Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พ.ย.62 ภูมิปัญญาท้องถิ่น ต.ชำแระ อ.โพธาราม จ.ราชบุรี

พ.ย.62 ภูมิปัญญาท้องถิ่น ต.ชำแระ อ.โพธาราม จ.ราชบุรี

Published by kl_1270070001, 2020-10-05 23:37:28

Description: กศน.ตำบลชำแระ-พ.ย.62

Search

Read the Text Version

ทำเนียบภมู ปิ ญั ญาท้องถ่ิน เดือนพฤศจิกายน 2562 กศน.ตำบลชำแระ ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอโพธาราม สำนักงานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยจงั หวดั ราชบุรี สำนกั งานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย สำนักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศึกษาธิการ

คำนำ ด้วย กศน.ตำบลชำแระ ได้ดำเนินการจัดทำทำเนียบภูมิปัญญาในท้องถิ่น ให้กับประชาชน ในพ้นื ทต่ี ำบลชำแระ เพื่อเพิ่มพนู ความรู้และทักษะในการดำเนินชีวติ แบบพอเพยี ง สามารถเรียนรู้และฝึกฝน ได้ทั้งจากการศึกษาด้วยตนเอง และได้รับการถ่ายทอดจากผู้อื่น การนำภูมิปัญญามาเผยแพร่เพื่อให้ ประชาชนในพ้นื ท่ีได้นำไปใช้และเรียนรู้เพื่อเพ่ิมอาชีพ และประสบการณ์ให้กับตนเองและครอบครัวให้มีการ เจริญเติบโตอย่างต่อเนื่องและเกื้อกูลในการผลิตซึ่งกันและกัน โดยการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์ และไมม่ สี ารพษิ เช่น ดนิ น้ำ แสงแดดอย่างเหมาะสม เกดิ ประโยชน์สูงสุด มีความสมดุล ของสภาพแวดล้อม อย่างต่อเนื่อง และเกิดผลในการเพิ่มพูนความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติด้วย กศน.ตำบลชำแระ หวงั ว่าเอกสารเล่มนีค้ งมปี ระโยชน์ต่อผู้อ่านและผู้ปฏบิ ัติงานต่อไป กศน.ตำบลชำแระ พฤศจกิ ายน 2562

สารบัญ 1 5 คำนำ 10 สารบัญ หนา้ กศน.ตำบลชำแระ - ภมู ิปญั ญา การทำปุ๋ยนำ้ หมักชวี ภาพ : นายลับ ตุม้ ทบั - ภมู ิปัญญา การทำพานบายศรี : นางขำ รุ่งเรอื ง - ภูมปิ ญั ญา การเลี้ยงไก่พ้ืนเมืองเพิ่มมูลค่า : นายสายณั กนั เกา คณะผู้จัดทำ

1 แบบบันทึกชุดขอ้ มลู คลังปญั ญา-ภูมปิ ญั ญาท้องถ่นิ ตำบลชำแระ อำเภอโพธาราม จังหวัดราชบรุ ี ชอ่ื ภมู ิปัญญา : การทำปยุ๋ น้ำหมักชีวภาพ ช่อื นายลบั นามสกลุ ตุม้ ทับ วนั เดือนปีเกดิ : 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2493 ทอ่ี ยู่ปจั จบุ ัน (ทส่ี ามารถติดต่อได้) : บ้านเลขท่ี 72/1 หมู่ท่ี 3 ตำบลชำแระ อำเภอโพธาราม จังหวัดราชบรุ ี รหัสไปรษณยี ์ 70120 โทรศัพท์ : 083-9700269 ความเป็นมาของบุคคลคลงั ปญั ญา เมื่อประมาณปี พ.ศ.2545 ทางหนว่ ยงานการเกษตรอำเภอโพธาราม ต้องการจัดหาสถานทต่ี งั้ โรงเรยี น เกษตรกรข้นึ เพอ่ื ใชใ้ นการอบรมใหค้ วามรกู้ บั เกษตรกรในหมบู่ า้ นตำบลชำแระและหมบู่ ้านขา้ งเคยี ง โดยการ นำของนายสิงห์ สวัสดี ตำแหนง่ เกษตรตำบลสมัยนัน้ และไดพ้ ามาพบกับนายลบั ตุม้ ทับ เปน็ ชาวเกษตรกร หมทู่ ่ี 3 ตำบลชำแระ อำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี ซึ่งเห็นวา่ เป็นประโยชนก์ ับชาวเกษตรกรเป็นอยา่ งมาก จงึ ยกสถานทีว่ ่างเปลา่ บริเวณหน้าบา้ นเพ่ือจัดตงั้ เป็นโรงเรียนเกษตรกรขึน้ มา และต่อมาทางหนว่ ยงานเกษตร อำเภอโพธารามมีโครงการและงบประมาณเพื่อใช้สำหรับการอบรมให้ความรู้แก่เกษตรกร เรื่องหมอดิน รวม ไปถงึ การขยายพันธ์ขุ า้ ว การทำปยุ๋ ชนิดต่างๆ ให้กับเกษตรกรไดน้ ำความรไู้ ปใชใ้ นการประกอบอาชีพเลี้ยง ตนเองและครอบครัว ซึง่ นายลบั ตมุ้ ทบั กเ็ ปน็ ผูห้ น่ึงทไ่ี ด้รบั ความรู้จากการเข้าอบรมคร้งั นี้ จนมาถงึ เมอื่ ปี พ.ศ. 2555 กลุ่มน้ีก็ต้องยบุ ไป เนอ่ื งจากสาเหตุทางการเมืองเขา้ มาแทรกแซง โรงเรอื นก็ผุพังไปตามอายุของ การใชง้ าน และงบประมาณทางราชการก็ไม่มีลงมาให้เหมือนแต่ก่อน นายลับ ตุ้มทบั ต้องพึ่งพาตนเองเพ่ือ ดำเนินการเร่อื งราวตา่ งๆ เพียงผเู้ ดียวมาจนถึงทุกวนั น้ี และก็ไดน้ ำความรู้ที่เกบ็ เกยี่ วมาจากเมื่อครัง้ ทีม่ กี าร อบรมมาใช้ในชวี ติ ประจำวนั เรอ่ื ยมา และก็ได้ลองผดิ ลองถูกมาเรื่อยจนมคี วามรู้และความชำนาญในเรือ่ งของ การทำปุย๋ หมักนำ้ ชวี ภาพและอีกหลายๆ เร่ืองท่ีนายลบั ตุ้มทบั ได้เก็บเกย่ี ววิชาการตา่ งๆ นำมาใชเ้ ล้ยี งชีพ จนถงึ ปจั จบุ ันนี้ จุดเด่นของภูมปิ ัญญา - เปน็ แหล่งศึกษาดูงาน - เปน็ สถานทถี่ ่ายทอดความรู้ วตั ถุดบิ ท่ใี ชป้ ระโยชนใ์ นการผลิตภณั ฑท์ เ่ี กดิ จากภูมิปัญญา ซึ่งพ้ืนทีอ่ ื่นไม่มี ไดแ้ ก่ - กากนำ้ ตาล - ผลมะกรูด

2 - พรกิ ชีฟ้ ้าแห้ง - ตน้ หางไหล - หัวปลา - ตน้ หนอนตายอยาก รายละเอียดของภูมปิ ัญญาท้องถิ่น - รูปแบบในการถ่ายทอดความรู้ มีทัง้ การศกึ ษาดงู าน การเข้ารับการอบรมและฝึกปฏบิ ตั จิ รงิ เพอื่ นำประโยชน์ทไ่ี ดร้ ับไปปฏิบตั ใิ ช้ได้จรงิ ในชวี ติ ประจำวัน รูปแบบและลกั ษณะการถา่ ยทอด การประชาสมั พนั ธ์ เผยแพรภ่ มู ิปัญญาท้องถนิ่ มมยีกกีังไาามรร่เดเคผูงยยามแนีกพจารารผ่กเา่บผนุคยสแคื่อพลมภรว/่าลยใชชนน้เอฉแกพลาะจะสำบื่อนุคอวคยนล่า..ง.แ...พ..ร.2ห่ ..ล..า..ย.ค//ร้งั เคยเผยแพร่เฉพาะในชมุ ชน จำนวน......18......คน ในพ้นื ท่.ี .......14......./คน นอกพ้นื ท.ี่ ...7......คน มกี ารนำไปใช้ อ่ืนๆ (ระบ)ุ ลกั ษณะของภูมิปัญญาท้องถน่ิ การพฒั นาต่อยอดภมู ปิ ัญญาใหเ้ ปน็ นวตั กรรม คุณค่า (มูลค่า) และความภาคภมู ิใจ ภูมปิ ญั ญาท้องถิ่น/นวัตกรรมท่คี ิดคน้ ขึน้ มาใหม่ ภมู ปิ ญั ญาท้องถน่ิ ดงั้ เดมิ ได้รบั การถา่ ยทอดมาจาก ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ ท่ีไดพ้ ัฒนาและตอ่ ยอด แบบเดมิ คอื การปลูกพืช ผัก โดยการใชน้ ้ำเปลา่ ฉีดพน่ เพ่ือให้พืช ผักกนิ อาหารทางใบและลำตน้ แตไ่ ม่มีแร่ธาตุสารอาหารใดเลย การพัฒนาต่อยอดคือ การปลูกพืช ผกั โดยการนำสารทไ่ี ด้จากการนำนำ้ หมักชวี ภาพมาฉดี พน่ ทำให้ พชื ผัก เกดิ การเจริญงอกงามดีขน้ึ สมบูรณ์ขึ้น และศัตรูพืชที่เป็นแมลงไม่มารบกวน และยงั มคี วาม ปลอดภัยกบั ผ้บู ริโภค

3 ภาพถ่ายเจา้ ของภูมิปญั ญา นายลับ ตมุ้ ทบั (เจา้ ของภมู ปิ ญั ญาการทำปุ๋ยน้ำหมกั ชวี ภาพ)

4 รูปภาพภูมิปัญญา ถังน้ำหมักชวี ภาพ ท่ีมีสว่ นผสมของพชื สมนุ ไพรหลาย ๆ ชนิด นำมาหมกั รวมกนั ประกอบด้วย 1.กากน้ำตาล 2.ผลมะกรูด 3.พริกช้ีฟ้าแห้ง 4.ต้นหางไหล 5.หัวปลา 6.ต้นหนอนตายอยาก

5 แบบบนั ทกึ ชุดขอ้ มลู คลังปัญญา-ภูมิปญั ญาทอ้ งถน่ิ ตำบลชำแระ อำเภอโพธาราม จังหวัดราชบรุ ี ชื่อภูมปิ ัญญา : การทำพานบายศรี ชื่อ นางขำ นามสกุล รุ่งเรือง วันเดอื นปีเกดิ : 4 กรกฎาคม พ.ศ.2485 ท่ีอยู่ปจั จบุ นั (ทีส่ ามารถตดิ ตอ่ ได้) : บ้านเลขท่ี 91 หมู่ที่ 3 ตำบลชำแระ อำเภอโพธาราม จงั หวัดราชบุรี รหสั ไปรษณยี ์ 70120 โทรศพั ท์ : 064-9629398 ความเปน็ มาของบุคคลคลงั ปญั ญา นางขำ รงุ่ เรอื ง เร่มิ มีความสนใจในเร่ืองการทำบายศรีเม่ือตอนอายปุ ระมาณ 60 ปี เพราะแถวบ้าน มงี านประจำปี และงานประเพณีทต่ี ้องใชบ้ ายศรีอยูบ่ ่อยครั้งจงึ เกิดความสนใจและชื่นชอบมาโดยตลอดจึงครู พักลกั จำนำกลบั มาลองทำดูท่ีบ้าน แรกๆ ก็ทำแบบงา่ ยๆ ไปกอ่ น เช่น บายศรปี ากชาม เพราะทำงา่ ย วัสดกุ ็ หาง่าย พอเริม่ มีความรู้มากขึ้น ก็เร่มิ หาบายศรที ี่ยากๆ ทำดู จนวนั หน่ึงขณะท่ีเร่ิมทำบายศรีเศรยี รพญานาค น้นั ก็เหมือนมีอะไรมาดลจิตดลใจให้ทำลกั ษณะตามจนิ ตนาการท่ีเกิดขนึ้ ในขณะนน้ั จนทำไดส้ ำเร็จ แต่กว่าจะ เสรจ็ ได้กใ็ ช้เวลาอยู่หลายวันพอทำเสรจ็ ก็มเี พ่ือนบ้านมาเหน็ ก็ทักวา่ ทำได้สวยมากๆ จนเป็นท่เี ร่อื งรือในชมุ ชน บา้ นหนองน้ำใส ต่อมากม็ ีประชาชนตา่ งถิ่นท่ีรู้ขา่ วคราวก็มาสั่งทำบายศรตี ่างๆ ตามท่ีต้องการ เพ่อื นำไปใช้ใน งานพธิ ที รงเจ้า ในการทำของนางขำ รุ่งเรอื่ ง ไม่มกี ารเรียกรอ้ งคา่ ทำแต่อย่างใด เพียงแตข่ อค่ายกครูเท่านัน้ ซ่งึ ประกอบด้วย หมากพลู เหลา้ ขาว และคา่ ยกครเู พียงไม่ก่ีบาทเทา่ นัน้ ส่วนเร่อื งของวัสดทุ จี่ ะต้องใชใ้ ห้ผสู้ ง่ั ทำจดั ซื้อมาใหต้ ามคำบอกของนางขำ ส่วนใครจะให้คา่ แรงกแ็ ลว้ แตไ่ ม่เจาะจงว่าจะเทา่ ไร นางขำ รงุ่ เรือง ประกอบอาชีพทำบายศรีมาจนถึงปัจจบุ ันเปน็ เวลา17 ปี มผี ู้สนใจมาสั่งทำไมข่ าดมอื แต่ปจั จุบนั ก็กำลังหาผูท้ ่ี สนใจจะเรียนรู้ เพ่ือถา่ ยทอดใหแ้ ตก่ ย็ ังไม่มีใครสนใจแตอ่ ย่างใด แม้แต่กระทั่งลูกหลานก็ยังไมม่ ใี ครคิดจะสืบ ทอดแต่อยา่ งใด จดุ เดน่ ของภูมิปัญญา - เปน็ แหล่งศกึ ษาดงู าน - เปน็ สถานท่ถี า่ ยทอดความรู้ วตั ถุดบิ ที่ใช้ประโยชน์ในการผลิตภัณฑ์ท่ีเกิดจากภมู ปิ ัญญา ซ่ึงพนื้ ทอ่ี ื่นไม่มี ได้แก่ - ใบตองกล้วยตานี - ดอกพดุ

6 รายละเอียดของภูมปิ ญั ญาทอ้ งถ่ิน - รปู แบบในการถ่ายทอดความรู้ มที งั้ การศกึ ษาดงู าน การเข้ารบั การอบรมและฝึกปฏบิ ตั จิ รงิ เพือ่ นำประโยชนท์ ไี่ ด้รับไปปฏบิ ัติใช้ไดจ้ ริงในชวี ติ ประจำวนั รูปแบบและลกั ษณะการถ่ายทอด การประชาสมั พนั ธ์ เผยแพรภ่ มู ปิ ัญญาท้องถ่ิน ยงั ไมเ่ คยมีการเผยแพร่/ ใช้เฉพาะบุคคล เคยเผยแพร่เฉพาะในชุมชน มกี ารเผยแพรผ่ า่ นส่อื มวลชนและสื่ออย่างแพรห่ ลาย มีการดงู านจากบคุ คลภายนอก จำนวน........-........ครัง้ จำนวน.......-......คน มีการนำไปใช้ ในพ้ืนท.่ี .......-.......คน นอกพน้ื ท่ี....-.....คน อนื่ ๆ (ระบ)ุ ลักษณะของภูมปิ ัญญาทอ้ งถิ่น การพัฒนาตอ่ ยอดภมู ิปญั ญาให้เปน็ นวัตกรรม คณุ ค่า (มูลค่า) และความภาคภูมใิ จ ภูมิปัญญาท้องถ่ิน/นวตั กรรมที่คิดคน้ ข้ึนมาใหม่ ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ ดัง้ เดิมได้รบั การถา่ ยทอดมาจาก ภมู ปิ ัญญาท้องถ่ินที่ได้พัฒนาและต่อยอด แบบเดมิ คือ เป็นการทำบายศรปี ากชาม บายศรีพรหม และบายศรีเทพเท่านัน้ การพัฒนาต่อยอดคือ ปจั จบุ นั พัฒนาการทำชุดบายศรสี ามารถทำได้ถึงชดุ บายศรีพญานาค มี วัสดอุ ุปกรณ์ ขนั้ ตอนการทำการเตรยี มโครงการข้ึนโครงกนก ตดั แบบกนก เย็บกนกแบบตา่ งๆ หน้าและเครา พญานาค ครบี หลัง การพับใบตองและติดอกพญานาค การประกอบเศยี รพญานาค การตดิ เกลด็ พญานาค การตกแตง่ พญานาคดว้ ยใบตองทจ่ี บั จบี มาเป็นอย่างดี และข้นั ตอนการพับเกล็ดแบบต่างๆ ซง่ึ แตล่ ะขนั้ ตอน จะใช้เวลาพอสมควร เพราะถ้าจบั จีบไม่แน่นจะทำใหไ้ ม่สามารถนำมาเข้าประกอบกบั โครงได้ ข้นั ตอนการทำ เศียรพญานาค มีดังน้ี 1. เริ่มทีส่ ่วนหัวกอ่ นโดยนำนิ้วมือแบบยกนม 3 ช้นั จำนวน 3 ช้นิ วางประกบกันหันหนา้ ไปทางเดียวกัน 2 ช้ิน และหันหลังออก 1 ช้ิน ใช้แม็กแม็กท่ีโคนน้วิ แล้วเย็บติดให้แนน่ 2. ช้นั แรกนำใบตองขนาดเดียวกับทใี่ ชม้ ้วนน้ิวมาพบั กลบี แหลมประกบเขา้ ด้านข้างของส่วนหวั แล้วพับสนั ทบตลบกลบั พับเหมือนกลีบกุหลาบ หรอื น่งุ ผา้ บายศรแี บบยกนม 3. ชั้นท่ี 2 นำนิว้ ที่แมก็ มาวางประกบทั้งสองด้านแล้วนุ่งผา้ เชน่ เดียวกับชน้ั แรก

7 4. ช้ันที่ 3 นำกลีบเลบ็ มือนางซ้อนท่แี ม็กด้านหลงั ติดกบั น้วิ ติดทับส่วนของช้ันท่ี 3 ตัดริบบิ้นสีแดงตดั ปลาย เป็น 2 แฉกแมก็ ติดทับกลีบเลบ็ มือนางซ้อน วางเลบ็ มือนางซ้อนอกี กลีบหงายข้นึ ปดิ ทบั ด้วยกลีบแหลม ซอ้ นทับลดหล่นั กนั 3 ชน้ั แล้วจงึ วางน้ิวประกบทงั้ สองดา้ นโดยดา้ นหน้าให้หนั น้ิวหงายข้ึนใตน้ ้ิว รองด้วย กลบี แหลมจำนวน 3 ช้นั (เปน็ สว่ นปากพญานาค) นุ่งผ้ารวบกลีบทง้ั หมดที่วาง 5. ชั้นท่ี 4 - 7 ดา้ นหน้า (ใตป้ าก) วางกลีบแหลมดา้ นหลงั วางนิว้ มือนางแล้วนุ่งผา้ 6. ชั้นท่ี 8 – 12 ด้านหนา้ วางกลีบเลบ็ มือนางซ้อน และกลบี เล็บมือนางสอดไส้ นุ่งผา้ 7. เกบ็ งานชนั้ สดุ ทา้ ยเกบ็ ดว้ ยการนุ่งผา้ ธรรมดาปดิ ทับ 8. ตกแตง่ ส่วนปากด้วยการนำเม็ดโฟมหรือเขม็ หมดุ หวั โต หรือพดุ เลก็ มาเสียบรอบเป็นฟันพญานาค 9. หางและลำตวั พญานาค มีวิธีทำเชน่ เดยี วกับขั้นตอนการทำหวั พญานาค ดังน้ี

8 ถ่ายภาพข้าวของภูมิปัญญา นางขำ รุ่งเรือง (เจ้าของภูมปิ ัญญาเรื่องการทำพานบายศรรี ูปแบบต่างๆ)

9 รปู ภาพภมู ิปญั ญา พานบายศรแี บบเศยี รพญานาค ใบตองทจี่ ับจบี เปน็ ชั้นๆ พรอ้ มจะประกอบเขา้ กับโครง พานพรหม และพานเทพทีป่ ระกอบเขา้ กับโครง ประกอบด้วย 1.พาน 2.แผ่นโฟมตัดแบบกลม 3.ดอกพดุ 4.จีบใบตองทเี่ ปน็ ช้ันๆ

10 แบบบนั ทกึ ชุดขอ้ มลู คลังปญั ญา-ภมู ปิ ัญญาท้องถิ่น ตำบลชำแระ อำเภอโพธาราม จงั หวดั ราชบรุ ี ชือ่ ภูมิปัญญา : การเล้ยี งไก่พ้ืนเมอื งเพม่ิ มลู ค่า ชอ่ื นายสายณั นามสกลุ กนั เกา วันเดอื นปีเกิด : 27 ตุลาคม พ.ศ.2504 ท่ีอยู่ปัจจบุ นั (ที่สามารถติดตอ่ ได)้ บา้ นเลขท่ี 116/4 หมู่ท่ี 3 ตำบลชำแระ อำเภอโพธาราม จงั หวดั ราชบุรี รหัสไปรณีย์ 70120 โทรศพั ท์ : 096-857-8380 Facebook : ผชู้ ว่ ยสายณั กนั เกา ความเป็นมาของบุคคลคลงั ปญั ญา แตเ่ ดมิ ทีเมื่อประมาณปี พ.ศ.2549 นายสายัณ กันเกา มีอาชีพเกษตรกรและได้ประกอบอาชีพเสรมิ ดว้ ยการเลยี้ งไก่พ้นื บา้ นจำนวนมาก เพือ่ จำหน่ายใหก้ บั ลูกคา้ ท่วั ไปใช้ในการประกอบอาหาร มที ัง้ ขายเป็น กิโลกรมั และขายเปน็ ตัว ซึง่ ราคาต่อตวั ช่วงนน้ั ราคาถกู มาก ถา้ ขายเป็นกโิ ลกรมั ตกราคาอย่ทู ี่ 80 บาท แต่ถา้ ขายเป็นตัวกจ็ ะอยทู่ รี่ าคาตัวละ 150 บาท ซึ่งก็พอสร้างรายไดใ้ ห้กบั ครอบครัวได้พอสมควร แต่พอมาช่วงหลัง เมื่อประมาณ ปี พ.ศ. 2556 ตลาดมีความต้องการไก่พ้ืนบ้านทม่ี ีสายพันธดุ์ ี เกง่ ทนตอ่ โรค และมีชั้นเชงิ ของ การตอ่ สเู้ ปน็ อยา่ งดี จึงหันมาปรับปรุงสายพนั ธไ์ุ กข่ องตนเอง โดยการหาพ่อพันธ์ุและแม่พันธเ์ุ ก่งๆ มาผสมลูก ขายและมกี ารฝึกซอ้ มไก่รุ่นๆ จนเปน็ ทีป่ ระจักษ์ในสายตาแก่ผพู้ บเห็นทั้งในชมุ ชนและต่างชุมชน จนเป็นท่ี รจู้ ักกันอย่างกว้างขวาง ในการสร้างไก่ใหด้ ีและเกง่ น้นั นายสายัณ กันเกา กลา่ วไวว้ า่ ต้องมเี ทคนิคในการเลยี้ ง การใหอ้ าหาร การฝึกซ้อม แม้แตก่ ระทงั้ การตลาดกส็ ำคัญ เพราะถ้าไก่ออกมาไม่ดี การลงทนุ ท่ลี งไว้ก็จะสญู เปล่า จดุ เดน่ ของภมู ปิ ัญญา - เปน็ แหล่งศึกษาดูงาน - เป็นสถานท่ีถา่ ยทอดความรู้ - เปน็ การสรา้ งรายไดใ้ หก้ บั ครอบครัวไดเ้ ป็นอย่างดี วัตถุดบิ ท่ใี ชป้ ระโยชนใ์ นการผลติ ภณั ฑท์ ่ีเกดิ จากภมู ปิ ัญญา ซ่ึงพื้นที่อ่นื ไม่มี ได้แก่ - เปน็ การนำวสั ดุจากธรรมชาติมาใช้เล้ยี งไก่ให้เจรญิ เติบโตได้เรว็ ขึน้ - เปน็ การดูแลรักษาสุขภาพ การหมน่ั ออกกำลังกาย การฝกึ ซ้อมที่ถูกวิธี

11 รายละเอยี ดของภูมปิ ญั ญาทอ้ งถ่ิน - รูปแบบในการถ่ายทอดความรู้ มที ัง้ การศกึ ษาดงู าน การเข้ารับการอบรมและฝึกปฏิบตั จิ ริง เพือ่ นำประโยชน์ท่ไี ด้รบั ไปปฏิบตั ใิ ชไ้ ดจ้ ริงในชีวิตประจำวัน รปู แบบและลกั ษณะการถ่ายทอด การประชาสัมพนั ธ์ เผยแพรภ่ มู ิปญั ญาท้องถิ่น ยงั ไม่เคยมกี ารเผยแพร/่ ใช้เฉพาะบุคคล เคยเผยแพรเ่ ฉพาะในชุมชน มีการเผยแพร่ผ่านสื่อมวลชนและสอื่ อย่างแพร่หลาย มกี ารดูงานจากบุคคลภายนอก จำนวน........-........ครง้ั จำนวน.......-......คน มกี ารนำไปใช้ ในพื้นท่ี........-.......คน นอกพ้นื ท.ี่ ...-.....คน อื่นๆ (ระบุ) ลกั ษณะของภูมปิ ญั ญาท้องถิน่ การพฒั นาต่อยอดภมู ปิ ญั ญาใหเ้ ป็นนวตั กรรม คณุ ค่า (มูลค่า) และความภาคภมู ิใจ ภูมปิ ญั ญาท้องถ่ิน/นวัตกรรมทีค่ ิดค้นขึน้ มาใหม่ ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ ดงั้ เดิมไดร้ ับการถา่ ยทอดมาจาก ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถนิ่ ที่ไดพ้ ัฒนาและตอ่ ยอด แบบเดมิ คือ เป็นการเลย้ี งปล่อยในพน้ื ท่ีทม่ี ีอยูต่ ามธรรมชาติ ไมต่ ้องให้อาหาร ให้ไก่ออกไป คุ้ยเข่ียหาอาหารเองตามธรรมชาติซง่ึ การทำแบบนไี้ ก่จะโตช้า และศตั รขู องไก่กม็ ีมากมายเหลอื คอกหนึง่ ก็ไม่ก่ี ตวั ทำใหเ้ สียรายได้ในการเลย้ี ง การพัฒนาต่อยอดคอื ปัจจุบันการเลย้ี งไก่พ้ืนเมืองต้องมีสตู รในการเล้ียงเพ่ือเพมิ่ มลู ค่าให้กับไก่ ท่เี ล้ยี ง และยังมรี ายไดม้ าเลี้ยงครอบครัวได้เป็นอย่างดี สตู รนคี้ อื การเล้ยี งไก่พ้ืนเมืองไปส่กู ารเป็นไกช่ นที่บินดี มีการนำไก่มาออกกำลังกายทุกวนั และออกกำลงั ให้สม่ำเสมอร่างกายไกจ่ ะมีความแขง็ แรง ยืนระยะดี สดุ ท้าย อยทู่ กี่ ารเปรียบ เราควรร้วู า่ ไก่ของเราชอบตีกบั ไก่อะไร การเปรียบไกต่ ้องอา่ นเชิงตี อย่าไปฝนื เด็ดขาด ไก่เรา ถนัดแบบไหน ก็ควรหาเชิงท่เี ขาชอบ ไก่เก่ง เลี้ยงดี เปรยี บดี มชี ัยไปกว่าครคร่ึง

12 ถ่ายภาพเจา้ ของภมู ิปัญญา นายสายณั กนั เกา (เจ้าของภูมิปญั ญาการเลีย้ งไก่ชนมอื อาชีพ)

13 รปู ภาพภมู ิปัญญา โรงเรอื นนอนของไก่ร่นุ มีขนาดกว้าง 3 เมตร ยาว 7 เมตร เพ่อื ไมใ่ หเ้ กิดความแออัด สถานท่ใี หอ้ าหารไก่ โดยให้เป็นเวลา เช้า และเย็น

ท่ีปรึกษา คณะผ้จู ัดทำ นางสนุ นั ทา โนรสี ุวรรณ นางโสภญิ า ศรที อง ผอู้ ำนวยการ กศน.อำเภอโพธาราม ครู อาสาสมัคร ฯ ร่าง/เรยี บเรียงและจดั ทำ ครู กศน.ตำบลชำแระ นายเจษฎา โพธ์ิประสทิ ธ์ิ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook