Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ฆราวาส

ฆราวาส

Published by librarytl49, 2020-11-04 04:58:10

Description: ภิกษุทั้งหลาย เปรียบเหมือนเนื้อป่า ตัวที่ไม่ติดบ่วง แม้นอนจมอยู่บนกองบ่วง มันก็เป็นสัตว์ที่ใครๆ พึงเข้าใจได้ว่าเป็นสัตว์ที่ไม่ถึงความพินาศย่อยยับไปตามความประสงค์ของพรานแต่อย่างใดเมื่อพรานมาถึงเข้า มันจะหลีกหนีไปได้ตามต้องการดังนี้ ฉันใดก็ฉันนั้น

Search

Read the Text Version

พุทธวจน

ภกิ ษุทั้งหลาย !  ส่วนชนเหล่าใด จะเป็นสมณะหรือพราหมณก์ ต็ าม  ไม่ติดใจ ไม่สยบอย ู่ ไมเ่ มาหมกอย ู่ ในกามคณุ ทง้ั  ๕ เหล่าน้ีแล้ว มองเหน็ สว่ นท่ีเป็นโทษอยู่ เป็นผูร้ ้แู จม่ แจ้งในอบุ ายเปน็ เครื่องออกไปจากทกุ ข์  บริโภคกามคณุ ท้ัง ๕ นั้นอยู่ ชนเหล่านนั้  อันคนทั้งหลายพงึ เขา้ ใจไดอ้ ย่างนวี้ ่า  เปน็ ผไู้ มถ่ งึ ความพนิ าศยอ่ ยยบั  ไปตามความประสงคข์ องมารผมู้ บี าปแตอ่ ยา่ งใด ดงั น.้ี ภกิ ษุทงั้ หลาย !  เปรียบเหมือนเนอ้ื ปา่ ตวั ท่ีไม่ตดิ บว่ ง แมน้ อนจมอยบู่ นกองบว่ ง มนั กเ็ ปน็ สตั ว์ทใ่ี ครๆ พงึ เขา้ ใจไดว้ ่า เปน็ สตั วท์ ี่ไมถ่ งึ ความพนิ าศย่อยยับไปตามความประสงคข์ องพรานแต่อยา่ งใด เม่อื พรานมาถึงเขา้  มนั จะหลกี หนีไปได้ตามทีต่ อ้ งการ ดังน ้ี ฉนั ใดกฉ็ ันนัน้ . -บาลี ม.ู ม. ๑๒/๓๓๓/๓๒๘.

พุทธวจน ฆราวาสชั้นเลิศ ภกิ ษทุ ัง้ หลาย ! ความรสู้ ึกได้เกดิ ข้ึนแกเ่ ราวา่ ผลวบิ ากแหง่ กรรม ๓ อย่างนี้แล ทีท่ �ำให้เรามฤี ทธิ์มาก... มอี านุภาพมาก... คือ (๑) ทาน การให,้ (๒) ทมะ การบีบบงั คับใจ, (๓) สญั ญมะ การสำ� รวมระวัง ดังน้.ี -บาลี อิติวุ. ขุ. ๒๕/๒๔๐/๒๐๐.



พทุ ธวจน -หมวดธรรม เปิดธรรมท่ีถูกปดิ ๗ฉบับ ฆราวาสชน้ั เลิศ พุทธวจนสถาบัน รว่ มกนั มงุ่ มน่ั ศกึ ษา ปฏบิ ตั ิ เผยแผค่ �ำ ของตถาคต

พุทธวจน ฉบบั ๗ ฆราวาสชัน้ เลศิ ข้อมูลธรรมะนี้ จัดทำ�เพื่อประโยชน์ทางการศึกษาสู่สาธารณชน เป็นธรรมทาน ลขิ สิทธใ์ิ นตน้ ฉบับน้ไี ด้รบั การสงวนไว้ ในการจะจดั ทำ�หรอื เผยแผ่ โปรดใช้ความละเอียดรอบคอบ เพ่ือรกั ษาความถูกตอ้ งของขอ้ มูล ให้ขออนุญาตเป็นลายลกั ษณอ์ ักษร และปรกึ ษาดา้ นข้อมลู ในการจดั ท�ำ เพือ่ ความสะดวกและประหยดั ตดิ ต่อได้ที่ มลู นธิ ิพุทธโฆษณ์ โทรศพั ท ์ ๐๘ ๒๒๒๒ ๕๗๙๐-๙๔ มลู นธิ พิ ทุ ธวจน โทรศพั ท ์ ๐๘ ๑๔๕๗ ๒๓๕๒ คณุ ศรชา โทรศัพท ์ ๐๘ ๑๕๑๓ ๑๖๑๑ คณุ อารวี รรณ โทรศพั ท์ ๐๘ ๕๐๕๘ ๖๘๘๘ ปที พ่ี มิ พ์ ๒๕๖๓ ศลิ ปกรรม ปริญญา ปฐวินทรานนท,์ วชิ ชุ เสรมิ สวสั ด์ศิ รี, ณรงค์เดช เจรญิ ปาละ จดั ทำ�โดย มูลนธิ พิ ุทธโฆษณ์ (เวบ็ ไซต์ www.buddhakos.org)

มลู นธิ ิพทุ ธโฆษณ์ เลขที่ ๒๙/๓ หมทู่ ่ี ๗ ตำ�บลบึงทองหลาง อ�ำ เภอล�ำ ลูกกา จงั หวัดปทมุ ธานี ๑๒๑๕๐ โทรศัพท์ /โทรสาร ๐ ๒๕๔๙ ๒๑๗๕ เว็บไซต์ : www.buddhakos.org



ค�ำ อนุโมทนา ความปรากฏแห่งบุคคล  ๓  จำ�พวกน้ี  เป็นสิ่งที่ เกิดขึ้นได้ยากในโลก  กล่าวคือ  พระตถาคต  ผู้อรหันต- สัมมาสัมพุทธะ  ๑  บุคคลผู้แสดงธรรมวินัยที่พระตถาคต ประกาศแล้ว ๑  กตัญญกู ตเวทบี ุคคล ๑ การมีคำ�สอนของพระตถาคตปรากฏอย ู่ เป็นความ สุขของโลก  ผู้ท่ีปรารถนาในความสุข  พึงประพฤติธรรม สมควรแกธ่ รรม  เพอ่ื ใหต้ นเองเกดิ ความเจรญิ ทง้ั ทางโลกและ ทางธรรมควบคู่กันไป  หนังสือพุทธวจน  ฉบับ  “ฆราวาส ช้ันเลิศ”  น้ี  ได้รวบรวมธรรมะต่างๆ  เพ่ือการเข้าถึงฐานะ ดังกล่าวไว้แล้ว  เป็นผลให้ผู้ท่ียังต้องเก่ียวข้องด้วยเรือน สามารถปฏบิ ตั ิธรรมตามสมควรแกฐ่ านะของตนได้ ขออนุโมทนากับทุกคนท่ีช่วยกันเป็น  “สัตตบุรุษ ยิ่งกว่าสัตตบุรุษ”  ด้วยการสืบทอดกัลยาณวัตรขององค์ พระศาสดา  และด้วยเหตุแห่งกุศลนี้  ขอจงเป็นเหตุเป็น ปัจจัยให้ทุกคน  ได้เข้าถึงความเป็นผู้เท่ียงแท้ต่อนิพพาน  มีการตรัสรูธ้ รรมในอนาคตกาลอันใกลน้ ้เี ทอญ ขออนโุ มทนา ภกิ ขุคึกฤทธิ์ โสตถฺ ิผโล

อักษรย่อ เพ่ือความสะดวกแกผ่ ทู้ ่ียังไม่เขา้ ใจเรื่องอกั ษรยอ่ ท่ใี ชห้ มายแทนชื่อคัมภีร์ ซึง่ มอี ย่โู ดยมาก มหาวิ. ว.ิ มหาวภิ ังค ์ วนิ ัยปิฎก. ภิกฺขนุ ี. ว.ิ ภกิ ขนุ วี ภิ งั ค์ วินัยปฎิ ก. มหา. วิ. มหาวรรค วินัยปฎิ ก. จุลลฺ . วิ. จลุ วรรค วนิ ัยปิฎก. ปริวาร. ว.ิ ปริวารวรรค วนิ ัยปฎิ ก. สี. ท.ี สีลขนั ธวรรค ทฆี นกิ าย. มหา. ที. มหาวรรค ทฆี นกิ าย. ปา. ท.ี ปาฏิกวรรค ทฆี นกิ าย. ม.ู ม. มูลปณั ณาสก์ มชั ฌมิ นิกาย. ม. ม. มัชฌมิ ปัณณาสก์ มชั ฌมิ นกิ าย. อปุ ริ. ม. อุปริปัณณาสก์ มชั ฌมิ นิกาย. สคาถ. สํ. สคาถวรรค สังยุตตนกิ าย. นิทาน. สํ. นทิ านวรรค สงั ยตุ ตนกิ าย. ขนธฺ . ส.ํ ขันธวารวรรค สงั ยุตตนิกาย. สฬา. ส.ํ สฬายตนวรรค สังยุตตนิกาย. มหาวาร. สํ. มหาวารวรรค สังยตุ ตนกิ าย. เอก. อํ. เอกนบิ าต องั คุตตรนกิ าย. ทกุ . อํ. ทกุ นิบาต องั คตุ ตรนิกาย. ติก. อ.ํ ตกิ นบิ าต อังคตุ ตรนิกาย. จตุกกฺ . อํ. จตกุ กนิบาต องั คตุ ตรนิกาย.

ปญฺจก. อํ. ปัญจกนิบาต องั คตุ ตรนกิ าย. ฉกกฺ . อํ. ฉกั กนบิ าต องั คุตตรนิกาย. สตฺตก. อํ. สัตตกนบิ าต อังคตุ ตรนกิ าย อฏฺ ก. อํ. อัฏฐกนิบาต อังคุตตรนกิ าย. นวก. อํ. นวกนบิ าต องั คุตตรนิกาย. ทสก. อ.ํ ทสกนิบาต องั คุตตรนิกาย. เอกาทสก. อํ. เอกาทสกนิบาต อังคุตตรนิกาย. ข.ุ ขุ. ขุททกปาฐะ ขทุ ทกนิกาย. ธ. ข.ุ ธรรมบท ขทุ ทกนกิ าย. อ.ุ ข.ุ อทุ าน ขทุ ทกนกิ าย. อติ วิ .ุ ขุ. อิตวิ ุตตกะ ขทุ ทกนกิ าย. สุตฺต. ขุ. สุตตนบิ าต ขุททกนกิ าย. วิมาน. ข.ุ วมิ านวัตถุ ขุททกนิกาย. เปต. ขุ. เปตวัตถุ ขุททกนกิ าย. เถร. ข.ุ เถรคาถา ขุททกนิกาย. เถรี. ข.ุ เถรคี าถา ขทุ ทกนิกาย. ชา. ข.ุ ชาดก ขุททกนิกาย. มหานิ. ขุ. มหานทิ เทส ขุททกนกิ าย. จฬู น.ิ ขุ. จูฬนทิ เทส ขทุ ทกนิกาย. ปฏสิ มฺ. ขุ. ปฏสิ มั ภิทามรรค ขทุ ทกนิกาย. อปท. ข.ุ อปทาน ขุททกนกิ าย. พุทธฺ ว. ขุ. พทุ ธวงส์ ขทุ ทกนิกาย. จริยา. ขุ. จริยาปฎิ ก ขุททกนกิ าย ตัวอย่าง : ๑๔/๑๗๑/๒๔๕ ให้อ่านวา่ ไตรปฎิ กฉบบั สยามรัฐ เล่ม ๑๔ หน้า ๑๗๑ ขอ้ ท่ี ๒๔๕



คำ�นำ� หนังสือ  “พุทธวจน  ฉบับ  ฆราวาสช้ันเลิศ” ไดจ้ ดั ท�ำ ขน้ึ   ดว้ ยปรารภเหตทุ ว่ี า่   หลายคนยงั เหน็ ค�ำ สอน ของพระผมู้ พี ระภาคเจา้ วา่ เปน็ สง่ิ ทย่ี ากหรอื เปน็ สง่ิ ทไ่ี กลตวั เกนิ ไป ท�ำ ใหม้ นี อ้ ยคนนกั ทจ่ี ะหนั มาใสใ่ จศกึ ษาค�ำ สอนของ พระผมู้ ีพระภาคเจ้าอย่างจรงิ จงั   ทง้ั ๆ  ทพ่ี ระองคไ์ ดต้ รัส ไวแ้ ลว้ วา่ ค�ำ สอนทพ่ี ระองคต์ รสั สอนทง้ั หมดนน้ั บรสิ ทุ ธ์ิ บรบิ รู ณแ์ ลว้ สน้ิ เชงิ อกี ทง้ั ค�ำ สอนนน้ั ยงั เปน็ สง่ิ ทเ่ี รยี กวา่ “อกาลิโก”  คือใชไ้ ด้ไปตลอด  ไม่มีคำ�วา่ เก่าหรือล้าสมยั และใชไ้ ดก้ บั บคุ คลทกุ คน อนั จะเหน็ ไดจ้ ากในสมยั พทุ ธกาล ทพ่ี ทุ ธบรษิ ทั ๔ ทง้ั หลายนน้ั มคี นจากหลายชาตแิ ละวรรณะ นอกจากนพ้ี ระองคย์ งั ไดต้ รสั อกี วา่ บคุ คลทท่ี า่ นตรสั สอนนน้ั มตี ัง้ แต่ พรหม เทวดา ภิกษุ ภกิ ษณุ ี อุบาสก อุบาสกิ า ไปจนถึงปุถุชนคนธรรมดาท่วั ไป  และทุกคนน้นั   เม่อื นำ� ค�ำ สอนของพระองคไ์ ปปฏบิ ตั แิ ลว้ กส็ ามารถแกท้ กุ ขห์ รอื ดบั ทกุ ขใ์ หก้ บั ตนเองไดท้ ง้ั สน้ิ . คณะงานธมั มะ วดั นาป่าพง

สารบัญ ฆราวาสชน้ั เลศิ  1 วธิ ีตรวจสอบว่าเป็นค�ำ ของพระผู้มีพระภาคเจา้ หรือไม่ 3 1. ฆราวาสคบั แคบ เปน็ ทางมาแหง่ ธลุ ี 5 2. การด�ำ รงชพี ชอบโดยทศิ ๖ ของฆราวาส 7 3. การตอบแทนคณุ มารดาบดิ าอยา่ งสงู สดุ  17 4. ภยั ทแ่ี มล่ กู กช็ ว่ ยกนั ไมไ่ ด้ 19 5. สง่ิ ทท่ี กุ คนปรารถนาจะได้ 23 6. ความอยากเปน็ เหตแุ หง่ ความทกุ ข์ 29 7. ทกุ ขท์ เ่ี กดิ จากหน้ี 31 8. หลกั การด�ำ รงชพี เพอ่ื ประโยชนส์ ขุ ในวนั น้ี 37 9. เหตเุ จรญิ และเหตเุ สอ่ื ม แหง่ ทรพั ย์ ๔ ประการ 45 10. หลกั ด�ำ รงชพี เพอ่ื ประโยชนส์ ขุ ในเวลาถดั ตอ่ มา 50 11. ฆราวาสชน้ั เลศิ  54 12. นรกทร่ี า้ ยกาจของมนษุ ย์ 56 13. วาจาของสตั บรุ ษุ  61 14. วาจาของอสตั บรุ ษุ  64

15. วธิ ปี ฏบิ ตั ทิ างจติ เมอ่ื ถกู ตเิ ตยี นหรอื ถกู ท�ำ รา้ ยรา่ งกาย 67 16. การวางจติ เมอ่ื ถกู กลา่ วหา 70 17. วาจาของสะใภใ้ หม่ 74 18. วาจาทไ่ี มม่ โี ทษ 77 19. คบู่ พุ เพสนั นวิ าส 79 20. ภรรยา ๗ จ�ำ พวก 81 21. มนษุ ยผ์ ี 86 22. เขา้ ใจเรอ่ื งกรรม 91 เรอ่ื งควรทราบเกย่ี วกบั กรรม ทง้ั ๖ แงม่ มุ  95 23. กรรมเปรยี บดว้ ยกอ้ นเกลอื  99 24. กรรมทเ่ี ปน็ ไปเพอ่ื ความสน้ิ กรรม 103 25. วธิ ดี บั กรรม 104 26. วบิ ากกรรมอยา่ งเบาของหมสู่ ตั ว์ 107 27. ฉลาดในเรอ่ื งกรรม 110 28. วนิ จิ ฉยั กรรม 114 29. การบวชทไ่ี รป้ ระโยชน์ 117 30. สงั ฆทานดกี วา่  ! 121 31. หา้ มผอู้ น่ื ใหท้ าน ชอ่ื วา่ ไมใ่ ชม่ ติ ร 124 32. ผลแหง่ ทาน 130 33. ทาน ทจ่ี ดั วา่ เปน็ มหาทาน

34. เหตทุ ท่ี �ำ ใหเ้ ปน็ ผมู้ รี ปู งามมที รพั ยม์ ากและสงู ศกั ด์ิ  132 35. ผใู้ หโ้ ภชนะ 133 36. กลั ยณมติ ร คอื อรยิ มรรค 134 37. สงั สารวฏั ไมป่ รากฏทส่ี ดุ แกส่ ตั วผ์ มู้ อี วชิ ชา 137 38. น�ำ้ ตาทเ่ี ราไดร้ อ้ งไหม้ าแลว้ ทง้ั หมด 139 39. สขุ ทกุ ข์ ทเ่ี ราไดป้ ระสบมาแลว้ ทกุ ๆ รปู แบบ 141 40. ทร่ี กั ทเ่ี จรญิ ใจในโลก 143 41. ทางแหง่ ความสน้ิ ทกุ ข์ 145

หมายเหตผุ ูร้ วบรวม เน้อื หาของหนังสอื เลม่ น้ี บางส่วนไดป้ รับสำ�นวนต่าง จากฉบับหลวง โดยเทียบเคียงจากทุกสำ�นัก (ฉบับสยามรัฐ, ฉบับหลวง, ฉบับมหามงกุฏฯ, ฉบับมหาจุฬาฯ, ฉบับเฉลมิ พระเกยี รติ, ฉบบั สมาคมบาลปี กรณ์แห่งประเทศองั กฤษ) เพือ่ ใหส้ อดรับกบั บาลี และความเชอ่ื มโยงของพทุ ธวจนใหม้ ากที่สุด



ฆราวาสชั้นเลิศ



เปิดธรรมทีถ่ กู ปดิ : ฆราวาสช้ันเลิศ วธิ ีตรวจสอบว่า เปน็ ค�ำ ของพระผ้มู พี ระภาคเจา้ หรอื ไม่ ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ถาภิกษใุ นธรรมวินยั นี้ จะพงึ กลา วอยา งนี้วา ขาพเจาฟงมาแลว ไดรับมาแลวเฉพาะพระพักตร พระผมู ีพระภาคเจ้า วา นเ้ี ปน ธรรม นเ้ี ปนวนิ ัยน้ี เปน คาํ สอนของพระศาสดา ดังนี้ พวกเธออยาพึงรบั รอง อยาพงึ คัดคาน. เธอกําหนดเนื้อความนั้นใหดี แลวนําไปสอบสวนในสูตร นําไปเทยี บเคยี งในวนิ ยั ถาลงกนั ไมไ ด เทยี บเคยี งกนั ไมไ ด พึงแนใจวานั้นไมใชคําของพระผูมีพระภาคแนนอน ภิกษุรูปนั้นจํามาผิด พวกเธอพึงทิ้งคําเหลานั้นเสีย ถาลงกันได เทียบเคียงกันได พึงแนใจวา นั่นเปนคําของพระผูมีพระภาคเจาแนแลว ภิกษุรูปนั้นจํามาอยางดีแลว พวกเธอพึงรับเอาไว... ตรัสที่อานนั ทเจดยี , โภคนคร : มหาปรนิ ิพพานสูตร -บาลี มหา. ที. ๑๐/๑๔๔/๑๑๒. 3

การมธี รรม ของตถาคตอยูใ นโลก คอื ความสขุ ของโลก

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทีถ่ ูกปิด : ฆราวาสชั้นเลิศ ฆราวาสคับแคบ เป็นทางมาแห่งธุลี 01 -บาลี ม.ู ม. ๑๒/๔๘๗-๘/๔๕๔. ภิกษุท้ังหลาย !   ตถาคตเกิดข้ึนในโลกน้ี  เป็น พระอรหันต์ผู้ตรัสรู้ชอบด้วยตนเอง  สมบูรณ์ด้วยวิชชา และจรณะ ด�ำ เนนิ ไปดี รแู้ จง้ โลก เปน็ สารถฝี กึ คนทค่ี วรฝกึ ไมม่ ใี ครยง่ิ กวา่ เปน็ ครขู องเทวดาและมนษุ ย์ เปน็ ผเู้ บกิ บาน แล้วจำ�แนกธรรมออกสั่งสอนสัตว์. ภิกษทุ ้งั หลาย !   ตถาคตนน้ั ไดท้ �ำ ใหแ้ จง้ ซง่ึ โลกน้ี กบั ทัง้ เทวดา มาร พรหม ซ่ึงหมู่สัตว์ กับทง้ั สมณพราหมณ์ พร้อมท้ังเทวดาและมนุษย์ ดว้ ยปญั ญาอนั ยิง่ เอง แลว้ ประกาศใหผ้ ้อู ่ืนรแู้ จ้งตาม. ตถาคตนน้ั แสดงธรรมไพเราะ ในเบ้ืองตน้ ใน ทา่ มกลาง และในทส่ี ดุ ประกาศพรหมจรรย์ พรอ้ มทง้ั อรรถะ พร้อมทงั้ พยญั ชนะ บรสิ ุทธบิ์ รบิ รู ณส์ ิ้นเชิง. คหบดหี รอื บตุ รคหบดี หรอื คนทเ่ี กดิ ในตระกลู อน่ื ใด ในภายหลัง ยอ่ มฟังธรรมนนั้ . ครัน้ ฟงั แล้ว ยอ่ มเกิด ศรัทธาในตถาคต. กุลบุตรนน้ั ผู้ประกอบอยู่ด้วยศรทั ธา ย่อมพิจารณาเหน็ วา่ 5

พทุ ธวจน - หมวดธรรม “ฆราวาส คบั แคบ เปน็ ทางมาแห่งธุลี ส่วน บรรพชา เป็นโอกาสวา่ ง มนั ไมเ่ ปน็ ไปไดโ้ ดยงา่ ยทเ่ี ราผอู้ ยคู่ รองเรอื นเชน่ น้ี จะประพฤตพิ รหมจรรยน์ น้ั ใหบ้ รสิ ทุ ธบ์ิ รบิ รู ณโ์ ดยสว่ นเดยี ว เหมอื นสงั ขท์ เ่ี ขาขดั สะอาดดแี ลว้ . ถา้ กระไร เราพงึ ปลงผม และหนวด ครองผา้ ยอ้ มฝาด ออกจากเรือนไป บวชเป็น ผไู้ ม่มีเรอื นเถิด...” . 6

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ีถกู ปดิ : ฆราวาสช้ันเลิศ การดำ�รงชพี ชอบโดยทศิ ๖ 02 ของฆราวาส -บาลี ปา. ท.ี ๑๑/๑๙๕-๒๐๖/๑๗๔–๒๐๕. “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ !   ในอริยวินัย มีการนอบน้อม ทิศทั้งหกอย่างไร  พระเจ้าข้า !   พระองค์จงทรงแสดงธรรมที่ เป็นการนอบน้อมทิศทั้งหกในอริยวินัยเถิด”. คหบดบี ตุ ร !   เม่อื ใด อริยสาวกละเสียได้ซ่ึง กรรมกเิ ลส ๔ ประการ ไม่กระท�ำ กรรมอันเป็นบาปโดย ฐานะทัง้ สี่ และไมเ่ สพทางเส่ือม (อบายมขุ ) แห่งโภคะ ๖ ทาง เมอ่ื นน้ั เขาชอ่ื วา่ เปน็ ผปู้ ราศจากกรรมอนั เปน็ บาป รวม ๑๔ อยา่ ง เป็นผู้ปิดกัน้ ทิศทงั้ หกโดยเฉพาะแล้ว ดว้ ยอาการอยา่ งน้ี ชอ่ื วา่ เขาปฏบิ ตั แิ ลว้ เพอ่ื ชนะโลกทง้ั สอง ทง้ั โลกนแ้ี ละโลกอน่ื เปน็ อนั เขาปรารภกระท�ำ ครบถว้ นแลว้ (อารทฺโธ) เขาเข้าถึงสุคตโิ ลกสวรรค์ ภายหลงั แต่การตาย เพราะการท�ำ ลายแห่งกาย ดังนี้. กรรมกเิ ลส ๔ ประการ อนั อรยิ สาวกนน้ั ละเสยี ได้ แล้ว เปน็ อย่างไรเลา่  ? คหบดีบุตร !   ปาณาติบาต  เป็นกรรมกิเลส. อทินนาทาน  เป็นกรรมกิเลส.  กาเมสุมิจฉาจาร  เป็น 7

พทุ ธวจน - หมวดธรรม กรรมกิเลส.  มุสาวาท  เป็นกรรมกิเลส.  กรรมกิเลส  ๔ ประการเหลา่ นี ้ เป็นกรรมอันอริยสาวกน้ัน  ละขาดแล้ว. อรยิ สาวก ไมก่ ระท�ำ กรรมอนั เปน็ บาปโดยฐานะ ทัง้ ๔ เป็นอยา่ งไรเล่า ? ผถู้ งึ ซึง่ ฉนั ทาคติ (ล�ำ เอียงเพราะรกั ) ชื่อว่ากระท�ำ กรรมอันเป็นบาป ผถู้ ึงซ่งึ โทสาคติ (ลำ�เอยี งเพราะเกลยี ด) ช่อื วา่ กระทำ�กรรมอนั เปน็ บาป ผถู้ ึงซ่งึ โมหาคติ (ล�ำ เอียง เพราะโง่เขลา)  ชื่อว่ากระทำ�กรรมอันเป็นบาป  ผู้ถึงซ่ึง ภยาคต ิ (ล�ำ เอยี งเพราะกลวั )  ชอ่ื วา่ กระท�ำ กรรมอนั เปน็ บาป. คหบดีบุตร !   เม่ือใดอริยสาวก  ไม่ถึงซ่ึง ฉันทาคติ  ไม่ถึงซ่ึงโทสาคติ  ไม่ถึงซ่ึงโมหาคติ  ไม่ถึงซึ่ง ภยาคติ  เม่ือน้ัน  ชื่อว่าไม่กระทำ�กรรมอันเป็นบาปโดย ฐานะทง้ั ๔ เหลา่ นี้ ดังน้.ี อรยิ สาวก ไม่เสพทางเส่อื มแหง่ โภคะ ๖ ทาง เปน็ อยา่ งไรเลา่  ? คหบดีบุตร !   การตามประกอบในธรรมเป็น ท่ีต้ังแห่งความประมาทเนื่องด้วยของเมา  คอื สรุ าและ เมรยั เปน็ ทางเสอ่ื มแหง่ โภคะ การตามประกอบในการ 8

เปดิ ธรรมที่ถูกปดิ : ฆราวาสช้ันเลิศ เทย่ี วตามตรอกซอกในเวลาวกิ าล เปน็ ทางเสอ่ื มแหง่ โภคะ การเท่ียวไปในท่ีชุมนุมแห่งความเมา  (สมชฺชาภิจรณ) เป็นทางเส่ือมแห่งโภคะ  การตามประกอบในธรรมเปน็ ท่ีต้ังแห่งความประมาทคือการพนัน  เป็นทางเส่ือม แห่งโภคะ การตามประกอบในบาปมติ ร เป็นทางเสอื่ ม แหง่ โภคะ การตามประกอบในความเกียจครา้ น เป็น ทางเส่ือมแห่งโภคะ. คหบดีบุตร !   อริยสาวกเป็นผ้ปู กปิดทิศท้งั หก โดยเฉพาะแล้ว เป็นอย่างไรเล่า ? คหบดีบุตร !   พึงทราบว่า  ทิศท้ังหกเหล่านี้ มีอยู่ คือ พงึ ทราบว่า มารดาบดิ า เป็นปุรัตถิมทศิ (ทิศเบือ้ งหนา้ ) พึงทราบว่า อาจารย์ เป็นทักขิณทิศ (ทิศเบื้องขวา) พึงทราบว่า บตุ รภรรยา เป็นปจั ฉมิ ทศิ (ทิศเบอ้ื งหลงั ) พึงทราบวา่ มิตรสหาย เปน็ อุตตรทิศ (ทิศเบื้องซ้าย) พึงทราบวา่ ทาสกรรมกร เปน็ เหฏฐมิ ทศิ (ทศิ เบ้อื งต�ำ่ ) พงึ ทราบวา่ สมณพราหมณ์เปน็ อปุ รมิ ทศิ (ทิศเบ้ืองบน). 9

พทุ ธวจน - หมวดธรรม หนา้ ทีท่ พ่ี งึ ปฏิบัตติ อ่ ทศิ เบอื้ งหนา้ คหบดบี ตุ ร !   ทิศเบื้องหน้า คือ มารดาบิดา อนั บตุ รพงึ ปฏบิ ตั ติ อ่ โดยฐานะ ๕ ประการ คอื (๑)  ทา่ นเล้ยี งเราแล้ว  เราจักเล้ียงท่าน (๒)  เราจักท�ำ กิจของท่าน (๓)  เราจกั ด�ำ รงวงศส์ กุล (๔)  เราจกั ปฏบิ ัติตนเปน็ ทายาท (๕)  เมอ่ื ทา่ นท�ำ กาละลว่ งลบั ไปแลว้ เราจกั กระท�ำ ทกั ษิณาอทุ ศิ ทา่ น คหบดบี ุตร !   ทิศเบือ้ งหนา้ คือ มารดาบดิ า อันบุตรปฏิบัติต่อโดยฐานะ  ๕  ประการ  เหล่าน้ีแล้ว ยอ่ มอนเุ คราะหบ์ ุตรโดยฐานะ ๕ ประการ คือ (๑)  หา้ มเสียจากบาป (๒)  ใหต้ ง้ั อย่ใู นความดี (๓)  ให้ศกึ ษาศิลปะ (๔)  ให้มคี ่คู รองที่สมควร (๕)  มอบมรดกใหต้ ามเวลา เมอ่ื เปน็ ดงั น้ี ทศิ เบอ้ื งหนา้ นน้ั เปน็ อนั วา่ กลุ บตุ รนน้ั ปดิ ก้ันแล้ว เป็นทศิ เกษม ไม่มภี ยั เกิดขึ้น. 10

เปิดธรรมที่ถูกปดิ : ฆราวาสชั้นเลิศ หน้าท่ที ่ีพึงปฏบิ ตั ิตอ่ ทิศเบอ้ื งขวา คหบดีบุตร !   ทิศเบ้ืองขวา  คือ  อาจารย์ อันศิษย์พงึ ปฏบิ ัติต่อโดยฐานะ ๕ ประการ คอื (๑)  ดว้ ยการลุกขึ้นยนื รับ (๒)  ด้วยการเขา้ ไปยนื คอยรบั ใช้ (๓)  ดว้ ยการเชอ่ื ฟงั อยา่ งย่งิ (๔)  ดว้ ยการปรนนบิ ตั ิ (๕)  ดว้ ยการศกึ ษาศลิ ปวิทยาโดยเคารพ คหบดีบุตร !   ทิศเบื้องขวา  คือ  อาจารย์ อันศิษย์ปฏิบัติต่อโดยฐานะ  ๕  ประการ  เหล่าน้ีแล้ว ย่อมอนุเคราะห์ศิษยโ์ ดยฐานะ ๕ ประการ คือ (๑)  แนะนำ�ดี (๒)  ใหศ้ ึกษาดี (๓)  บอกศิลปวิทยาสิ้นเชงิ (๔)  ทำ�ให้เปน็ ท่รี ้จู ักในมิตรสหาย (๕)  ท�ำ การคมุ้ ครองใหใ้ นทศิ ทัง้ ปวง เมอ่ื เปน็ ดงั น้ี ทศิ เบอ้ื งขวานน้ั เปน็ อนั วา่ กลุ บตุ รนน้ั ปดิ ก้นั แล้ว เปน็ ทศิ เกษม ไม่มีภยั เกดิ ขึน้ . 11

พทุ ธวจน - หมวดธรรม หน้าที่ทพ่ี งึ ปฏิบัติต่อทิศเบื้องหลงั คหบดีบุตร !   ทิศเบื้องหลัง  คือ  ภรรยา อนั สามพี งึ ปฏบิ ตั ติ อ่ โดยฐานะ ๕ ประการ คือ (๑)  ดว้ ยการยกยอ่ ง (๒)  ดว้ ยการไม่ดหู มน่ิ (๓)  ด้วยการไม่ประพฤตินอกใจ (๔)  ดว้ ยการมอบความเป็นใหญ่ในหนา้ ทใี่ ห้ (๕)  ด้วยการให้เครอ่ื งประดบั คหบดีบุตร !   ทิศเบื้องหลัง  คือ  ภรรยา อันสามีปฏิบัติต่อโดยฐานะ  ๕  ประการ  เหล่านี้แล้ว ย่อมอนเุ คราะหส์ ามีโดยฐานะ ๕ ประการ คอื (๑)  จัดแจงการงานดี (๒)  สงเคราะห์คนข้างเคียงดี (๓)  ไมป่ ระพฤตนิ อกใจ (๔)  ตามรักษาทรัพย์ท่มี อี ยู่ (๕)  ขยนั ขันแข็งในการงานทัง้ ปวง เมอ่ื เปน็ ดงั น้ี ทศิ เบอ้ื งหลงั นน้ั เปน็ อนั วา่ กลุ บตุ รนน้ั ปดิ กั้นแล้ว เปน็ ทิศเกษม ไม่มีภยั เกิดข้ึน. 12

เปดิ ธรรมท่ถี กู ปิด : ฆราวาสชั้นเลิศ หนา้ ที่ท่ีพงึ ปฏบิ ตั ติ ่อทศิ เบอ้ื งซา้ ย คหบดีบตุ ร !   ทิศเบื้องซ้าย คือ มิตรสหาย อนั กลุ บุตรพงึ ปฏบิ ตั ิตอ่ โดยฐานะ ๕ ประการ คอื (๑)  ดว้ ยการให้ปัน (๒)  ดว้ ยการพูดจาไพเราะ (๓)  ด้วยการประพฤตปิ ระโยชน์ (๔)  ดว้ ยการวางตนเสมอกนั (๕)  ดว้ ยการไมก่ ลา่ วค�ำ อนั เปน็ เครอ่ื งใหแ้ ตกกนั คหบดีบุตร !   ทิศเบื้องซ้าย คือ มิตรสหาย อันกุลบุตรปฏิบัติตอ่ โดยฐานะ ๕ ประการ เหลา่ นี้แล้ว ยอ่ มอนุเคราะหก์ ลุ บตุ รโดยฐานะ ๕ ประการ คือ (๑)  รักษามิตรผู้ประมาทแล้ว (๒)  รักษาทรพั ย์ของมติ รผู้ประมาทแลว้ (๓)  เป็นท่พี ่ึงแก่มติ รเมือ่ มีภยั (๔)  ไมท่ อดท้งิ ในยามมอี นั ตราย (๕)  นบั ถือสมาชิกในวงศ์ของมติ ร เมอ่ื เปน็ ดงั น้ี ทศิ เบอ้ื งซา้ ยนน้ั เปน็ อนั วา่ กลุ บตุ รนน้ั ปดิ กนั้ แล้ว เปน็ ทิศเกษม ไม่มภี ยั เกิดขน้ึ . 13

พทุ ธวจน - หมวดธรรม หน้าทีท่ พี่ งึ ปฏบิ ตั ติ อ่ ทศิ เบอ้ื งต�่ำ คหบดบี ตุ ร !   ทิศเบื้องต่ำ� คือ ทาสกรรมกร อนั นายพึงปฏิบตั ิตอ่ โดยฐานะ ๕ ประการ คือ (๑)  ดว้ ยให้ทำ�การงานตามก�ำ ลัง (๒)  ดว้ ยการใหอ้ าหารและรางวัล (๓)  ด้วยการรกั ษาพยาบาลยามเจ็บไข้ (๔)  ด้วยการแบ่งของมรี สประหลาดให้ (๕)  ด้วยการปล่อยให้อิสระตามสมยั คหบดีบตุ ร !   ทิศเบื้องต่ำ� คือ ทาสกรรมกร อันนายปฏิบัติต่อโดยฐานะ  ๕  ประการ  เหล่าน้ีแล้ว ย่อมอนุเคราะหน์ ายโดยฐานะ ๕ ประการ คอื (๑)  เป็นผลู้ ุกขึน้ ทำ�งานกอ่ นนาย (๒)  เลกิ งานทหี ลังนาย (๓)  ถือเอาแต่ของที่นายให้ (๔)  กระทำ�การงานให้ดีท่สี ดุ (๕)  น�ำ เกียรติคณุ ของนายไปรำ�่ ลือ เมอ่ื เปน็ ดงั น้ี ทศิ เบอ้ื งต�ำ่ นน้ั เปน็ อนั วา่ กลุ บตุ รนน้ั ปดิ ก้นั แล้ว เป็นทิศเกษม ไม่มีภยั เกิดข้นึ . 14

เปิดธรรมทีถ่ ูกปิด : ฆราวาสชั้นเลิศ หนา้ ทีท่ ี่พึงปฏบิ ัตติ ่อทิศเบอื้ งบน คหบดีบุตร !   ทศิ เบอ้ื งบน คอื สมณพราหมณ์ อันกุลบตุ รพึงปฏิบัติตอ่ โดยฐานะ ๕ ประการ คอื (๑)  ดว้ ยเมตตากายกรรม (๒)  ด้วยเมตตาวจกี รรม (๓)  ดว้ ยเมตตามโนกรรม (๔)  ด้วยการไม่ปดิ ประตู (คือยนิ ดีต้อนรบั ) (๕)  ด้วยการคอยถวายอามิสทาน คหบดบี ตุ ร !   ทศิ เบอ้ื งบน คอื สมณพราหมณ์ อันกุลบุตรปฏิบัติต่อโดยฐานะ  ๕  ประการ  เหล่านี้แล้ว ย่อมอนุเคราะห์กุลบตุ รโดยฐานะ ๖ ประการ คอื (๑)  หา้ มเสยี จากบาป (๒)  ให้ตัง้ อยใู่ นความดี (๓)  อนเุ คราะห์ด้วยใจอนั งดงาม (๔)  ใหฟ้ งั ในสงิ่ ทไ่ี ม่เคยฟัง (๕)  ท�ำ ส่ิงท่ไี ดฟ้ งั แลว้ ใหแ้ จ่มแจง้ ถงึ ที่สุด (๖)  บอกทางสวรรคใ์ ห้ เมอ่ื เปน็ ดงั น้ี ทศิ เบอ้ื งบนนน้ั เปน็ อนั วา่ กลุ บตุ รนน้ั ปดิ กนั้ แลว้ เปน็ ทิศเกษม ไม่มภี ัยเกดิ ขึ้น. 15

ความไมม โี รค เปนลาภอยา งย่ิง ความสนั โดษ เปน ทรพั ยอยา งย่งิ ความคุนเคยกนั เปนญาติอยา งย่ิง นพิ พาน เปนสุขอยางยิ่ง -บาลี ธ. ข.ุ ๒๕/๔๒/๒๕.

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ีถูกปดิ : ฆราวาสช้ันเลิศ การตอบแทนคณุ มารดาบดิ า 03 อยา่ งสูงสดุ -บาลี ทกุ . อ.ํ ๒๐/๗๘/๒๗๘. ภิกษุท้ังหลาย !   เรากล่าวการกระท�ำตอบแทน ไม่ได้ง่ายแก่ท่านทั้งสอง. ท่านทั้งสอง คือใคร ? คอื ๑ มารดา  ๒ บดิ า ภิกษุทั้งหลาย !   บตุ รพงึ ประคบั ประคองมารดา ดว้ ยบา่ ขา้ งหนง่ึ พงึ ประคบั ประคองบดิ าดว้ ยบา่ ขา้ งหนง่ึ เขามอี ายุ มชี วี ติ อยตู่ ลอดรอ้ ยปี และเขาพงึ ปฏบิ ตั ทิ า่ นทง้ั สอง นน้ั ด้วยการอบกล่ิน การนวด การให้อาบนำ้� และการดดั และทา่ นทง้ั สองนน้ั พงึ ถา่ ยอจุ จาระปสั สาวะบนบา่ ทง้ั สอง ของเขานน่ั แหละ. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !   การกระท�ำ อยา่ งนน้ั ยังไม่ชื่อว่าอันบุตรทำ�แล้ว  หรือทำ�ตอบแทนแล้ว แก่มารดาบดิ าเลย. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !   อนึง่ บุตรพึงสถาปนามารดา บิดาในราชสมบตั ิ อนั เป็นอสิ ราธปิ ตั ย์ ในแผ่นดนิ ใหญ่ อนั มรี ตนะ ๗ ประการมากหลายน้ี การกระท�ำ อย่างนั้น  ยังไม่ชื่อว่าอันบุตรทำ�แล้ว  หรือทำ�ตอบแทนแล้ว แกม่ ารดาบดิ าเลย ข้อนนั้ เพราะเหตุไร ? 17

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เพราะมารดาบิดามีอุปการะมาก  บำ�รุงเลี้ยง แสดงโลกนี้แกบ่ ตุ รทั้งหลาย ส่วนบุตรคนใดยังมารดาบิดาผู้ไม่มีศรัทธา ใหส้ มาทานตง้ั มั่นในสัทธาสมั ปทา (ความถงึ พร้อมดว้ ย ศรัทธา) ยังมารดาบิดาผู้ทุศีล  ให้สมาทานต้ังม่ันใน สลี สมั ปทา (ความถงึ พร้อมด้วยศีล) ยังมารดาบิดาผู้มีความตระหน่ี  ให้สมาทาน ตงั้ มัน่ ในจาคสัมปทา (ความถงึ พร้อมด้วยการบริจาค) ยงั มารดาบิดาทรามปญั ญา ให้สมาทานตงั้ ม่นั ในปัญญาสัมปทา (ความถงึ พรอ้ มดว้ ยปญั ญา) ภิกษุทั้งหลาย !   ด้วยเหตุมีประมาณเท่านี้แล การกระท�ำ อยา่ งน้ัน ยอ่ มชอ่ื ว่าอันบุตรน้นั ท�ำ แล้วและ ทำ�ตอบแทนแลว้ แกม่ ารดาบิดา. 18

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถ่ี กู ปิด : ฆราวาสช้ันเลิศ ภัยทแี่ ม่ลกู ก็ชว่ ยกันไมไ่ ด้ 04 -บาลี ตกิ . อ.ํ ๒๐/๒๒๘-๒๓๑/๕๐๒. ภิกษุท้ังหลาย !   ปุถุชนผู้ไม่มีการสดับ  ย่อม กล่าวภัยท่มี ารดาและบตุ รช่วยกันไมไ่ ด้ (อมาตาปตุ ฺตกิ ภย) วา่ มีอยู่ ๓ อยา่ ง  ๓ อย่างคือ มสี มยั ทไ่ี ฟไหมใ้ หญต่ ง้ั ขน้ึ ไหมห้ มบู่ า้ น ไหมน้ คิ ม ไหมน้ คร. ในสมยั นน้ั มารดาไมไ่ ดบ้ ตุ ร (เปน็ ผชู้ ว่ ยเหลอื อะไรได)้ บตุ รกไ็ ม่ได้มารดา (เปน็ ผู้ชว่ ยเหลืออะไรได้). ภิกษุท้ังหลาย !   ปุถุชนผู้ไม่มีการสดับ  ย่อม เรยี กภยั นว้ี ่าเปน็ อมาตาปุตติกภัย อยา่ งทหี่ นึง่ . ภิกษุท้ังหลาย !   ข้ออ่ืนยังมีอีก  คือมีสมัยที่ มหาเมฆตง้ั ขน้ึ เกดิ น�ำ้ ทว่ มใหญ่ พดั พาไปทง้ั หมบู่ า้ น ทง้ั นคิ ม ทง้ั นคร. ในสมยั นน้ั มารดาไมไ่ ดบ้ ตุ ร (เปน็ ผชู้ ว่ ยเหลอื อะไรได)้ บตุ รกไ็ ม่ได้มารดา (เปน็ ผชู้ ว่ ยเหลอื อะไรได)้ . ภิกษุท้ังหลาย !   ปุถุชนผู้ไม่มีการสดับ  ย่อม เรียกภยั น้ีว่าเปน็ อมาตาปุตติกภัย อย่างที่สอง. 19

พทุ ธวจน - หมวดธรรม ภิกษุทง้ั หลาย !   ข้ออ่ืนยังมีอกี คือมีสมัยทีม่ ีภัย คือการก�ำ เรบิ (กบฏ) มาจากปา่ ประชาชนข้นึ ยานมลี ้อ หนีกระจัดกระจายไป.  เม่ือภัยอย่างนี้เกิดขึ้น  สมัยนั้น มารดาไม่ได้บุตร  (เป็นผู้ช่วยเหลืออะไรได้)  บุตรก็ไม่ได้ มารดา (เป็นผ้ชู ว่ ยเหลืออะไรได)้ . ภิกษุท้ังหลาย !   ปุถุชนผู้ไม่มีการสดับ  ย่อม เรียกภัยนีว้ ่าเปน็ อมาตาปุตตกิ ภยั อยา่ งท่ีสาม. ภกิ ษทุ งั้ หลาย !   ปถุ ชุ นผไู้ มม่ กี ารสดบั ยอ่ มกลา่ ว ภยั ทม่ี ารดาและบตุ รชว่ ยกนั ไมไ่ ด้ วา่ มอี ยู่ ๓ อยา่ ง เหลา่ น.้ี ภิกษุท้ังหลาย !   ปุถุชนผู้ไม่มีการสดับ  กล่าว สมาตาปตุ ตกิ ภัย (ภยั ท่ีมารดาและบุตรชว่ ยกนั ได้) แท้ๆ ๓ อยา่ งนีว้ ่าเปน็ อมาตาปุตตกิ ภยั (ภยั ท่มี ารดาและบตุ ร ช่วยกนั ไม่ได้) ไปเสีย. ภกิ ษทุ ั้งหลาย !   ภัย ๓ อย่าง ทมี่ ารดาและบุตร ชว่ ยกนั ไดน้ ้ัน เป็นอยา่ งไรเลา่  ? สามอยา่ ง คือ สมยั ท่ีไฟไหม้ใหญ่ เป็นอยา่ งหน่ึง สมัยท่ีน้ำ�ท่วมใหญ่  เป็นอย่างที่สอง  สมัยท่ีหนีโจรขบถ 20

เปิดธรรมทีถ่ กู ปิด : ฆราวาสชั้นเลิศ เป็นอย่างท่ีสาม  เหล่าน้ีบางคราวมารดาและบุตรก็ช่วย กันและกันได้ แตป่ ุถุชนผู้ไม่มีการสดับมากล่าวว่าเป็นภัย ทมี่ ารดาและบุตรก็ช่วยกันไม่ไดไ้ ปเสยี ท้ังหมด. ภิกษุทั้งหลาย !   ภัยท่ีมารดาและบุตรช่วยกัน ไมไ่ ด้ (โดยแทจ้ รงิ ) ๓ อย่างเหล่านี้ มีอยสู่ ามอยา่ ง คือ ภัยเกดิ จากความแก่ (ชราภยํ) ภยั เกิดจากความเจ็บไข้ (พฺยาธิภยํ) ภยั เกดิ จากความตาย (มรณภยํ). ภิกษุทั้งหลาย !   มารดาไม่ได้ตามปรารถนากับ บตุ รผู้แก่อยอู่ ย่างน้วี า่ เราแก่เองเถดิ บตุ รของเราอยา่ แก่ เลย  หรือบุตรก็ไม่ได้ตามปรารถนากะมารดาผู้แก่อยู่ อย่างนี้วา่   เราแกเ่ องเถิด  มารดาอย่าแกเ่ ลย ดงั น้.ี มารดาก็ไมไ่ ด้ตามปรารถนาว่า เราเจบ็ ไขเ้ องเถดิ บุตรของเราอยา่ เจบ็ ไขเ้ ลย หรือบุตรก็ไมไ่ ดต้ ามปรารถนา วา่   เราเจบ็ ไขเ้ องเถดิ   มารดาของเราอยา่ เจบ็ ไขเ้ ลย ดงั น.้ี มารดาก็ไม่ได้ตามปรารถนาว่า  เราตายเองเถิด บุตรของเราอย่าตายเลย หรอื บตุ รกไ็ มไ่ ด้ตามปรารถนา ว่า  เราตายเองเถดิ   มารดาของเราอย่าตายเลย ดังน้.ี 21

พทุ ธวจน - หมวดธรรม ภิกษุท้ังหลาย !   เหล่าน้ีแล  เป็นภัยที่มารดา และบตุ รช่วยกนั ไมไ่ ด้ ๓ อยา่ ง. ภิกษทุ ั้งหลาย !   หนทางมอี ยู่ ปฏปิ ทามอี ยู่ ยอ่ ม เปน็ ไปเพอ่ื เลกิ ละ กา้ วลว่ งเสยี ซง่ึ ภยั ทง้ั ทเ่ี ปน็ สมาตาปตุ ตกิ ภยั และอมาตาปตุ ติกภยั อย่างละสามๆ เหล่าน้ัน. ภิกษุท้ังหลาย !   หนทางหรือปฏิปทาน้ัน  เป็น อยา่ งไรเลา่  ? นน่ั คอื อรยิ อฏั ฐงั คกิ มรรค (อรยิ มรรคมอี งค์ ๘) น่ันเอง ไดแ้ ก่ สัมมาทิฏฐิ (เหน็ ชอบ)  สมั มาสงั กัปปะ (ดำ�ริชอบ)  สัมมาวาจา  (เจรจาชอบ)  สัมมากัมมันตะ (ท�ำ การงานชอบ) สมั มาอาชวี ะ (เลย้ี งชพี ชอบ) สมั มาวายามะ (เพยี รชอบ) สมั มาสติ (ระลกึ ชอบ) สมั มาสมาธิ (ตง้ั จติ มน่ั ชอบ). ภิกษุทั้งหลาย !   น้ีแหละหนทาง  น้ีแหละ ปฏปิ ทา เป็นไปเพ่ือเลิกละ กา้ วล่วงเสีย ซ่ึงภยั ทัง้ ทเ่ี ปน็ สมาตาปตุ ติกภัย และอมาตาปตุ ติกภยั อย่างละสามๆ เหล่านนั้ . 22

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถี่ กู ปดิ : ฆราวาสชั้นเลิศ ส่งิ ท่ีทุกคนปรารถนาจะได้ 05 -บาลี จตุกกฺ . อ.ํ ๒๑/๘๕/๖๑. คหบด ี !   ธรรม ๔ ประการนี้ น่าปรารถนา นา่ รกั ใคร่ น่าพอใจ หาได้ยากในโลก. ธรรม ๔ ประการ เป็นอยา่ งไรเลา่  ? คือ ขอโภคทรัพย์จงเกิดขึ้นแก่เราโดยทางธรรมนี้ เป็นธรรม  ประการที่  ๑  อันน่าปรารถนา น่ารักใคร ่ น่าพอใจ  หาได้ยากในโลก. เราได้โภคทรัพย์ทั้งหลายโดยทางธรรมแล้ว  ขอยศจงเฟื่องฟูแก่เราพร้อมด้วยญาติและมติ รสหาย  นี้เป็นธรรม  ประการที่  ๒  อันน่าปรารถนา  น่ารักใคร่ นา่ พอใจ หาได้ยากในโลก. เราได้โภคทรัพย์ทั้งหลายโดยทางธรรมแล้ว  ได้ ยศพร้อมด้วยญาติและมิตรสหายแล้ว  ขอเราจงเป็น อยนู่ าน  จงรกั ษาอายใุ หย้ ง่ั ยนื   นเ้ี ปน็ ธรรม  ประการท ่ี ๓  อันน่าปรารถนา  น่ารกั ใคร ่ น่าพอใจ  หาไดย้ ากในโลก. 23

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เราได้โภคทรัพย์ท้งั หลายโดยทางธรรมแล้วได้ยศ พรอ้ มดว้ ยญาตแิ ละมติ รสหายแลว้ เป็นอย่นู านรักษาอายใุ ห้ ยั่งยืนแลว้ เมอ่ื ตายแลว้ ขอเราจงเขา้ ถงึ สคุ ตโิ ลกสวรรค์ นเ้ี ปน็ ธรรม ประการท่ี ๔ อนั นา่ ปรารถนา นา่ รกั ใคร่ นา่ พอใจ หาไดย้ ากในโลก. คหบด ี !   ธรรม ๔ ประการนี้แล น่าปรารถนา นา่ รักใคร่ นา่ พอใจ หาได้ยากในโลก. คหบดี !   ธรรม  ๔  ประการนี้  ย่อมเป็นไป เพื่อให้ได้ธรรม ๔ ประการ อันน่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ หาได้ยากในโลก ธรรม ๔ ประการ เป็น อย่างไรเล่า ? คือ (๑)  สัทธาสัมปทา (ความถึงพรอ้ มด้วยศรทั ธา) (๒)  สีลสมั ปทา (ความถงึ พร้อมดว้ ยศลี ) (๓)  จาคสัมปทา (ความถงึ พรอ้ มดว้ ยการบรจิ าค) (๔)  ปญั ญาสมั ปทา (ความถึงพรอ้ มด้วยปัญญา). 24

เปดิ ธรรมทถ่ี ูกปิด : ฆราวาสช้ันเลิศ คหบด ี !   ก็ สัทธาสัมปทาเปน็ อยา่ งไรเล่า ? อริยสาวกในธรรมวินัยน้ี  ย่อมเป็นผู้มีศรัทธา เชื่อปัญญาตรัสรู้ของตถาคตว่า  “เพราะเหตุอย่างนี้ๆ  พระผู้มพี ระภาคเจ้าน้ัน เปน็ ผไู้ กลจากกิเลส เปน็ ผตู้ รสั รู้ ชอบไดโ้ ดยพระองคเ์ อง เปน็ ผถู้ งึ พรอ้ มดว้ ยวชิ ชาและจรณะ เปน็ ผไู้ ปแลว้ ดว้ ยดี เปน็ ผรู้ โู้ ลกอยา่ งแจม่ แจง้ เปน็ ผสู้ ามารถ ฝึกบุรษุ ที่สมควรฝกึ ได้อย่างไมม่ ใี ครยง่ิ กว่า เปน็ ครูผู้สอน ของเทวดาและมนษุ ย์ทั้งหลาย เป็นผูร้ ู้ ผตู้ ืน่ ผเู้ บิกบาน ดว้ ยธรรม เปน็ ผมู้ คี วามจ�ำ เรญิ จ�ำ แนกธรรมสง่ั สอนสตั ว”์ . คหบด ี !   นเ้ี รียกว่า สัทธาสมั ปทา. คหบดี !   ก็ สลี สัมปทา เปน็ อยา่ งไรเล่า ? อริยสาวกในธรรมวินัยนี้  เป็นผู้เว้นขาดจาก ปาณาตบิ าต  เปน็ ผเู้ วน้ ขาดจากอทนิ นาทาน  เปน็ ผเู้ วน้ ขาด จากกาเมสุมิจฉาจาร  เป็นผู้เว้นขาดจากมุสาวาท  เป็น ผู้เว้นขาดจากการดื่มน้ำ�เมา คือ สุราและเมรัย อันเป็น ท่ตี งั้ แหง่ ความประมาท. น้ีเรียกว่า สลี สัมปทา. 25

พทุ ธวจน - หมวดธรรม คหบดี !   ก็ จาคสัมปทา เป็นอย่างไรเลา่  ? อรยิ สาวกในธรรมวนิ ยั น้ี มใี จปราศจากมลทนิ คอื ความตระหน่ี มกี ารบรจิ าคอนั ปลอ่ ยอยเู่ ปน็ ประจ�ำ มฝี า่ มอื อนั ชมุ่ ยนิ ดใี นการสละ เปน็ ผคู้ วรแกก่ ารขอ ยนิ ดใี นการให้ และการแบง่ ปัน. นี้เรยี กว่า จาคสมั ปทา. คหบดี !   ก็ ปัญญาสมั ปทา เปน็ อยา่ งไรเล่า ? บคุ คลมีใจอนั ความโลภอยา่ งแรงกลา้ คอื อภชิ ฌา ครอบงำ�แล้ว  ย่อมทำ�กิจท่ีไม่ควรทำ�  ละเลยกิจท่ีควรทำ� เมื่อทำ�กิจท่ีไม่ควรทำ�และละเลยกิจท่ีควรทำ�เสีย  ย่อม เสื่อมจากยศและความสุข  บุคคลมีใจอันพยาบาท  ถีนมิทธะ  อุทธัจจกุกกุจจะ  อันวิจิกิจฉาครอบงำ�แล้ว ย่อมท�ำ กจิ ทีไ่ มค่ วรทำ� ละเลยกจิ ทคี่ วรทำ� เม่อื ท�ำ กจิ ที่ไม่ ควรทำ�และละเลยกิจท่ีควรทำ�เสีย  ย่อมเสื่อมจากยศและ ความสุข. คหบดี !   อรยิ สาวกนน้ั แลรวู้ า่ อภชิ ฌาวสิ มโลภะ (ความโลภอยา่ งแรงกลา้ ) เปน็ อปุ กเิ ลส (โทษเครอ่ื งเศรา้ หมอง) แห่งจติ ย่อมละอภชิ ฌาวสิ มโลภะอนั เปน็ อุปกิเลสแห่งจติ 26

เปดิ ธรรมท่ีถกู ปดิ : ฆราวาสชั้นเลิศ เสยี ได้ รวู้ า่ พยาบาท (คดิ รา้ ย) ถนี มทิ ธะ (ความหดหซู่ มึ เซา) อทุ ธจั จกกุ กจุ จะ (ความฟงุ้ ซา่ นร�ำ คาญ) วจิ กิ จิ ฉา (ความลงั เลสงสยั ) เปน็ อปุ กเิ ลสแหง่ จติ ยอ่ มละเสยี ซง่ึ สง่ิ ทเ่ี ปน็ อปุ กเิ ลสแหง่ จติ เหล่าน้ัน . คหบดี !   เม่อื ใดอริยสาวกร้วู ่าอภิชฌาวิสมโลภะ เป็นอุปกิเลสแห่งจิตดังน้ีแล้ว  เม่ือนั้นย่อมละเสียได้ เมอื่ ใดอรยิ สาวกรูว้ ่าพยาบาท ถีนมิทธะ อุทธัจจกกุ กุจจะ วจิ ิกิจฉา เป็นอุปกิเลสแห่งจิตดังนี้แล้ว เมื่อนั้นย่อมละ สง่ิ เหลา่ นน้ั เสยี ได้ อรยิ สาวกนเ้ี ราเรยี กวา่ เปน็ ผมู้ ปี ญั ญามาก มปี ญั ญาหนาแนน่ เปน็ ผเู้ หน็ ทาง เปน็ ผถู้ งึ พรอ้ มดว้ ยปญั ญา. นเ้ี รยี กวา่ ปัญญาสัมปทา. คหบดี !   ธรรม  ๔  ประการเหล่านี้แล  ย่อม เป็นไปเพื่อให้ได้ธรรม ๔ ประการ อันน่าปรารถนา นา่ รักใคร ่ นา่ พอใจ หาได้ยากในโลก. 27

“กามทง้ั หลาย ใหเ กิดความยินดนี อ ย มีทกุ ขมาก  มคี วามคับแคนมาก โทษในเพราะกามนัน้   มเี ปน อยา งยิง่ ” -บาลี ม.ู ม. ๑๒/๑๘๐/๒๑๑.

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ถี ูกปดิ : ฆราวาสช้ันเลิศ ความอยากเปน็ เหตแุ ห่งความทกุ ข์ 06 -บาลี นวก. อ.ํ ๒๓/๔๑๓/๒๒๗., (-บาลี มหา. ที. ๑๐/๖๙/๕๙). ภิกษุทั้งหลาย !   เราจักแสดงธรรม (สิง่ ) ทม่ี ีตัณหาเป็นมูล ๙ อย่าง. ๙ อยา่ ง อย่างไรเลา่  ?  ๙ อย่าง คือ เพราะอาศัยตัณหา จงึ มี การแสวงหา (ปรเิ ยสนา) เพราะอาศยั การแสวงหา จงึ มี การได้ (ลาโภ) เพราะอาศัยการได้ จงึ มี ความปลงใจรกั (วนิ จิ ฺฉโย) เพราะอาศยั ความปลงใจรัก  จึงม ี ความก�ำ หนดั ด้วยความพอใจ (ฉนทฺ ราโค) เพราะอาศยั ความก�ำ หนดั ดว้ ยความพอใจ  จงึ มคี วามสยบมวั เมา (อชโฺ ฌสานํ) เพราะอาศยั ความสยบมัวเมา  จงึ ม ี ความจับอกจับใจ (ปริคฺคโห) เพราะอาศัยความจับอกจบั ใจ  29

พทุ ธวจน - หมวดธรรม จึงม ี ความตระหน่ี (มจฉฺ ริย)ํ เพราะอาศัยความตระหน่ ี จึงม ี การหวงกัน้ (อารกโฺ ข) เพราะอาศัยการหวงกน้ั   จงึ ม ี เร่อื งราวอนั เกิดจากการหวงกั้น (อารกขฺ าธกิ รณํ) กลา่ วคือ การใชอ้ าวุธไม่มคี ม  การใช้อาวุธมคี ม  การทะเลาะ  การแก่งแยง่   การวิวาท  การกลา่ วคำ�หยาบว่า “มงึ  !   มงึ  !” การพดู ค�ำ สอ่ เสียด และ การพูดเทจ็ ทัง้ หลาย ธรรมอนั เปน็ บาปอกศุ ลเปน็ อเนก ยอ่ มเกดิ ขน้ึ พร้อม. ภิกษุท้ังหลาย !   เหลา่ นี้แล ช่ือว่า ธรรมที่มตี ณั หาเปน็ มลู ๙ อยา่ ง. 30

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถ่ี กู ปิด : ฆราวาสช้ันเลิศ ทุกขท์ เ่ี กดิ จากหนี้ 07 -บาลี ฉกกฺ . อํ. ๒๒/๓๙๒/๓๑๖. ภกิ ษทุ งั้ หลาย !   ความยากจน เปน็ ทกุ ขข์ องคน ผูบ้ รโิ ภคกามในโลก. ภิกษุทั้งหลาย !   คนจนเข็ญใจไร้ทรัพย์สมบัติ ยอ่ มกหู้ น้ี การกหู้ น้ี นน้ั เปน็ ทกุ ขข์ องคนบรโิ ภคกามในโลก. ภิกษุทั้งหลาย !   คนจนเข็ญใจไร้ทรัพย์สมบัติ กู้หนี้แล้ว  ต้องใช้ดอกเบี้ย  การต้องใช้ดอกเบี้ย นัน้ เป็นทุกข์ของคนบริโภคกามในโลก. ภิกษุท้ังหลาย !   คนจนเข็ญใจไร้ทรัพย์สมบัติ กหู้ น้แี ลว้ ตอ้ งใชด้ อกเบี้ย ไมอ่ าจใชด้ อกเบีย้ ตามเวลา เจา้ หนก้ี ท็ วง การถกู ทวงหน้ี นน้ั เปน็ ทกุ ขข์ องคนบรโิ ภคกาม ในโลก. ภิกษุทั้งหลาย !   คนจนเข็ญใจไร้ทรัพย์สมบัติ ถูกทวงหน้ีอยู่  ไม่อาจจะใช้ให้  เจ้าหน้ีย่อมติดตาม  การถูกตดิ ตาม  น้ันเป็นทุกขข์ องคนบริโภคกามในโลก. 31

พทุ ธวจน - หมวดธรรม ภิกษุท้ังหลาย !   คนจนเข็ญใจไร้ทรัพย์สมบัติ ถกู ตดิ ตามอยไู่ มอ่ าจจะใชใ้ ห้ เจา้ หนย้ี อ่ มจบั กมุ การถกู จบั กมุ นั้นเปน็ ทกุ ข์ของคนบริโภคกามในโลก. ภิกษุทั้งหลาย !   ความยากจน กด็ ี การกูห้ นี้ กด็ ี การตอ้ งใชด้ อกเบย้ี กด็ ี การถกู ทวงหน้ี กด็ ี การถกู ตดิ ตาม กด็ ี การถกู จบั กมุ กด็ ี ทง้ั หมดน้ี เปน็ ทกุ ขข์ องคนบรโิ ภค กามในโลก. ภิกษุทั้งหลาย !   ฉันใดก็ฉันนั้น  ความไม่มี ศรัทธา-หิริ-โอตตัปปะ-วิริยะ-ปัญญา  ในกุศลธรรม มีอย่แู กผ่ ูใ้ ด เรากล่าวบุคคลผู้น้ันว่า  เป็นคนจนเข็ญใจไร้ ทรพั ยส์ มบตั ิ ในอริยวินัย. ภิกษุท้ังหลาย !   คนจนชนิดนั้น  เมื่อไม่มี ศรัทธา-หิริ-โอตตัปปะ-วิริยะ-ปัญญา  ในกุศลธรรม เขาย่อมประพฤต ิ กายทจุ ริต  วจที จุ ริต  มโนทุจริต เรากล่าว  การประพฤติทุจริต  ของเขาน้ี  ว่าเป็น การกหู้ น.้ี 32


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook