาให้กับผู้ตายนั้นไปอยา่ งสงบไม่มีความกงั วลและมีการสะเดาะฝาโลงทง้ั 4ด้านแบบโบราณและมี การทามนต์หลวงปดู่ าซ่ึงไดเ้ รียนรู้มาจากคนทรงปู่ดาซ่ึงมีชื่อวา่ นายโขลงมกี ารทาพธิ ีกรรมน้ามนตน์ น้ั ตาม กระบวนการขน้ั ตอนตามแบบฉบับของปูด่ าและทส่ี าคัญคุณลงุ สาริดเปน็ จิตอาสาในการทาพิธีกรรมให้กับทาง วดั พระศรีอารยแ์ ละคนในชุมชนโดยไมม่ ีค่าตอบแทน

ถำ่ ยภำพของภูมิปัญญำ นายสาริด นว่ มทนงค์ (เจา้ ของภูมปิ ญั ญาเรื่องการพิธกี รรมทางศาสนาแบบตา่ งๆ)

9 รปู ภำพภมู ิปญั ญำ การบวชนาคต้องมกี ารกล่าวคาขอบวช พธิ กี รรมในการเผาศพ พธิ กี รรมทางการแต่งงาน

10 แบบบนั ทกึ ชุดข้อมูลคลังปญั ญำ-ภูมิปัญญำทอ้ งถนิ่ ตำบลบำ้ นเลอื ก อำเภอโพธำรำม จงั หวัดรำชบรุ ี ช่ือภมู ปิ ัญญำ : ชา่ งฝีมอื ด้านศิลปะงานปั้นและแกะสลักช่อฟา้ ใบระกา ชอื่ นายประเสรฐิ นำมสกลุ อรชร วนั เดือนปีเกดิ : 15 พฤษภาคม พ.ศ.2499 ท่ีอยู่ปจั จุบนั (ทีส่ ำมำรถตดิ ต่อได้) บ้านเลขที่ 140 หมู่ที่ 9 ตาบลบ้านเลอื ก อาเภอโพธาราม จงั หวดั ราชบุรี รหสั ไปรณีย์ 70120 ควำมเปน็ มำของบคุ คลคลังปัญญำ การช่างฝมี ือศลิ ปะการป้ันมอี ยู่หลายจังหวัด หนงึ่ ในน้ันคือจงั หวดั ราชบุรีซ่ึงมีศิลปินดเี ด่นทางด้าน ศลิ ปะปนู ปน้ั ของราชบุรีต้งั แต่อดีต คณุ ลุงประเสริฐ อรชร ปราชญพ์ ื้นบ้านด้านชา่ งฝีมืองานป้นั แห่งตาบล บ้านเลอื ก อาเภอโพธาราม จังหวดั ราชบรุ ี อธิบายว่างานปูนปั้นเป็นศลิ ปะขนั้ สูงที่มีคุณค่าและความงดงามใน รูปแบบของลวดลายไทยโดยคุณลงุ ได้ไปรา่ เรียนวิชาแขนงนี้มาจากนายประสิทธ์ิช่างปูนป้ันพนื้ บา้ นใขณะนนั้ และได้ทางานฝากตวั เป็นสิทธ์ิด้วยค่าแรงวันละ28บาทแต่ด้วยทใ่ี จรกั ศลิ ปะทางดา้ นนี้จึงต้ังใจศึกษาเลา่ เรยี น โดยใช้หลักในการดาเนนิ ชวี ิตแบบพอเพียงโดยช่วงในวัยทางานชว่ งหนมุ่ ๆแยกเงนิ ท่ไี ด้ออกเป็น3สว่ นท่ี1เก็บ ใหพ้ ่อแม่ สว่ นท่ี2เก็บไวใ้ ช้จา่ ยสว่ นตัวส่วนที่3เก็บสะสมเพื่อนาคตโดยตงั้ เป้าหมายไว้ว่าจะมกี จิ การโรงงาน ศลิ ปะปนู ปั้นที่เป็นของตนเองใหไ้ ด้ดว้ ยความมุ่งมัน่ คุณลงุ ได้มสี ว่ นสร้างโบสถว์ ัดพระศรีอารยห์ รือทเี่ รียกนาม กันว่าพระอุโบสถท์ องคาร้อยล้านโดยไมค่ ิดค่าแรงสกั บาท และ ดว้ ยบุญกศุ ลที่มีต่อพระพทุ ธศาสนากไ็ ด้มี โอกาสได้ข้อตกลงท่ีเซน็ สัญญากับคุณวฒั นา อศั วเหม ไดว้ ่าจา้ งใหไ้ ปทาลวดลายวดั ไทยท่ีประเทศจนี ทาให้ คณุ ลงุ มีฐานะที่ดีขึน้ และ ปัจจุบันคุณลงุ มีจติ อาสาท่ีจะสอนเยาวชนและนักเรยี นและคนท่ีมคี วามสนใจโดยไม่ คิดค่าใช้จ่ายใดๆคุณลุงได้ต้ังปณิธาณไวว้ ่าจะตอบแทนบญุ คุณแผ่นดนิ ดว้ ยการถ่ายทอดศิลปะงานปูนป้ัใหแ้ ก่ คนรุ่นหลงั สบื ตอ่ ไป จดุ เดน่ ของภูมปิ ัญญำ - เปน็ แหลง่ ศกึ ษาดงู าน - เปน็ สถานทถ่ี ่ายทอดความรู้ - เป็นการสร้างรายได้ให้กบั ครอบครัวได้เปน็ อย่างดี วตั ถุดิบที่ใชป้ ระโยชน์ในกำรผลติ ภณั ฑท์ เี่ กดิ จำกภูมปิ ัญญำ ซึ่งพ้นื ท่ีอนื่ ไมม่ ี ได้แก่ - เป็นการนาวัสดจุ ากธรรมชาติคือตน้ ไม้ใหญ่คือต้นยางนามาทาแบบ - เปน็ การนาแบบแกะหรอื หลอ่ ท่ไี ด้มาจากแผ่นไมใ้ นทอ้ งถ่ิน

11 รำยละเอยี ดของภูมิปัญญำท้องถ่ิน - รูปแบบในการถ่ายทอดความรู้ มที ั้งการศึกษาดงู าน การเข้ารับการอบรมและฝึกปฏบิ ตั ิจริง เพ่อื นาประโยชน์ทไี่ ด้รบั ไปปฏิบัติใช้ได้จริงในชวี ิตประจาวัน รูปแบบและลกั ษณะกำรถ่ำยทอด กำรประชำสัมพันธ์ เผยแพรภ่ มู ิปญั ญำท้องถน่ิ ยังไมเ่ คยมีการเผยแพร/่ ใช้เฉพาะบุคคล เคยเผยแพร่เฉพาะในชุมชน มกี ารเผยแพรผ่ า่ นสือ่ มวลชนและสือ่ อยา่ งแพร่หลาย มีการดูงานจากบคุ คลภายนอก จานวน........6........ครัง้ จานวน.......25......คน มกี ารนาไปใช้ ในพนื้ ที่........-.......คน นอกพน้ื ที.่ ...-.....คน อืน่ ๆ (ระบุ) ลักษณะของภูมิปญั ญำท้องถิ่น กำรพฒั นำตอ่ ยอดภมู ปิ ัญญำใหเ้ ปน็ นวตั กรรม คุณค่ำ (มูลค่ำ) และควำมภำคภูมิใจ ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถิ่น/นวัตกรรมทค่ี ิดคน้ ขนึ้ มาใหม่ ภูมปิ ัญญาท้องถิ่นด้ังเดมิ ไดร้ ับการถา่ ยทอดมาจาก ภมู ิปัญญาท้องถน่ิ ที่ได้พัฒนาและต่อยอด แบบเดิมคอื เป็นการคดิ แบบลวดลายต่างทีไ่ ดร้ ับการออกแบบจากการนามาวาดลวดลายลงใน แผน่ ไมก้ ่อนและถึงต้องมาแกะลวดลายตามทตี่ ้องการจึงสามารถนาไปหลอ่ เป็นรูปแบบลวดลายต่างๆไดโ้ ดย ตอ้ งใช้ระยะเวลาในการทาแบบนานพอสมควร กำรพัฒนำตอ่ ยอดคอื เปน็ การคิดแบบลวดลายต่างที่ได้รบั การออกแบบจากการนามาวาด ลวดลายทีป่ ระยกุ ต์ใช้ให้ทันสมยั ต่อเหตุการณ์ปจั จุบนั พรอ้ มทัง้ นาเทคโนโลยที ่ีทนั สมยั มาออกแบบผลติ ภณั ฑ์ ไดอ้ ยา่ งรวดเร็วขนึ้ โดยนามาเทลงตามลวดลายทีเ่ ป็นแมพ่ ิมพไ์ ด้เลย

12 ถ่ำยภำพเจ้ำของภูมิปญั ญำ นายประเสรฐิ อรชร (เจ้าของภูมปิ ญั ญาศลิ ปะงานปนั้ )

13 รปู ภำพภูมปิ ญั ญำ แบลวดลายงานปูนปนั้ ท่ีแกะจากแบบดั้งเดมิ โดยใชก้ ารป้นั ด้วยมือ ลายปูนป้นั ท่มี ีเอกลกั ษณ์เฉพาะตวั โดยทาการหล่อผนังก่อนแลว้ ถึงจะมีการแกะพมิ พ์เพ่ือทาการหล่อแลว้ นามาติดหรือประดบั อีกที

ที่ปรกึ ษำ คณะผจู้ ัดทำ นางสนุ ันทา โนรสี วุ รรณ นางโสภิญา ศรีทอง ผูอ้ านวยการ กศน.อาเภอโพธาราม ครู อาสาสมัคร ฯ รำ่ ง/เรียบเรยี งและจดั ทำ ครู กศน.ตาบลบ้านเลอื ก นายกติ ติ พุทธา