Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พ.ย.62 ภูมิปัญญาท้องถิ่น ต.โพธาราม อ.โพธาราม จ.ราชบุรี

พ.ย.62 ภูมิปัญญาท้องถิ่น ต.โพธาราม อ.โพธาราม จ.ราชบุรี

Published by kl_1270070001, 2020-10-28 03:18:36

Description: สรุปทำเนียบภูมิปัญญาท้องถิ่น-ตำบล-โพธาราม-พฤศจิกายน

Search

Read the Text Version

กศน.ตำบลโพธำรำม เดือน มกรำคม 2563 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอโพธาราม สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยจงั หวัดราชบรุ ี สานักงานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สานักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงศึกษาธกิ าร

คำนำ ปราชญ์ชาวบ้าน หรือนักคิดท้องถ่ิน หรือครูภูมิปัญญาไทยแล้วแต่จะเรียกกัน จะมีมากมายในหลาย ดา้ นแล้วแตง่ านท่ีท่านปฏบิ ัติจนบังเกิดผล ไมว่ า่ จะเรยี กอะไรกต็ ามคณุ สมบตั ิของผู้ทีเ่ ป็นปราชญช์ าวบา้ น คอื 1. คนเหล่านมี้ ธี รรมะอยู่ในใจทุกทา่ น เป็นธรรมะของความรกั ความเมตตา ความอยากช่วยคน เป็น ธรรมะโดยการปฏบิ ตั ิ 2. คนเหลา่ นค้ี ดิ ทาสรปุ บทเรียน แลว้ นามาเปน็ ความรูใ้ หค้ นเหน็ ได้อย่างชดั เจน มีท้งั วิชาการและ ภาคปฏิบัตใิ ห้เห็น 3. คนเหล่านม้ี ีความรัก ความเป็นปราชญไ์ ม่ได้อยทู่ ีค่ วามฉลาดของปัญญาทเ่ี กดิ จากการกระทา แตเ่ กิด จากความรักทีม่ ีธรรมะเปน็ แรงบันดาลใจใหแ้ บง่ ปันแกผ่ ู้อืน่ ลูกหลาน มีปา่ มีชมุ ชน มเี มอื ง ดังน้ัน สรุปได้ว่าปราชญ์ชาวบ้านน้ันเป็นผู้ท่ีมีวิถีชีวิตท่ีผูกพันกับธรรมชาติ มีความคิดเข้าระบบชอบ ค้นหาความจริง ช่างสังเกตและนาสิ่งที่พบเห็นมาเรียนรู้โดยการปฏิบัติจริง สามารถสรุปเป็นบทเรียนได้ ดังเช่น ปราชญช์ าวบา้ น ด้านการเกษตร ซ่งึ มีอยู่ทั่วไปในทุกภาคของประเทศ ท้ังน้ี ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอโพธาราม ได้เล็งเห็นถึงความสาคัญ ของผู้ที่ทาคุณประโยชน์ เสียสละ และปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีต่อคนในชุมชนอาเภอโพธาราม จึงได้จัดทา ทาเนยี บภมู ิปัญญาทอ้ งถนิ่ ขน้ึ เพอ่ื ยกยอ่ ง และเผยแพรใ่ ห้ชนรุ่นหลงั ได้ถือเปน็ แบบอยา่ งทีด่ ใี นการดารงชีวิต ต่อไป กศน.อาเภอโพธาราม มกราคม 2563

สำรบัญ ชื่อภมู ปิ ัญญำ หนำ้ - การปลกู ผักปลอดสารพิษ - การทาผ้ามัดย้อม 2 - การเขยี นลายผา้ บาติก 4 7

สรุปทำเนยี บภมู ิปัญญำท้องถ่ิน ตำบล โพธำรำม อำเภอโพธำรำม จงั หวดั รำชบรุ ี ประจำเดือน พฤศจิกำยน 2562 ลำดับที่ ชือ่ ภมู ิปัญญำ สำขำ เจำ้ ของภูมปิ ัญญำ ที่อยู่ น.ส.วันทณี ห่อมา ภมู ิปญั ญำ 1. การปลูกผกั ปลอดสารพิษ ด้านเกษตรกรรม นางอัจฉรา จาปาทอง 32 ถ.โพธิ์ไพโรจน์ 2. การทาผ้ามัดย้อม ดา้ นศลิ ปหตั ถกรรม ต.โพธาราม นางวรรณา คุ้มเสาร์ อ.โพธาราม จ.ราชบรุ ี 3. การเขยี นลายผา้ บาติก ดา้ นศลิ ปหัตถกรรม 14 ถ.พนั ธพ์ มิ พ์ ต.โพธาราม อ.โพธาราม จ.ราชบุรี 112 ม.10 ต.บา้ นสงิ ห์ อ.โพธาราม จ.ราชบรุ ี

แบบบนั ทึกชดุ ข้อมูลคลังปญั ญำ-ภมู ปิ ญั ญำท้องถ่นิ ตำบล..........โพธำรำม...............อำเภอ...โพธำรำม...............จังหวัด.......รำชบุรี................ ช่ือภมู ปิ ัญญำ.......การปลกู ผกั ปลอดสารพิษ........................................................................................................ ข้อมูลพื้นฐำน รำยบคุ คล เจ้ำของภมู ิปญั ญำทอ้ งถิ่น/บคุ คลคลงั ปัญญำ ช่อื ..นางสาววนั ทนี ...........นามสกุล.....หอ่ มา...................................... .......วันเดือนปเี กดิ .....11 กุมภาพนั ธ์ 2507 ทอี่ ย่ปู จั จุบนั (ท่ีสามารถติดต่อได้) บา้ นเลขท.่ี ...32...............ถ. โพธไิ์ พโรจน์.............ตาบล/แขวง โพธาราม อาเภอ/เขต.......โพธาราม.........................จงั หวดั ........ราชบรุ ี.........รหัสไปรษณยี ์ 70120.................................. โทรศพั ท.์ ......0811457051......................โทรสาร.....................................Line ID……………….……………………… E-mail addrese……………………………………………………..Facebook……………………………………………………………….. ควำมเป็นมำของภูมิปัญญำ นางสาววันทนี ห่อมา มีอาชีพคา้ ขายและเกษตรกรรมทาไร่ เป็นบุคคลทช่ี อบนาวัสดุเหลือใชเ้ ช่น เศษผัก เศษอาหารมาทาปุ๋ยไว้ใช้ในครัวเรือนของตนเอง อย่างเป็นประจา ซึ่งจากประสบการณ์และการไปศึกษาดูงานและ เข้ารับการอบรมจากหน่วยงานต่าง ๆที่มีการจัดอบรม ก็จะนาความรู้นั้นมาทดลองทาต่อที่บ้านของตนเอง และ ยังเป็นศิษย์เก่า ของ กศน. จงึ ไดน้ าควารู้นน้ั มาตอ่ ยอดให้ความรู้กับนกั ศึกษา กศน.อย่างเป็นประจา จุดเด่นของภูมปิ ัญญำ นางสาววันทนี ห่อมา เป็นผู้มีใฝ่เรียนรู้อย่างต่อเนื่องและมีการนาความร้ทู ี่ได้รับมาต่อยอดเผยแพร่ให้กับ ชุมชน มีการต่อยอดพัฒนาหมู่บ้านของตนเองเป็นหมู่บ้านปลอดขยะ โดยให้ประชาชนในหมู่บ้านมีการบริหาร จัดการขยะนาขยะมาทาปุ๋ยไวใ้ ช้ในครัวเรอื นตนเอง ถา่ ยภาพบุคคล และอุปกรณ/์ เครือ่ งมือ/ส่ิงประดิษฐ์ (ช้ินงานหรือผลงาน)



แบบบันทกึ ชดุ ข้อมลู คลงั ปญั ญำ-ภูมปิ ัญญำท้องถิน่ ตำบล..........โพธำรำม...............อำเภอ...โพธำรำม...............จงั หวัด.......รำชบุร.ี ............... ชือ่ ภมู ปิ ัญญำ.......การทาผา้ มดั ย้อม....................................................................................................... ข้อมูลพื้นฐำน รำยบคุ คล เจ้ำของภมู ิปญั ญำท้องถน่ิ /บุคคลคลงั ปญั ญำ ช่ือ..นางอัจฉรา ...........นามสกุล.....จาปาทอง.......................... .......วนั เดือนปเี กิด.....1 มกราคม 2492 ท่ีอยู่ปจั จุบัน (ท่สี ามารถตดิ ต่อได้) บ้านเลขท่.ี ...14..............ถ.พนั ธพ์ มิ พ์.............ตาบล/แขวง โพธาราม อาเภอ/เขต.......โพธาราม............................จงั หวัด........ราชบรุ .ี ........รหสั ไปรษณยี ์ 70120.......................... โทรศพั ท์.......095-2758360......................โทรสาร.....................................Line ID…………………………………… E-mail addrese……………………………………………………..Facebook……………………………………………………………….. ควำมเป็นมำของภูมิปัญญำ การนาผา้ มาย้อมดว้ ยสีที่ได้จากธรรมชาติ ไมใ่ ชส่ ิ่งแปลก หรือพ่ึงจะค้นพบนวัตกรรมใหม่แตอ่ ยา่ งใด แต่ ความรู้ภมู ปิ ัญญาดังกลา่ วได้ถูกคน้ พบ ปฏิบตั แิ ละถ่ายทอดมาจากร่นุ สูร่ นุ่ ต้ังแต่สมยั พทุ ธกาล ดงั จะเห็นได้วา่ พระพุทธเจ้าพร้อมสาวกทง้ั หลายกใ็ ช้ผ้าบงั สุกุลสีขาวท่ีใชส้ าหรับหอ่ ศพมาซักแล้วก็ย้อมด้วยสีธรรมชาติเพอื่ เป็นผ้า จวี รนงุ่ หม่ เหมอื นกนั ภมู ิปัญญาการเอาผ้าแลว้ มายอ้ มดว้ ยสธี รรมชาติไมใ่ ช่ภมู ปิ ัญญาชาวของบ้านธรรมดาๆ แต่ เปน็ ภมู ปิ ัญญาทีม่ าจากแนวคิดของพระพุทธเจ้า และชาวบา้ นก็ได้สบื สานกันมาเป็นการย้อมผ้าสวมใส่จากสี ธรรมชาติ จากการย้อมสพี ื้นธรรมดามาเป็นการยอ้ มลายตา่ งๆรวมท้งั มดั หม่มี ดั ย้อม ซึ่งการเรียนร้แู ละปฏิบตั ิ กจิ กรรมดังกล่าวเหมอื นกับเราไดเ้ รียนรแู้ ละปฏิบัติธรรมะไปดว้ ย เช่น เราจะได้สมาธิจากการดงึ ปมชายผา้ หรือ การพึงพาธรรมชาติและพ่งึ พาตวั เอง หรือการไม่ตามกระแสของสังคมท่ีฟุ้งเฟอ้ ฟุ่มเฟอื ยเกนิ ความจาเป็น การทา ผา้ มัดย้อมใชเ้ อง เป็นความภาคภมู ิใจของคนทาและคนทจ่ี ะสวมใส่ ดว้ ย ทสี่ าคญั สีที่ไดจ้ ากธรรมชาตจิ ะมี คณุ สมบัตใิ นการรกั ษาโรคภัยไข้เจบ็ ไปในตัวดว้ ย เชน่ ผ้าย้อมคราม ย้อมฝางแดง เป็นต้น พร้อมกนั น้นั ยังมีการ ยอ้ ม สวิง แห ตาขา่ ยยอ อปุ กรณ์จบั ปลา ด้วยลกู ตะโกเพอ่ื ความคงทนและไดส้ ีทีห่ ลอกตาสตั ว์น้า แตใ่ นปัจจุบนั ศิลปะดงั กลา่ วกาลังลดหายไปจากสงั คม และถูกมองอย่างไร้คณุ ค่า เพราะว่ากระแสแฟชน่ั สมัยใหม่มาแรง หาซ้ือไดง้ า่ ย และตอบสนองความต้องการไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว ทันใจ ในทกุ รูปแบบ เพราะฉะนัน้ กจิ กรรมดงั กล่าวยังจะสืบสานอดุ มการณ์ และศิลปะรว่ มสมัย ให้คงอยู่คชู่ มุ ชนตลอดไป ช่วั กาลนาน จุดเดน่ ของภูมิปัญญำ การคิด ประดษิ ฐล์ ายผ้า ขึ้นอย่กู ับจินตนาการและการสงั เกตของแตล่ ะคน ซึ่งการมดั แต่ละครั้งหรือแต่ละ คน ลายผา้ ทไ่ี ดจ้ ะไม่เหมอื นกัน แตก่ ็สามารถปรบั ปรุง หรือออกแบบให้ใกลเ้ คียง หรือ คล้ายกันได้ ข้นึ อยกู่ บั การ สังเกตและพัฒนาการของแต่ละคนด้วย ซ่งึ การมัดลายแบบพื้นฐานอยา่ งง่ายมี 4 แบบ ดังน้ี

1.กำรพบั แล้วมัด กล่าวคือ เปน็ การพบั ผ้าเป็นรปู ตา่ งๆ แล้วมัดดว้ ยยางหรอื เชือก ผลท่ีไดจ้ ะไดล้ วดลาย ทมี่ ลี กั ษณะลายด้านซา้ ยและลายด้านขวาจะมีความใกลเ้ คียงกัน แตจ่ ะมีสีอ่อนด้านหน่งึ และสีเข้มด้านหนึง่ เน่อื งจากว่าหากดา้ นใดโดนพับไว้ดา้ นในสีก็จะซมึ เข้าไปน้อย ผลท่ไี ด้ก็คือจะมสี ีจางกวา่ นั่นเอง 2. กำรหอ่ แล้วมดั กลา่ วคือ เป็นการใช้ผ้าห่อวัตถุต่างๆ ไว้แล้วมดั ดว้ ยยางหรอื เชอื ก ลายท่เี กดิ ขน้ึ จะเปน็ ลายใหญห่ รือเล็กขน้ึ อยู่กับวัตถทุ ่ีนามาใช้ และลักษณะของการมัด เช่น การนาผา้ มาห่อก้อนหนิ รปู ทรงแปลกๆ ท่มี ี ขนาดไม่ใหญน่ ัก แลว้ มดั ไขว้ไปมา โดยเวน้ จังหวะของการมัดให้มีพ้ืนท่ีวา่ งให้สซี ึมเข้าไปได้ อยา่ งนี้กจ็ ะมลี ายเกิดข้ึน สวยงามแตกต่างจากการมัดลักษณะวัตถุอ่ืนๆ ดว้ ย 3. กำรขยำแล้วมดั กลา่ วคอื เปน็ การขยาผา้ อย่างไม่ตง้ั ใจแล้วมดั ดว้ ยยางหรือเชือก ผลม่ีได้จะได้ลวดลาย แบบอสิ ระ เรยี กว่าลายสวยแบบบงั เอญิ ทาแบบนี้อกี ก็ไม่ไดล้ ายนอ้ี กี แลว้ เนือ่ งจากการขยาแต่ละคร้ังเราไม่ สามารถควบคุมการทับซ้อนของผา้ ได้ ฉะนนั้ ลายที่ได้เปน็ ลายท่เี กดิ จากความบังเอิญ จริงๆ เปรยี บเทยี บ เหมือนกบั การทเ่ี ราเห็นก้อนเมฆ ก้อนเมฆแต่ละกอ้ นจะมลี ักษณะแตกต่างกัน และเมื่อผ่านสกั ครู่ลายหรือลักษณะ ของกอ้ นเมฆก็จะเปลย่ี นไป เราเรียกว่าลายอิสระ หรือรูปร่างรปู ทรงอิสระน่นั เอง 4 พบั แล้วหนีบ กลา่ วคอื เป็นการพบั ผา้ เป็นรปู แบบตา่ งๆ แลว้ เอาไม้ไอศกรีม หรอื ไม้ไผ่ผ่าบางๆ หนบี ไว้ ทั้งสองข้างเหมือนปง้ิ ปลา ต้องมัดไมใ้ หแ้ นน่ ภาพที่ออกมากจ็ ะเป็นรูปตา่ งๆ เชน่ รูปดอกไม้ รูปสเ่ี หลีย่ ม เปน็ ตน้

ถา่ ยภาพบคุ คล และอปุ กรณ/์ เคร่อื งมือ/ส่งิ ประดษิ ฐ์ (ชิ้นงานหรือผลงาน)

แบบบนั ทึกชุดข้อมูลคลงั ปญั ญำ-ภมู ปิ ญั ญำทอ้ งถน่ิ ตำบล..........โพธำรำม...............อำเภอ...โพธำรำม...............จังหวดั .......รำชบรุ ี................ ชอ่ื ภมู ิปญั ญำ.......การเขียนลายผา้ บาติก.................................................................................................. ขอ้ มูลพืน้ ฐำน รำยบคุ คล เจ้ำของภมู ิปัญญำทอ้ งถน่ิ /บคุ คลคลังปญั ญำ ชื่อ..นางวรรณา ...........นามสกุล.....คมุ้ เสาร.์ ....................... .......วันเดือนปีเกดิ .....27 กมุ ภาพันธ์ 2507 ทีอ่ ยูป่ ัจจบุ ัน (ที่สามารถติดต่อได้) บา้ นเลขท่ี....112..........ม.10........ตาบล/แขวง บา้ นสิงห์ อาเภอ/เขต.......โพธาราม............................จังหวัด........ราชบรุ ี.........รหสั ไปรษณยี ์ 70120............................... โทรศัพท์.......-......................โทรสาร.....................................Line ID……………….……………………… E-mail addrese……………………………………………………..Facebook……………………………………………………………….. ควำมเป็นมำของภมู ิปญั ญำ ผา้ บาตกิ หรือผ้าปาเตะ๊ เป็นคาท่ีใช้เรียกผา้ ชนดิ หนึ่งท่ีมวี ิธกี ารทาโดยใชเ้ ทียนปดิ ส่วนท่ไี ม่ต้องการใหต้ ดิ สี และใช้วธิ กี ารแตม้ ระบาย หรอื ย้อมในส่วนท่ตี อ้ งการให้ติดสี ผ้าบาติกบางชิ้นอาจจะผ่านข้นั ตอนการปิดเทยี น แตม้ สี ระบายสแี ละย้อมสีนบั เป็นสิบๆครั้ง สว่ นผา้ บาติกอย่างง่ายอาจทาโดยการเขียนเทียนหรือพมิ พเ์ ทยี น แล้วจึง นาไปย้อมสที ตี่ ้องการ คาว่าบาตกิ (Batik) หรอื ปาเต๊ะ เดิมเป็นคาในภาษาชวาใชเ้ รียกผา้ ท่ีมีลวดลายที่เปน็ จุด คา ว่า \" ตกิ \" มคี วามหมายวา่ เลก็ น้อย หรือจุดเล็กๆมีความหมายเชน่ เดียวกบั คาวา่ ตรติ ิก หรือตารติ กิ ดงั น้นั คาวา่ บาติกจึงมีความหมายวา่ เปน็ ผ้าที่มีลวดลายเปน็ จุดๆ ด่างๆ วิธีการทาผ้าบาติกในสมยั ดง้ั เดิมใชว้ ธิ ีการเขียนด้วยเทยี น ( wax-writing ) ดังนั้นผา้ บาติก จึงเป็นลักษณะ ผา้ ที่มีวิธกี ารผลติ โดยใชเ้ ทียนปิดในสว่ นท่ีไมต่ ้องการใหต้ ิดสี แมว้ ่าวีธิ กี ารทาผ้าบาตกิ ในปัจจบุ ันจะกา้ วหนา้ ไปมาก แล้วกต็ ามแต่ลักษณะเฉพาะประการหน่งึ ของผ้าบาตกิ ก็คือจะต้องมวี ธิ กี ารผลิตโดยใช้เทยี นปิดส่วนทีไ่ ม่ต้องการให้ ตดิ สีหรือปดิ สว่ นทีไ่ ม่ตอ้ งการใหต้ ดิ สซี ้าอีก นางวรรณา คุ้มเสาร์ เปน็ ข้าราชการครูเกษยี ณ จบการศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรี มีความถนัดดา้ นงานศิลป ประดิษฐ์ เช่นจากเยบ็ ปกั ถกั ร้อย งานฝมี อื ต่างๆ ด้วยความชอบและความชานาญทั้งจากการสอนนักเรยี นใน โรงเรยี นและยังเป็นวทิ ยากรให้ความรกู้ ับ ทาง กศน.อยา่ งต่อเนอื่ ง จุดเดน่ ของภูมิปัญญำ ความโดดเด่นของผ้าบาติกอยู่ที่สีและลวดลายอันคมชัดของภาพที่สามารถบอกอะไรได้หลายอย่างทั้งถิ่น ที่มา วัฒนธรรมความเป็นอยู่ ธรรมชาติ เอกลักษณ์ของแหล่งผลิต หรือกระท่ังความรู้สึกนึกคิดของคนในท้องถ่ิน นั้นๆ ซึง่ มกี รรมวิธีทซ่ี บั ซอ้ นอยู่หลายกระบวนการทง้ั พิมพเ์ ทยี น แตม้ สี ระบายสี ย้อมสี บาติกจึงมีลักษณะที่เป็นได้ท้ังงานหัตถอุตสากรรมและงานศิลปะ ที่เกิดข้ึนจากการเขียนลวดลายตามที่ ผู้ผลิตต้องการลงบนผืนผ้าด้วยดินสอแล้วใช้ปากกาเขียนเทียนจันติ้ง (Tjanting) จุ่มน้าเทียนเขียนไปตามลวดลาย เพ่ือให้น้าเทียนนี้เป็นแนวป้องกันน้าสีไม่ให้ซึมผ่านถึงกัน ซ่ึงน้าเทียนที่มีประสิทธิภาพจะต้องซึมผ่านทะลุทั้ง ด้านหน้าและดา้ นหลงั ของผืนผ้าบาติกโดยไม่ใหเ้ กิดช่องว่างข้ึนจากนั้นจึงทาใหเ้ กิดลวดลาย โดยวธิ ีการเพ้นท์สีหรือ ย้อมสีตามแต่กรณสี ีบนผนื ผา้ จะตอ้ งซึมผา่ นท้ังดา้ นหน้าและด้านหลังซ่ึงเปน็ เอกลักษณ์ประจาตัวของผ้าบาติกทาให้ ผู้สวมใส่ภาคภมู ใิ จว่าผลิตภณั ฑ์ที่ซอื้ เปน็ ชิน้ เดยี วในโลก

ถา่ ยภาพบคุ คล และอปุ กรณ/์ เคร่อื งมือ/ส่งิ ประดษิ ฐ์ (ชิ้นงานหรือผลงาน)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook