SunandhaRSuaajanbhat University STUDEN2T0H2AN1DBOOK www.ssru.ac.th คูม่ อื นักศึกษา มหาวิทยาลยั ราชภฏั สวนสนุ ันทา 2 5 6 4
ถนนราชวถิ ี Lผayัง-จouาำ t ลPlaอnง 58 51 52 เขตพน้ื ที่ 1 47 46 53 11 อาคารกรรณาภรณพ์ ิพฒั น์ (คณะครศุ าสตร)์ 12 อาคารนลิ รตั นาทร (โปรแกรมวชิ าภาษาต่างประเทศ) 45 54 13 อาคารประชมุ พรโสภณิ (มัธยมสาธติ ) 14 อาคารมธั ยมสาธิต (หลงั ใหม่) 42 44 57 56 15 อาคารมธั ยมสาธติ 55 16 อาคารประถมสาธติ 43 17 อาคารหอประชมุ สนุ ันทานสุ รณ,์ ศนู ยอ์ าหารและศูนย์หนังสอื 41 39 เขตพน้ื ที่ 2 38 31 21 อาคารศรจี ฑุ าภา (บัณฑิตศกึ ษาศูนยค์ อมพิวเตอร์) 22 อาคารฉัฐมราชศลิ ปสดุดี (คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี) 32 33 23 อาคารวิทยาศาสตรแ์ ละสิง่ แวดล้อม 24 อาคารมาลินนี พดารา (อาคารประถมเกา่ ) 37 34 25 อาคารสดับสนธ์ิเฉยี ดเกษม (โปรแกรมวิชาคหกรรมศาสตร)์ 26 อาคารศูนย์วิทยาศาสตร์ ถนนสามเสน 35 27 อาคารสายสทุ ธานภดล (สำานกั ศิลปะและวฒั นธรรม) 36 เขตพื้นท่ี 3 25 24 31 อาคารห้องประชุมชอ่ แก้ว 27 26 32 อาคารปัญจมราชบรรณาศรม (สาำ นักวิทยบรกิ าร) 33 อาคารเฉลิมพระเกยี รติฯ (สำานักวทิ ยบริการ) ทางออก 23 34 อาคารเทคโนโลยแี ละนวัตกรรมทางการศกึ ษา ป้ายรถประ ำจาทาง 21 22 35 อาคารนิภานภดล (คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร,์ 17 อาคารเรยี นรวม) 36 อาคารศลิ ปกรรม 16 11 14 37 อาคารเหมวดพี ิทกั ษ์ (สำานักงานอธกิ ารบด)ี 12 15 13 38 อาคารวรลกั ษณานงค์ (อาคารพละศกึ ษา) 39 อาคารศนู ย์สขุ ภาพและสระว่ายน้ำา ถนนอทู่ องนอก ทางเข้าและทางออก เขตพ้นื ที่ 4 41 อาคารศศิพงษ์ประไพ (สาำ นกั กิจการนักศึกษา) 42 อาคารคณะเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม 43 อาคารสำานกั งานคณะเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม 44 อาคารพสิ มัยพิมลสัตย์ 45 อาคารจฑุ ารัตนาภรณ์ (โปรแกรมวิชาดนตรี) 46 อาคารอาทรทิพยนิวาส (คณะศิลปกรรมศาสตร์) 47 อาคารศูนยป์ ฏิบัตกิ ารเทคโนโลยีการพมิ พ์ เขตพน้ื ท่ี 5 51 อาคารเอ้ือนอาชน์แถมถวลั ย์ 53 อาคารอรประพันธ์อดิศัยศกั ด์ิ (โปรแกรมวชิ านาฏศิลป์) 54 อาคารโรงแรมแก้วเจ้าจอม 55 อาคารเกษตรสินเสริมศาสตร์ 56 อาคารสุวภักตร์นิเวศน์ (คณะวทิ ยาการจดั การ) 57 อาคารสุวภกั ตรน์ เิ วศน์ (คณะวิทยาการจัดการใหม)่ 58 อาคารคณะศิลปกรรมศาสตร์
SunandhaSRuaajanbhat University STUDE2NT0H2AN1DBOOK คู่มือนกั ศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสนุ ันทา 2 5 6 4 1
S T U DwEwNwT . Hs As Nr uD .BaOcO. Kt h2 0 2 1 เกี่ยวกับสวนสนุ นั ทา .......3 ABOUT SUAN SUNANDHA สารจากอธิการบดี 3 วทิ ยาลัยพยาบาลและสุขภาพ 198 วทิ ยาลยั สถาปัตยกรรมศาสตร์ 203 ความเป็นมาของมหาวิทยาลยั 4 ศูนย์การศกึ ษาจังหวัดสมทุ รสงคราม 212 เป้าหมาย วิสัยทศั น์ของมหาวทิ ยาลยั 5 วิทยาลยั สหเวชศาสตร์ 214 วิทยาเขตนครปฐม 240 สถานที่ส�ำ คญั ในมหาวทิ ยาลัย 6 วทิ ยาลยั นเิ ทศศาสตร ์ 242 วิทยาลยั โลจสิ ตกิ สแ์ ละซพั พลายเชน 254 พระราชลัญจกร 7 วิทยาลยั การจัดการอตุ สาหกรรมบรกิ าร 271 วทิ ยาลยั การเมอื งและการปกครอง 294 โครงสร้างองค์กร ....12 ศูนย์การศึกษาจังหวดั อดุ รธาน ี 313 ศนู ย์การศกึ ษาจังหวัดระนอง 314 ORGRANIZATION CHART สถาบนั วิจัยและพฒั นา 315 ส�ำ นักศิลปะและวฒั นธรรม 317 ทำ�เนยี บผบู้ รหิ าร 12 ส�ำ นักวทิ ยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ 319 ส�ำ นกั งานอธิการบดี 322 คณะกรรมการสภามหาวิทยาลยั 13 กองกลาง 323 กองบรกิ ารการศึกษา 324 คณะกรรมการสภาคณาจารยแ์ ละข้าราชการ 13 กองบริหารงานบคุ คล 325 กองพฒั นานกั ศกึ ษา 326 คณะกรรมการสภาวิชาการมหาวิทยาลัย 14 กองนโยบายและแผน 328 กองคลัง 329 คณะกรรมการสง่ เสรมิ กิจการมหาวิทยาลยั 14 สถาบันสรา้ งสรรค์และส่งเสรมิ การเรยี นร ู้ 330 ตลอดชวี ิต คณะกรรมการบรหิ ารมหาวิทยาลัย (ก.บ.ม.) 15 สำ�นกั วิชาการศกึ ษาทัว่ ไปและนวัตกรรมฯ 335 สำ�นักทรพั ยส์ ินและรายได้ 337 หลกั สูตร/สาขาวิชา ....16 COURSE/BRANCH ภาคผนวก ก 343 การจดั การศกึ ษา 16 ภาคผนวก ข 362 ภาคผนวก ค 386 ระบบการศกึ ษา 17 หนว่ ยงาน ....20 INSTITUTE คณะครศุ าสตร์ 20 คณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 43 คณะมนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ 86 คณะเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม 111 คณะศิลปกรรมศาสตร์ 139 คณะวิทยาการจดั การ 160 วทิ ยาลัยนวตั กรรมและการจัดการ 178 2
เสกี่ยววกนับ.ส.. ุนนั ทา ABOUT SUAN SUNANDHA สอารธจากกิ ารบดี เจออปุ สรรคเข้ามาในช่วงชวี ิตของตน ขอให้นักศกึ ษา มีจิตสำ�นึกยึดม่ันในการพากเพียรศึกษาเป็นหลักและ ขอตอ้ นรับนักศึกษาใหม่ทุกท่านเขา้ สรู่ ั้วสวนสุนันทาดว้ ยความยนิ ดียิ่ง จงพยายามก้าวผ่านตนเองของวันน้ี เพ่ือเป็นตนเอง มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เป็นสถาบันการศึกษาที่มีประวัติศาสตร์อันย่ิง วันพรุ่งนี้ที่ดีข้ึนกว่าเดิม เพราะการศึกษาเป็นกุญแจ เปิดประตูสู่ความสำ�เร็จ ขอให้นักศึกษาจงยึดมั่นคำ� ใหญแ่ ละด�ำ รงอยคู่ กู่ บั แวดวงการศกึ ษาของไทยมายาวนานถงึ 84 ปี ดว้ ยวตั ถปุ ระสงคท์ ่ี เหลา่ นีเ้ อาไว้ จะผลติ บณั ฑติ ทม่ี คี ณุ ภาพออกสสู่ งั คมดว้ ยปณธิ าน “ทรงปญั ญา ศรทั ธาธรรม น�ำ สงั คม” ในนามของคณะผู้บริหาร คณาจารย์ และ ค�ำ ว่า “สุนันทา” มาจากพระนามาภิไธยของสมเดจ็ พระนางเจ้าสุนนั ทากมุ ารีรัตน์ บุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาทุกคน ขอ พระมเหสใี นพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั รชั กาลท่ี 5 ถอื วา่ เปน็ มงคลนาม ต้อนรับนักศึกษาใหม่ทุกระดับการศึกษาและทุก ทนี่ กั ศกึ ษา คณาจารย์ และบคุ ลากรของสวนสนุ นั ทาทกุ คนภาคภมู ใิ จทไี่ ดม้ โี อกาสเขา้ มา หลกั สตู รด้วยความยินดี และขอช่นื ชมตอ่ ความสำ�เร็จ เป็นสว่ นหนง่ึ ของสถาบนั อนั ศกั ดสิ์ ทิ ธใ์ิ นรอบร้วั ของความเปน็ “ลูกพระนาง” ท่ีนักศึกษาได้ใช้ความวิริยะอุตสาหะและความขยัน หมน่ั เพยี รในการเลา่ เรยี นเพอื่ ศกึ ษาตอ่ ในมหาวทิ ยาลยั ดว้ ยวสิ ยั ทศั น์ 15 ปขี องมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวนสนุ นั ทาทมี่ งุ่ การน�ำ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสวนสุนันทาแห่งนี้ ทั้งนี้ มีผูส้ มัครจ�ำ นวนมาก สูก่ ารเปน็ “มหาวิทยาลยั เอตทคั คะนานาชาต”ิ โดยมีเป้าหมายม่งุ เนน้ ผลักดนั ยกระดับ โดยคิดเปน็ อตั ราส่วน 1 ใน 5 ท่สี ามารถเข้ามาศกึ ษา มหาวิทยาลยั ดังน้ี 1. มหาวทิ ยาลยั แหง่ ความยั่งยนื ท่ีพร้อมจะเตบิ โตกับสงั คมในยคุ ในสถาบันแห่งนี้ ดังนั้น ขอให้ทุกคนภาคภูมิใจที่ ใหม่ (“SUSTAINABILITY” University which Grow Along with Society.) ได้เป็นลูกพระนางในรั้วสวนสุนันทา อันเป็นสถาบัน 2. มุง่ สู่การเปน็ มหาวิทยาลัยระดับโลก (Aiming to be the “WORLD-CLASS” ที่มีประวัติศาสตร์ท่ีมีคุณค่าและมีความเป็นมาอย่าง University) 3. เป็นมหาวิทยาลัยท่ียึดมั่นในความซื่อสัตย์ในเชิงการบริหารงานและ ยาวนานสืบมา ขออวยพรให้นักศึกษาทุกคนมีความ วิชาการ (University which Hold up to Administration and Academic สุขในการศกึ ษาเลา่ เรยี นและการท�ำ กจิ กรรมตา่ งๆ ใน “INTEGRITY” Principle.) 4. มหาวิทยาลัยท่ีมุ่งขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยีที่ทัน มหาวิทยาลัย และประสบความสำ�เร็จตามท่ีได้ตั้งม่ัน สมยั (“TECHNOLOGY” Driven University in Both Administration and ไวท้ กุ ประการ Academic Aspects.) 5. เนน้ การทำ�งานอย่างเต็มกำ�ลงั และเต็มความสามารถตาม ความถนัดของแตล่ ะบคุ คลในองค์กร (Capacity and Capability) และ 6. เป็น (รศ.ดร.ชุตกิ าญจน์ ศรีวบิ ูลย)์ มหาวิทยาลัยแห่งความผาสุกที่ล้อมรอบด้วยบรรยากาศของนักวิชาการ (“HAPPY อธกิ ารบดมี หาวิทยาลยั ราชภฏั สวนสุนนั ทา WORKPLACE” University which has Scholarly Organization Atmos- phere) ทงั้ น้ี ยังคงธำ�รงรักษา “มหาวิทยาลยั ราชภฏั อันดับ 1” และ “มหาวทิ ยาลัย แม่แบบท่ดี ขี องสังคม” เพราะเป็นส่งิ ท่ีทรงคณุ ค่าทีจ่ ะตอ้ งดแู ลรกั ษาและสบื ทอดเอาไว้ จากแนวทางส�ำ คญั ข้างตน้ ประกอบกับมีองค์ความรู้และความเชีย่ วชาญที่หลาก หลายจากคณาจารยแ์ ละบคุ ลากร มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวนสนุ นั ทายนิ ดพี รอ้ มเปน็ แหลง่ เรยี นรแู้ ละทพี่ ง่ึ พงิ ทางปญั ญา เพอื่ มงุ่ พฒั นานกั ศกึ ษาใหม้ ศี กั ยภาพเพยี บพรอ้ ม แตท่ งั้ น้ี ตวั นกั ศกึ ษาเองจะตอ้ งมแี รงบนั ดาลใจในการใฝร่ ใู้ ฝด่ ี มวี นิ ยั ในการศกึ ษาเลา่ เรยี น เมอ่ื
004 SunandhaSuan Rajabhat University STUDENT HANDBOOK 2021 มหาวิทยาลัยความเป็นมาของ... ประวัติ มหาวิทยาลัยราชภฏั สวนสุนันทา ตั้งอย่เู ลขท่ี 1 ถนนอทู่ องนอก เขตดสุ ิต กรุงเทพฯ 10300 โทรศพั ท์ 0-2160-1000, 0-2160-1111, 0-2160-1023 โทรสาร 0-2160-1010 เว็บไซต์ www.ssru.ac.th โดยพื้นที่ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาแห่งน้ี เดิมเป็น ครั้นถึงปี พ.ศ. 2475 ได้มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองขึ้น ส่วนหน่ึงของวังสวนสุนันทา ซึ่งเป็นเขตพระราชฐานภายในบริเวณ บรรดาพระบรมวงศานุวงศ์ในสวนสุนันทา หว่ันเกรงภัยจากการเมือง ของพระราชวังดุสิตซ่ึงพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรง จึงได้ทยอยกันออกไปจากสวนสุนันทาจนหมดส้ิน บางพระองค์ได้ พระกรณุ าโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขนึ้ เพอื่ เป็นสถานทพ่ี กั ผ่อนพระอริ ิยาบถ เสด็จออกไปอยู่หัวเมืองและหลายพระองค์เสด็จล้ีภัยการเมืองไปอยู่ แทนการเสด็จประพาสหัวเมือง พระองค์มีพระราชประสงค์ให้สวนนี้มี ตา่ งประเทศโรงเรยี นนภิ าคารจงึ เลกิ ด�ำ เนนิ การไปโดยปรยิ าย นบั แตน่ นั้ มา ลกั ษณะเปน็ สวนปา่ จงึ โปรดเกลา้ ฯ ใหห้ าพนั ธไ์ุ มด้ อกไมผ้ ลทดี่ แี ละหาได้ สวนสุนันทาที่เคยงดงามก็ถูกทอดทิ้ง ขาดการดูแลเอาใจใส่ ตำ�หนัก ยากนานาชนดิ มาปลกู ไวใ้ นสวนแหง่ นด้ี ว้ ย ทม่ี าของชอ่ื สวนแหง่ นม้ี าจาก ตา่ งๆ ชำ�รดุ ทรุดโทรมเปน็ อันมาก พ้ืนทภ่ี ายในรกรา้ งวา่ งเปล่า ต่อมาใน ชอ่ื สวนของพระอนิ ทรบ์ นสวรรคช์ น้ั ดาวดงึ ส์ ซง่ึ มชี อื่ วา่ “สนุ นั ทาอทุ ยาน” รชั กาลพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั อานนั ทมหดิ ล คณะผสู้ ำ�เร็จราชการ และพระนามของสมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์พระบรมราชเทวี แทนพระองค์ เห็นวา่ สวนสนุ ันทาถกู ทอดทิ้งรกรา้ งอยู่มิได้ทำ�ประโยชน์ พระมเหสี ซึ่งเปน็ ทรี่ กั ยงิ่ ของพระองค์ ซง่ึ ได้สิ้นพระชนมจ์ ากเหตุเรอื ล่ม จงึ เหน็ สมควรใหน้ �ำ เอาพน้ื ทไ่ี ปใชป้ ระโยชน์ เปน็ ทอี่ ยอู่ าศยั ของรฐั มนตรี ระหว่างเสด็จประพาสพระราชวังบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และผู้แทนราษฎร แต่สภาผู้แทนราษฎรขอเพียงพ้ืนท่ีภายนอกกำ�แพง นอกจากนี้พระองค์ยังโปรดเกลา้ ฯ ใหส้ ร้างตำ�หนักข้นึ เพ่อื เตรยี มไวเ้ ปน็ ติดถนนสามเสนสร้างเป็นบ้านพักของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเท่าน้ัน ทปี่ ระทบั ของเจา้ นายฝา่ ยใน แตเ่ นอื่ งจากพระองคเ์ สดจ็ สวรรคตเสยี กอ่ น คณะรัฐมนตรีจึงลงมติเห็นสมควรว่า ควรใช้สถานที่นี้ให้เป็นประโยชน์ การสร้างจงึ ยงั ไมแ่ ลว้ เสร็จตามพระราชประสงค์ แกก่ ารศกึ ษา และมอบให้กระทรวงธรรมการ (กระทรวงศกึ ษาธกิ ารใน ปจั จบุ นั ) ด�ำ เนนิ การจดั ตงั้ ใหเ้ ปน็ สถานศกึ ษาของชาติ และสถานทศ่ี กึ ษานี้ เม่ือพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จข้ึนครอง ให้ชื่อโดยคงช่ือเดิมของสถานท่ี เพ่ือเป็นอนุสรณ์ โดยขนานนามว่า ราชสมบัติ ได้ทรงพระราชดำ�ริว่าสถานท่ีในพระบรมมหาราชวังช้ันใน “โรงเรียนสวนสนุ ันทาวิทยาลัย” คบั แคบ ไมเ่ หมาะสมจะเปน็ ทป่ี ระทบั ของพระบรมวงศานวุ งศฝ์ า่ ยใน จงึ โปรดให้สร้างพระตำ�หนักและตึกในบริเวณสวนสุนันทาขึ้นอีกหลายหลัง เมอื่ วันท่ี 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2480 เปดิ สอนประกาศนียบตั ร แล้วโปรดให้เป็นที่ประทับของพระมเหสีเจ้าจอมมารดา เจ้าจอมและ ประโยคครูประถม (ป.ป.) ต่อมาจึงได้ยกฐานะขึ้นเป็น “วิทยาลัยครู พระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จำ�นวน 32 สวนสนุ นั ทา” ในปี พ.ศ. 2518 ตามพระราชบญั ญตั วิ ทิ ยาลยั ครู พ.ศ. 2518 ตำ�หนัก รวมท้ังอาคารท่ีพักของบรรดาข้าราชบริพาร โดยมีสมเด็จ เปดิ สอนถงึ ระดบั ปรญิ ญาตรี หลกั สตู รครศุ าสตรบณั ฑติ ในปี พ.ศ. 2535 พระวิมาดาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ กรมพระสุทธาสินีนาฎ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ปิยมหาราชปดิวรัดา ได้เสด็จมาประทับ ณ ตำ�หนักสายสุทธานพดล ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ พระราชทานนาม “สถาบันราชภัฏ” เป็นช่ือ (ตกึ 27) ตงั้ แต่ พ.ศ. 2467 ถงึ พ.ศ. 2472 (สนิ้ พระชนม์ ณ ตำ�หนกั สถาบันการศกึ ษาในสงั กดั กรมการฝกึ หดั ครกู ระทรวงศกึ ษาธิการ ทง้ั ยงั ที่ประทับสวนสุนันทา) เน่ืองจากในสมัยนั้นบรรดาขุนนาง ข้าราชการ ไดพ้ ระราชทานตราพระราชลญั จกรประจ�ำ พระองค์ ใหเ้ ปน็ ตราสญั ลกั ษณ์ ผู้มีบรรดาศักดิ์นิยมนำ�บุตรี และหลานของตนมาถวายตัวต่อสมเด็จ ประจำ�สถาบันราชภัฏ และเม่ือได้ประกาศใช้พระราชบัญญัติสถาบัน พระวิมาดาเธอฯ เป็นจำ�นวนมาก สมเด็จพระวิมาดาเธอฯ จึงทรงให้ ราชภัฏ เม่อื วันที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2538 วทิ ยาลัยครูสวนสุนันทาจึงมี สร้าง “โรงเรียนนิภาคาร” ข้ึนภายในสวนสุนันทา สอนตามหลักสูตร ช่อื เปน็ “สถาบันราชภฏั สวนสนุ นั ทา” การศึกษาในสมัยนั้น รวมทั้งอบรมจริยามารยาท การฝีมือ ให้เป็น กุลสตรี ในวันท่ี 15 มิถุนายน พ.ศ. 2547 พระราชบัญญตั มิ หาวทิ ยาลัย ราชภฏั พ.ศ. 2547 ไดป้ ระกาศใชใ้ นราชกจิ จานุเบกษาส่งผลให้สถาบนั ราชภัฏสวนสุนันทายกฐานะเป็น “มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา” นับแตน่ ้นั เป็นต้นมาจนถงึ ปจั จุบัน
005 SunandhaSuan Rajabhat University STUDENT HANDBOOK 2021 มหาวิทยาลัยเปา้ หมาย วิสยั ทศั น์ของ... 5. วิจัย สร้างนวตั กรรม และองคค์ วามรู้ สู่การพัฒนาท้องถิ่น ตลอดจนการพัฒนาภูมิปัญญาไทยสู่ประชาคมอาเซียน และสากล เสาหลกั (Pillar) (Research and create innovation and knowledge for the development of the locality and Thai wisdom to ทรงปัญญา ศรทั ธาธรรม น�ำ สงั คม (Wisdom Faith and ASEAN and international level) Social Leadership) คา่ นยิ มหลัก (Core Values) วิสยั ทศั น์ (Vision) 1. ปญั ญาและความคิดสร้างสรรค์ (Wisdom & Creativity) มหาวิทยาลัยแม่แบบท่ีดีของสังคม (Smart Archetype 2. ความผาสกุ และความภกั ดใี นองคก์ ร (Happiness & Loyalty) University of the Society) 3. บรู ณาการและความรว่ มมอื (Integ-ration & Collaboration) 4. ความเป็นมืออาชพี (Professionalism) พันธกิจ (Mission) อัตลกั ษณ์ ผลติ บณั ฑิตทีเ่ นน้ องค์ความรสู้ ูท่ ้องถ่นิ ฝึกหดั ครู วิจยั บรกิ าร วิชาการ และท�ำ นุบำ�รุงศิลปวัฒนธรรม (to produce graduates เปน็ นักปฏบิ ตั ิ ถนดั วชิ าการ เช่ยี วชาญการส่ือสาร ชำ�นาญการคดิ with emphasis on knowledge transferring to localities, มจี ติ สาธารณะ (Professional practice, academic excellence, conform good teachers, conduct research, provide talent communication, strategic thinking and public academic services to communities, and to promote consciousness) and conserve arts and cultures) นิยามของอัตลักษณ์ ภารกิจหลกั (Key result area) เป็นนักปฏิบัติ หมายถึง บัณฑิตที่มีความสามารถด้านวิชาการ หรอื วชิ าชพี มที กั ษะและมคี วามมงุ่ มนั่ ในการปฏบิ ตั งิ าน สามารถใชห้ ลกั 1. ผลติ บณั ฑติ ทม่ี คี ณุ ภาพระดบั แนวหนา้ ตรงกบั ความตอ้ งการ วชิ าการดว้ ยความช�ำ นาญ มคี ณุ ธรรม ใฝศ่ กึ ษาเรยี นรู้ และพฒั นาตนเอง ของชุมชนและสังคมยุคเศรษฐกิจฐานความรู้ อยู่ในสังคมอาเซียนและ ให้มคี วามกา้ วหน้าอยา่ งตอ่ เนือ่ ง ประชากรโลก (Global citizen) อยา่ งมคี วามสขุ (Produce leading จิตสาธารณะ หมายถึง บัณฑิตที่มีคุณธรรม รู้จักแบ่งปัน graduates who are needed by the com-munity and ช่วยเหลือผู้อ่ืน มุ่งทำ�ความดีท่ีเป็นประโยชน์ต่อชุมชน สังคม และ society in the economic and knowledge era, who become ประเทศชาติ happy global citizen) เชย่ี วชาญการสือ่ สาร หมายถงึ บณั ฑิตที่มีทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ สังเคราะห์ สามารถส่ือสารและถ่ายทอดความรู้ ความชำ�นาญในสาขา 2. ผลิตและพัฒนาครูมืออาชีพที่สนองตอบการปฏิรูปการศึกษา วิชาท่ีศึกษา โดยใช้ระบบเครือข่ายและเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีทันสมัย และการฝกึ หดั ครู สอู่ าเซยี น (Produce and develop professional สชู่ มุ ชนและสงั คม teachers to accommodate the education reform and train teachers for the ASEAN community) เอกลกั ษณ์ 3. ใหบ้ รกิ ารวชิ าการและถา่ ยทอดเทคโนโลยแี กช่ มุ ชน สงั คม และ เน้นความเป็นวัง ปลูกฝังองค์ความรู้ ยึดม่ันคุณธรรมให้เชิดชู ประชาคมอาเซียนอย่างมีคุณภาพ รวมท้ังเป็นการยกมาตรฐานชุมชน เปน็ องค์กรแห่งการเรียนร้สู สู่ ากล (Royal court concentration, สงั คม และผปู้ ระกอบการขนาดเลก็ และขนาดกลางหรอื SMEs ใหเ้ ขม้ แขง็ knowledge cultivation, ethical enhancement and (Provide academic service and transfer technology international learning organization) to the community, society and ASEAN community to improve the standard of community, society and small นิยามของเอกลักษณ์ and mediumenterprises (SMEs)) เน้นความเปน็ วงั หมายถงึ เป็นมหาวิทยาลยั ที่สืบสานความเป็น วงั สวนสุนนั ทา เนน้ การอนรุ กั ษ์ เผยแพร่ และเป็นแหล่งเรียนรขู้ อ้ มูล 4. อนุรักษ์ พัฒนาให้บริการ และเป็นศูนย์กลางบริการข้อมูล ศิลปวัฒนธรรมดา้ นตา่ งๆ โดยเฉพาะศิลปวัฒนธรรมกรุงรัตนโกสนิ ทร์ สารสนเทศทางดา้ นศลิ ปวฒั นธรรมกรงุ รตั นโกสนิ ทรส์ อู่ าเซยี น (Preserve, เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้สู่สากล หมายถึง เป็นมหาวิทยาลัย improve service and become a center for information ทมี่ แี หล่งเรยี นรทู้ ีห่ ลากหลาย ทันสมัย สามารถแขง่ ขนั ไดใ้ นระดับชาติ on Rattanakosin culture for ASEAN) และนานาชาติ ตอบสนองทุกรูปแบบการเรียนรู้ของผู้รับบริการได้อย่าง ทั่วถึง และมีประสทิ ธิภาพ
006 SunandhaSuan Rajabhat University STUDENT HANDBOOK 2021 มหาวิทยาลัยสถานทส่ี �ำ คัญใน... เมอ่ื พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั เสดจ็ สวรรคต ขณะนนั้ สมเด็จพระนางเจ้าสนุ นั ทาฯ ทรงมีพระชนั ษา 9 พรรษา พระบาทสมเดจ็ สมเด็จพระนางเจา้ สนุ ันทา พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ชุบเลี้ยงด้วย กมุ ารีรัตน์พระบรมราชเทวี พระเมตตากรุณายิ่งกาลต่อมาทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนา พระอิสริยยศข้ึนเป็นพระนางเธอฯ พระอัครมเหสี ซึ่งได้ปฏิบัติหน้าที่ สมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์พระบรมราชเทวี พระปิย- สนองพระมหากรณุ าธคิ ณุ ดว้ ยความซอื่ สตั ย์ จงรกั ภกั ดี เบอื้ งพระยคุ ลบาท มเหสี ในรชั กาลท่ี 5 สมเดจ็ พระนางเจา้ สนุ นั ทากมุ ารรี ตั นพ์ ระบรมราชเทวี อย่างยิ่งจนเป็นท่ีโปรดปรานสนิทเสน่หาของสมเด็จพระบรมราชสวามี พระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ลำ�ดับพระองค์ ย่ิงกว่าพระอัครมเหสหี รอื ข้าบาทบรจิ ารกิ าองค์อื่นๆ ในคร้ังนัน้ ท่ี 50 ในสมเดจ็ พระปยิ มาวดีศรพี ัชรนิ ทรมาตา (เจ้าจอมมารดาเป่ยี ม) เสดจ็ พระราชสมภพ ณ วนั เสารท์ ี่ 10 พฤศจกิ ายน ปวี อก พทุ ธศกั ราช 2403 เมื่อพระชนมายุได้ 19 พรรษาทรงมีพระราชธิดาองค์แรกทรง ณ พระบรมมหาราชวัง ทรงมีพระเชษฐภาตา พระขนิษฐภคินี และ พระนามว่า สมเดจ็ พระเจ้าลกู ยาเธอ เจ้าฟ้ากรรณาภรณ์เพชรรัตน์ พระขนิษฐภาตา ร่วมพระชนนี รวม 6 พระองค์ สมเดจ็ พระนางเจา้ สนุ นั ทาฯ เสดจ็ ทวิ งคตเมอื่ พระชนมายไุ ดเ้ พยี ง 1. พระเจา้ ลูกยาเธอ พระองคเ์ จา้ อณุ ากรรณ อนันตรนรไชย 19 ปี 6 เดือน 21 วนั ดว้ ยอบุ ัติเหตเุ รอื ล่ม ทตี่ ำ�บลบางพดู ปากเกร็ด 2. พระเจา้ ลูกยาเธอพระองคเ์ จา้ เทวัญอุไทยวงศ์ นนทบรุ ี เมอื่ วนั ที่ 31 พฤษภาคม พุทธศักราช 2423 ซง่ึ ขณะนั้นทรง (สมเด็จพระเจา้ บรมวงศเ์ ธอกรมพระยาเทวะวงศว์ โรปการ) พระครรภอ์ ยดู่ ว้ ย พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงโศกเศรา้ 3. พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจา้ สุนนั ทากุมารีรตั น์ โทมนัสในพระราชหฤทัยเป็นอย่างย่ิง ด้วยความเสียดายอาลัยรักเป็น (สมเดจ็ พระนางเจา้ สนุ นั ทากมุ ารีรตั น์ พระบรมราชเทวี) ทส่ี ดุ ดงั จารกึ ทอ่ี นสุ าวรยี ท์ บ่ี างปะอนิ ดงั น้ี ทรี่ ะลกึ ถงึ ความรกั แหง่ สมเดจ็ 4. พระเจา้ ลกู เธอพระองคเ์ จา้ สว่างวัฒนา พระนางเจา้ สนุ นั ทากมุ ารรี ตั น์ พระบรมราชเทวอี คั รมเหสี อนั เสดจ็ ทวิ งคต (สมเดจ็ พระศรสี วรนิ ทราบรมราชเทวี พระพนั วสาอยั ยกิ าเจา้ ) แลว้ ซงึ่ เคยมาอยใู่ นสวนนโี้ ดยความสขุ สบายจะเปน็ ทเี่ บกิ บานใจ พรอ้ ม 5. พระเจา้ ลกู เธอ พระองค์เจ้าเสาวภาผ่องศรี ด้วยผู้ซึ่งเป็นท่ีรักและสนิทอย่างย่ิงของเธอ อนุสาวรีย์นี้สร้างขึ้นโดย (สมเดจ็ พระศรีพชั รนิ ทราบรมราชินนี าถ พระบรมราชชนนี จุฬาลงกรณ์บรมราชผู้เป็นสามีอันได้รับความเศร้าโศกเพราะความทุกข์ พันปีหลวง) อนั แรงกลา้ ในเวลาน้นั แทบจะถงึ แก่ชวี ิต ถงึ กระน้นั กย็ งั มิได้หักหาย 6. พระเจ้าลกู เธอ พระองคเ์ จา้ สวสั ดโิ สภณ (สมเด็จพระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระสวสั ดิวัตนวศิ ิษฐ)์ จุลศกั ราช 1243 สมเด็จพระนางเจ้าสนุ ันทากุมารีรตั น์ พระบรม- ราชเทวี เป็นที่เคารพสักการะและเป็นศูนย์รวมจิตใจของพวกเราชาว สวนสนุ นั ทาท้ังมวล เราเรยี กตวั เองว่า ... “ ลู ก พ ร ะ น�ำ ง ”
007 SunandhaSuan Rajabhat University STUDENT HANDBOOK 2021 พระพุทธสนุ ันทากร เปน็ พระพทุ ธรปู ประจ�ำ วทิ ยาลยั พทุ ธลกั ษณะปางประทานพรผา้ ทพิ ยป์ ระดบั ตราประจ�ำ วทิ ยาลยั ครสู วนสนุ นั ทา ขนาดหน้าตักกวา้ ง 17 น้ิว ประดษิ ฐานอยบู่ นส�ำ นกั ศลิ ปะและวัฒนธรรม ได้รบั พระราชทานนามจากพระบาทสมเด็จ พระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร เมือ่ พ.ศ. 2512 หอพระ สถานท่ีซึ่งวิทยาลัยจัดสร้างขึ้นเพื่อประดิษฐานพระพุทธสุนันทาทิพรัตนปฏิมาศรีมงคลซึ่งเป็นพระพุทธรูป ปางมารวิชยั ขนาดหน้าตักกวา้ ง 14 นว้ิ ได้รับพระราชทานจากสมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี เมอื่ พ.ศ. 2528 เพอื่ เปน็ ทเ่ี คารพรักสกั การะของชาวสวนสุนนั ทาทัง้ มวลตง้ั อยู่บรเิ วณดา้ นตรงข้ามอาคารหอประชุม สนุ นั ทานสุ รณ์ อาคารสายสทุ ธานพดล หรือตึก 27 ซึ่งเป็นอาคารท่ีงดงามทรงคุณค่าทางสถาปัตยกรรมและประวัติศาสตร์เดิมเป็นที่ประทับของ สมเด็จพระวมิ าดาเธอกรมพระสทุ ธาสินนี าฏปยิ มหาราชปดิวรดั าพระอัครชายาในรัชกาลที่ 5 ผู้ทรงทำ�ใหส้ วนสนุ ันทา เป็นศูนย์รวมของราชสำ�นักฝ่ายในยุคสุดท้าย เป็นศูนย์กลางของวัฒนธรรมประเพณีไทยและเป็นสถาบันการศึกษา อันมีชื่อเป็นท่ีเลื่องลือเป็นสถานท่ีเก็บรวบรวมและแสดงงานศิลปะและวัฒนธรรม สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสดจ็ มาทรงทำ�พิธเี ปิดศูนย์ศิลปวัฒนธรรม เมอ่ื วันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2533 พระราชลัญจกร พระราชลญั จกรประจำ�พระองค์ ประเภทของพระราชลญั จกร พระราชลัญจกรประจำ�พระองค์ หมายถึง พระตราที่ใช้ประทับ กำ�กบั พระปรมาภไิ ธยพระมหากษัตรยิ ์ในตน้ เอกสารสำ�คญั ส่วนพระองค์ พระราชลัญจกร คือ ตราประจำ�ชาติซึ่งใช้ประทับในต้นเอกสาร ซึ่งไม่เกี่ยวด้วยราชการแผ่นดิน เช่น ในประกาศนียบัตรกำ�กับเหรียญ สำ�คัญของพระมหากษัตริย์และราชการแผ่นดินจัดเป็นหมวดหมู่ได้ รตั นาภรณ์ เปน็ ตน้ 3 ประเภท ดงั นี้ พระราชลญั จกรประจ�ำ พระองคแ์ ตล่ ะรชั กาลมรี ปู สญั ลกั ษณต์ า่ งๆ ¢ พระราชลญั จกรประจ�ำ พระองค์ กันไป ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 1-4 เท่าที่ ¢ พระราชลัญจกรประจ�ำ แผ่นดิน หลักฐานปรากฏพบว่าในเงินพดด้วงมีรูปจักรดวงหน่ึงและพระราช- ¢ พระราชลญั จกรส�ำ หรับแผน่ ดนิ สัญลักษณ์ประจำ�รัชกาลอีกดวงหนึ่ง พระราชสัญลักษณ์ประจำ�รัชกาล ที่ 1 เปน็ รปู ปทุมอณุ าโลม รัชกาลที่ 2 เปน็ รูปครุฑยดุ นาค รัชกาลที่ 3 เป็นรูปปราสาท รัชกาลที่ 4 เป็นรูปพระมหามงกุฎ โดยที่รูปจักรจะ ไมเ่ ปลยี่ นไปตามรชั กาลเนอื่ งจากเปน็ พระราชสญั ลกั ษณส์ �ำ หรบั พระบรม- ราชวงศ์ ซ่ึงปกครองรัฐสีมามณฑลอยู่ นอกจากนัน้ พบหลักฐานปรากฏ รปู พระราชสญั ลกั ษณ์ทใ่ี บปกคมั ภรี ์ พระไตรปฎิ กฉบับหลวง ซ่งึ โปรด เกลา้ ฯ ให้สร้างข้นึ ในแตล่ ะรชั สมยั ดังท่กี ล่าวมาแลว้ ครั้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรง พระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหต้ ัง้ โรงกษาปณส์ ทิ ธิการขึน้ เพ่ือผลติ เงินบาท แทนเงนิ พดด้วง ตราท่ใี ชเ้ งินเหรียญนน้ั ดา้ นหนง่ึ ของเหรยี ญยังคงเป็น รูปจักรโดยเติมรูปพระมหามงกุฎมีเคร่ืองสูงต้ังขนาบทั้งสองข้าง ต่อมา ได้ทรงพระกรุณาให้สร้างพระราชลัญจกรประจำ�พระองค์เพ่ือประทับ ในต้นเอกสารสำ�คัญส่วนพระองค์ที่ไม่เกี่ยวด้วยราชการแผ่นดิน และ เป็นธรรมเนียมปฏิบัติตลอดมาเม่ือมีการผลัดเปล่ียนแผ่นดินก็จะทรง พระกรณุ าโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระราชลญั จกรประจำ�พระองค์
008 SunandhaSuan Rajabhat University STUDENT HANDBOOK 2021 พระราชลญั จกรประจ�ำ พระองคร์ ชั กาลท่ี 9 เขม็ เคร่อื งหมายและตราประจำ�มหาวิทยาลัย ราชภฏั สวนสุนันทา พระราชลัญจกรประจำ�พระองค์รัชกาลที่ 9 เป็นรูปพระท่ีน่ัง อฐั ทิศ ประกอบด้วย วงจักร กลางวงจักรมอี ักขระเป็น อุ หรือเลข 9 2480-2508 2509-2537 2538-2547 2548-ปัจจบุ นั รอบวงจักรมีรัศมีเปล่งออกโดยรอบ เหนือจักรเป็นรูปเศวตฉัตรเจ็ดชั้น ฉัตรตั้งอยู่บนพระท่ีน่ังอัฐทิศ แปลความหมายว่าทรงมีพระบรมเดชา- ได้มีการเปล่ียนแปลงและพัฒนาตามลำ�ดับอักษรภายใต้มงกุฎ นุภาพในแผ่นดิน โดยที่วันบรมราชาภิเษกตามโบราณราชประเพณีได้ พระมหากฐิน ซ่ึงเป็นพระนามย่อของสมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารี- เสดจ็ ประทับเหนือพระทน่ี ่ังอฐั ทศิ สมาชิกรฐั สภาถวายน้�ำ อภิเษกจากทิศ รัตน์ พระบรมราชเทวีได้รับพระบรมราชานุญาตจากพระบาทสมเด็จ ทง้ั แปด นบั เปน็ คร้ังแรกในประวัตศิ าสตรท์ พี่ ระมหากษตั ริย์ ในระบอบ พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช เม่ือ พ.ศ. 2515 ให้ใช้แทน ประชาธิปไตยทรงรับน้ำ�อภิเษกจากสมาชิกรัฐสภาแทนท่ีจะทรงรับจาก ของเดมิ ซ่ึงเป็นรูปเทพธิดาประนมมอื ยืนบนก้อนเมฆ ต่อมาพระบาท ราชบัณฑติ ดังในรัชกาลกอ่ น สมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ ัว ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระราช- ลัญจกรประจำ�พระองค์ เป็นตราสัญลักษณ์ประจำ�สถาบันราชภัฏ เม่ือ พระราชลัญจกรประจ�ำ พระองค์ วันท่ี 6 มีนาคม 2528 นบั เป็นพระมหากรุณาธิคุณลน้ เกลา้ ฯ แก่ชาว สถาบนั ราชภัฏอยา่ งหาทส่ี ุดมิได้ สีของสญั ลักษณ์ สนี �ำ้ เงิน แทนคา่ สถาบนั พระมหากษัตริย์ผใู้ ห้ก�ำ เนิดและ ดอกไม้ประจ�ำ มหาวทิ ยาลัย พระราชทานนาม “สถาบันราชภฏั ” สเี ขยี ว แทนค่า แหลง่ ทตี่ งั้ ของสถาบันฯ 40 แหง่ ในแหล่ง ดอกไม้สัญลักษณ์ประจำ� ธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ มท่ีสวยงาม มหาวิทยาลัย คือ “ดอกแก้ว สีทอง แทนคา่ ความเจริญรุ่งเรืองทางภมู ิปัญญา เจ้าจอม” ต้นแก้วเจ้าจอม สสี ้ม แทนค่า ความร่งุ เรอื งของศิลปวฒั นธรรมทอ้ งถ่ิน เป็นไม้ดอกซึ่งพระบาทสมเด็จ ที่ก้าวไกลใน 41 สถาบัน พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั น�ำ มาปลกู สีขาว แทนค่า ความคดิ อันบริสทุ ธ์ิของนกั ปราชญแ์ หง่ ในบริเวณสวนสุนันทาได้พันธ์ุมาเม่ือคราวเสด็จฯ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั ประพาสประเทศชวา (อินโดนีเซีย) ลักษณะดอกเหมือนดอกแก้ว แตก่ ลีบดอกเป็นสีม่วงนำ้�เงิน เกสรสีเหลอื ง ใบเหมอื นใบแก้ว แตก่ ลม สีประจำ�มหาวิทยาลยั ตดิ กนั และปอ้ มกว่า ตน้ แรกปลกู ไวบ้ นเนินดินหนา้ อาคาร 11 ปัจจุบนั ขนาดตน้ สงู ประมาณ 15 เมตร สปี ระจ�ำ มหาวิทยาลยั คือ สนี ้ำ�เงนิ และสีชมพู สนี �ำ้ เงิน หมายถึง สีประจำ�องคพ์ ระมหากษตั รยิ ์ สชี มพู หมายถงึ สปี ระจำ�วนั พระราชสมภพของ พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยูห่ วั บณั ฑติคณุ ลักษณะ...ที่พึงประสงค์ ดา้ นความรู้และวชิ าการทางวชิ าชีพ (ปัญญา) ดา้ นคุณธรรมและจรยิ ธรรม 1. การสร้างความรแู้ ละวิชาชพี 2. การใชข้ อ้ มลู และสารสนเทศ 1. ความซ่ือสตั ยส์ ุจริต และประหยัด 3. การคิดวิเคราะห์ 2. ความเสยี สละ อทุ ศิ ตนและการท�ำ งานเพอ่ื ส่วนรวม 4. การคิดวจิ ารณญาณ 3. ความยตุ ิธรรม 5. การสงั เคราะห์ข้อมูลและสารสนเทศ 4. ความรบั ผิดชอบและตรงตอ่ เวลา 5. ความขยัน อดทน และหม่ันเพียร ดา้ นทักษะสว่ นบคุ คล 1. การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ 2. การสือ่ สารและภาษา 3. การใช้ตวั เลขและจำ�นวน 4. การวางแผนและจัดการ 5. การมีความอสิ ระและเปน็ ตัวของตวั เอง 6. การทำ�งานเปน็ ทมี
009 SunandhaSuan Rajabhat University STUDENT HANDBOOK 2021 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ได้นำ�แนวคิดของสำ�นักงาน ส่ิงที่มหาวิทยาลัยมีอยู่แล้ว จึงทำ�ให้การพัฒนา คณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา มาเปน็ แนวทางในการพฒั นามหาวทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยในระยะแรกเป็นไปอย่างราบร่ืน โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ฤๅเดช เกดิ วิชัย อธิการบดี ได้นำ�แนวทาง เปน็ ระบบ มกี ารพัฒนาอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ท้ังในด้าน การจัดอันดับมหาวิทยาลัยท่ีเป็นที่ยอมรับในระดับสากลเข้ามาเป็น การเรียนการสอน การให้บริการแก่นักศึกษา ส่วนหน่ึงในการกำ�หนดทิศทางการพัฒนามหาวิทยาลัย ซ่ึงได้กำ�หนด รวมถงึ ดา้ นการวจิ ยั และไมส่ ง่ ผลกระทบกบั การ เป็นแผนการพัฒนาไว้ 15 ปี ท�ำ งานของบคุ ลากร ซง่ึ ผลทไี่ ดจ้ ากการด�ำ เนนิ งาน ตามแผนที่กำ�หนดไว้ ส่งผลให้มหาวิทยาลัย ในระยะแรก (ปี 2556-2559) ได้น�ำ การจดั อนั ดบั มหาวทิ ยาลัย ราชภัฏสวนสุนันทามีผลการจัดอันดับคุณภาพ ของ Webometrics มาก�ำ หนดทิศทางการพัฒนามหาวิทยาลัย ด้วย มหาวิทยาลยั ท่สี ูงขึน้ และสามารถกา้ วขึ้นมาเป็น เหตุผลที่ว่า เกณฑ์ของ Webometrics มีบริบทท่ีใกล้เคียงกับการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอันดับ 1 ของประเทศได้ ด�ำ เนนิ งานของมหาวทิ ยาลยั มากทส่ี ดุ สามารถปรบั การท�ำ งานของบคุ ลากร ภายในระยะเวลาเพียง 2 ปี และสามารถรกั ษา ให้เข้ากับเกณฑ์ได้ง่ายและในเกณฑ์การจัดอันดับบางข้อก็สอดคล้องกับ ตำ�แหน่งราชภัฏอันดับ 1 ของประเทศได้ถึง 3 สมยั หลังจากท่ีประสบความสำ�เร็จกับการจัด อนั ดับมหาวทิ ยาลยั ของ Webometrics แล้ว มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทายังคงมุ่งม่ัน พัฒนาต่อไป ด้วยการยกระดับมหาวิทยาลัย เขา้ สกู่ ารจดั อนั ดบั ของ QS World University Rankings แตก่ ารกา้ วเขา้ สู่ QS นบั วา่ เปน็ สงิ่ ที่ ทา้ ทายมากส�ำ หรบั มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ซงึ่ เกณฑ์ ของ QS แตกตา่ งกับ Webometrics มากอยู่พอสมควร ท�ำ ใหต้ ้องมี การปรับเปลี่ยนการดำ�เนินงานและการเตรียมความพร้อมมากขึ้น และ เพื่อให้มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา พร้อมท่ีจะเข้าสู่การจัดอันดับ ของ QS ในปี 2560 จึงได้นำ� QS Stars ซ่งึ เปน็ อีกรปู แบบหนึ่งของ การจดั อันดบั ของ QS ทเ่ี ป็นการพัฒนาตนเองตามเกณฑท์ ีก่ �ำ หนดและ วัดออกมาเป็นระดับของคุณภาพ ซึ่งจำ�นวนดาวที่มหาวิทยาลัยได้ ก็ จะบอกถึงคุณภาพ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทามุ่งมั่นที่จะเป็น มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อนั ดบั 1 และเปน็ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั แหง่ แรก ทเ่ี ขา้ สู่ การจัดอนั ดบั ของ QS World University Rankings ในปี 2560
010 SunandhaSuan Rajabhat University STUDENT HANDBOOK 2021 สวนสุนันทา 2030 ก้าวสู่... “มหาวทิ ยาลัย เอตทคั คะนานาชาต”ิ 2564 มSuหaาnวSิทuยnaาnลdยั haราRชaภjabฏั hสatวนUnสiุนveันrsทityา 2563 2562 2560-2564 2561 มหาวิทยาลัยแม่แบบท่ดี ขี องสังคม (Smart Archetype University of the Society) 2560 พนั ธกจิ 1. ผลิตบัณฑติ ทมี่ คี ุณภาพระดับแนวหน้า 2. ให้บรกิ ารวิชาการและถ่ายทอดเทคโนโลยีแก่ชุมชนและสงั คม นานาชาติ 3. อนรุ กั ษ์ พฒั นาใหบ้ รกิ ารเปน็ ศนู ยก์ ลางทางดา้ นศลิ ปวฒั นธรรม 4. วิจยั สรา้ งนวัตกรรมและองค์ความรู้ 5. สร้างเครือข่ายกับมหาวิทยาลัยช้นั นำ�ในอาเซยี น 6. เป็นมหาวิทยาลยั ท่มี คี วามคลอ่ งตัวในการบริหารจัดการ ยทุ ธศาสตร์ 1. พัฒนามหาวิทยาลยั ให้เปน็ เอตทคั คะอยา่ งย่งั ยนื 2. สร้างผลงานวชิ าการ ตีพิมพ์ เผยแพร่ และสทิ ธทิ างปญั ญา 3. สร้างความสมั พันธแ์ ละเช่อื มโยงเครอื ขา่ ย 4. ขยายการยกย่องระดับนานาชาติ คา่ นยิ มหลัก 1. ปญั ญาและความคิดสร้างสรรค์ (Wisdom & Creativity) 2. ความผาสกุ และความภักดีในองคก์ ร (Happiness & Loyalty) 3. บูรณาการ และความร่วมมือ (Integration & Collaboration) 4. ความเป็นมอื อาชพี (Professionalism)
011 SunandhaSuan Rajabhat University STUDENT HANDBOOK 2021 สวนสนุ นั ทา 2030 สวนสุนันทา 2030 กา้ วส.ู่ .. “มหาวิทยาลัย ก้าวสู.่ .. “มหาวทิ ยาลัย เอตทคั คะนานาชาติ” เอตทคั คะนานาชาต”ิ 2569 2574 2568 2573 2567 2565-2569 2572 2570-2574 2566 มหาวิทยาลัยเอตทัคคะท่มี อี ัตลกั ษณ์ 2571 (Niche Guru University) มหาวทิ ยาลัยเอตทคั คะนานาชาติ (International Niche Guru 2565 2570 University) พันธกิจ พนั ธกจิ 1. ผลติ บณั ฑิตที่มีคุณภาพระดบั แนวหนา้ 1. ผลิตบัณฑิตท่ีมีคุณภาพระดับแนวหนา้ 2. ใหบ้ รกิ ารวิชาการและถา่ ยทอดเทคโนโลยีแก่ชมุ ชนและสงั คม 2. ใหบ้ ริการวชิ าการและถา่ ยทอดเทคโนโลยแี กช่ มุ ชนและสังคม นานาชาติ นานาชาติ 3. อนรุ กั ษ์ พฒั นาใหบ้ รกิ ารเปน็ ศนู ยก์ ลางทางดา้ นศลิ ปวฒั นธรรม 3. อนรุ กั ษ์ พฒั นาใหบ้ รกิ ารเปน็ ศนู ยก์ ลางทางดา้ นศลิ ปวฒั นธรรม 4. วิจยั สรา้ งนวัตกรรมและองคค์ วามรู้ 4. วิจัย สร้างนวตั กรรมและองคค์ วามรู้ 5. สรา้ งเครือขา่ ยกบั มหาวทิ ยาลยั ชนั้ น�ำ ในเอเชีย 5. สร้างเครือข่ายกบั มหาวิทยาลัยชัน้ นำ�ในระดบั นานาชาติ 6. เปน็ มหาวทิ ยาลัยท่ีมคี วามเป็นเลศิ ในการบรหิ ารจดั การ 6. สรา้ งนวตั กรรมการศึกษาท่นี ำ�สมยั ยทุ ธศาสตร์ ยทุ ธศาสตร์ 1. พัฒนามหาวิทยาลัยใหเ้ ป็นเอตทคั คะอย่างยัง่ ยืน 1. พัฒนามหาวิทยาลัยให้เป็นเอตทัคคะอยา่ งย่ังยืน 2. สร้างผลงานวิชาการ ตีพมิ พ์ เผยแพร่ และสิทธทิ างปัญญา 2. สร้างผลงานวชิ าการ ตพี ิมพ์ เผยแพร่ และสิทธทิ างปัญญา 3. สร้างความสมั พนั ธ์และเชือ่ มโยงเครอื ขา่ ย 3. สร้างความสัมพนั ธแ์ ละเช่อื มโยงเครอื ขา่ ย 4. ขยายการยกย่องระดับนานาชาติ 4. ขยายการยกยอ่ งระดบั นานาชาติ คา่ นยิ มหลกั ค่านยิ มหลัก 1. ปัญญาและความคดิ สรา้ งสรรค์ 1. ปญั ญาและความคิดสร้างสรรค์ (Wisdom & Creativity) (Wisdom & Creativity) 2. ความผาสกุ และความภักดใี นองค์กร 2. ความผาสกุ และความภักดีในองค์กร (Happiness & Loyalty) (Happiness & Loyalty) 3. บูรณาการ และความร่วมมอื 3. บูรณาการ และความรว่ มมือ (Integration & Collaboration) (Integration & Collaboration) 4. ความเป็นมอื อาชีพ 4. ความเปน็ มอื อาชพี (Professionalism) (Professionalism)
012 SunandhaSuan Rajabhat University STUDENT HANDBOOK 2021 โครงสร้างองคก์ ร ORGRANIZATION CHART ผู้บทำ�รเนิหยี บาร มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสวนสุนนั ทา รศ.ดร.ชตุ กิ าญจน์ ศรวี บิ ูลย์ ผศ.ดร.ปรชี า พงษ์เพง็ รศ.ดร.นนั ทิยา น้อยจนั ทร์ รศ.ดร.วิทยา เมฆข�ำ อธกิ ารบดี รองอธิการบดีฝ่ายบริหาร รองอธกิ ารบดีฝา่ ยวชิ าการ รองอธกิ ารบดฝี ่ายแผนงาน มหาวิทยาลัยราชภฏั สวนสนุ นั ทา และประกันคุณภาพ ผศ.ดร.สุวรีย์ ยอดฉิม ผศ.ดร.เจตนส์ ฤษฎิ์ อังศุกาญจนกุล รศ.ดร.ธนสวุ ทิ ย์ ทบั หริ ญั รักษ์ ผศ.ดร.คมสัน โสมณวัตร รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนา รองอธกิ ารบดีฝ่ายกจิ การนักศึกษา รองอธิการบดีฝ่ายกิจการ สภามหาวทิ ยาลัย รองอธิการบดวี ทิ ยาเขตนครปฐม
013 SunandhaSuan Rajabhat University STUDENT HANDBOOK 2021 OZCRAHGTARI ROA TNN I คสณภะากรมรหมกาาวร ทิ ยาลยั สคณภะากรครณมกาารจารยแ์ ละขา้ ราชการ 1. รศ.ดร.ฤๅเดช เกิดวชิ ัย นายกสภามหาวทิ ยาลัย 1. ผศ.วีระ โชตธิ รรมาภรณ ประธานสภาคณาจารย 2. ดร.เอนก เพิ่มวงศเ์ สนยี ์ อุปนายกสภามหาวิทยาลัย และขา ราชการ 3. ดร.กมล รอดคลา้ ย กรรมการผทู้ รงคณุ วุฒิ 2. ผศ.ดร.ดวงกมล ฐิติเวส กรรมการ 4. นายวัชรกติ ิ วชั โรทยั กรรมการผทู้ รงคุณวฒุ ิ 3. ผศ.ดร.วลยั พร ผอ นผนั กรรมการ 5. นายประทปี เฉลมิ ภทั รกลุ กรรมการผู้ทรงคณุ วฒุ ิ 4. อาจารยณยศ กลุ พานิช กรรมการ 6. นายแพทย์มาโนชญ์ ลโี ทชวลิต กรรมการผทู้ รงคณุ วฒุ ิ 5. ผศ.อรัญ ขวญั ปาน กรรมการ 7. ดร.สมบตั ิ คุรุพันธ ์ กรรมการผทู้ รงคณุ วฒุ ิ 6. อาจารย ดร.ลดาพร พิทกั ษ กรรมการ 8. ศ.ดร.วรเดช จันทรศร ราชบณั ฑติ กรรมการผูท้ รงคุณวุฒิ 7. ผศ.สริ ัชชา สําลที อง กรรมการ 9. ดร.ชูชีพ เอื้อการณ์ กรรมการผ้ทู รงคุณวุฒิ 8. พ.ต.อ.ดร.นพดล บุรณนัฏ กรรมการ 10. ดร.อาภา อรรถบรู ณว์ งศ์ กรรมการผู้ทรงคุณวฒุ ิ 9. อาจารยจ นั ทนา แจงเจนเวทย กรรมการ 11. นางนฤมล ศิรวิ ัฒน ์ กรรมการผทู้ รงคณุ วุฒิ 10. อาจารย ดร.อนุชติ กุลวานชิ กรรมการ 12. นายวโิ รจน์ กจิ กุลอนันตเอก กรรมการผทู้ รงคุณวฒุ ิ 11. อาจารย ดร.กันตพงษ ปราบสงบ กรรมการ 13. ดร.สมชาย อัศวเศรณี ประธาน กก.สง่ เสรมิ กจิ การ 12. อาจารยสวลักษณ เชอื้ สวุ รรณ กรรมการ มหาวทิ ยาลัย 13. อาจารยอ ญั ชลี หริ ัญแพทย กรรมการ 14. รศ.ดร.ชตุ ิกาญจน์ ศรีวบิ ลู ย์ อธิการบดี 14. อาจารยธ ิดา นิติธรญาดา กรรมการ 15. ผศ.วรี ะ โชตธิ รรมาภรณ์ ประธานสภาคณาจารย์ 15. อาจารย ดร.สมทบ แกวเชือ้ กรรมการ 16. รศ.ดร.วิทยา เมฆขำ� ผแู้ ทนผูด้ ำ�รงต�ำ แหน่งบริหาร 16. อาจารยบ ัว ศรคี ช กรรมการ 17. รศ.ดร.นพิ นธ์ ศศธิ รเสาวภา ผ้แู ทนผู้ดำ�รงต�ำ แหนง่ บรหิ าร 17. อาจารยภ์ าวิณี โสระเวช กรรมการ 18. รศ.ดร.บณั ฑิต ผงั นริ นั ดร ์ ผแู้ ทนผ้ดู ำ�รงตำ�แหนง่ บริหาร 18. นายนฐั พล สารตั น กรรมการ 19. รศ.ดร.สมเกียรติ กอบัวแกว้ ผูแ้ ทนผู้ด�ำ รงตำ�แหนง่ บริหาร 19. นางสาวอรวรรณ สุขมา กรรมการ 20. ผศ.ดร.นยิ ม สุวรรณเดช ผูแ้ ทนจากคณาจารย์ประจำ� 20. นายวิชา ขันคํา กรรมการ 21. อาจารย์สกลุ จรยิ าแจม่ สทิ ธ์ ิ ผู้แทนจากคณาจารยป์ ระจำ� 21. นางสาวญานกิ า พนิ ิจ กรรมการ 22. ผศ.ดร.เจตน์สฤษฎ์ิ อังศุกาญจนกลุ ผแู้ ทนจากคณาจารยป์ ระจำ� 22. นายบญุ เรอื ง เกตศรี กรรมการ 23. อาจารยพ์ ุทธิวัฒน์ ไวยวุฒิธนาภมู ิ ผแู้ ทนจากคณาจารยป์ ระจ�ำ 23. นางสาววริศรา วัดสงิ ห กรรมการ 24. รศ.ดร.ธนสวุ ิทย์ ทบั หิรัญรักษ ์ เลขานกุ ารสภามหาวทิ ยาลัย 24. นางสาวนติ ยา บรรจุ กรรมการ 25. รศ.บรรพต พรประเสรฐิ ผูช้ ่วยเลขานกุ ารสภามหาวทิ ยาลัย 25. นายจรญู พนั ธ สหนาวิน กรรมการ 26. ผศ.ดร.ศริ ลิ ักษณ์ เกตฉุ าย ผูช้ ว่ ยเลขานุการสภามหาวทิ ยาลยั 26. นางสาวขนิษฐา พลับแกว้ ผูช ว่ ยเลขานุการ 27. นางสาววรรณวภิ า บำ�รุงพงศ์ ผชู้ ่วยเลขานุการสภามหาวิทยาลัย 27. นางสาวนพรัตน หมัดละ ผูช ่วยเลขานกุ าร 28. นางสาวขนิษฐา เศษคึมบง ผชู ่วยเลขานุการ
014 SunandhaSuan Rajabhat University STUDENT HANDBOOK 2021 คสณภะากรวริชมกาากร าร มคสณ่งหะเากสรวรรทิมมิ กยกาารจิ ลกัยาร 1. รศ.ดร.ชุติกาญจน์ ศรีวิบูลย์ อธกิ ารบดี 1. ดร.สมชาย อศั วเศรณี ประธาน 2. ศ.เอกชาติ จันอุไรรัตน์ ผทู้ รงคุณวุฒิ 2. พระธรรมกติ ตเิ มธี (เกษม) กรรมการ 3. ศ.ดร.ภูมฐิ าน รังคกลู นวุ ฒั น์ ผทู้ รงคุณวฒุ ิ 3. นางชไมมาศ ชาตเิ มธากุล กรรมการ 4. ศ.(เกียรติคุณ) ดร.อนนั ต์ รศั มี ผทู้ รงคุณวุฒิ 4. ดร.ทพิ ย์วรรณ จักรเพ็ชร กรรมการ 5. ศ.(เกยี รติคณุ ) ดร.สนิ พนั ธุ์พินิจ ผู้ทรงคณุ วฒุ ิ 5. นายทวี โพยประโคน กรรมการ 6. ดร.สมโภชน์ นพคุณ ผทู้ รงคุณวฒุ ิ 6. นางสาวนวลหง อภิธนาคุณ กรรมการ 7. รศ.ดร.สกุ ญั ญา บูรณเดชาชยั ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ 7. ร.ท.ดร.ปรดี า หวานใจ กรรมการ 8. รศ.ดร.วรางคณา จนั ทร์คง ผทู้ รงคุณวุฒิ 8. ดร.พันนภา รักสนทิ กรรมการ 9. ศ.(กิตติคุณ) ดร.ยุบล เบ็ญจรงคก์ จิ ผทู้ รงคณุ วุฒิ 9. ดร.ภัทรฐ์ ติ า ทมุ เกดิ กรรมการ 10. ศ.นายแพทยส์ รุ ศกั ดิ์ ฐานีพานชิ สกลุ ผู้ทรงคณุ วุฒิ 10. นางสาวมลั ลกิ า แสนภกั ดี กรรมการ 11. ศ.ดร.ชดิ ชนก เหลอื สินทรัพย์ ราชบัณฑิต ผทู้ รงคณุ วุฒิ 11. นางสาววาสนา ทวีแสงสกุลไทย กรรมการ 12. รศ.ดร.ชัยสิทธิ์ ดา่ นกติ ตกิ ุล ผทู้ รงคณุ วุฒิ 12. นายศกั ดริ์ พี วดีศริ ศิ ักด์ ิ กรรมการ 13. รศ.ดร.โยธิน แสวงดี ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ 13. นายสเุ ทพ ธญั ญสทิ ธิ์ กรรมการ 14. ศ.ดร.เทิดชาย ชว่ ยบ�ำ รุง ผทู้ รงคณุ วุฒิ 14. นางสาวสิรนิ ญา คำ�ตนั นายกองค์การ 15. ดร.ทองอยู่ คงขันธ ์ ผทู้ รงคุณวฒุ ิ นักศกึ ษา 16. ดร.ชวลติ หมื่นนชุ ผู้ทรงคุณวฒุ ิ 15. นายปรเมษฐ์ สุขเวช ประธานสภา 17. รศ.ดร.นิพนธ์ ศศิธรเสาวภา ผแู้ ทนคณะมนษุ ยศาสตร์ นักศึกษา และสงั คมศาสตร์ 16. ผศ.ดร.เจตนส์ ฤษฎิ์ อังศกุ าญจนกลุ เลขานกุ าร 18. ผศ.ดร.สมศกั ด์ิ คลา้ ยสังข์ ผู้แทนคณะวทิ ยาการจัดการ 17. ผศ.สริ ิอร จำ�ปาทอง ผู้ชว่ ยเลขานุการ 19. ผศ.ดร.เอกพงศ์ อนิ เก้ือ ผแู้ ทนคณะศลิ ปกรรมศาสตร์ 18. นายนพิ นธ์ ชยั พฤษทล ผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร 20. ผศ.ดร.กรรณกิ าร์ ภริ มยร์ ตั น ์ ผู้แทนคณะครุศาสตร์ 19. นางสาวนฤมล พรหมโลก ผู้ช่วยเลขานกุ าร 21. ผศ.ดร.โสพิศ สว่างจติ ร ผแู้ ทนคณะวิทยาศาสตร์ 20. รศ.พลเอก นพ.ปรญิ ญา ทวชี ัยการ ที่ปรกึ ษา และเทคโนโลยี 21. ดร.เทพรักษ์ เหลอื งสวุ รรณ ท่ีปรึกษา 22. ผศ.ดร.ปรชี ญา ครเู กษตร ผแู้ ทนคณะเทคโนลีอุตสากรรม 22. ดร.วฑิ ูรย์ สมิ ะโชคด ี ท่ปี รกึ ษา 23. ผศ.ดร.พรพรรณ วรสีหะ ผแู้ ทนวทิ ยาลยั พยาบาลและสขุ ภาพ 23. พลเอกประยุทธ เมฆวชิ ยั ท่ีปรกึ ษา 24. รศ.ดร.บัณฑิต ผงั นริ ันดร์ ผู้แทนวทิ ยาลัยนวัตกรรม 24. นางสงั เขต ตชิ ะวาณชิ ย ์ ที่ปรึกษา และการจดั การ 25. ดร.ฐานญิ า พงษ์ศิร ิ ท่ีปรึกษา 25. ผศ.ดร.สมบูรณ์ เวสน์ ผแู้ ทนวทิ ยาลยั สถาปตั ยกรรมศาสตร์ 26. รศ.ดร.สมเดช รงุ่ ศรสี วสั ดิ์ ผแู้ ทนวทิ ยาลยั สหเวชศาสตร์ 27. ผศ.ดร.อาณตั ิ ต๊ะปนิ ตา ผูแ้ ทนวทิ ยาลัยการจัดการ อตุ สาหกรรมบริการ 28. อาจารย์ ดร.ฉตั รรัตน์ โหตระไวศยะ ผู้แทนวิทยาลัยโลจิสติกส์ และซัพพลายเชน 29. ผศ.ดร.มารดารตั น์ สุขสงา่ ผแู้ ทนวิทยาลยั การเมอื ง และการปกครอง 30. อาจารย์ตน้ ฝน ทรพั ยน์ ริ ันดร ์ ผแู้ ทนวทิ ยาลัยนิเทศศาสตร์ 31. ผศ.ดร.ดวงสมร รงุ่ สวรรค์โพธ์ิ ผู้แทนบัณฑติ วิทยาลัย 32. รศ.ดร.นันทยิ า นอ้ ยจนั ทร ์ รองอธกิ ารบดีฝา่ ยวิชาการ 33. ผศ.ดร.สทิ ธชิ ยั ธรรมเสน่ห ์ ผชู้ ว่ ยอธกิ ารบดฝี า่ ยวชิ าการ 34. นางสาวสุวรรณา งามวทิ ยโ์ รจน ์ ผอู้ �ำ นวยการกองบริการการศกึ ษา 35. นางวรี าวัลย์ จนั ทร์ปลา หวั หนา้ ฝา่ ยทะเบยี นและประมวลผล
SunandhaSuan Rajabhat University015 STUDENT HANDBOOK 2021 คบณระิหกรารรมมกาหราวทิ ยาลยั (ก.บ.ม.) 1. รศ.ดร.ชตุ กิ าญจน์ ศรวี ิบลู ย์ อธกิ ารบด ี 26. ผศ.พเิ ศษ พล.ต.ท.ดร.สณั ฐาน ชยนนท์ รกั ษาการฯ คณบดวี ทิ ยาลยั 2. ผศ.ดร.ปรชี า พงษเ์ พ็ง รองอธิการบดีฝ่ายบรหิ าร การเมืองและการปกครอง 3. รศ.ดร.นนั ทิยา นอ้ ยจันทร ์ รองอธิการบดฝี า่ ยวิชาการ 27. ผศ.กัญภสั อตู่ ะเภา รกั ษาการฯ คณบดวี ทิ ยาลยั 4. รศ.ดร.วิทยา เมฆข�ำ รองอธกิ ารบดฝี า่ ยแผนงาน นเิ ทศศาสตร ์ และประกนั คุณภาพ 28. ผศ.ดร.ศิริลกั ษณ์ เกตฉุ าย ผอู้ �ำ นวยการสำ�นักวทิ ย- 5. ผศ.ดร.เจตน์สฤษฎ์ิ อังศุกาญจนกลุ รองอธิการบดฝี ่ายกิจการ บริการฯ นกั ศึกษา 29. อาจารย์ ดร.พรี ะพล ชชั วาลย ์ ผู้อ�ำ นวยการสำ�นักศลิ ปะ 6. ผศ.ดร.สวุ รีย์ ยอดฉิม รองอธกิ ารบดฝี ่ายวจิ ัย และวฒั นธรรม และพัฒนา 30. อาจารย์นภาศรี สุวรรณโชต ิ ผอู้ ำ�นวยการสำ�นกั วิชาการ 7. รศ.ดร.ธนสุวิทย์ ทบั หริ ัญรกั ษ ์ รองอธกิ ารบดีฝ่ายกิจการ ศึกษาทั่วไปฯ สภามหาวิทยาลยั 31. ผศ.ดร.รจนา จันทราสา ผ้อู �ำ นวยการสถาบนั วจิ ยั 8. ผศ.ดร.คมสนั โสมณวตั ร รองอธกิ ารบดฝี า่ ยวทิ ยาเขต และพฒั นา นครปฐม 32. รศ.ดร.สมเกยี รติ กอบัวแก้ว ผอู้ �ำ นวยการโรงเรยี นสาธติ 9. ผศ.ดร.สิทธิชยั ธรรมเสน่ห์ ผชู้ ่วยอธกิ ารบดี 33. อาจารย์ ดร.แก่นเพชร ศรานนทวฒั น ์ รกั ษาการฯ ผอู้ �ำ นวยการ ฝา่ ยวิชาการ สำ�นกั ทรัพยส์ ินและรายได้ 10. อาจารยอ์ นนั ตชยั เอกะ ผูช้ ่วยอธกิ ารบดีฝา่ ยวิเทศ 34. ผศ.ดร.กวนิ วงศล์ ดี ี ผูอ้ �ำ นวยการสถาบัน สมั พันธ์ สร้างสรรคฯ์ (สสสร.) 11. ผศ.สริ ิอร จ�ำ ปาทอง ผชู้ ว่ ยอธกิ ารบดฝี า่ ยกจิ การ 35. ผศ.วีระ โชตธิ รรมาภรณ์ ประธานสภาคณาจารย์ นักศึกษา และขา้ ราชการ 12. อาจารยด์ วงพร แสงทอง ผชู้ ว่ ยอธกิ ารบดฝี า่ ยกจิ การ 36. นางอมรวดี กลนิ่ จันทร์ ตัวแทนขา้ ราชการ พเิ ศษ 37. นายมนตรี ไทรโรจนร์ ุ่ง ตัวแทนบคุ ลากรทีม่ ใิ ช่ 13. ผศ.ดร.กรรณิการ์ ภิรมย์รตั น์ คณบดีคณะครุศาสตร์ ขา้ ราชการ 14. รศ.ดร.ชัยศรี ธาราสวัสดพิ์ ิพัฒน์ คณบดีคณะวิทยาศาสตรฯ์ 38. ผศ.ดร.ภญ.พิมพร ทองเมอื ง ผอู้ ำ�นวยการศูนยฯ์ 15. ผศ.ดร.สมศกั ดิ์ คล้ายสังข์ คณบดคี ณะวทิ ยาการจดั การ จ.สมทุ รสงคราม 16. รศ.ดร.นิพนธ์ ศศิธรเสาวภา คณบดคี ณะมนษุ ยศาสตรฯ์ 39. ผศ.ดร.ณัฐณภรณ์ เอกนราจนิ ดาวัฒน์ ผู้อำ�นวยการศนู ยฯ์ 17. ผศ.ดร.เอกพงศ์ อนิ เก้ือ คณบดีคณะศิลปกรรม- จ.อุดรธานี ศาสตร์ 40. อาจารยส์ ุวฒั น์ นวลขาว ผ้อู ำ�นวยการศนู ย์ฯ 18. ผศ.ดร.สุรพันธุ์ รตั นาวะด ี คณบดีคณะเทคโนโลยี จ.ระนอง อตุ สาหกรรม 41. ผศ.ดร.สจุ ิตรา อรู่ ตั นมณ ี ผอู้ ำ�นวยการศูนยแ์ หง่ 19. ผศ.ดร.พรพรรณ วรสีหะ คณบดวี ิทยาลัยพยาบาลฯ ความเป็นเลศิ ฯ 20. รศ.ดร.บัณฑิต ผงั นริ ันดร ์ คณบดวี ทิ ยาลยั นวตั กรรมฯ 42. นางสาวเสาวณยี ์ กำ�เนิดรัตน์ รกั ษาการฯ ผู้อำ�นวยการ 21. รศ.ดร.สมเดช รุ่งศรีสวัสด์ิ คณบดีวิทยาลยั สำ�นักงานวิทยาเขต สหเวชศาสตร์ นครปฐม 22. อาจารย์ ดร.ฉตั รรตั น์ โหตระไวศยะ คณบดวี ทิ ยาลยั โลจสิ ตกิ สฯ์ 43. นางจุณีรัตน์ จนั ทร์นติ ย ์ รักษาการฯ ผอู้ ำ�นวยการ 23. ผศ.ดร.สมบรู ณ์ เวสน์ คณบดีวิทยาลัยสถาปัตย- ส�ำ นกั งานอธกิ ารบดี กรรมศาสตร์ 24. รศ.ดร.ดวงสมร รงุ่ สวรรคโ์ พธิ ์ คณบดีบณั ฑิตวทิ ยาลยั 25. ผศ.ดร.อาณตั ิ ตะ๊ ปนิ ตา รกั ษาการฯ คณบดวี ทิ ยาลยั การจัดการอุตสาหกรรม บรกิ าร
016 SunandhaSuan Rajabhat University STUDENT HANDBOOK 2021 หลักสูตร/สาขาวิชา COURSE/BRANCH การจัดการศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวนสนุ นั ทาเปน็ สว่ นหนงึ่ ของสงั คมและระบบ ให้นักเรียนย่ืนสมัครโดยตรงกับมหาวิทยาลัย ซึ่งจะรับสมัครประมาณ การศกึ ษาระดบั สงู ของประเทศ มภี ารกจิ ในการพฒั นาขดี ความสามารถของ เดอื นกมุ ภาพนั ธ-์ พฤษภาคม ของทกุ ปี และเขา้ รบั การคดั เลอื กตามเกณฑ์ ทรัพยากรมนุษยใ์ ห้มีคุณภาพและมคี ณุ สมบัติท่ีพงึ ประสงค์ ตอบสนอง การสอบ มหาวิทยาลัยแบ่งโควตาเปน็ 3 ประเภทดังน้ี ต่อความต้องการของการพฒั นาประเทศ มวี ิสัยทศั น์ที่วา่ “มหาวิทยาลัย แมแ่ บบทดี่ ขี องสงั คม” (Smart Archetype University of the 1. โควตาความสามารถทางวชิ าการ คดั เลอื กจากนกั เรยี น Society) มหาวิทยาลัยมีเป้าหมายที่จะเป็นมหาวิทยาลัยแห่งคุณภาพ ทเี่ รยี นดี มคี ณุ สมบตั ติ รงตามเกณฑท์ ม่ี หาวทิ ยาลยั ก�ำ หนด โดยผสู้ มคั ร มาตรฐานในระดบั นานาชาตใิ นการกา้ วสกู่ ารเปน็ “มหาวทิ ยาลยั เอตทคั คะ กำ�ลังศกึ ษาระดับชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 (รวม 5 ภาคการศกึ ษา) มีผล นานาชาต”ิ บณั ฑติ ทจี่ บจากมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวนสนุ นั ทา ตอ้ งสามารถ การเรยี นเฉลี่ยสะสมไมต่ ่�ำ กว่า 2.50 แขง่ ขนั กบั บณั ฑติ นานาชาตไิ ดแ้ ละสามารถด�ำ รงชพี อยใู่ นสงั คมไดอ้ ยา่ งมี คณุ ภาพและมคี ุณธรรม 2. โควตาความสามารถพเิ ศษ (กีฬา ดนตรี ศลิ ปะ และ นาฏศลิ ป์) สำ�หรบั นกั เรยี นท่ัวไป ถา้ มีความสามารถทางกฬี าตอ้ งอยใู่ น มหาวทิ ยาลยั จดั การศกึ ษาในระดบั ปรญิ ญาตรแี ละระดบั บณั ฑติ - ระดบั เขตหรอื นกั กฬี าทมี ชาติ ถา้ เปน็ ความสามารถเฉพาะดา้ นอยใู่ นเกณฑ์ ศึกษา โดยการจัดการศึกษาภาคปกติเป็นการจัดการศึกษาเต็มเวลา ทท่ี างมหาวิทยาลยั ก�ำ หนด มผี ลการเรยี นเฉล่ียสะสมไม่ต�่ำ กว่า 2.00 ระบบทวภิ าค โดยใน 1 ปกี ารศกึ ษา แบง่ ออกเปน็ 2 ภาคการศกึ ษาปกติ มีระยะเวลาการศกึ ษาไมน่ ้อยกว่า 15 สัปดาห์ และมหาวิทยาลัยอาจเปิด 3. โควตาทนุ การศกึ ษา (ทนุ เพชรสนุ นั ทา) ส�ำ หรบั นกั เรยี น การศึกษาภาคฤดูร้อน โดยกำ�หนดระยะเวลาการศึกษาและจำ�นวน ดเี ดน่ ทว่ั ประเทศโดยการคดั เลอื กตอ้ งอยเู่ กณฑท์ ที่ างมหาวทิ ยาลยั ก�ำ หนด หน่วยกิตให้มีสัดส่วนเทียบเคียงกันได้กับภาคการศึกษาปกติ โดยแบ่ง โดยมหาวิทยาลัยสนับสนุนให้มีเงินทุนเรียน มีผลการเรียนในระดับดี การศกึ ษาเปน็ ภาคปกตแิ ละภาคพเิ ศษ จดั การเรยี นการสอน ในวนั จนั ทร-์ ตลอดในระดบั ปรญิ ญาตรี ปรญิ ญาโทและปรญิ ญาเอก และรว่ มปฏบิ ตั งิ าน อาทติ ย์ ด�ำ เนนิ การจดั การเรยี นการสอนโดยคณะ วทิ ยาลยั ศนู ยก์ ารศกึ ษา กับทางมหาวิทยาลัย โดยผู้สมัครต้องกำ�ลังศึกษาระดับช้ันมัธยมศึกษา โครงการความร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐ เอกชน และมหาวิทยาลัย ปีที่ 6 (รวม 5 ภาคการศึกษา) มีผลการเรยี นเฉลี่ยสะสมไมต่ ่�ำ กว่า 3.25 ในต่างประเทศในการจัดการศึกษา แลกเปล่ียนบุคลากรและนักศึกษา ยกเวน้ คณะศิลปกรรมศาสตรม์ ีผลการเรียนเฉล่ยี สะสมไมต่ ำ่�กว่า 2.75 เพื่อเพิ่มความรู้ ศกั ยภาพ และประสบการณใ์ นดา้ นการเรียนการสอน รอบท่ี 3 : การรบั ตรงรว่ มกนั มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาได้ดำ�เนินการรับสมัครสอบ การรบั ตรงรว่ มกนั ส�ำ หรบั นกั เรยี นทวั่ ไป ทป่ี ระชมุ อธกิ ารบดแี หง่ คัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาระดับปริญญาตรี ภาคปกติ ตามนโยบาย ประเทศไทย (ทปอ.) เป็นหน่วยกลางรับสมคั ร นักเรียนสามารถเลอื ก การคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบการคัดเลือก ได้ 4 สาขาวชิ า โดยไมม่ ลี �ำ ดบั และสถาบนั ทดสอบทางการศกึ ษาแหง่ ชาติ แบบใหม่ คอื TCAS (Thai University Central Admission (องคก์ ารมหาชน) (สทศ.) จดั ใหม้ กี ารสอบกลางรว่ มกนั ในเวลาเดยี วกนั System) โดยเริ่มใช้ตั้งแต่ปีการศึกษา 2561 เป็นต้นไป แบ่งเป็น โดยมหาวทิ ยาลัยกำ�หนดเกณฑก์ ารคดั เลือกโดยใชค้ ะแนน GAT PAT 5 รอบ ดงั น้ี และ O-Net ซงึ่ จะรบั สมคั รประมาณเดอื นกมุ ภาพนั ธ-์ พฤษภาคม ของ ทุกปี รายละเอยี ดการคัดเลอื กทั้ง 5 รอบของ TCAS รอบที่ 4 : การรับแบบ Admission การรับแบบ Admission ส�ำ หรับนักเรียนทว่ั ไป โดยทปี่ ระชมุ รอบที่ 1 : การรับดว้ ยแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) โดยไม่มี อธิการบดีแห่งประเทศไทย (ทปอ.) เป็นหน่วยกลางในการรับสมัคร การสอบขอ้ เขยี น นกั เรียนสามารถเลือกสมคั รได้ 4 สาขาวชิ า แบบมลี ำ�ดบั โดยใช้เกณฑ์ ค่าน้ำ�หนักคะแนน GAT PAT และ O-Net และสถาบันทดสอบ การรบั ดว้ ย Portfolio โดยไมม่ กี ารสอบขอ้ เขยี น ส�ำ หรบั นกั เรยี น ทางการศึกษาแห่งชาติ (องคก์ ารมหาชน) (สทศ.) จดั ให้มีการสอบกลาง ทวั่ ไป นกั เรยี นทม่ี คี วามสามารถพเิ ศษ นกั เรยี นโควตา นกั เรยี นเครอื ขา่ ย ร่วมกันในเวลาเดียวกัน ซ่ึงจะรับสมัครประมาณเดือนกุมภาพันธ์- ให้นักเรียนยื่นสมัครกับมหาวิทยาลัย ซึ่งจะรับสมัครประมาณเดือน พฤษภาคม ของทกุ ปี พฤศจกิ ายน-ธนั วาคม ของทกุ ปี โดยผสู้ มคั รก�ำ ลงั ศกึ ษาระดบั ชนั้ มธั ยม รอบที่ 5 : การรบั ตรงแบบอิสระ ศกึ ษาปที ่ี 6 หรอื เทยี บเทา่ และมคี ณุ สมบตั ติ รงตามเกณฑท์ ม่ี หาวทิ ยาลยั การรบั ตรงแบบอสิ ระ มหาวทิ ยาลยั จะด�ำ เนนิ การรบั สมคั รประมาณ คัดเลอื กจากผลงานในเลม่ Portfolio เดือนกุมภาพันธ์-พฤษภาคม ของทุกปี โดยผู้สมัครกำ�ลังศึกษาระดับ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 หรอื เทยี บเทา่ ไมม่ กี ารสอบขอ้ เขยี น ใชว้ ธิ กี ารสอบ รอบท่ี 2 : การรับแบบโควตาทมี่ ีการสอบปฏบิ ตั ิหรือข้อเขียน สัมภาษณ์ พิจารณาจากผลการเรียน หรือผลงานจากเล่ม Portfolio การรบั แบบโควตา ทม่ี กี ารสอบปฏบิ ตั หิ รอื ขอ้ เขยี น ส�ำ หรบั นกั เรยี น (ถ้าม)ี ในเขตพื้นท่ีหรือภาคโควตาโรงเรียนในเครือข่าย และโครงการความ สามารถพิเศษต่างๆ ซึ่งมหาวิทยาลัยประกาศเกณฑ์การสอบคัดเลือก
017 SunandhaSuan Rajabhat University STUDENT HANDBOOK 2021 ระบบการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ใช้ระบบหน่วยกิต (Credit ระดบั บณั ฑิตศึกษา System) ในการจัดรายวิชาของหลักสูตรการศึกษาและใช้ระบบการ 1. หลกั สตู รประกาศนียบัตรบณั ฑติ วิชาชพี ครู จัดการเรียนการสอนเป็นแบบทวิภาค (Semester) ในการเปิดการ (ป.บณั ฑติ วิชาชพี ครู) สอนภาคปกติโดยในปกี ารศกึ ษาหน่ึงๆ ภาคเรียนที่ 1 และภาคเรียนที่ 2. หลักสตู รครุศาสตรมหาบัณฑติ (ค.ม.) 2 มรี ะยะเวลาไมน่ ้อยกว่า 15 สปั ดาห์ และภาคพเิ ศษ (ภาคฤดรู อ้ น) มี 3. หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑติ (วท.ม.) ระยะเวลา 7 สปั ดาห์ แตจ่ ดั การเรยี นการสอนเปน็ แบบทวคี ณู นกั ศกึ ษา 4. หลักสตู รบรหิ ารธรุ กิจมหาบัณฑิต (บธ.ม.) ระดับปริญญาตรี 4 ปี จ�ำ นวนหนว่ ยกิตตลอดหลักสตู รไมน่ อ้ ยกวา่ 120 5. หลกั สูตรรฐั ประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (รป.ม.) หน่วยกิต ปริญญาตรี 5 ปี จำ�นวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตรไม่น้อย 6. หลกั สูตรรฐั ศาสตรมหาบณั ฑติ (ร.ม.) กว่า 150 หน่วยกติ 7. หลกั สตู รศิลปศาสตรมหาบณั ฑิต (ศศ.ม.) 8. หลักสูตรการจดั การมหาบณั ฑิต (กจ.ม.) ทง้ั นี้ หลกั สตู รการศกึ ษาทกุ ระดบั จะสอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการ 9. หลักสูตรนิเทศศาสตรมหาบัณฑิต (นศ.ม.) อดุ มศกึ ษา และเกณฑม์ าตรฐานทเี่ กยี่ วขอ้ งของส�ำ นกั งานคณะกรรมการ 10. หลกั สูตรสาธารณสขุ ศาสตรมหาบณั ฑิต (ส.ม.) 11. หลกั สตู รปรัชญาดษุ ฎบี ณั ฑติ (ปร.ด.) ปกี ารศกึ ษานี้ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา จัดการศึกษาใน 12. หลกั สตู รบรหิ ารธุรกิจดุษฎบี ณั ฑติ (บธ.ด.) 6 คณะ 9 วิทยาลัย สรปุ ไดด้ งั น้ี 13. หลกั สูตรรฐั ศาสตรดษุ ฎบี ณั ฑิต (ร.ด.) 14. หลกั สูตรนิเทศศาสตรดษุ ฎบี ณั ฑติ (นศ.ด.) หลกั สูตรและสาขาวชิ าท่ีเปิดสอน 15. หลักสูตรสาธารณสุขดุษฎีบัณฑติ (ส.ด.) ระดบั ปรญิ ญาตรี คณะครุศาสตร์ 1. หลกั สูตรครุศาสตรบัณฑติ (ค.บ.) 2. หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) หลกั สตู รครศุ าสตรบัณฑติ (ค.บ.) 3. หลักสตู รศิลปศาสตรบณั ฑติ (ศศ.บ.) 1. สาขาวชิ าภาษาไทย 4. หลักสตู รบริหารธุรกจิ บณั ฑติ (บธ.บ.) 2. สาขาวชิ าภาษาอังกฤษ 5. หลกั สตู รบญั ชีบัณฑติ (บช.บ.) 3. สาขาวิชาคณิตศาสตร์ 6. หลักสตู รศิลปกรรมศาสตรบณั ฑติ (ศป.บ.) 4. สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย 7. หลักสตู รการแพทย์แผนไทยประยกุ ต์บณั ฑติ (พทป.บ.) 5. สาขาวิชาวทิ ยาศาสตร์ท่ัวไป 8. หลกั สตู รนเิ ทศศาสตรบณั ฑติ (นศ.บ.) 6. สาขาวชิ าสังคมศกึ ษา 9. หลกั สตู รพยาบาลศาสตรบณั ฑติ (พ.บ.) 7. สาขาวิชาเทคโนโลยีดิจทิ ัลเพื่อการศึกษา 10. หลกั สตู รนิติศาสตรบัณฑติ (น.บ.) 11. หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบณั ฑิต (รป.บ.) คณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 12. หลกั สตู รวิศวกรรมศาสตรบณั ฑิต (วศ.บ.) 13. หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต (ส.บ.) หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑิต (วท.บ.) 14. หลกั สตู รรัฐศาสตรบณั ฑติ (ร.บ.) 1. สาขาวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ 15. หลักสูตรสถาปตั ยกรรมบัณฑิต (สถ.บ.) 2. สาขาวชิ าคหกรรมศาสตร์ 16. หลักสตู รเศรษฐศาสตรบณั ฑิต (ศ.บ.) 3. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยกี ารอาหาร 17. หลักสูตรสารสนเทศศาสตรบัณฑิต (สท.บ.) 4. สาขาวิชานิติวทิ ยาศาสตร์ 18. หลกั สตู รการแพทยแ์ ผนจนี บณั ฑิต (พจ.บ.) 5. สาขาวิชาวทิ ยาศาสตร์การกฬี าและสุขภาพ 19. หลักสูตรการออกแบบบัณฑิต (อบ.บ.) 6. สาขาวิชาชวี วิทยาส่งิ แวดลอ้ ม International Program - แขนงวิชาชวี วิทยา (Biology) 1. Bachelor of Business Administration Program - แขนงวิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยสี ่งิ แวดลอ้ ม (B.B.A.) (Environmental Science and Technology) 2. Bachelor of Arts Program (B.A.) 7. สาขาวชิ าจลุ ชวี วทิ ยาอตุ สาหกรรมอาหารและนวตั กรรมชวี ภาพ 3. Bachelor of Fine Arts (B.F.A.) - แขนงวิชาจลุ ชวี วิทยาอตุ สาหกรรมอาหารและผลิตภัณฑ์ (Industrial Microbiology for Food and Products)
018 SunandhaSuan Rajabhat University STUDENT HANDBOOK 2021 - แขนงวชิ านวัตกรรมผลติ ภณั ฑ์ชวี ภาพ - แขนงวิชานวตั กรรมการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ (Bioinnovation Products) (Printing and Packaging Innovation) 8. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และนวัตกรรม หลกั สตู รการออกแบบบัณฑิต (อบ.บ.) - แขนงวิชาเคมี (Chemistry) 1. สาขาวิชาการออกแบบผลิตภณั ฑแ์ ละบรรจุภณั ฑ์ - แขนงวิชาคณิตศาสตรป์ ระยุกต์ - แขนงวชิ าการออกแบบบรรจภุ ัณฑ์ (Applied Mathematics) (Packaging Design) - แขนงวชิ าฟิสกิ ส์ (Physics) - แขนงวชิ าการออกแบบผลติ ภณั ฑ์ (Industrial Design) 9. สาขาวชิ าวิทยาการคอมพวิ เตอร์และนวตั กรรมข้อมลู หลกั สตู รวศิ วกรรมศาสตรบณั ฑติ (วศ.บ.) - แขนงวชิ าวทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ (Computer Science) 1. สาขาวชิ าวิศวกรรมคอมพวิ เตอร์ - แขนงวชิ าวิทยาการขอ้ มูลและการวเิ คราะหส์ ถิติเชิงธุรกจิ (Data Science and Statistical Analysis in คณะศิลปกรรมศาสตร์ Business) หลกั สูตรสารสนเทศศาสตรบัณฑิต (สท.บ.) หลักสตู รศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต (ศป.บ.) 1. สาขาวิชาการจดั การนวัตกรรมดิจทิ ัลและคอนเทนท์ 1. สาขาวชิ าจิตรกรรม - แขนงวชิ าการจดั การนวตั กรรมดจิ ทิ ัล 2. สาขาวิชาการออกแบบเครอ่ื งแต่งกาย (Digital Innovation Management) 3. สาขาวชิ าการออกแบบนิเทศศิลป์ - แขนงวชิ าการจัดการดจิ ิทลั คอนเทนท์ 4. สาขาวิชาการออกแบบผลติ ภัณฑ์สร้างสรรค์ (Digital Content Management) 5. สาขาวิชาดนตรี 6. สาขาวชิ าศิลปะการแสดง คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ - แขนงวิชานาฏศิลปไ์ ทย (Thai Dance) - แขนงวิชาศิลปะการละครและความเปน็ ผปู้ ระกอบการ หลกั สตู รวิทยาศาสตรบัณฑติ (วท.บ.) สรา้ งสรรค์ (Theatre Arts and Creative 1. สาขาวชิ าภูมศิ าสตรแ์ ละภูมสิ ารสนเทศ Entrepreneurship) หลักสตู รศิลปศาสตรบัณฑติ (ศศ.บ.) 1. สาขาวิชาภาษาไทย คณะวทิ ยาการจัดการ 2. สาขาวิชาภาษาองั กฤษ 3. สาขาวชิ าภาษาจนี หลกั สูตรบัญชบี ณั ฑติ (บช.บ.) 4. สาขาวชิ าภาษาญปี่ ุ่น หลกั สูตรเศรษฐศาสตรบัณฑติ (ศ.บ.) 5. สาขาวชิ าภาษาองั กฤษธุรกิจ 1. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ 6. สาขาวชิ าการจัดการพัฒนาสังคมและวัฒนธรรม หลักสตู รบรหิ ารธรุ กจิ บณั ฑติ (บธ.บ.) - แขนงวชิ าการจัดการพัฒนาสังคม 1. สาขาวชิ าบรหิ ารธุรกิจ (Social Development Management) - แขนงวชิ าการเงนิ การธนาคาร (Finance and Banking) - แขนงวิชาการจัดการทางวัฒนธรรม - แขนงวชิ าธุรกจิ ระหว่างประเทศ (Cultural Management) (International Business) - แขนงวชิ าการบริหารทรพั ยากรมนษุ ย์ คณะเทคโนโลยอี ุตสาหกรรม (Human Resource Management) - แขนงวิชาการประกอบการธุรกจิ (Entrepreneurship) หลกั สูตรวิทยาศาสตรบณั ฑติ (วท.บ.) - แขนงวชิ าการจัดการธรุ กจิ บรกิ าร 1. สาขาวชิ าการออกแบบตกแตง่ ภายในและนิทรรศการ (Business Service Management) 2. สาขาวิชาการออกแบบกราฟกิ และมัลติมีเดีย - แขนงวชิ าการตลาด (Marketing) 3. สาขาวชิ าเทคโนโลยไี ฟฟ้า 2. สาขาวชิ าการจัดการทนุ มนษุ ย์และองคก์ ร - แขนงวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม (Electrical Industrial Technology) วทิ ยาลยั พยาบาลและสขุ ภาพ - แขนงวิชาเทคโนโลยีพลังงาน (Energy Technology) 4. สาขาวชิ าเทคโนโลยคี วามปลอดภยั และอาชวี อนามยั หลักสูตรพยาบาลศาสตรบณั ฑิต (พย.บ.) 5. สาขาวชิ าเทคโนโลยีการจดั การ 1. สาขาวชิ าพยาบาลศาสตร์ - แขนงวชิ าการจดั การอสังหารมิ ทรัพย์และทรัพยากรอาคาร (Real Estate and Facility Management) - แขนงวิชาการจดั การวศิ วกรรมอุตสาหการ วทิ ยาลยั สถาปตั ยกรรมศาสตร์ (Industrial Engineering Management) หลักสตู รสถาปตั ยกรรมบัณฑติ (สถ.บ.) (5 ปี) 1. สาขาวิชาสถาปัตยกรรม 2. สาขาวิชาสถาปตั ยกรรมภายใน
019 SunandhaSuan Rajabhat University STUDENT HANDBOOK 2021 วทิ ยาลัยสหเวชศาสตร์ 3. แขนงวชิ าการโฆษณาและสอ่ื สารการตลาด (Advertising and Marketing Communication) หลกั สูตรวิทยาศาสตรบณั ฑติ (วท.บ.) 4. แขนงวิชาวทิ ยุกระจายเสยี งและวทิ ยโุ ทรทัศน์ 1. สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรส์ ุขภาพและความงาม (Radio and Television Broadcasting) 2. สาขาวชิ าเลขานกุ ารการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ 5. แขนงวชิ าภาพยนตรแ์ ละส่อื ดจิ ิทัล 3. สาขาวชิ ากัญชาเวชศาสตร์ (Films and Digital Media) 4. สาขาวิชาการจดั การธรุ กจิ บริการสุขภาพ หลักสตู รศิลปบัณฑติ (ศล.บ.) หลกั สูตรการแพทย์แผนไทยประยุกต์บัณฑติ (พทป.บ.) Bachelor of Fine Arts Program (B.F.A.) หลกั สตู รสาธารณสุขศาสตรบัณฑติ 1. สาขาวชิ าศิลปะภาพยนตร์ (หลกั สูตรนานาชาต)ิ 1. สาขาวิชาสาธารณสขุ ศาสตร์ - แขนงวชิ าการสรา้ งภาพยนตร์ (Film Production) 2. สาขาวชิ าสาธารณสขุ ศาสตร์และการสง่ เสรมิ สขุ ภาพ - แขนงวชิ าศลิ ปะการแสดงประยุกต์ หลกั สตู รแพทยแ์ ผนจนี บณั ฑติ (พจ.บ.) (Applied Performing Arts) 1. สาขาวิชาการแพทย์แผนจนี 2. สาขาวชิ าการสร้างสรรค์และส่อื ดจิ ิทัล (หลกั สตู รนานาชาต)ิ - แขนงวชิ าการออกแบบดิจิทัล (Digital Design) วทิ ยาลยั นวตั กรรมและการจัดการ - แขนงวิชาการตลาดดิจิทลั (Digital Marketing) หลักสตู รบริหารธุรกิจบณั ฑิต (บธ.บ.) วิทยาลัยโลจิสตกิ ส์และซพั พลายเชน 1. สาขาวิชาการจดั การระบบสารสนเทศเพือ่ ธรุ กจิ 2. สาขาวิชาการจัดการคุณภาพ หลกั สตู รบรหิ ารธรุ กิจบัณฑิต (บธ.บ.) 3. สาขาวชิ านวัตกรรมการคา้ ระหว่างประเทศ 1. สาขาวิชาการจัดการโลจสิ ติกส์ 4. สาขาวชิ าการจดั การอีสปอร์ต 2. สาขาวิชาการจดั การซพั พลายเชนธุรกจิ 5. สาขาวชิ าการจดั การการคา้ - แขนงวิชาธรุ กจิ พาณิชยนาวี (Maritime Business) 6. สาขาวชิ าคอมพวิ เตอรธ์ รุ กิจ - แขนงวิชาการจดั การการขนส่ง หลักสตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑิต (วท.บ.) (Transportation Management) 1. สาขาวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สารเพือ่ การตลาด - แขนงวชิ าการจดั การการขนส่งสนิ คา้ ทางอากาศ (Air Cargo Logistics Management) วิทยาลัยการจัดการอุตสาหกรรมบริการ 3. สาขาวชิ าการจดั การโลจิสตกิ สส์ �ำ หรับธรุ กิจออนไลน์ 4. สาขาวิชาการจัดการโลจสิ ติกส์และซพั พลายเชน หลักสตู รศิลปศาสตรบัณฑิต (ระบบการศกึ ษาทางไกล) Bachelor of Arts Program (B.A.) 5. Logistics Management (International Program) 1. สาขาวชิ าการจัดการโรงแรมและธุรกจิ ที่พกั 2. สาขาวิชาการจดั การอุตสาหกรรมทอ่ งเท่ยี วและบรกิ าร วิทยาลัยการเมืองการปกครอง 3. สาขาวชิ าการจดั การท่องเทยี่ ว 4. สาขาวชิ าธุรกิจการบนิ หลักสตู รนิติศาสตรบณั ฑิต (น.บ.) 5. สาขาวิชาการโรงแรม หลกั สตู รรฐั ศาสตรบัณฑิต (ร.บ.) - Major Hotel Management 1. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง - Major Restaurant Business (Politics and Government) หลกั สตู รบรหิ ารธรุ กจิ บัณฑิต (บธ.บ.) 2. แขนงวิชาความสัมพนั ธร์ ะหว่างประเทศ Bachelor of Business Administration Program (International Relations) (B.B.A.) หลกั สตู รรัฐประศาสนศาสตรบัณฑติ (รป.บ.) 1. สาขาวชิ าธรุ กจิ ระหวา่ งประเทศยคุ ดจิ ทิ ลั (หลกั สตู รนานาชาต)ิ 1. สาขาวิชาการบริหารงานต�ำ รวจ - แขนงวชิ า International Business 2. สาขาวชิ ารฐั ประศาสนศาสตร์ (ธุรกิจระหว่างประเทศ) - แขนงวชิ าการปกครองทอ้ งถ่ิน (Local Government) - แขนงวชิ า Digital Business Management - แขนงวิชานโยบายสาธารณะและการจดั การภาครฐั (การจัดการธุรกิจดจิ ทิ ลั ) (Public Policy and Public Management) - แขนงวิชาการบริหารภาครัฐและเอกชน วิทยาลยั นเิ ทศศาสตร์ (Public and Private Sector Management) หลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต (นศ.บ.) 1. แขนงวชิ าวารสารศาสตร์ (Journalism) 2. แขนงวิชาการประชาสัมพนั ธแ์ ละการสอื่ สารองคก์ ร (Public Relations and Corporate Communication)
020 SunandhaSuan Rajabhat University STUDENT HANDBOOK 2021 หน่วยงาน INSTITUTE ครุศคาณสะ ตร์ ประวตั คิ วามเปน็ มา 3) บริการวิชาการคุณภาพตาม ความต้องการของผู้รับบริการ เพ่ือ หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต (ค.บ. พัฒนาความแข็งแกร่งทางวิชาชีพครู 4 ปี) หลักสูตรปรับปรงุ พ.ศ.2562 เป็น คณาจารย์และบคุ ลากรทางการศกึ ษา หลักสูตรอิงสมรรถนะ ที่เกิดจากความ รว่ มมอื ของคณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั 4) ทำ�นุบำ�รุงศิลปวัฒนธรรม ราชภัฏทั่วประเทศร่วมจัดทำ�หลักสูตร สบื สานภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ และโครงการ เพ่ือผลิตครูตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ อันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ เพ่ือ ระดบั อุดมศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ.2552 และ ประโยชนใ์ นการจัดการเรยี นรู้ มาตรฐานคณุ วุฒิ ระดับปรญิ ญาตรี สาขา ครศุ าสตร์ ศกึ ษาศาสตร์ พ.ศ.2562 (มคอ. แด่กล้าใหม่ 1) และข้อบังคับคุรุสภาว่าด้วยมาตรฐาน วิชาชพี ครู ฉบับที่ 4 พ.ศ.2562 โดยได้รบั ตน้ เอ๋ยต้นกลา้ ความร่วมมือและการสนับสนุนจากผู้ทรง เจ้ายืนท้าแสงแดดทีแ่ ผดเผา คณุ วฒุ แิ ละผมู้ สี ว่ นเกย่ี วขอ้ งกบั การศกึ ษา เจา้ ยืนตา้ นแรงลมแผร่ ม่ เงา ในการประชมุ วพิ ากษห์ ลกั สตู ร เพอื่ ใหเ้ กดิ เสมือนเสาหนกั แนน่ ปกแผน่ ดนิ ผลลพั ธก์ ารเรยี นรอู้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพและ เปน็ ไปตามวัตถุประสงคท์ ตี่ ัง้ ไว้ ทลี ะหยด ทลี ะหยด คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวนสนุ นั ทา ไดป้ รบั ปรงุ พฒั นาหลกั สตู รบนพนื้ ฐาน บรบิ ท ทจ่ี รดรากไมไ้ มส่ ูญส้นิ และอตั ลกั ษณค์ วามเปน็ สวนสนุ นั ทา มงุ่ เนน้ การยกระดบั คณุ ภาพการผลติ ครใู หเ้ ปน็ วชิ าชพี ชน้ั สงู สรา้ ง หล่อเลีย้ งศรทั ธาชโลมจนิ ต์ ครูทมี่ คี ุณภาพ มคี วามรูแ้ ละสมรรถนะทางวชิ าชพี เป็นผูย้ ึดมัน่ ในค่านยิ ม อดุ มการณ์ มจี ติ วิญญาณ สร้างชวี ินแตกกอต่อกิ่งใบ ความเปน็ ครนู �ำ ไปสกู่ ารสรา้ งก�ำ ลงั คนทมี่ คี ณุ ภาพและตอบสนองยทุ ธศาสตรช์ าติ โดยผา่ นกระบวนการ ทีละกอ้ น ทีละกอ้ น จัดการเรียนการสอนทีเ่ นน้ การจดั ดนิ โอบอุม้ ต้นออ่ นก่อนเตบิ ใหญ่ การเรยี นร้แู บบใฝเ่ รียนรู้ (Active Learning) เพื่อการพฒั นาผู้เรยี นให้มีผลการเรียนรู้ตาม บม่ รากแก้วจนรากแกร่งด้วยแรงใจ คุณลกั ษณะบณั ฑติ ทพ่ี ึงประสงค์ หลักสตู รครศุ าสตรบัณฑิต (ค.บ. 4 ป)ี ประกอบด้วย เป็นต้นไม้ให้คุณค่าแกป่ า่ คืน - สาขาวชิ าภาษาไทย - สาขาวชิ าสังคมศึกษา - สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย - สาขาวิชาวิทยาศาสตรท์ ั่วไป ทีละวัน ทลี ะวนั - สาขาวิชาคณติ ศาสตร์ - สาขาเทคโนโลยดี จิ ิทลั เพอ่ื การศกึ ษา เฝ้าฝ่าฟันมีดวงดาวพราวย้มิ รืน่ - สาขาวชิ าภาษาองั กฤษ ทอแสงแหง่ ฝนั ทกุ วันคืน ปรัชญา ภารกิจหลกั หลบั ตาต่นื ยงั เห็นดาวอยู่พราวฟา้ แลว้ ตน้ กลา้ จะเตบิ ตนเปน็ ตน้ ใหญ่ ทรงปญั ญา ศรทั ธาธรรม นำ�สงั คม 1) ผลิตบัณฑิตตามหลักสูตรฐาน สมรรถนะ และพัฒนาครูมืออาชีพที่สนอง แผร่ ่มเงากิง่ ใบให้คณุ คา่ วสิ ยั ทศั น์ ตอบการปฏิรปู การศึกษาในศตวรรษท่ี 21 ผลิดอกผลโอบเอ้ือเพื่อประชา “ทรงปญั ญา ศรัทธาธรรม นำ�สงั คม” แมแ่ บบทด่ี ีของการผลิตครูฐานสมรรถนะ 2) วิจัยสร้างนวัตกรรมและองค์ ความรู้ เพ่ือเผยแพร่ และถ่ายทอดให้กับ ตะวนั ผวิ ทองงาม พันธกจิ นักศึกษาและหน่วยงานการจดั การศกึ ษา (ช้นั ปที ี่ 3 สาขาวชิ าภาษาไทย) ผลติ และพฒั นาครู ผบู้ รหิ าร และบคุ ลากร ทางการศกึ ษา วจิ ยั บรกิ ารวชิ าการ และท�ำ นบุ �ำ รงุ ศิลปวฒั นธรรม
021 SunandhaSuan Rajabhat University STUDENT HANDBOOK 2021 รหัสวิชา ชอื่ วชิ า น(บ-ป-อ) รหสั วชิ า ชือ่ วิชา น(บ-ป-อ) หสลาักสขตู ารควรศุ ิชาสาตวรบทิัณฑยติ าศาสตรท์ ่ัวไป GEN0107 ความเปน็ พลเมอื งดี 3(3-0-6) Good Citizenship หลกั สตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2562 GEN0108 ความคิดอันงดงาม 3(3-0-6) Beautiful Thought GEN0109 ศาสตรแ์ ห่งราชันย ์ 3(3-0-6) King’s Philosophy GEN0110 สำ�นึกไทย 3(3-0-6) Thai Consciousness 1. ชอ่ื หลกั สูตร GEN0111 การสรา้ งบคุ ลิกผูน้ �ำ 3(3-0-6) ภาษาไทย : หลกั สตู รครุศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าวิทยาศาสตร์ท่ัวไป ภาษาองั กฤษ : Bachelor of Education Program in General Building Leadership GEN0112 ปัญญาไทยนอกกรอบ 3(3-0-6) Science Outside of the Box Thai Intellect 2. ชอื่ ปริญญาและสาขาวิชา ภาษาไทย ช่ือเตม็ : ครศุ าสตรบัณฑิต (วทิ ยาศาสตร์ทัว่ ไป) GEN0113 แรงบันดาลใจแห่งชวี ิต 3(3-0-6) Inspiration of Life ชอ่ื ยอ่ : ค.บ. (วิทยาศาสตร์ท่ัวไป) GEN0114 สีสนั วรรณกรรม 3(3-0-6) ภาษาองั กฤษ ชอ่ื เตม็ : Bachelor of Education (General Science) ชื่อย่อ : B.Ed. (General Science) Color of Literatures GEN0115 ภาพยนตร์วิจักษ ์ 3(3-0-6) 3. จำ�นวนหน่วยกติ ทเ่ี รยี นตลอดหลกั สูตร Film Appreciation หลักสูตรระดบั ปรญิ ญาตรที างวชิ าการ 142 หนว่ ยกิต GEN0116 ความผดิ หวังส่ฝู นั ท่เี ปน็ จรงิ 3(3-0-6) From Disappointment to a 1) หมวดวชิ าศึกษาท่วั ไป ไมน่ ้อยกว่า 30 หนว่ ยกิต Dream Come True การจัดการเรียนการสอนหมวดวิชาศึกษาท่ัวไป นักศึกษาจะต้องเรียนใน รายวชิ าศกึ ษาทวั่ ไป โดยมจี �ำ นวนหนว่ ยกติ ไมน่ อ้ ยกวา่ 30 หนว่ ยกติ แบง่ เปน็ GEN0117 อยู่เป็นวทิ ยา 3(3-0-6) Science of Living 1.1) กลุ่มวิชามนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ ไม่น้อยกวา่ 6 หนว่ ยกติ 1.2) กลุ่มวชิ าภาษา ใหเ้ รียนไมน่ อ้ ยกวา่ 6 หนว่ ยกติ 1.2) กลมุ่ วิชาภาษา ไมน่ อ้ ยกวา่ 6 หนว่ ยกิต 1.3) กลมุ่ วชิ าวิทยาศาสตร์และคณติ ศาสตร์ ไมน่ ้อยกว่า 6 หน่วยกติ GEN0201 การใชภ้ าษาไทย 3(3-0-6) Thai Usage 1.4) เลอื กเรียนจาก 3 กลุ่มวิชาข้างต้นอีก ไมน่ ้อยกวา่ 12 หน่วยกติ GEN0202 ภาษาไทยเชิงวิชาการ 3(3-0-6) 2) หมวดวิชาเฉพาะดา้ น ไมน่ อ้ ยกว่า 106 หนว่ ยกติ 2.1) กลมุ่ วชิ าชพี ครู ไมน่ ้อยกว่า 43 หนว่ ยกติ Thai for Academic Purposes GEN0203 ภาษาไทยเพ่ือการประกอบอาชีพ 3(3-0-6) 2.1.1) วิชาชีพครู ไม่น้อยกวา่ 28 หน่วยกติ Thai for Career 2.1.2) วชิ าฝึกประสบการณว์ ชิ าชพี ไม่นอ้ ยกว่า 15 หนว่ ยกิต 2.2) กล่มุ วิชาเอก ไมน่ ้อยกว่า 63 หนว่ ยกิต GEN0204 ภาษาองั กฤษเพอ่ื การส่ือสาร 3(3-0-6) และการสืบคน้ 2.2.1) วิชาบังคบั ไมน่ ้อยกว่า 42 หน่วยกติ English for Communication and 2.2.2) วชิ าเลือก ไม่นอ้ ยกว่า 21 หน่วยกติ 3) หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่นอ้ ยกว่า 6 หนว่ ยกิต Information Retrieval GEN0205 ภาษาอังกฤษเพ่ือทกั ษะการเรียน 3(3-0-6) English for Study Skills 1) หมวดวิชาศกึ ษาท่ัวไป ไม่นอ้ ยกว่า 30 หน่วยกติ GEN0206 ภาษาองั กฤษเชงิ วชิ าการ 3(3-0-6) 1.1) กลมุ่ วชิ ามนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ ให้เรยี นไมน่ อ้ ยกว่า 6 หนว่ ยกติ English for Academic Purposes GEN0207 ภาษาอังกฤษเพือ่ การประกอบวชิ าชพี 3(3-0-6) GEN0101 ชาววังสวนสนุ นั ทา 3(3-0-6) English for Career Development The Royal Court of Suan Sunandha GEN0208 ภาษาอังกฤษเพอ่ื การดแู ลสุขภาพ 3(3-0-6) English for Health Care GEN0102 สนุ ทรยี ภาพของชีวติ 3(3-0-6) GEN0209 ภาษาองั กฤษเพื่อการนำ�เสนอและการพูด 3(3-0-6) Aesthetic Appreciation GEN0103 สังคมไทยในบริบทโลก 3(3-0-6) ในที่สาธารณะ Public Speaking and Presentation Thai Society in Global Context Skills in English GEN0104 การพฒั นาตน 3(3-0-6) Self Development GEN0210 วาทกรรมภาษาอังกฤษเพือ่ การสือ่ สาร 3(3-0-6) Discourse English for GEN0105 ความจรงิ ของชีวิต 3(3-0-6) Communication Truth of Life GEN0106 ชวี ิตในสังคมพหวุ ัฒนธรรม 3(3-0-6) GEN0211 ภาษาจนี 3(3-0-6) Chinese Language Life in Multicultural Society
022 SunandhaSuan Rajabhat University STUDENT HANDBOOK 2021 รหัสวชิ า ชอ่ื วิชา น(บ-ป-อ) รหัสวิชา ชือ่ วิชา น(บ-ป-อ) GEN0212 ภาษาพม่า 3(3-0-6) GEN0318 รักปลอดภัย 3(3-0-6) Burmese Language Safe Sex GEN0213 ภาษาเขมร 3(3-0-6) GEN0319 ผูป้ ระกอบการธุรกิจดจิ ทิ ลั 3(3-0-6) Khmer Language Entrepreneurship in Digital GEN0214 ภาษาลาว 3(3-0-6) GEN0320 รวยด้วยดิจทิ ัล 3(3-0-6) Lao Language Digital Millionaire GEN0215 ภาษาเวยี ดนาม 3(3-0-6) 1.4) นักศึกษาต้องเลอื กเรียนอกี ไมน่ อ้ ยกว่า 12 หนว่ ยกิต Vietnamese Language จาก 3 กลุ่มวชิ าข้างตน้ GEN0216 ภาษามาเลย์ 3(3-0-6) Malay Language 2) หมวดวชิ าเฉพาะดา้ น ไมน่ อ้ ยกวา่ 106 หนว่ ยกติ GEN0217 ภาษาเกาหล ี 3(3-0-6) 2.1) กลุ่มวิชาชพี ครู ไม่น้อยกวา่ 43 หน่วยกิต Korean Language 2.1.1) วิชาชพี ครู ไมน่ ้อยกว่า 28 หนว่ ยกิต 1.3) กลุ่มวิชาวิทยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตร์ EDC1101 ภาษาเพอ่ื การสือ่ สาร 3(2-2-5) ใหเ้ รียนไมน่ อ้ ยกวา่ 6 หน่วยกิต Language for Communication GEN0301 เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่อื การสอ่ื สาร 3(3-0-6) EDC1102 คณุ ธรรม จรยิ ธรรม จรรยาบรรณ 3(2-2-5) Information Technology for และจติ วิญญาณความเปน็ ครู Communication Ethics and Spirituality for Teachers GEN0302 วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 3(3-0-6) EDC1103 จติ วทิ ยาสำ�หรบั ครู 3(2-2-5) เพื่อคณุ ภาพชวี ิต Psychology for Teacher Science and Technology for EDC1104 การพัฒนาหลักสูตร 3(2-2-5) Quality of Life Curriculum Development GEN0303 วทิ ยาศาสตรก์ ับส่งิ แวดล้อม 3(3-0-6) EDC2101 การวัดและประเมนิ ผลการเรียนร้ ู 3(2-2-5) Science and Environments Learning Measurement and GEN0304 รเู้ ทา่ ทนั ดิจิทลั 3(3-0-6) Evaluation Digital Literacy EDC2102 วิทยาการจดั การเรยี นรู้ 3(2-2-5) GEN0305 นันทนาการเพอื่ คุณภาพชีวิต 3(3-0-6) Instructional Science Recreation for Quality of Life EDC2103 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ 3(2-2-5) GEN0306 สขุ ภาพสำ�หรับชีวติ ยุคใหม่ 3(3-0-6) เพอ่ื การสื่อสารการศึกษาและการเรียนรู้ Health Care for New Gen Innovation and Information GEN0307 มหศั จรรยแ์ ห่งความคิด 3(3-0-6) Technology for Educational Miracle of Thought Communication and Learning GEN0308 อินโฟกราฟิก 3(3-0-6) EDC2104 การบริหารการศึกษาและการประกนั 3(2-2-5) Info Graphic คุณภาพการศึกษา GEN0309 ชวี ติ กบั ดิจทิ ลั 3(3-0-6) Education Administration and Digital for Life Quality Assurance in Education GEN0310 การสง่ เสริมสขุ ภาพทางเพศ 3(3-0-6) EDC3101 การวจิ ัยและพัฒนานวัตกรรมการเรยี นร ู้ 3(2-2-5) Sexual Health Promotion Research and Development in GEN0311 ธรรมชาตบิ �ำ บัด 3(3-0-6) Innovation and Learning Natural Therapy EDC4101 ครุนพิ นธ ์ 1(0-2-1) GEN0312 รเู้ ท่าทนั ภาวะการเงิน 3(3-0-6) Individual Study Financial Literacy EDC3301 จติ วิทยาการเรียนร ู้ 3(2-2-5) GEN0313 การเต้น 3(3-0-6) Psychology of Learning Dancing EDC3302 จิตวทิ ยาการเรยี นการสอน 3(2-2-5) GEN0314 โยคะ 3(3-0-6) Psychology of Learning and Yoga Instruction GEN0315 ชีวิตเลิกอ้วน 3(3-0-6) EDC3303 การสอนเพศศึกษา 3(2-2-5) Never Get Fat Again Teaching of Sex Education GEN0316 ศาสตรแ์ ห่งการชะลอวยั 3(3-0-6) EDC3304 ความคิดสรา้ งสรรคส์ ำ�หรบั ครู 3(2-2-5) Science of Anti-Aging Creativity for Teachers GEN0317 ศาสตร์และศลิ ป์แหง่ อาหารชาววัง 3(3-0-6) State of the Art of Royal Cuisine
023 SunandhaSuan Rajabhat University STUDENT HANDBOOK 2021 รหสั วิชา ช่ือวชิ า น(บ-ป-อ) รหสั วชิ า ช่อื วิชา น(บ-ป-อ) EDC3305 ผ้กู �ำ กบั ลกู เสอื -เนตรนารสี ามญั รนุ่ ใหญ่ 1(0-2-1) 2.2.2) วิชาเลือก ใหเ้ รียนไม่นอ้ ยกว่า 21 หนว่ ยกิต ขนั้ ความรู้เบอื้ งต้น SCC2306 ธรรมชาตแิ ละการสบื เสาะทาง 3(2-2-5) Basic Unit Leader of Boy Scout วทิ ยาศาสตร์ and Girl Guide Nature of Science and 2.1.2) วิชาฝึกประสบการณว์ ชิ าชพี 15 หนว่ ยกิต Scientific Inquiry EDC1201 การฝกึ ปฏิบัตวิ ชิ าชีพระหวา่ งเรียน 1 1(90) SCC3304 โครงงานและกจิ กรรมทางวทิ ยาศาสตร ์ 3(2-2-5) Practicum 1 Science Project and Activity EDC2202 การฝกึ ปฏิบตั วิ ิชาชีพระหวา่ งเรยี น 2 1(90) SCC3305 สะเต็มศึกษา 3(2-2-5) Practicum 2 STEM Education EDC3203 การฝึกปฏบิ ัตวิ ชิ าชีพระหว่างเรยี น 3 1(90) SCC3306 การจัดการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ระดับ 3(2-2-5) Practicum 3 ประถมศึกษา EDC4201 การปฏิบัตกิ ารสอนในสถานศึกษา 1 6(360) Elementary Science Instruction Internship 1 SCC3307 การจัดการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ระดบั 3(2-2-5) EDC4202 การปฏบิ ัตกิ ารสอนในสถานศึกษา 2 6(360) มัธยมศึกษา Internship 2 Secondary Science Instruction 2.2) กลุ่มวิชาเอก ให้เรียนไม่น้อยกว่า 63 หน่วยกิต SCC3308 วทิ ยาการค�ำ นวณ 3(2-2-5) 2.2.1) วิชาบงั คบั ใหเ้ รียนไมน่ อ้ ยกวา่ 42 หนว่ ยกิต Computing Science SCC1301 ชีววิทยาสำ�หรบั ครู 1 3(2-2-5) SCC3309 การปฏิบตั กิ ารวทิ ยาศาสตรใ์ นโรงเรียน 3(2-2-5) Biology for Teachers 1 Science Laboratory in School SCC1302 ชวี วทิ ยาส�ำ หรบั ครู 2 3(2-2-5) SCC3310 สัมมนาวทิ ยาศาสตร์และการสอน 3(2-2-5) Biology for Teachers 2 วิทยาศาสตร์ SCC1303 เคมสี ำ�หรบั ครู 1 3(2-2-5) Seminar in Science and Chemistry for Teachers 1 Teaching Science SCC1304 ฟิสกิ ส์สำ�หรบั ครู 1 3(2-2-5) SCC3311 ภาษาองั กฤษส�ำ หรบั ครูวทิ ยาศาสตร์ 3(2-2-5) Physics for Teacher 1 English for Science Teachers SCC1305 ฟิสกิ ส์สำ�หรับครู 2 3(2-2-5) SCC3312 ส่งเสริมความคดิ ขัน้ สูงของผเู้ รียน 3(2-2-5) Physics for Teacher 2 Promotion of Learners’ Higher- SCC1306 คณติ ศาสตร์สำ�หรับการสอนวิทยาศาสตร์ 3(2-2-5) order Thinking Mathematics for Science SCC3313 การวัดและประเมินทางวิทยาศาสตรศ์ กึ ษา 3(2-2-5) Instruction Assessment in Science Education SCC2301 เคมีสำ�หรบั ครู 2 3(2-2-5) Chemistry for Teachers 2 3) หมวดวิชาเลอื กเสรี ไม่นอ้ ยกว่า 6 หน่วยกติ SCC2302 วิทยาศาสตรช์ วี ภาพ 3(2-2-5) นักศึกษาต้องเลือกเรียนไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต จากรายวิชาใดๆ ใน Biological Science หลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา โดยไม่ซำ้�กับรายวิชาท่ีเคยเรียนมา SCC2303 วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ 3(2-2-5) แลว้ และตอ้ งไมเ่ ปน็ รายวชิ าทก่ี �ำ หนดใหเ้ รยี นโดยไมน่ บั หนว่ ยกติ รวมในเกณฑ์ Physical Science การสำ�เรจ็ หลกั สตู รของสาขาวชิ า SCC2304 วทิ ยาศาสตรโ์ ลกทั้งระบบ 3(2-2-5) Earth System Science SCC2305 ดาราศาสตร์และอวกาศ 3(2-2-5) Astronomy and Space SCC3301 วิทยาศาสตรส์ ง่ิ แวดลอ้ ม 3(2-2-5) Environmental Science SCC3302 ไฟฟ้าและพลังงาน 3(2-2-5) Electricity and Energy SCC3303 การวิจัยเพอื่ พฒั นากระบวนการเรียนร ู้ 3(2-2-5) วิทยาศาสตร์ Research to Develop Science Learning Process
024 SunandhaSuan Rajabhat University STUDENT HANDBOOK 2021 รหัสวิชา ช่อื วิชา น(บ-ป-อ) รหัสวิชา ชอื่ วชิ า น(บ-ป-อ) สหลากั สขตู ารควรุศิชาสาตกรบาณั รฑิตศกึ ษาปฐมวัย GEN0106 ชีวิตในสังคมพหุวฒั นธรรม 3(3-0-6) Life in Multicultural Society หลกั สตู รปรบั ปรงุ พ.ศ. 2562 GEN0107 ความเป็นพลเมอื งด ี 3(3-0-6) Good Citizenship GEN0108 ความคดิ อันงดงาม 3(3-0-6) Beautiful Thought GEN0109 ศาสตรแ์ หง่ ราชันย์ 3(3-0-6) 1. ช่ือหลกั สูตร King’s Philosophy ภาษาไทย : หลกั สตู รครุศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าการศึกษาปฐมวัย GEN0110 ส�ำ นึกไทย 3(3-0-6) ภาษาองั กฤษ : Bachelor of Education Program in Early Thai Consciousness Childhood Education GEN0111 การสร้างบุคลกิ ผู้นำ� 3(3-0-6) 2. ชื่อปรญิ ญาและสาขาวชิ า Building Leadership ภาษาไทย ชอ่ื เตม็ : ครุศาสตรบัณฑติ (การศกึ ษาปฐมวัย) GEN0112 ปญั ญาไทยนอกกรอบ 3(3-0-6) ช่อื ย่อ : ค.บ. (การศกึ ษาปฐมวยั ) Outside of the Box Thai Intellect ภาษาองั กฤษ ชื่อเตม็ : Bachelor of Education (Early Childhood GEN0113 แรงบนั ดาลใจแหง่ ชีวิต 3(3-0-6) Education) Inspiration of Life ชื่อยอ่ : B.Ed. (Early Childhood Education) GEN0114 สสี นั วรรณกรรม 3(3-0-6) 3. จำ�นวนหนว่ ยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร Color of Literatures หลกั สตู รระดับปรญิ ญาตรที างวชิ าการ 142 หน่วยกติ GEN0115 ภาพยนตรว์ จิ ักษ์ 3(3-0-6) Film Appreciation 1) หมวดวชิ าศกึ ษาทัว่ ไป ไม่น้อยกวา่ 30 หน่วยกิต GEN0116 ความผิดหวังสู่ฝันท่ีเป็นจริง 3(3-0-6) การจัดการเรียนการสอนหมวดวิชาศึกษาทั่วไป นักศึกษาจะต้องเรียนใน From Disappointment to a รายวชิ าศกึ ษาทวั่ ไป โดยมจี �ำ นวนหนว่ ยกติ ไมน่ อ้ ยกวา่ 30 หนว่ ยกติ แบง่ เปน็ Dream Come True 1.1) กล่มุ วิชามนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ ไม่น้อยกวา่ 6 หนว่ ยกิต GEN0117 อยู่เปน็ วิทยา 3(3-0-6) 1.2) กลมุ่ วชิ าภาษา ไมน่ อ้ ยกว่า 6 หน่วยกติ Science of Living 1.3) กลมุ่ วิชาวิทยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตร์ ไมน่ อ้ ยกว่า 6 หน่วยกิต 1.2) กลมุ่ วิชาภาษา ให้เรียนไม่นอ้ ยกวา่ 6 หน่วยกิต 1.4) เลอื กเรยี นจาก 3 กลุ่มวชิ าข้างต้นอีก ไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต GEN0201 การใชภ้ าษาไทย 3(3-0-6) 2) หมวดวิชาเฉพาะดา้ น ไมน่ อ้ ยกวา่ 106 หน่วยกิต Thai Usage 2.1) กลมุ่ วชิ าชพี ครู ไมน่ ้อยกวา่ 43 หน่วยกิต GEN0202 ภาษาไทยเชงิ วชิ าการ 3(3-0-6) 2.1.1) วชิ าชพี ครู ไม่นอ้ ยกว่า 28 หน่วยกติ Thai for Academic Purposes 2.1.2) วิชาฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชพี ไม่นอ้ ยกวา่ 15 หนว่ ยกติ GEN0203 ภาษาไทยเพอ่ื การประกอบอาชีพ 3(3-0-6) 2.2) กลมุ่ วชิ าเอก ไม่นอ้ ยกว่า 63 หนว่ ยกิต Thai for Career 2.2.1) วิชาบงั คบั ไมน่ อ้ ยกว่า 42 หน่วยกติ GEN0204 ภาษาองั กฤษเพอ่ื การสอื่ สาร 3(3-0-6) 2.2.2) วิชาเลอื ก ไมน่ อ้ ยกว่า 21 หนว่ ยกติ และการสืบคน้ 3) หมวดวิชาเลอื กเสรี ไม่นอ้ ยกวา่ 6 หนว่ ยกิต English for Communication and Information Retrieval 1) หมวดวชิ าศกึ ษาท่วั ไป ไม่น้อยกว่า 30 หนว่ ยกติ GEN0205 ภาษาองั กฤษเพื่อทกั ษะการเรียน 3(3-0-6) 1.1) กลมุ่ วิชามนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ English for Study Skills ใหเ้ รียนไม่นอ้ ยกวา่ 6 หน่วยกติ GEN0206 ภาษาอังกฤษเชิงวชิ าการ 3(3-0-6) GEN0101 ชาววังสวนสุนนั ทา 3(3-0-6) English for Academic Purposes The Royal Court of Suan GEN0207 ภาษาอังกฤษเพ่อื การประกอบวิชาชีพ 3(3-0-6) Sunandha English for Career Development GEN0102 สุนทรยี ภาพของชวี ติ 3(3-0-6) GEN0208 ภาษาอังกฤษเพอ่ื การดูแลสขุ ภาพ 3(3-0-6) Aesthetic Appreciation English for Health Care GEN0103 สงั คมไทยในบริบทโลก 3(3-0-6) GEN0209 ภาษาองั กฤษเพอ่ื การนำ�เสนอและการพูด 3(3-0-6) Thai Society in Global Context ในทสี่ าธารณะ GEN0104 การพัฒนาตน 3(3-0-6) Public Speaking and Presentation Self Development Skills in English GEN0105 ความจริงของชวี ติ 3(3-0-6) GEN0210 วาทกรรมภาษาองั กฤษเพอื่ การสื่อสาร 3(3-0-6) Truth of Life Discourse English for Communication
025 SunandhaSuan Rajabhat University STUDENT HANDBOOK 2021 รหัสวิชา ช่อื วชิ า น(บ-ป-อ) รหสั วชิ า ชื่อวิชา น(บ-ป-อ) GEN0211 ภาษาจนี 3(3-0-6) GEN0317 ศาสตร์และศิลป์แห่งอาหารชาววัง 3(3-0-6) Chinese Language State of the Art of Royal Cuisine GEN0212 ภาษาพมา่ 3(3-0-6) GEN0318 รกั ปลอดภยั 3(3-0-6) Burmese Language Safe Sex GEN0213 ภาษาเขมร 3(3-0-6) GEN0319 ผู้ประกอบการธรุ กจิ ดจิ ิทัล 3(3-0-6) Khmer Language Entrepreneurship in Digital GEN0214 ภาษาลาว 3(3-0-6) GEN0320 รวยดว้ ยดิจิทลั 3(3-0-6) Lao Language Digital Millionaire GEN0215 ภาษาเวยี ดนาม 3(3-0-6) 1.4) นักศึกษาตอ้ งเลือกเรยี นอีก ไมน่ อ้ ยกวา่ 12 หนว่ ยกิต Vietnamese Language จาก 3 กลมุ่ วิชาข้างตน้ GEN0216 ภาษามาเลย ์ 3(3-0-6) Malay Language 2) หมวดวิชาเฉพาะดา้ น ไมน่ อ้ ยกวา่ 106 หน่วยกิต GEN0217 ภาษาเกาหลี 3(3-0-6) 2.1) กลมุ่ วชิ าชพี ครู ไม่นอ้ ยกว่า 43 หนว่ ยกิต Korean Language 2.1.1) วิชาชีพครู ไม่นอ้ ยกว่า 28 หนว่ ยกิต 1.3) กลมุ่ วชิ าวทิ ยาศาสตร์และคณติ ศาสตร์ EDC1101 ภาษาเพ่อื การส่ือสาร 3(2-2-5) ใหเ้ รยี นไม่น้อยกว่า 6 หนว่ ยกิต Language for Communication GEN0301 เทคโนโลยีสารสนเทศเพอ่ื การสอื่ สาร 3(3-0-6) EDC1102 คุณธรรม จรยิ ธรรม จรรยาบรรณ 3(2-2-5) Information Technology for และจติ วญิ ญาณความเป็นครู Communication Ethics and Spirituality for Teachers GEN0302 วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย ี 3(3-0-6) EDC1103 จติ วิทยาสำ�หรับครู 3(2-2-5) เพ่อื คณุ ภาพชวี ติ Psychology for Teacher Science and Technology for EDC1104 การพัฒนาหลกั สูตร 3(2-2-5) Quality of Life Curriculum Development GEN0303 วทิ ยาศาสตรก์ ับสง่ิ แวดลอ้ ม 3(3-0-6) EDC2101 การวัดและประเมินผลการเรยี นร ู้ 3(2-2-5) Science and Environments Learning Measurement and GEN0304 รเู้ ท่าทนั ดจิ ทิ ลั 3(3-0-6) Evaluation Digital Literacy EDC2102 วิทยาการจดั การเรียนรู ้ 3(2-2-5) GEN0305 นันทนาการเพอ่ื คุณภาพชีวติ 3(3-0-6) Instructional Science Recreation for Quality of Life EDC2103 นวัตกรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศ 3(2-2-5) GEN0306 สุขภาพสำ�หรับชีวติ ยคุ ใหม่ 3(3-0-6) เพอ่ื การสอ่ื สารการศกึ ษาและการเรยี นรู้ Health Care for New Gen Innovation and Information GEN0307 มหัศจรรยแ์ หง่ ความคดิ 3(3-0-6) Technology for Educational Miracle of Thought Communication and Learning GEN0308 อนิ โฟกราฟกิ 3(3-0-6) EDC2104 การบรหิ ารการศึกษาและการประกัน 3(2-2-5) Info Graphic คุณภาพการศกึ ษา GEN0309 ชีวติ กับดิจทิ ลั 3(3-0-6) Education Administration and Digital for Life Quality Assurance in Education GEN0310 การสง่ เสรมิ สุขภาพทางเพศ 3(3-0-6) EDC3101 การวจิ ัยและพฒั นานวัตกรรมการเรียนรู้ 3(2-2-5) Sexual Health Promotion Research and Development in GEN0311 ธรรมชาตบิ ำ�บดั 3(3-0-6) Innovation and Learning Natural Therapy EDC4101 ครุนพิ นธ ์ 1(0-2-1) GEN0312 รู้เทา่ ทนั ภาวะการเงนิ 3(3-0-6) Individual Study Financial Literacy EDC3301 จติ วิทยาการเรียนรู้ 3(2-2-5) GEN0313 การเต้น 3(3-0-6) Psychology of Learning Dancing EDC3302 จิตวทิ ยาการเรียนการสอน 3(2-2-5) GEN0314 โยคะ 3(3-0-6) Psychology of Learning and Yoga Instruction GEN0315 ชวี ิตเลิกอ้วน 3(3-0-6) EDC3303 การสอนเพศศึกษา 3(2-2-5) Never Get Fat Again Teaching of Sex Education GEN0316 ศาสตรแ์ หง่ การชะลอวัย 3(3-0-6) EDC3304 ความคิดสรา้ งสรรคส์ �ำ หรับครู 3(2-2-5) Science of Anti-Aging Creativity for Teachers
026 SunandhaSuan Rajabhat University STUDENT HANDBOOK 2021 รหัสวชิ า ช่ือวิชา น(บ-ป-อ) รหัสวชิ า ชอ่ื วชิ า น(บ-ป-อ) EDC3305 ผกู้ �ำ กับลูกเสือ-เนตรนารีสามัญรุ่นใหญ่ 1(0-2-1) ECC2302 การจัดกิจกรรมทางศลิ ปะระดบั 3(2-2-5) ขัน้ ความรู้เบ้อื งตน้ การศึกษาปฐมวัย Basic Unit Leader of Boy Scout Arts Activities for Early Childhood and Girl Guide Students 2.1.2) วิชาฝกึ ประสบการณ์วิชาชพี 15 หนว่ ยกติ ECC2303 ลลี า จงั หวะและการเคลอ่ื นไหวส�ำ หรบั 3(2-2-5) EDC1201 การฝึกปฏิบัตวิ ชิ าชพี ระหว่างเรยี น 1 1(90) เด็กปฐมวยั Practicum 1 Movement Activities for Early EDC2202 การฝึกปฏบิ ัตวิ ิชาชพี ระหวา่ งเรยี น 2 1(90) Childhood Students Practicum 2 ECC2306 การจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรแู้ บบ 3(2-2-5) EDC3203 การฝึกปฏิบตั ิวชิ าชีพระหว่างเรยี น 3 1(90) บรู ณาการการศึกษาปฐมวัย สำ�หรับเดก็ Practicum 3 อายตุ ่�ำ กว่า 3 ปี EDC4201 การปฏบิ ตั กิ ารสอนในสถานศกึ ษา 1 6(360) Integrated Learning Experience Internship 1 for Children Under Three EDC4202 การปฏบิ ตั กิ ารสอนในสถานศึกษา 2 6(360) Years Old Internship 2 ECC3301 การจัดกิจกรรมการเลน่ สำ�หรับเด็กปฐมวยั 3(2-2-5) 2.2) กลมุ่ วชิ าเอก ไม่นอ้ ยกวา่ 63 หนว่ ยกิต Playing Activities Management 2.2.1) วิชาบังคับ 42 หน่วยกิต for Early Childhood Students ECC1301 การพัฒนาสมองเพ่ือการเรยี นร้ ู 3(2-2-5) Learning สำ�หรบั เดก็ ปฐมวัย ECC3302 การจัดกิจกรรมทางวิทยาศาสตรแ์ ละ 3(2-2-5) Brain and Learning for Early คณิตศาสตร์ส�ำ หรับเด็กปฐมวยั Childhood Students Science and Mathematics Activities ECC1302 การอบรมเลยี้ งดูและสง่ เสริมการเรียนร ู้ 3(2-2-5) for Early Childhood Students ส�ำ หรับเด็กปฐมวัย ECC3304 การจดั ประสบการณ์เพ่ือสง่ เสริม 3(2-2-5) Take Caring and Learning การเรียนรูส้ �ำ หรบั เด็กกลุ่มเปา้ หมายเฉพาะ Encouragement for Early Experience Management to Childhood Students Encourage Learning for Specific ECC1303 การพัฒนาสุขภาวะและความปลอดภัย 3(2-2-5) Children Groups ส�ำ หรับเดก็ ปฐมวัย ECC3306 การจดั ประสบการณ์การเรียนรูแ้ บบ 3(2-2-5) Heath Care and Safety for Early บูรณาการ การศกึ ษาปฐมวัยส�ำ หรับ Childhood Students เดก็ อายุ 3-6 ปี ECC1304 การช่วยเหลอื เด็กปฐมวยั ทมี่ คี วามต้องการ 3(2-2-5) Experience Management to จ�ำ เปน็ พิเศษ Enhance Integrated Learning for Special Needed Early Childhood Children Age Between Three to Six Students Take Caring 2.2.2) วิชาเลอื ก 21 หน่วยกิต ECC1305 การจัดกิจกรรมทางภาษาและการส่อื สาร 3(2-2-5) ECC2304 สือ่ และของเลน่ สำ�หรับเดก็ ปฐมวยั 3(2-2-5) ส�ำ หรบั เด็กปฐมวัย Media and Toys for Early Language and Communication Childhood Students Activities for Early Childhood ECC2305 วรรณกรรมและนทิ านส�ำ หรับเดก็ ปฐมวัย 3(2-2-5) Students Literatures and Stories for Early ECC1306 การจัดกจิ กรรมทกั ษะความฉลาด 3(2-2-5) Childhood Students ทางอารมณแ์ ละสังคมสำ�หรับเดก็ ปฐมวยั ECC3303 การจัดกจิ กรรมส่งเสรมิ ทกั ษะการคิด 3(2-2-5) Emotional Quotient and Social สำ�หรับเดก็ ปฐมวยั Quotient Activities for Early Thinking Skills Development Childhood Students Activities for Early Childhood ECC2301 การจดั กจิ กรรมสง่ เสริมความพร้อมทาง 3(2-2-5) Students ด้านร่างกายสำ�หรบั เดก็ ปฐมวยั ECC3305 การมสี ่วนร่วมของครอบครัว 3(2-2-5) Physical Development Activities สถานพัฒนาเด็กปฐมวยั สถานศึกษา for Early Childhood Students และชุมชนระดับการศกึ ษาปฐมวยั Family and Community Participation in Early Childhood Education
027 SunandhaSuan Rajabhat University STUDENT HANDBOOK 2021 รหสั วชิ า ชอื่ วชิ า น(บ-ป-อ) รหสั วิชา ชื่อวิชา น(บ-ป-อ) ECC3307 สมั มนาปัญหาและแนวโน้มในการพฒั นา 3(2-2-5) 2) หมวดวชิ าเฉพาะดา้ น ไมน่ อ้ ยกวา่ 106 หนว่ ยกติ การศกึ ษาปฐมวยั ในอนาคต 2.1) กลุ่มวชิ าชพี ครู ไม่น้อยกวา่ 43 หน่วยกติ Seminar in Early Childhood 2.1.1) วิชาชีพครู ไม่น้อยกวา่ 28 หนว่ ยกติ Education Development Trend 2.1.2) วิชาฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชีพ ไม่นอ้ ยกวา่ 15 หนว่ ยกิต ECC3308 การต่อยอดองคค์ วามรเู้ พอ่ื พฒั นา 3(2-2-5) 2.2) กลุม่ วิชาเอก ไม่นอ้ ยกวา่ 63 หนว่ ยกิต นวตั กรรม 2.2.1) วชิ าบงั คบั ไม่นอ้ ยกว่า 42 หน่วยกิต Applying Knowledge to Create 2.2.2) วชิ าเลือก ไมน่ ้อยกว่า 21 หนว่ ยกติ Innovation 3) หมวดวิชาเลอื กเสรี ไมน่ ้อยกวา่ 6 หน่วยกิต ECC3309 การวจิ ยั ในชน้ั เรยี นทางการศกึ ษาปฐมวยั 3(2-2-5) Classroom Research in Early 1) หมวดวชิ าศึกษาทวั่ ไป ไมน่ ้อยกว่า 30 หน่วยกิต Childhood Education 1.1) กลุ่มวิชามนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ECC4503 ศิลปะการแสดงส�ำ หรับเด็กปฐมวัย 3(2-2-5) ให้เรียนไม่นอ้ ยกวา่ 6 หน่วยกติ Dramatics Arts for Early Childhood GEN0101 ชาววงั สวนสนุ นั ทา 3(3-0-6) ECC4505 ภาษาองั กฤษสำ�หรบั ครูการศกึ ษาปฐมวยั 3(2-2-5) The Royal Court of Suan English for Academic Purpose Sunandha for Early Childhood Teacher GEN0102 สุนทรยี ภาพของชีวติ 3(3-0-6) ECC4506 สงิ่ แวดล้อมศกึ ษาส�ำ หรับเด็กปฐมวัย 3(2-2-5) Aesthetic Appreciation Environment Studies for Early GEN0103 สงั คมไทยในบริบทโลก 3(3-0-6) Childhood Thai Society in Global Context GEN0104 การพฒั นาตน 3(3-0-6) 3) หมวดวิชาเลอื กเสรี ไมน่ ้อยกว่า 6 หนว่ ยกติ Self Development นักศึกษาต้องเลือกเรียนไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต จากรายวิชาใดๆ ใน GEN0105 ความจริงของชวี ติ 3(3-0-6) หลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา โดยไม่ซำ้�กับรายวิชาที่เคยเรียนมา Truth of Life แลว้ และตอ้ งไมเ่ ปน็ รายวชิ าทกี่ �ำ หนดใหเ้ รยี นโดยไมน่ บั หนว่ ยกติ รวมในเกณฑ์ GEN0106 ชวี ติ ในสงั คมพหวุ ัฒนธรรม 3(3-0-6) การสำ�เร็จหลกั สตู รของสาขาวชิ า Life in Multicultural Society GEN0107 ความเป็นพลเมอื งดี 3(3-0-6) Good Citizenship สหลากั สขูตารควรศุ ิชาสาตภรบาัณษฑิตาไทย GEN0108 ความคดิ อันงดงาม 3(3-0-6) Beautiful Thought หลักสตู รปรบั ปรงุ พ.ศ. 2562 GEN0109 ศาสตร์แห่งราชนั ย ์ 3(3-0-6) King’s Philosophy GEN0110 สำ�นกึ ไทย 3(3-0-6) Thai Consciousness 1. ชอื่ หลักสตู ร GEN0111 การสรา้ งบคุ ลิกผูน้ ำ� 3(3-0-6) ภาษาไทย : หลกั สตู รครศุ าสตรบัณฑิต สาขาวชิ าภาษาไทย ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Education Program in Thai Building Leadership GEN0112 ปัญญาไทยนอกกรอบ 3(3-0-6) 2. ชอ่ื ปริญญาและสาขาวชิ า Outside of the Box Thai Intellect ชอ่ื เต็ม (ไทย) : ครศุ าสตรบณั ฑติ (ภาษาไทย) ช่ือยอ่ (ไทย) : ค.บ. (ภาษาไทย) GEN0113 แรงบันดาลใจแห่งชวี ิต 3(3-0-6) Inspiration of Life ช่อื เตม็ (อังกฤษ) : Bachelor of Education (Thai) GEN0114 สีสันวรรณกรรม 3(3-0-6) ชื่อยอ่ (องั กฤษ) : B.Ed. (Thai) 3. จ�ำ นวนหนว่ ยกติ ทเ่ี รียนตลอดหลกั สูตร Color of Literatures GEN0115 ภาพยนตรว์ จิ ักษ ์ 3(3-0-6) หลกั สตู รระดบั ปริญญาตรีทางวิชาการ 142 หนว่ ยกิต Film Appreciation 1) หมวดวิชาศึกษาทัว่ ไป ไมน่ ้อยกว่า 30 หนว่ ยกติ GEN0116 ความผดิ หวงั สูฝ่ นั ทเ่ี ปน็ จริง 3(3-0-6) From Disappointment to a การจัดการเรียนการสอนหมวดวิชาศึกษาท่ัวไป นักศึกษาจะต้องเรียนใน Dream Come True รายวชิ าศกึ ษาทว่ั ไป โดยมจี �ำ นวนหนว่ ยกติ ไมน่ อ้ ยกวา่ 30 หนว่ ยกติ แบง่ เปน็ 1.1) กลมุ่ วิชามนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ไม่นอ้ ยกว่า 6 หน่วยกิต GEN0117 อยู่เปน็ วทิ ยา 3(3-0-6) Science of Living 1.2) กลุ่มวิชาภาษา ไมน่ ้อยกว่า 6 หนว่ ยกติ 1.2) กลมุ่ วิชาภาษา ให้เรยี นไมน่ ้อยกว่า 6 หน่วยกติ 1.3) กล่มุ วชิ าวิทยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตร์ ไม่นอ้ ยกวา่ 6 หนว่ ยกิต 1.4) เลือกเรยี นจาก 3 กลุ่มวิชาขา้ งตน้ อีก ไมน่ ้อยกว่า 12 หน่วยกิต GEN0201 การใช้ภาษาไทย 3(3-0-6) Thai Usage
028 SunandhaSuan Rajabhat University STUDENT HANDBOOK 2021 รหสั วิชา ช่ือวิชา น(บ-ป-อ) รหัสวชิ า ชอ่ื วชิ า น(บ-ป-อ) GEN0202 ภาษาไทยเชงิ วชิ าการ 3(3-0-6) GEN0305 นันทนาการเพ่อื คณุ ภาพชีวติ 3(3-0-6) Thai for Academic Purposes Recreation for Quality of Life GEN0203 ภาษาไทยเพอ่ื การประกอบอาชีพ 3(3-0-6) GEN0306 สุขภาพสำ�หรบั ชวี ิตยุคใหม่ 3(3-0-6) Thai for Career Health Care for New Gen GEN0204 ภาษาองั กฤษเพอื่ การสื่อสาร 3(3-0-6) GEN0307 มหัศจรรย์แห่งความคิด 3(3-0-6) และการสืบค้น Miracle of Thought English for Communication and GEN0308 อินโฟกราฟิก 3(3-0-6) Information Retrieval Info Graphic GEN0205 ภาษาองั กฤษเพอ่ื ทักษะการเรยี น 3(3-0-6) GEN0309 ชวี ติ กับดิจทิ ลั 3(3-0-6) English for Study Skills Digital for Life GEN0206 ภาษาอังกฤษเชงิ วชิ าการ 3(3-0-6) GEN0310 การสง่ เสรมิ สขุ ภาพทางเพศ 3(3-0-6) English for Academic Purposes Sexual Health Promotion GEN0207 ภาษาอังกฤษเพอื่ การประกอบวิชาชีพ 3(3-0-6) GEN0311 ธรรมชาติบ�ำ บัด 3(3-0-6) English for Career Development Natural Therapy GEN0208 ภาษาอังกฤษเพอื่ การดูแลสุขภาพ 3(3-0-6) GEN0312 รู้เท่าทันภาวะการเงนิ 3(3-0-6) English for Health Care Financial Literacy GEN0209 ภาษาอังกฤษเพอ่ื การนำ�เสนอและการพดู 3(3-0-6) GEN0313 การเต้น 3(3-0-6) ในท่ีสาธารณะ Dancing Public Speaking and Presentation GEN0314 โยคะ 3(3-0-6) Skills in English Yoga GEN0210 วาทกรรมภาษาองั กฤษเพอ่ื การสื่อสาร 3(3-0-6) GEN0315 ชีวติ เลิกอว้ น 3(3-0-6) Discourse English for Never Get Fat Again Communication GEN0316 ศาสตร์แห่งการชะลอวยั 3(3-0-6) GEN0211 ภาษาจนี 3(3-0-6) Science of Anti-Aging Chinese Language GEN0317 ศาสตร์และศิลปแ์ ห่งอาหารชาววัง 3(3-0-6) GEN0212 ภาษาพมา่ 3(3-0-6) State of the Art of Royal Cuisine Burmese Language GEN0318 รักปลอดภัย 3(3-0-6) GEN0213 ภาษาเขมร 3(3-0-6) Safe Sex Khmer Language GEN0319 ผูป้ ระกอบการธุรกจิ ดจิ ิทัล 3(3-0-6) GEN0214 ภาษาลาว 3(3-0-6) Entrepreneurship in Digital Lao Language GEN0320 รวยดว้ ยดิจิทัล 3(3-0-6) GEN0215 ภาษาเวียดนาม 3(3-0-6) Digital Millionaire Vietnamese Language 1.4) นักศกึ ษาตอ้ งเลอื กเรยี นอกี ไมน่ ้อยกว่า 12 หน่วยกิต GEN0216 ภาษามาเลย ์ 3(3-0-6) จาก 3 กลุม่ วชิ าข้างต้น Malay Language GEN0217 ภาษาเกาหลี 3(3-0-6) 2) หมวดวิชาเฉพาะด้าน ไมน่ อ้ ยกวา่ 106 หนว่ ยกิต Korean Language 2.1) กลุม่ วชิ าชีพครู ไมน่ อ้ ยกว่า 43 หนว่ ยกิต 1.3) กลุ่มวชิ าวิทยาศาสตรแ์ ละคณิตศาสตร์ 2.1.1) วชิ าชพี ครู ไม่นอ้ ยกว่า 28 หน่วยกิต ให้เรยี นไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกติ EDC1101 ภาษาเพ่อื การสอ่ื สาร 3(2-2-5) GEN0301 เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการสื่อสาร 3(3-0-6) Language for Communication Information Technology for EDC1102 คณุ ธรรม จรยิ ธรรม จรรยาบรรณ 3(2-2-5) Communication และจิตวญิ ญาณความเป็นครู GEN0302 วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 3(3-0-6) Ethics and Spirituality for Teachers เพอ่ื คุณภาพชวี ิต EDC1103 จิตวิทยาสำ�หรบั ครู 3(2-2-5) Science and Technology for Psychology for Teacher Quality of Life EDC1104 การพัฒนาหลักสตู ร 3(2-2-5) GEN0303 วิทยาศาสตรก์ ับส่ิงแวดลอ้ ม 3(3-0-6) Curriculum Development Science and Environments EDC2101 การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ 3(2-2-5) GEN0304 รูเ้ ท่าทันดิจิทัล 3(3-0-6) Learning Measurement and Digital Literacy Evaluation
029 SunandhaSuan Rajabhat University STUDENT HANDBOOK 2021 รหสั วิชา ช่ือวชิ า น(บ-ป-อ) รหัสวิชา ชือ่ วชิ า น(บ-ป-อ) EDC2102 วิทยาการจดั การเรียนรู้ 3(2-2-5) THC1304 การอา่ นคดิ พฒั นาชวี ติ 3(2-2-5) Instructional Science Reading, Thinking, and EDC2103 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ 3(2-2-5) Developing Life เพอ่ื การสื่อสารการศกึ ษาและการเรยี นรู้ THC1305 การเขียนเพอ่ื การส่อื สารทางวชิ าการ 3(2-2-5) Innovation and Information และวชิ าชพี Technology for Educational Writing for Academic Communication and Learning Communication and Occupation EDC2104 การบรหิ ารการศกึ ษาและการประกนั 3(2-2-5) THC1306 พัฒนาการของภาษาไทย 3(2-2-5) คุณภาพการศึกษา The Development of Thai Education Administration and Language Quality Assurance in Education THC2301 พฒั นาการของวรรณคดีไทย 3(2-2-5) EDC3101 การวจิ ัยและพฒั นานวัตกรรมการเรียนร ู้ 3(2-2-5) The Development of Thai Research and Development in Literature Innovation and Learning THC2302 ภาษาศาสตร์ส�ำ หรับครภู าษาไทย 3(2-2-5) EDC4101 ครุนิพนธ ์ 1(0-2-1) Linguistics for Thai Language Individual Study Teacher EDC3301 จิตวทิ ยาการเรยี นรู้ 3(2-2-5) THC2303 วรรณกรรมกับการวจิ ารณ์อยา่ ง 3(2-2-5) Psychology of Learning สร้างสรรค์ EDC3302 จติ วทิ ยาการเรียนการสอน 3(2-2-5) Literature and Creative Criticism Psychology of Learning and THC2304 วรรณกรรมคัดสรรในหนังสือเรยี น 3(2-2-5) Instruction The Best Selected Literatures EDC3303 การสอนเพศศกึ ษา 3(2-2-5) in Textbooks Teaching of Sex Education THC3301 การออกแบบการจดั การเรยี นรู้ 3(2-2-5) EDC3304 ความคิดสร้างสรรค์ส�ำ หรับครู 3(2-2-5) วิชาภาษาไทย Creativity for Teachers Learning Design of Thai EDC3305 ผกู้ �ำ กบั ลกู เสือ-เนตรนารีสามัญรุน่ ใหญ่ 1(0-2-1) Language ขัน้ ความรเู้ บือ้ งตน้ THC3302 การออกแบบและผลติ สอ่ื การศกึ ษา 3(2-2-5) Basic Unit Leader of Boy Scout กลุ่มสาระการเรียนร้ภู าษาไทย and Girl Guide Design and Production of 2.1.2) วิชาฝึกประสบการณว์ ิชาชีพ 15 หนว่ ยกิต Educational Media of Thai EDC1201 การฝกึ ปฏบิ ัติวชิ าชีพระหวา่ งเรยี น 1 1(90) Language Learning Area Practicum 1 THC3303 การวัดและประเมินผลการเรียนการสอน 3(2-2-5) EDC2202 การฝกึ ปฏิบตั ิวิชาชพี ระหว่างเรยี น 2 1(90) ภาษาไทยในศตวรรษที่ 21 Practicum 2 Measurement and Evaluation of EDC3203 การฝกึ ปฏบิ ัตวิ ิชาชีพระหว่างเรยี น 3 1(90) Thai Language Teaching in Practicum 3 21st Century EDC4201 การปฏบิ ัติการสอนในสถานศึกษา 1 6(360) THC3304 การจดั การเรยี นรูภ้ าษาไทย 3(2-2-5) Internship 1 Instructional of Thai Language EDC4202 การปฏิบตั กิ ารสอนในสถานศึกษา 2 6(360) 2.2.2) วิชาเลือก 21 หนว่ ยกติ Internship 2 THC3305 ความคิดสร้างสรรค์กับการสรรสรา้ ง 3(2-2-5) 2.2) กลมุ่ วิชาเอก ไมน่ ้อยกวา่ 63 หน่วยกิต งานเขียน 2.2.1) วิชาบังคับ 42 หนว่ ยกิต Creative Thinking and Creative THC1301 การฟงั การดูและการพดู ส�ำ หรับ 3(2-2-5) Writing ครภู าษาไทย THC3306 การเขยี นสารคดี 3(2-2-5) Listening Watching and Non-fiction Writing Speaking THC3307 ศลิ ปะการนำ�เสนอ 3(2-2-5) THC1302 แนวทางการศกึ ษาวรรณคดีไทย 3(2-2-5) Art of Presentation The Study of Thai Literature THC3308 ภาษาไทยเพ่อื กจิ ธรุ ะ 3(2-2-5) THC1303 หลักภาษาไทย 3(2-2-5) Thai for Official Purposes Principles of Thai Language
030 SunandhaSuan Rajabhat University STUDENT HANDBOOK 2021 รหสั วชิ า ช่ือวิชา น(บ-ป-อ) รหสั วชิ า ชอ่ื วชิ า น(บ-ป-อ) THC3309 ภาษาเพือ่ การโฆษณาและประชาสัมพนั ธ ์ 3(2-2-5) หสลาักสขตู ารควรศุ ิชาสาตภรบาณั ษฑติ าองั กฤษ Language for Advertising and Public Relations หลกั สูตรปรบั ปรุง พ.ศ. 2562 THC3310 ภาษาไทยเพอื่ การแสดง 3(2-2-5) Thai for Performances THC3311 ศลิ ปะการอ่านออกเสยี ง 3(2-2-5) The Art of Read Aloud THC3312 การประพนั ธ์ร้อยกรองไทย 3(2-2-5) Thai Verse Composition 1. ชอ่ื หลักสูตร ภาษาองั กฤษ : หลกั สตู รครุศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาภาษาองั กฤษ THC3313 บทพระราชนิพนธใ์ นพระบาทสมเด็จ 3(2-2-5) ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Education Program in English พระพทุ ธเลศิ หล้านภาลยั King Rama II’s Literary Works 2. ช่ือปรญิ ญาและสาขาวิชา ภาษาไทย ชอ่ื เต็ม (ไทย) : ครุศาสตรบัณฑติ (ภาษาอังกฤษ) THC3314 บทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จ 3(2-2-5) ช่ือย่อ (ไทย) : ค.บ. (ภาษาองั กฤษ) พระมงกฎุ เกลา้ เจ้าอยหู่ ัว King Rama VI’s Literary Works ภาษาองั กฤษ ชอ่ื เตม็ (องั กฤษ) : Bachelor of Education (English) ชอ่ื ยอ่ (องั กฤษ) : B.Ed. (English) THC3315 นวนิยายและเรอ่ื งส้นั 3(2-2-5) 3. จำ�นวนหนว่ ยกิตทีเ่ รียนตลอดหลกั สูตร Novels and Short Stories THC3316 วรรณกรรมทอ้ งถนิ่ 3(2-2-5) หลกั สูตรระดบั ปรญิ ญาตรที างวชิ าการ 142 หนว่ ยกติ Thai Local Literature 1) หมวดวิชาศกึ ษาทัว่ ไป ไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกติ THC3317 คติชนวทิ ยา 3(2-2-5) Folklore การจัดการเรียนการสอนหมวดวิชาศึกษาทั่วไป นักศึกษาจะต้องเรียนใน รายวชิ าศกึ ษาทวั่ ไป โดยมจี �ำ นวนหนว่ ยกติ ไมน่ อ้ ยกวา่ 30 หนว่ ยกติ แบง่ เปน็ THC3318 ภาษาไทยถนิ่ 3(2-2-5) 1.1) กลุ่มวิชามนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ ไมน่ ้อยกวา่ 6 หน่วยกิต Thai Dialects THC3319 ภาษากับวฒั นธรรมไทย 3(2-2-5) 1.2) กล่มุ วิชาภาษา ไมน่ ้อยกวา่ 6 หน่วยกิต 1.3) กลมุ่ วชิ าวทิ ยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตร์ ไม่นอ้ ยกว่า 6 หน่วยกติ Thai Language and Culture 1.4) เลือกเรียนจาก 3 กลมุ่ วชิ าขา้ งต้นอีก ไม่นอ้ ยกวา่ 12 หน่วยกิต THC3320 ค�ำ และส�ำ นวนในภาษาไทย 3(2-2-5) Words and Idiomatic Expression 2) หมวดวชิ าเฉพาะด้าน ไมน่ อ้ ยกวา่ 106 หน่วยกติ 2.1) กลุ่มวิชาชพี ครู ไมน่ ้อยกว่า 43 หน่วยกิต in Thai Language 3(2-2-5) 2.1.1) วชิ าชีพครู ไมน่ อ้ ยกว่า 28 หน่วยกติ THC3321 ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย 3(2-2-5) Foreign Languages in Thai 2.1.2) วชิ าฝึกประสบการณว์ ิชาชีพ ไม่นอ้ ยกว่า 15 หนว่ ยกิต 2.2) กลมุ่ วิชาเอก ไมน่ อ้ ยกวา่ 63 หนว่ ยกติ Language 2.2.1) วิชาบังคับ ไมน่ ้อยกวา่ 42 หนว่ ยกติ THC3322 การสอนภาษาไทยสำ�หรบั ชาวตา่ งชาติ 3(2-2-5) Teaching Thai Language for 2.2.2) วิชาเลอื ก ไม่น้อยกว่า 21 หน่วยกติ 3) หมวดวิชาเลือกเสรี ไมน่ อ้ ยกวา่ 6 หนว่ ยกิต Foreigners THC3323 การพฒั นาหนังสือเรียนภาษาไทย 3(2-2-5) Thai Language Textbooks 1) หมวดวชิ าศกึ ษาทว่ั ไป ไมน่ ้อยกว่า 30 หน่วยกติ 1.1) กลมุ่ วชิ ามนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ Development ใหเ้ รียนไม่นอ้ ยกว่า 6 หนว่ ยกติ THC3324 วิจัยในชน้ั เรยี น 3(2-2-5) Classroom Action Research GEN0101 ชาววังสวนสนุ นั ทา 3(3-0-6) The Royal Court of Suan THC3325 โครงงานและสมั มนา 3(2-2-5) Sunandha Project and Seminar GEN0102 สุนทรียภาพของชวี ติ 3(3-0-6) Aesthetic Appreciation 3) หมวดวิชาเลอื กเสรี ไมน่ ้อยกวา่ 6 หน่วยกิต GEN0103 สงั คมไทยในบริบทโลก 3(3-0-6) ให้เลือกเรียนรายวิชาใดๆ ในหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา โดยไม่ซ้ำ�กับรายวิชาที่เคยเรียนมาแล้ว และต้องไม่เป็นรายวิชาที่กำ�หนดให้ Thai Society in Global Context GEN0104 การพัฒนาตน 3(3-0-6) เรยี นโดยไมน่ บั หน่วยกิตรวมในเกณฑก์ ารส�ำ เรจ็ หลกั สูตรของสาขาวิชา Self Development GEN0105 ความจริงของชวี ติ 3(3-0-6) Truth of Life GEN0106 ชีวิตในสงั คมพหวุ ฒั นธรรม 3(3-0-6) Life in Multicultural Society
031 SunandhaSuan Rajabhat University STUDENT HANDBOOK 2021 รหสั วชิ า ชือ่ วชิ า น(บ-ป-อ) รหสั วิชา ช่อื วชิ า น(บ-ป-อ) GEN0107 ความเป็นพลเมอื งดี 3(3-0-6) GEN0212 ภาษาพมา่ 3(3-0-6) Good Citizenship Burmese Language GEN0108 ความคิดอันงดงาม 3(3-0-6) GEN0213 ภาษาเขมร 3(3-0-6) Beautiful Thought Khmer Language GEN0109 ศาสตรแ์ หง่ ราชันย์ 3(3-0-6) GEN0214 ภาษาลาว 3(3-0-6) King’s Philosophy Lao Language GEN0110 ส�ำ นึกไทย 3(3-0-6) GEN0215 ภาษาเวยี ดนาม 3(3-0-6) Thai Consciousness Vietnamese Language GEN0111 การสรา้ งบุคลิกผู้นำ� 3(3-0-6) GEN0216 ภาษามาเลย ์ 3(3-0-6) Building Leadership Malay Language GEN0112 ปญั ญาไทยนอกกรอบ 3(3-0-6) GEN0217 ภาษาเกาหลี 3(3-0-6) Outside of the Box Thai Intellect Korean Language GEN0113 แรงบนั ดาลใจแหง่ ชีวิต 3(3-0-6) 1.3) กลมุ่ วชิ าวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ Inspiration of Life ใหเ้ รียนไมน่ อ้ ยกว่า 6 หน่วยกติ GEN0114 สสี ันวรรณกรรม 3(3-0-6) GEN0301 เทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่อื การสื่อสาร 3(3-0-6) Color of Literatures Information Technology for GEN0115 ภาพยนตร์วจิ กั ษ์ 3(3-0-6) Communication Film Appreciation GEN0302 วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลย ี 3(3-0-6) GEN0116 ความผดิ หวงั สู่ฝนั ทีเ่ ป็นจรงิ 3(3-0-6) เพื่อคณุ ภาพชวี ิต From Disappointment to a Science and Technology for Dream Come True Quality of Life GEN0117 อยเู่ ป็นวิทยา 3(3-0-6) GEN0303 วิทยาศาสตร์กบั สงิ่ แวดล้อม 3(3-0-6) Science of Living Science and Environments 1.2) กลมุ่ วชิ าภาษา ให้เรยี นไมน่ ้อยกวา่ 6 หนว่ ยกิต GEN0304 ร้เู ท่าทันดิจิทัล 3(3-0-6) GEN0201 การใชภ้ าษาไทย 3(3-0-6) Digital Literacy Thai Usage GEN0305 นนั ทนาการเพื่อคณุ ภาพชีวิต 3(3-0-6) GEN0202 ภาษาไทยเชงิ วชิ าการ 3(3-0-6) Recreation for Quality of Life Thai for Academic Purposes GEN0306 สขุ ภาพส�ำ หรบั ชวี ติ ยคุ ใหม่ 3(3-0-6) GEN0203 ภาษาไทยเพอ่ื การประกอบอาชพี 3(3-0-6) Health Care for New Gen Thai for Career GEN0307 มหัศจรรยแ์ ห่งความคดิ 3(3-0-6) GEN0204 ภาษาอังกฤษเพอ่ื การส่อื สาร 3(3-0-6) Miracle of Thought และการสบื ค้น GEN0308 อนิ โฟกราฟิก 3(3-0-6) English for Communication and Info Graphic Information Retrieval GEN0309 ชวี ติ กบั ดจิ ิทัล 3(3-0-6) GEN0205 ภาษาอังกฤษเพื่อทักษะการเรยี น 3(3-0-6) Digital for Life English for Study Skills GEN0310 การส่งเสรมิ สุขภาพทางเพศ 3(3-0-6) GEN0206 ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ 3(3-0-6) Sexual Health Promotion English for Academic Purposes GEN0311 ธรรมชาตบิ �ำ บดั 3(3-0-6) GEN0207 ภาษาอังกฤษเพอ่ื การประกอบวิชาชพี 3(3-0-6) Natural Therapy English for Career Development GEN0312 รูเ้ ทา่ ทันภาวะการเงิน 3(3-0-6) GEN0208 ภาษาอังกฤษเพอ่ื การดแู ลสขุ ภาพ 3(3-0-6) Financial Literacy English for Health Care GEN0313 การเต้น 3(3-0-6) GEN0209 ภาษาองั กฤษเพ่ือการนำ�เสนอและการพูด 3(3-0-6) Dancing ในทีส่ าธารณะ GEN0314 โยคะ 3(3-0-6) Public Speaking and Presentation Yoga Skills in English GEN0315 ชีวิตเลกิ อ้วน 3(3-0-6) GEN0210 วาทกรรมภาษาองั กฤษเพ่อื การสือ่ สาร 3(3-0-6) Never Get Fat Again Discourse English for GEN0316 ศาสตร์แห่งการชะลอวัย 3(3-0-6) Communication Science of Anti-Aging GEN0211 ภาษาจีน 3(3-0-6) GEN0317 ศาสตรแ์ ละศลิ ป์แหง่ อาหารชาววงั 3(3-0-6) Chinese Language State of the Art of Royal Cuisine
032 SunandhaSuan Rajabhat University STUDENT HANDBOOK 2021 รหสั วิชา ช่อื วิชา น(บ-ป-อ) รหัสวชิ า ชื่อวชิ า น(บ-ป-อ) GEN0318 รกั ปลอดภยั 3(3-0-6) EDC3305 ผูก้ ำ�กับลกู เสอื -เนตรนารสี ามญั รุ่นใหญ่ 1(0-2-1) Safe Sex ข้ันความรเู้ บ้ืองตน้ GEN0319 ผ้ปู ระกอบการธรุ กจิ ดจิ ทิ ัล 3(3-0-6) Basic Unit Leader of Boy Scout Entrepreneurship in Digital and Girl Guide GEN0320 รวยดว้ ยดจิ ิทลั 3(3-0-6) 2.1.2) วชิ าฝกึ ประสบการณ์วชิ าชีพ 15 หน่วยกติ Digital Millionaire EDC1201 การฝึกปฏิบตั ิวชิ าชพี ระหว่างเรียน 1 1(90) 1.4) นกั ศึกษาต้องเลือกเรยี นอีก ไมน่ ้อยกว่า 12 หน่วยกติ Practicum 1 จาก 3 กลุ่มวชิ าข้างต้น EDC2202 การฝึกปฏิบตั วิ ิชาชพี ระหวา่ งเรียน 2 1(90) Practicum 2 2) หมวดวิชาเฉพาะด้าน ไมน่ อ้ ยกวา่ 106 หนว่ ยกิต EDC3203 การฝึกปฏิบัติวชิ าชีพระหวา่ งเรียน 3 1(90) 2.1) กลุ่มวิชาชพี ครู ไม่นอ้ ยกวา่ 43 หนว่ ยกติ Practicum 3 2.1.1) วิชาชพี ครู ไมน่ อ้ ยกว่า 28 หนว่ ยกิต EDC4201 การปฏบิ ัตกิ ารสอนในสถานศึกษา 1 6(360) EDC1101 ภาษาเพ่อื การสือ่ สาร 3(2-2-5) Internship 1 Language for Communication EDC4202 การปฏบิ ตั ิการสอนในสถานศกึ ษา 2 6(360) EDC1102 คณุ ธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ 3(2-2-5) Internship 2 และจิตวญิ ญาณความเป็นครู 2.2) กลุ่มวิชาเอก ใหเ้ รยี นไม่น้อยกว่า 63 หน่วยกิต Ethics and Spirituality for Teachers 2.2.1) วิชาบงั คบั ใหเ้ รยี นไม่นอ้ ยกว่า 42 หน่วยกิต EDC1103 จติ วิทยาสำ�หรับครู 3(2-2-5) EEC1301 การฟังและการพูดสำ�หรบั ครภู าษาองั กฤษ 3(2-2-5) Psychology for Teacher Listening and Speaking for EDC1104 การพัฒนาหลักสตู ร 3(2-2-5) Teachers of English Curriculum Development EEC1302 หลกั ภาษาสำ�หรบั ครภู าษาอังกฤษ 3(2-2-5) EDC2101 การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นร ู้ 3(2-2-5) English Structure for Teachers Learning Measurement and of English Evaluation EEC1303 วฒั นธรรมโลกสำ�หรับครูภาษาอังกฤษ 3(2-2-5) EDC2102 วทิ ยาการจัดการเรียนรู ้ 3(2-2-5) World Cultures for Teachers Instructional Science of English EDC2103 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ 3(2-2-5) EEC1304 การจดั การชัน้ เรยี นภาษาอังกฤษ 3(2-2-5) เพ่ือการสอ่ื สารการศกึ ษาและการเรยี นรู้ English Classroom Management Innovation and Information EEC1305 การอา่ นเพื่อการคิดวเิ คราะห์ส�ำ หรับครู 3(2-2-5) Technology for Educational ภาษาอังกฤษ Communication and Learning Critical Reading for Teachers EDC2104 การบริหารการศึกษาและการประกัน 3(2-2-5) of English คณุ ภาพการศึกษา EEC2306 สทั ศาสตรแ์ ละสัทวทิ ยาส�ำ หรับครู 3(2-2-5) Education Administration and ภาษาอังกฤษ Quality Assurance in Education Phonetics and Phonology for EDC3101 การวิจยั และพฒั นานวัตกรรมการเรยี นร ู้ 3(2-2-5) Teachers of English Research and Development in EEC2307 วรรณกรรมเพื่อการสอนภาษาอังกฤษ 3(2-2-5) Innovation and Learning Literary Works for English EDC4101 ครนุ พิ นธ ์ 1(0-2-1) Language Teaching Individual Study EEC2308 ไวยากรณ์ขัน้ สูงสำ�หรับครูภาษาองั กฤษ 3(2-2-5) EDC3301 จติ วทิ ยาการเรียนรู ้ 3(2-2-5) Advanced Grammar for Teachers Psychology of Learning of English EDC3302 จิตวทิ ยาการเรยี นการสอน 3(2-2-5) EEC2309 การแปลส�ำ หรบั ครภู าษาอังกฤษ 3(2-2-5) Psychology of Learning and Translation for Teachers of English Instruction EEC2310 การเขียนเชงิ วชิ าการส�ำ หรบั ครู 3(2-2-5) EDC3303 การสอนเพศศึกษา 3(2-2-5) ภาษาองั กฤษ Teaching of Sex Education Academic Writing for Teachers EDC3304 ความคิดสร้างสรรคส์ ำ�หรับครู 3(2-2-5) of English Creativity for Teachers
033 SunandhaSuan Rajabhat University STUDENT HANDBOOK 2021 รหัสวิชา ชือ่ วชิ า น(บ-ป-อ) รหสั วิชา ช่ือวชิ า น(บ-ป-อ) EEC3311 หลกั สตู รและการจัดการเรยี นรู้ 3(2-2-5) EEC3322 ภาษาอังกฤษเพอื่ การทดสอบมาตรฐาน 3(2-2-5) ภาษาองั กฤษ English for Language Proficiency Curriculum and English Learning Tests Activities EEC3323 การวเิ คราะห์ความตอ้ งการทางภาษา 3(2-2-5) EEC3312 การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ 3(2-2-5) เพือ่ การสอนภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษ Language Needs Analysis for English Language Assessment English Language Teaching EEC3313 การวิจัยทางการเรยี นการสอน 3(2-2-5) EEC3324 วจิ ัยวพิ ากษ์ทางการจัดการเรียนรู้ 3(2-2-5) ภาษาองั กฤษ ภาษาอังกฤษ Research in English Language Research Critique on English Teaching Language Learning Management EEC3314 สมั มนาการสอนภาษาอังกฤษ 3(2-2-5) EEC3325 การนเิ ทศการสอนวิชาภาษาอังกฤษ 3(2-2-5) Seminar in English Language English Language Instructional Teaching Supervision 2.2.2) วชิ าเลอื ก 21 หนว่ ยกิต EEC1315 ภาษาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั 3(2-2-5) 3) หมวดวชิ าเลอื กเสรี ไมน่ ้อยกวา่ 6 หนว่ ยกิต เพอ่ื การสอนภาษาองั กฤษ ใหเ้ ลอื กเรยี นรายวชิ าใดๆ ในหลกั สตู รมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวนสนุ นั ทาโดย Linguistics and Digital ไมซ่ �ำ้ กบั รายวชิ าทเ่ี คยเรยี นมาแลว้ และตอ้ งไมเ่ ปน็ รายวชิ าทกี่ �ำ หนดใหเ้ รยี นโดย Technology for English Language ไมน่ บั หนว่ ยกติ รวมในเกณฑ์การสำ�เร็จหลกั สูตรของสาขาวิชา Teaching EEC2316 การพัฒนาสือ่ และนวตั กรรมการเรยี นรู้ 3(2-2-5) ภาษาองั กฤษ Material Development and สหลากั สขูตารควรศุ ชิ าสาตสรบังณั คฑิตมศึกษา Learning Innovations in English Language Teaching หลักสตู รปรบั ปรงุ พ.ศ. 2562 EEC3317 การจดั การเรียนรู้ภาษาองั กฤษส�ำ หรบั 3(2-2-5) ผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21 English Language Learning Management for the 21st Century 1. ชอื่ หลกั สตู ร ภาษาไทย : หลักสตู รครศุ าสตรบัณฑติ สาขาวชิ าสงั คมศกึ ษา Learners ภาษาองั กฤษ : Bachelor of Education Program in Social EEC3318 การจัดการเรียนรูภ้ าษาอังกฤษ 3(2-2-5) ในโรงเรยี นสองภาษา Studies 2. ชือ่ ปริญญาและสาขาวชิ า English Language Learning ภาษาไทย ชอื่ เตม็ : ครศุ าสตรบัณฑิต (สงั คมศึกษา) Management in Bilingual Schools EEC3319 การบรู ณาการการอา่ นเชิงวชิ าการ 3(2-2-5) ช่อื ย่อ : ค.บ. (สงั คมศกึ ษา) ภาษาองั กฤษ ช่ือเตม็ : Bachelor of Education (Social Studies) กับการพฒั นาองค์กรวชิ าชีพของครู ช่อื ยอ่ : B.Ed. (Social Studies) ภาษาองั กฤษ Integration of Academic Reading 3. จำ�นวนหน่วยกิตทเี่ รียนตลอดหลกั สตู ร หลกั สูตรระดบั ปรญิ ญาตรที างวิชาการ 142 หนว่ ยกติ and Development of English Teachers Association EEC3320 การออกแบบการจดั การเรยี นร ู้ 3(2-2-5) 1) หมวดวชิ าศกึ ษาทัว่ ไป ไม่น้อยกวา่ 30 หนว่ ยกิต การจัดการเรียนการสอนหมวดวิชาศึกษาท่ัวไป นักศึกษาจะต้องเรียนใน ภาษาองั กฤษระดับมัธยมศึกษา รายวชิ าศกึ ษาทวั่ ไป โดยมจี �ำ นวนหนว่ ยกติ ไมน่ อ้ ยกวา่ 30 หนว่ ยกติ แบง่ เปน็ Design of English Language Learning Area at Secondary Level 1.1) กลมุ่ วชิ ามนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ ไม่นอ้ ยกวา่ 6 หนว่ ยกิต 1.2) กล่มุ วิชาภาษา ไมน่ อ้ ยกว่า 6 หน่วยกิต EEC3321 การจดั การเรยี นรู้เพ่ือพัฒนาทกั ษะ 3(2-2-5) 1.3) กลุ่มวิชาวทิ ยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ไมน่ ้อยกว่า 6 หนว่ ยกิต การคดิ ดว้ ยวรรณกรรมส�ำ หรับเดก็ Learning Management for 1.4) เลือกเรยี นจาก 3 กลมุ่ วิชาขา้ งตน้ อีก ไม่น้อยกวา่ 12 หนว่ ยกติ 2) หมวดวิชาเฉพาะด้าน ไม่น้อยกว่า 106 หน่วยกติ Thinking Skill Development through 2.1) กลุ่มวิชาชพี ครู ไมน่ ้อยกว่า 43 หน่วยกติ Children Literature 2.1.1) วิชาชพี ครู ไมน่ อ้ ยกว่า 28 หนว่ ยกติ 2.1.2) วชิ าฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชพี ไมน่ อ้ ยกว่า 15 หนว่ ยกติ
034 SunandhaSuan Rajabhat University STUDENT HANDBOOK 2021 รหสั วชิ า ชอ่ื วชิ า น(บ-ป-อ) รหสั วชิ า ชอ่ื วชิ า น(บ-ป-อ) 2.2) กลุ่มวชิ าเอก ไมน่ อ้ ยกว่า 63 หน่วยกติ GEN0204 ภาษาองั กฤษเพ่ือการสือ่ สาร 3(3-0-6) 2.2.1) วชิ าบังคบั ไม่น้อยกวา่ 42 หน่วยกิต และการสืบค้น 2.2.2) วชิ าเลอื ก ไม่น้อยกวา่ 21 หน่วยกิต English for Communication and 3) หมวดวิชาเลอื กเสรี ไมน่ ้อยกวา่ 6 หนว่ ยกติ Information Retrieval GEN0205 ภาษาอังกฤษเพือ่ ทักษะการเรียน 3(3-0-6) 1) หมวดวชิ าศกึ ษาทัว่ ไป ไมน่ อ้ ยกวา่ 30 หน่วยกิต English for Study Skills 1.1) กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ GEN0206 ภาษาอังกฤษเชิงวชิ าการ 3(3-0-6) ให้เรียนไมน่ ้อยกว่า 6 หน่วยกติ English for Academic Purposes GEN0101 ชาววงั สวนสนุ ันทา 3(3-0-6) GEN0207 ภาษาอังกฤษเพอ่ื การประกอบวิชาชพี 3(3-0-6) The Royal Court of Suan English for Career Development Sunandha GEN0208 ภาษาองั กฤษเพือ่ การดูแลสุขภาพ 3(3-0-6) GEN0102 สุนทรยี ภาพของชีวิต 3(3-0-6) English for Health Care Aesthetic Appreciation GEN0209 ภาษาอังกฤษเพ่ือการนำ�เสนอและการพูด 3(3-0-6) GEN0103 สังคมไทยในบริบทโลก 3(3-0-6) ในท่สี าธารณะ Thai Society in Global Context Public Speaking and Presentation GEN0104 การพฒั นาตน 3(3-0-6) Skills in English Self Development GEN0210 วาทกรรมภาษาองั กฤษเพอื่ การส่อื สาร 3(3-0-6) GEN0105 ความจรงิ ของชีวิต 3(3-0-6) Discourse English for Truth of Life Communication GEN0106 ชีวิตในสงั คมพหุวฒั นธรรม 3(3-0-6) GEN0211 ภาษาจนี 3(3-0-6) Life in Multicultural Society Chinese Language GEN0107 ความเปน็ พลเมืองดี 3(3-0-6) GEN0212 ภาษาพม่า 3(3-0-6) Good Citizenship Burmese Language GEN0108 ความคดิ อันงดงาม 3(3-0-6) GEN0213 ภาษาเขมร 3(3-0-6) Beautiful Thought Khmer Language GEN0109 ศาสตร์แหง่ ราชนั ย ์ 3(3-0-6) GEN0214 ภาษาลาว 3(3-0-6) King’s Philosophy Lao Language GEN0110 สำ�นกึ ไทย 3(3-0-6) GEN0215 ภาษาเวยี ดนาม 3(3-0-6) Thai Consciousness Vietnamese Language GEN0111 การสร้างบุคลิกผนู้ �ำ 3(3-0-6) GEN0216 ภาษามาเลย์ 3(3-0-6) Building Leadership Malay Language GEN0112 ปญั ญาไทยนอกกรอบ 3(3-0-6) GEN0217 ภาษาเกาหล ี 3(3-0-6) Outside of the Box Thai Intellect Korean Language GEN0113 แรงบนั ดาลใจแห่งชวี ติ 3(3-0-6) 1.3) กลุ่มวิชาวทิ ยาศาสตรแ์ ละคณิตศาสตร์ Inspiration of Life ให้เรยี นไม่น้อยกว่า 6 หนว่ ยกิต GEN0114 สสี ันวรรณกรรม 3(3-0-6) GEN0301 เทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่อื การสื่อสาร 3(3-0-6) Color of Literatures Information Technology for GEN0115 ภาพยนตรว์ จิ กั ษ ์ 3(3-0-6) Communication Film Appreciation GEN0302 วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย ี 3(3-0-6) GEN0116 ความผดิ หวังสูฝ่ ันท่เี ปน็ จริง 3(3-0-6) เพ่อื คุณภาพชวี ติ From Disappointment to a Science and Technology for Dream Come True Quality of Life GEN0117 อย่เู ปน็ วิทยา 3(3-0-6) GEN0303 วทิ ยาศาสตร์กบั ส่งิ แวดลอ้ ม 3(3-0-6) Science of Living Science and Environments 1.2) กลุ่มวชิ าภาษา ให้เรยี นไมน่ อ้ ยกว่า 6 หน่วยกิต GEN0304 ร้เู ท่าทันดจิ ทิ ัล 3(3-0-6) GEN0201 การใชภ้ าษาไทย 3(3-0-6) Digital Literacy Thai Usage GEN0305 นนั ทนาการเพอ่ื คณุ ภาพชวี ติ 3(3-0-6) GEN0202 ภาษาไทยเชงิ วชิ าการ 3(3-0-6) Recreation for Quality of Life Thai for Academic Purposes GEN0306 สขุ ภาพส�ำ หรบั ชีวติ ยุคใหม่ 3(3-0-6) GEN0203 ภาษาไทยเพือ่ การประกอบอาชีพ 3(3-0-6) Health Care for New Gen Thai for Career
035 SunandhaSuan Rajabhat University STUDENT HANDBOOK 2021 รหัสวชิ า ชอื่ วิชา น(บ-ป-อ) รหัสวิชา ชอ่ื วิชา น(บ-ป-อ) GEN0307 มหศั จรรย์แหง่ ความคดิ 3(3-0-6) EDC2103 นวัตกรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศ 3(2-2-5) Miracle of Thought เพ่ือการสื่อสารการศกึ ษาและการเรียนรู้ GEN0308 อนิ โฟกราฟกิ 3(3-0-6) Innovation and Information Info Graphic Technology for Educational GEN0309 ชีวิตกับดิจิทลั 3(3-0-6) Communication and Learning Digital for Life EDC2104 การบรหิ ารการศกึ ษาและการประกนั 3(2-2-5) GEN0310 การส่งเสริมสุขภาพทางเพศ 3(3-0-6) คุณภาพการศกึ ษา Sexual Health Promotion Education Administration and GEN0311 ธรรมชาตบิ ำ�บดั 3(3-0-6) Quality Assurance in Education Natural Therapy EDC3101 การวจิ ยั และพฒั นานวตั กรรมการเรยี นร้ ู 3(2-2-5) GEN0312 รเู้ ท่าทันภาวะการเงิน 3(3-0-6) Research and Development in Financial Literacy Innovation and Learning GEN0313 การเตน้ 3(3-0-6) EDC4101 ครนุ ิพนธ ์ 1(0-2-1) Dancing Individual Study GEN0314 โยคะ 3(3-0-6) EDC3301 จิตวทิ ยาการเรยี นร ู้ 3(2-2-5) Yoga Psychology of Learning GEN0315 ชวี ิตเลิกอ้วน 3(3-0-6) EDC3302 จติ วทิ ยาการเรยี นการสอน 3(2-2-5) Never Get Fat Again Psychology of Learning and GEN0316 ศาสตร์แหง่ การชะลอวัย 3(3-0-6) Instruction Science of Anti-Aging EDC3303 การสอนเพศศกึ ษา 3(2-2-5) GEN0317 ศาสตรแ์ ละศิลปแ์ หง่ อาหารชาววงั 3(3-0-6) Teaching of Sex Education State of the Art of Royal Cuisine EDC3304 ความคิดสรา้ งสรรคส์ �ำ หรบั ครู 3(2-2-5) GEN0318 รักปลอดภยั 3(3-0-6) Creativity for Teachers Safe Sex EDC3305 ผกู้ �ำ กับลกู เสือ-เนตรนารสี ามญั รุน่ ใหญ่ 1(0-2-1) GEN0319 ผปู้ ระกอบการธุรกจิ ดจิ ิทัล 3(3-0-6) ข้ันความรู้เบ้อื งต้น Entrepreneurship in Digital Basic Unit Leader of Boy Scout GEN0320 รวยด้วยดิจิทัล 3(3-0-6) and Girl Guide Digital Millionaire 2.1.2) วชิ าฝกึ ประสบการณว์ ิชาชีพ 15 หน่วยกิต 1.4) นักศึกษาต้องเลือกเรยี นอีก ไมน่ อ้ ยกว่า 12 หน่วยกติ EDC1201 การฝกึ ปฏิบัติวชิ าชีพระหว่างเรียน 1 1(90) จาก 3 กลุ่มวชิ าข้างตน้ Practicum 1 EDC2202 การฝกึ ปฏบิ ตั ิวิชาชพี ระหวา่ งเรยี น 2 1(90) 2) หมวดวิชาเฉพาะดา้ น ไมน่ อ้ ยกวา่ 106 หนว่ ยกติ Practicum 2 2.1) กลุ่มวิชาชพี ครู ไม่น้อยกว่า 43 หนว่ ยกิต EDC3203 การฝึกปฏบิ ตั วิ ชิ าชีพระหวา่ งเรยี น 3 1(90) 2.1.1) วิชาชีพครู ไม่น้อยกวา่ 28 หน่วยกติ Practicum 3 EDC1101 ภาษาเพือ่ การส่ือสาร 3(2-2-5) EDC4201 การปฏิบัตกิ ารสอนในสถานศึกษา 1 6(360) Language for Communication Internship 1 EDC1102 คณุ ธรรม จรยิ ธรรม จรรยาบรรณ 3(2-2-5) EDC4202 การปฏิบัติการสอนในสถานศกึ ษา 2 6(360) และจติ วญิ ญาณความเปน็ ครู Internship 2 Ethics and Spirituality for Teachers 2.2) กล่มุ วิชาเอก ไมน่ ้อยกว่า 63 หนว่ ยกติ EDC1103 จติ วิทยาสำ�หรับครู 3(2-2-5) 2.2.1) วชิ าบังคับ 42 หน่วยกิต Psychology for Teacher SOC1301 ประวัติศาสตร์ไทย 3(2-2-5) EDC1104 การพัฒนาหลักสูตร 3(2-2-5) Thai History Curriculum Development SOC1302 หลกั สังคมวทิ ยา 3(2-2-5) EDC2101 การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ 3(2-2-5) Principles of Sociology Learning Measurement and SOC1303 การเมืองการปกครองไทย 3(2-2-5) Evaluation Thai Politics and Government EDC2102 วทิ ยาการจัดการเรยี นร ู้ 3(2-2-5) SOC1304 ภูมิศาสตร์กายภาพ 3(2-2-5) Instructional Science Physical Geography SOC2301 เศรษฐศาสตร์เบ้ืองตน้ 3(2-2-5) Introduction to Economics
036 SunandhaSuan Rajabhat University STUDENT HANDBOOK 2021 รหัสวชิ า ชอื่ วิชา น(บ-ป-อ) รหสั วิชา ช่อื วชิ า น(บ-ป-อ) SOC2302 กฎหมายเบือ้ งต้น 3(2-2-5) SOC3307 นวตั กรรมและสือ่ ดจิ ิทัลทางสงั คมศึกษา 3(2-2-5) Principles of Jurisprudence Educational Innovation and SOC2303 อารยธรรมโลก 3(2-2-5) Digital Media in Social Studies World Civilization SOC3308 การวิจัยเชิงปฏิบัตกิ ารในช้ันเรยี น 3(2-2-5) SOC2304 ศาสนศึกษา 3(2-2-5) สงั คมศึกษา Religious Studies Social Studies Classroom Action SOC3301 เศรษฐกจิ ไทยและเศรษฐกิจโลก 3(2-2-5) Research Thai Econocy and World SOC3309 สัมมนาสงั คมศกึ ษา 3(2-2-5) Economy Seminar in Social Studies SOC3302 วธิ วี ิทยาการสอนสังคมศึกษา 3(2-2-5) SOC3310 ภาษาอังกฤษสำ�หรับครสู งั คมศึกษา 3(2-2-5) Social Studies Teaching English for Social Studies Teacher Methodology SOC3303 สิ่งแวดลอ้ มและประชากรศึกษา 3(2-2-5) 3) หมวดวชิ าเลือกเสรี ไมน่ ้อยกวา่ 6 หนว่ ยกิต Environment and Population ให้เลือกเรียนรายวิชาใดๆ ในหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา Education โดยไม่ซำ้�กับรายวิชาที่เคยเรียนมาแล้ว และต้องไม่เป็นรายวิชาที่กำ�หนดให้ SOC3304 ประวัตศิ าสตร์ทอ้ งถ่นิ 3(2-2-5) เรียนโดยไมน่ บั หนว่ ยกติ รวมในเกณฑก์ ารส�ำ เรจ็ หลกั สูตรของสาขาวชิ า Local History SOC3305 วฒั นธรรมสงั คมดจิ ทิ ลั 3(2-2-5) Digital Society Culture SOC3306 โลกศกึ ษา 3(2-2-5) สหลาักสขูตารควรศุ ชิ าสาตครบณณั ฑิตติ ศาสตร์ Global Education 2.2.2) วชิ าเลือก 21 หนว่ ยกติ หลกั สตู รปรับปรุง พ.ศ. 2562 SOC1305 ภมู ิศาสตร์ประเทศไทย 3(2-2-5) Geography of Thailand SOC1306 มโนทศั นส์ ังคมศึกษา 3(2-2-5) Social Studies Concepts 1. ช่อื หลักสูตร ภาษาไทย : หลักสตู รครศุ าสตรบณั ฑิต สาขาวิชาคณติ ศาสตร์ SOC1307 พุทธธรรมและธรรมวิทยา 3(2-2-5) ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Education Program in Religious Doctrines SOC1308 กรุงเทพศึกษา 3(2-2-5) Mathematics 2. ชอ่ื ปริญญาและสาขาวิชา Bangkok Studies ชื่อเตม็ (ไทย) : ครุศาสตรบัณฑติ (คณติ ศาสตร)์ SOC2305 เครอื่ งมอื ทางภมู ิศาสตรแ์ ละภูมิสารสนเทศ 3(2-2-5) ชอ่ื ยอ่ (ไทย) : ค.บ. (คณติ ศาสตร)์ Geographic Tools and Geo- ชอื่ เตม็ (องั กฤษ) : Bachelor of Education (Mathematics) informatics ช่อื ยอ่ (อังกฤษ) : B.Ed. (Mathematics) 3. จ�ำ นวนหน่วยกติ ท่ีเรยี นตลอดหลักสูตร SOC2306 เกมเบ็ดเตล็ดเพือ่ การสอนสังคมศึกษา 3(2-2-5) หลักสูตรระดบั ปริญญาตรที างวชิ าการ 142 หน่วยกิต Minor Games for Social Studies Instruction SOC2307 ประวตั ศิ าสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต ้ 3(2-2-5) 1) หมวดวิชาศกึ ษาท่ัวไป ไมน่ ้อยกวา่ 30 หนว่ ยกติ การจัดการเรียนการสอนหมวดวิชาศึกษาท่ัวไป นักศึกษาจะต้องเรียนใน Southeast Asian History รายวชิ าศกึ ษาทว่ั ไป โดยมจี �ำ นวนหนว่ ยกติ ไมน่ อ้ ยกวา่ 30 หนว่ ยกติ แบง่ เปน็ SOC2308 การพฒั นาหลกั สตู รสังคมศึกษา 3(2-2-5) Social Studies Curriculum 1.1) กลุ่มวชิ ามนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ ไมน่ อ้ ยกว่า 6 หน่วยกติ 1.2) กลุม่ วชิ าภาษา ไม่น้อยกวา่ 6 หน่วยกิต Development 1.3) กลมุ่ วิชาวิทยาศาสตรแ์ ละคณิตศาสตร์ ไม่นอ้ ยกวา่ 6 หน่วยกติ SOC2309 ศาสนาและความเช่ือในเอเชีย 3(2-2-5) ตะวนั ออกเฉียงใต้ 1.4) เลือกเรยี นจาก 3 กลุ่มวิชาข้างตน้ อกี ไมน่ อ้ ยกว่า 12 หน่วยกติ 2) หมวดวิชาเฉพาะด้าน ไมน่ ้อยกว่า 106 หน่วยกติ Religious and Beliefs in 2.1) กลุ่มวชิ าชพี ครู ไมน่ ้อยกวา่ 43 หน่วยกติ Southeast Asia SOC2310 เพศสถานะในสังคม 3(2-2-5) 2.1.1) วชิ าชีพครู ไม่น้อยกว่า 28 หน่วยกติ 2.1.2) วิชาฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชพี ไมน่ อ้ ยกวา่ 15 หนว่ ยกิต Gender in Society 2.2) กลุ่มวชิ าเอก ไมน่ ้อยกวา่ 63 หน่วยกติ SOC2311 ปญั หาสงั คมผ่านการแสดง 3(2-2-5) Social Issues through 2.2.1) วิชาบงั คบั ไมน่ ้อยกวา่ 42 หน่วยกติ 2.2.2) วิชาเลือก ไม่นอ้ ยกวา่ 21 หน่วยกิต Performances 3) หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่นอ้ ยกว่า 6 หน่วยกิต
037 SunandhaSuan Rajabhat University STUDENT HANDBOOK 2021 รหัสวชิ า ชือ่ วชิ า น(บ-ป-อ) รหสั วิชา ชื่อวชิ า น(บ-ป-อ) 1) หมวดวชิ าศกึ ษาท่วั ไป ไม่นอ้ ยกว่า 30 หน่วยกติ GEN0206 ภาษาองั กฤษเชงิ วิชาการ 3(3-0-6) 1.1) กลมุ่ วิชามนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ English for Academic Purposes ใหเ้ รียนไมน่ อ้ ยกวา่ 6 หน่วยกติ GEN0207 ภาษาองั กฤษเพ่อื การประกอบวชิ าชพี 3(3-0-6) GEN0101 ชาววงั สวนสุนนั ทา 3(3-0-6) English for Career Development The Royal Court of Suan GEN0208 ภาษาอังกฤษเพือ่ การดแู ลสขุ ภาพ 3(3-0-6) Sunandha English for Health Care GEN0102 สนุ ทรียภาพของชีวิต 3(3-0-6) GEN0209 ภาษาองั กฤษเพ่อื การนำ�เสนอและการพดู 3(3-0-6) Aesthetic Appreciation ในท่สี าธารณะ GEN0103 สงั คมไทยในบรบิ ทโลก 3(3-0-6) Public Speaking and Presentation Thai Society in Global Context Skills in English GEN0104 การพฒั นาตน 3(3-0-6) GEN0210 วาทกรรมภาษาองั กฤษเพอื่ การส่ือสาร 3(3-0-6) Self Development Discourse English for GEN0105 ความจรงิ ของชวี ิต 3(3-0-6) Communication Truth of Life GEN0211 ภาษาจีน 3(3-0-6) GEN0106 ชวี ติ ในสังคมพหุวฒั นธรรม 3(3-0-6) Chinese Language Life in Multicultural Society GEN0212 ภาษาพมา่ 3(3-0-6) GEN0107 ความเปน็ พลเมอื งดี 3(3-0-6) Burmese Language Good Citizenship GEN0213 ภาษาเขมร 3(3-0-6) GEN0108 ความคดิ อนั งดงาม 3(3-0-6) Khmer Language Beautiful Thought GEN0214 ภาษาลาว 3(3-0-6) GEN0109 ศาสตร์แห่งราชนั ย ์ 3(3-0-6) Lao Language King’s Philosophy GEN0215 ภาษาเวยี ดนาม 3(3-0-6) GEN0110 สำ�นกึ ไทย 3(3-0-6) Vietnamese Language Thai Consciousness GEN0216 ภาษามาเลย ์ 3(3-0-6) GEN0111 การสรา้ งบคุ ลกิ ผ้นู �ำ 3(3-0-6) Malay Language Building Leadership GEN0217 ภาษาเกาหลี 3(3-0-6) GEN0112 ปญั ญาไทยนอกกรอบ 3(3-0-6) Korean Language Outside of the Box Thai Intellect 1.3) กลุ่มวิชาวทิ ยาศาสตร์และคณติ ศาสตร์ GEN0113 แรงบันดาลใจแหง่ ชวี ิต 3(3-0-6) ใหเ้ รียนไม่นอ้ ยกว่า 6 หน่วยกิต Inspiration of Life GEN0301 เทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือการสอ่ื สาร 3(3-0-6) GEN0114 สีสนั วรรณกรรม 3(3-0-6) Information Technology for Color of Literatures Communication GEN0115 ภาพยนตรว์ จิ กั ษ ์ 3(3-0-6) GEN0302 วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย ี 3(3-0-6) Film Appreciation เพอื่ คุณภาพชีวติ GEN0116 ความผดิ หวงั สูฝ่ ันที่เป็นจริง 3(3-0-6) Science and Technology for From Disappointment to a Quality of Life Dream Come True GEN0303 วิทยาศาสตร์กบั ส่ิงแวดล้อม 3(3-0-6) GEN0117 อยูเ่ ปน็ วทิ ยา 3(3-0-6) Science and Environments Science of Living GEN0304 รเู้ ท่าทนั ดิจิทัล 3(3-0-6) 1.2) กลมุ่ วชิ าภาษา ให้เรยี นไมน่ ้อยกวา่ 6 หนว่ ยกิต Digital Literacy GEN0201 การใชภ้ าษาไทย 3(3-0-6) GEN0305 นนั ทนาการเพอื่ คณุ ภาพชวี ติ 3(3-0-6) Thai Usage Recreation for Quality of Life GEN0202 ภาษาไทยเชงิ วชิ าการ 3(3-0-6) GEN0306 สุขภาพสำ�หรบั ชีวติ ยุคใหม่ 3(3-0-6) Thai for Academic Purposes Health Care for New Gen GEN0203 ภาษาไทยเพือ่ การประกอบอาชีพ 3(3-0-6) GEN0307 มหัศจรรย์แหง่ ความคดิ 3(3-0-6) Thai for Career Miracle of Thought GEN0204 ภาษาอังกฤษเพอ่ื การสือ่ สาร 3(3-0-6) GEN0308 อินโฟกราฟกิ 3(3-0-6) และการสบื ค้น Info Graphic English for Communication and GEN0309 ชวี ิตกับดิจิทลั 3(3-0-6) Information Retrieval Digital for Life GEN0205 ภาษาองั กฤษเพ่อื ทักษะการเรียน 3(3-0-6) GEN0310 การส่งเสริมสุขภาพทางเพศ 3(3-0-6) English for Study Skills Sexual Health Promotion
038 SunandhaSuan Rajabhat University STUDENT HANDBOOK 2021 รหสั วิชา ชือ่ วชิ า น(บ-ป-อ) รหัสวชิ า ชื่อวชิ า น(บ-ป-อ) GEN0311 ธรรมชาติบ�ำ บดั 3(3-0-6) EDC4101 ครนุ ิพนธ์ 1(0-2-1) Natural Therapy Individual Study GEN0312 รเู้ ท่าทนั ภาวะการเงิน 3(3-0-6) EDC3301 จติ วิทยาการเรยี นร ู้ 3(2-2-5) Financial Literacy Psychology of Learning GEN0313 การเตน้ 3(3-0-6) EDC3302 จิตวทิ ยาการเรียนการสอน 3(2-2-5) Dancing Psychology of Learning and GEN0314 โยคะ 3(3-0-6) Instruction Yoga EDC3303 การสอนเพศศกึ ษา 3(2-2-5) GEN0315 ชีวติ เลิกอ้วน 3(3-0-6) Teaching of Sex Education Never Get Fat Again EDC3304 ความคิดสรา้ งสรรค์สำ�หรับครู 3(2-2-5) GEN0316 ศาสตรแ์ ห่งการชะลอวัย 3(3-0-6) Creativity for Teachers Science of Anti-Aging EDC3305 ผู้ก�ำ กบั ลกู เสือ-เนตรนารสี ามญั รนุ่ ใหญ่ 1(0-2-1) GEN0317 ศาสตร์และศลิ ปแ์ หง่ อาหารชาววัง 3(3-0-6) ข้ันความร้เู บ้อื งตน้ State of the Art of Royal Cuisine Basic Unit Leader of Boy Scout GEN0318 รักปลอดภยั 3(3-0-6) and Girl Guide Safe Sex 2.1.2) วชิ าฝึกประสบการณว์ ิชาชีพ 15 หน่วยกติ GEN0319 ผู้ประกอบการธุรกจิ ดจิ ทิ ลั 3(3-0-6) EDC1201 การฝกึ ปฏิบตั วิ ชิ าชพี ระหวา่ งเรียน 1 1(90) Entrepreneurship in Digital Practicum 1 GEN0320 รวยด้วยดิจทิ ัล 3(3-0-6) EDC2202 การฝึกปฏิบัตวิ ิชาชีพระหว่างเรยี น 2 1(90) Digital Millionaire Practicum 2 1.4) นักศึกษาตอ้ งเลอื กเรียนอกี ไมน่ ้อยกว่า 12 หน่วยกิต EDC3203 การฝึกปฏบิ ัตวิ ชิ าชพี ระหว่างเรยี น 3 1(90) จาก 3 กลุ่มวชิ าขา้ งตน้ Practicum 3 EDC4201 การปฏบิ ัตกิ ารสอนในสถานศึกษา 1 6(360) 2) หมวดวิชาเฉพาะด้าน ไมน่ ้อยกว่า 106 หน่วยกิต Internship 1 2.1) กล่มุ วิชาชพี ครู ไม่นอ้ ยกว่า 43 หนว่ ยกิต EDC4202 การปฏิบตั กิ ารสอนในสถานศกึ ษา 2 6(360) 2.1.1) วิชาชพี ครู ไม่นอ้ ยกวา่ 28 หน่วยกติ Internship 2 EDC1101 ภาษาเพ่อื การส่ือสาร 3(2-2-5) 2.2) กลุ่มวิชาเอก ไมน่ ้อยกว่า 63 หนว่ ยกติ Language for Communication 2.2.1) วชิ าบังคบั ไมน่ ้อยกวา่ 42 หนว่ ยกิต EDC1102 คณุ ธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ 3(2-2-5) MAC1301 หลักการคณิตศาสตร์ 3(2-2-5) และจิตวิญญาณความเปน็ ครู Principle of Mathematics Ethics and Spirituality for Teachers MAC1302 แคลคูลัส 1 3(2-2-5) EDC1103 จติ วทิ ยาสำ�หรับครู 3(2-2-5) Calculus I Psychology for Teacher MAC1303 แคลคลู สั 2 3(2-2-5) EDC1104 การพฒั นาหลกั สูตร 3(2-2-5) Caculus II Curriculum Development MAC1304 ความนา่ จะเป็นและสถติ ิ 3(2-2-5) EDC2101 การวัดและประเมินผลการเรียนร ู้ 3(2-2-5) Probability and Statistics Learning Measurement and MAC2301 เรขาคณติ เบ้อื งตน้ 3(2-2-5) Evaluation Fundametals of Geometry EDC2102 วทิ ยาการจดั การเรียนรู ้ 3(2-2-5) MAC2302 ทฤษฎจี �ำ นวน 3(2-2-5) Instructional Science Number Theory EDC2103 นวตั กรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศ 3(2-2-5) MAC2303 ภาษาองั กฤษสำ�หรบั การจัดการเรียนรู้ 3(2-2-5) เพือ่ การส่ือสารการศึกษาและการเรียนรู้ คณติ ศาสตร์ Innovation and Information English for Mathematical Technology for Educational Learning Management Communication and Learning MAC2304 เทคโนโลยีดิจิทัลเพ่อื การจัดการเรยี นร ู้ 3(2-2-5) EDC2104 การบรหิ ารการศกึ ษาและการประกัน 3(2-2-5) คณติ ศาสตร์ คณุ ภาพการศกึ ษา Digital Technology for Mathematical Education Administration and Learning Management Quality Assurance in Education MAC2305 การจดั การเรียนรู้คณติ ศาสตร์ระดบั 3(2-2-5) EDC3101 การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการเรยี นร ู้ 3(2-2-5) ประถมศึกษา Research and Development in Mathematical Learning Management Innovation and Learning for Primary School
039 SunandhaSuan Rajabhat University STUDENT HANDBOOK 2021 รหัสวชิ า ช่ือวชิ า น(บ-ป-อ) รหัสวชิ า ช่ือวิชา น(บ-ป-อ) MAC3301 การจดั การเรียนร้คู ณติ ศาสตรร์ ะดับ 3(2-2-5) หเสพลากั ส่ือขตู การควราุศิชราสาศตเรึกทบัณษคฑาติโนโลยดี จิ ทิ ลั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ Mathematical Learning Management หลกั สตู รปรับปรุง พ.ศ. 2562 for Secondary School MAC3302 การจดั การเรียนรู้คณิตศาสตร์ระดับ 3(2-2-5) มธั ยมศึกษาตอนปลาย Mathematical Learning Management for High School MAC3303 การจดั การเรียนรสู้ ะเตม็ ศึกษา 3(2-2-5) STEM Education 1. ชอ่ื หลักสตู ร ภาษาไทย : หลักสตู รครุศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยีดจิ ทิ ัล MAC3304 การวิจัยทางคณติ ศาสตรศ์ ึกษา 3(2-2-5) เพอื่ การศึกษา Research in Mathematics Education MAC3305 การจัดกิจกรรมทางคณิตศาสตร ์ 3(2-2-5) ภาษาองั กฤษ : Bachelor of Education Program in Digital Technology for Education Conducting Mathematical Activities 2. ชื่อปรญิ ญาและสาขาวชิ า 2.2.2) วชิ าเลอื ก ไมน่ ้อยกวา่ 21 หน่วยกิต MAC3306 วิทยาการค�ำ นวณ 3(2-2-5) ภาษาไทย ชอ่ื เตม็ : ครุศาสตรบัณฑติ (เทคโนโลยีดจิ ิทลั เพือ่ การศึกษา) ช่ือยอ่ : ค.บ. (เทคโนโลยดี จิ ิทลั เพื่อการศกึ ษา) Computing Science ภาษาอังกฤษ ชือ่ เต็ม : Bachelor of Education (Digital MAC3307 ระบบจำ�นวน 3(2-2-5) Number System Technology for Education) ชื่อยอ่ : B.Ed. (Digital Technology for Education) MAC3308 พชี คณติ เชงิ เส้น 3(2-2-5) 3. จำ�นวนหนว่ ยกติ ท่ีเรียนตลอดหลักสูตร Linear Algebra MAC3309 การวเิ คราะหเ์ ชงิ คณติ ศาสตร ์ 3(2-2-5) หลกั สูตรระดับปรญิ ญาตรที างวิชาการ 142 หนว่ ยกติ Mathematical Analysis 1) หมวดวิชาศึกษาทวั่ ไป ไมน่ ้อยกวา่ 30 หน่วยกติ MAC3310 พีชคณิตนามธรรม 3(2-2-5) Abstract Algebra การจัดการเรียนการสอนหมวดวิชาศึกษาท่ัวไป นักศึกษาจะต้องเรียนใน รายวชิ าศกึ ษาทวั่ ไป โดยมจี �ำ นวนหนว่ ยกติ ไมน่ อ้ ยกวา่ 30 หนว่ ยกติ แบง่ เปน็ MAC3311 วยิ ุตคณติ 3(2-2-5) 1.1) กลมุ่ วชิ ามนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ ไมน่ ้อยกวา่ 6 หน่วยกติ Discrete Mathematics MAC3312 ทฤษฎสี มการ 3(2-2-5) 1.2) กลมุ่ วชิ าภาษา ไม่นอ้ ยกวา่ 6 หนว่ ยกิต 1.3) กลมุ่ วิชาวทิ ยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตร์ ไมน่ อ้ ยกว่า 6 หน่วยกติ Theory of Equation 1.4) เลอื กเรยี นจาก 3 กลมุ่ วิชาขา้ งต้นอีก ไม่น้อยกว่า 12 หนว่ ยกิต MAC3313 การแกป้ ญั หาทางคณติ ศาสตร์ 3(2-2-5) Mathematical Problem Solving 2) หมวดวชิ าเฉพาะด้าน ไมน่ ้อยกวา่ 106 หน่วยกติ 2.1) กลุ่มวชิ าชีพครู ไม่น้อยกวา่ 43 หนว่ ยกิต MAC3314 ประวตั ิและพฒั นาการทางคณติ ศาสตร์ 3(2-2-5) 2.1.1) วิชาชีพครู ไมน่ ้อยกวา่ 28 หนว่ ยกติ History and Development in Mathematics 2.1.2) วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต 2.2) กลุ่มวชิ าเอก ไมน่ ้อยกวา่ 63 หนว่ ยกติ MAC3315 การวัดและประเมินผลการเรยี นรู ้ 3(2-2-5) 2.2.1) วชิ าบังคับ ไมน่ อ้ ยกวา่ 42 หน่วยกติ คณติ ศาสตร์ Measurement and Assessment 2.2.2) วิชาเลอื ก ไมน่ ้อยกว่า 21 หน่วยกติ 3) หมวดวชิ าเลอื กเสรี ไม่นอ้ ยกว่า 6 หนว่ ยกติ for Mathematics MAC3316 สัมมนาทางคณติ ศาสตร์ศึกษา 3(2-2-5) Mathematics Educational Seminar 1) หมวดวชิ าศึกษาท่ัวไป ไมน่ อ้ ยกว่า 30 หน่วยกิต 1.1) กลมุ่ วิชามนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ MAC3317 สถติ เิ พือ่ การวจิ ัย 3(2-2-5) ใหเ้ รยี นไมน่ ้อยกว่า 6 หนว่ ยกิต Statistics for Research GEN0101 ชาววังสวนสนุ ันทา 3(3-0-6) The Royal Court of Suan 3) หมวดวิชาเลอื กเสรี ไมน่ อ้ ยกวา่ 6 หน่วยกิต Sunandha นักศึกษาต้องเลือกเรียนไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต จากรายวิชาใดๆ ใน หลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา โดยไม่ซ้ำ�กับรายวิชาที่เคยเรียนมา GEN0102 สนุ ทรยี ภาพของชวี ิต 3(3-0-6) Aesthetic Appreciation แลว้ และตอ้ งไมเ่ ปน็ รายวชิ าทกี่ �ำ หนดใหเ้ รยี นโดยไมน่ บั หนว่ ยกติ รวมในเกณฑ์ GEN0103 สงั คมไทยในบริบทโลก 3(3-0-6) การสำ�เรจ็ หลกั สตู รของสาขาวชิ า Thai Society in Global Context GEN0104 การพฒั นาตน 3(3-0-6) Self Development GEN0105 ความจริงของชีวิต 3(3-0-6) Truth of Life
040 SunandhaSuan Rajabhat University STUDENT HANDBOOK 2021 รหสั วิชา ชื่อวิชา น(บ-ป-อ) รหสั วชิ า ชอื่ วิชา น(บ-ป-อ) GEN0106 ชวี ติ ในสงั คมพหุวฒั นธรรม 3(3-0-6) GEN0211 ภาษาจนี 3(3-0-6) Life in Multicultural Society Chinese Language GEN0107 ความเป็นพลเมอื งด ี 3(3-0-6) GEN0212 ภาษาพม่า 3(3-0-6) Good Citizenship Burmese Language GEN0108 ความคดิ อันงดงาม 3(3-0-6) GEN0213 ภาษาเขมร 3(3-0-6) Beautiful Thought Khmer Language GEN0109 ศาสตรแ์ หง่ ราชนั ย ์ 3(3-0-6) GEN0214 ภาษาลาว 3(3-0-6) King’s Philosophy Lao Language GEN0110 ส�ำ นึกไทย 3(3-0-6) GEN0215 ภาษาเวียดนาม 3(3-0-6) Thai Consciousness Vietnamese Language GEN0111 การสร้างบคุ ลกิ ผู้น�ำ 3(3-0-6) GEN0216 ภาษามาเลย ์ 3(3-0-6) Building Leadership Malay Language GEN0112 ปัญญาไทยนอกกรอบ 3(3-0-6) GEN0217 ภาษาเกาหล ี 3(3-0-6) Outside of the Box Thai Intellect Korean Language GEN0113 แรงบันดาลใจแห่งชวี ติ 3(3-0-6) 1.3) กลุ่มวชิ าวทิ ยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ Inspiration of Life ใหเ้ รียนไม่น้อยกวา่ 6 หน่วยกติ GEN0114 สสี นั วรรณกรรม 3(3-0-6) GEN0301 เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการสอ่ื สาร 3(3-0-6) Color of Literatures Information Technology for GEN0115 ภาพยนตรว์ จิ กั ษ์ 3(3-0-6) Communication Film Appreciation GEN0302 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3(3-0-6) GEN0116 ความผิดหวังส่ฝู นั ทเ่ี ปน็ จรงิ 3(3-0-6) เพอ่ื คุณภาพชีวติ From Disappointment to a Science and Technology for Dream Come True Quality of Life GEN0117 อยเู่ ป็นวิทยา 3(3-0-6) GEN0303 วทิ ยาศาสตรก์ บั สง่ิ แวดลอ้ ม 3(3-0-6) Science of Living Science and Environments 1.2) กลุ่มวิชาภาษา ใหเ้ รียนไม่นอ้ ยกวา่ 6 หนว่ ยกิต GEN0304 รู้เท่าทนั ดิจทิ ลั 3(3-0-6) GEN0201 การใช้ภาษาไทย 3(3-0-6) Digital Literacy Thai Usage GEN0305 นันทนาการเพื่อคุณภาพชีวิต 3(3-0-6) GEN0202 ภาษาไทยเชงิ วิชาการ 3(3-0-6) Recreation for Quality of Life Thai for Academic Purposes GEN0306 สขุ ภาพสำ�หรับชีวิตยคุ ใหม่ 3(3-0-6) GEN0203 ภาษาไทยเพ่อื การประกอบอาชีพ 3(3-0-6) Health Care for New Gen Thai for Career GEN0307 มหศั จรรย์แหง่ ความคิด 3(3-0-6) GEN0204 ภาษาอังกฤษเพ่อื การสอื่ สาร 3(3-0-6) Miracle of Thought และการสบื ค้น GEN0308 อนิ โฟกราฟกิ 3(3-0-6) English for Communication and Info Graphic Information Retrieval GEN0309 ชีวิตกับดิจทิ ลั 3(3-0-6) GEN0205 ภาษาองั กฤษเพือ่ ทักษะการเรยี น 3(3-0-6) Digital for Life English for Study Skills GEN0310 การส่งเสรมิ สขุ ภาพทางเพศ 3(3-0-6) GEN0206 ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ 3(3-0-6) Sexual Health Promotion English for Academic Purposes GEN0311 ธรรมชาติบ�ำ บัด 3(3-0-6) GEN0207 ภาษาองั กฤษเพื่อการประกอบวิชาชพี 3(3-0-6) Natural Therapy English for Career Development GEN0312 รูเ้ ทา่ ทนั ภาวะการเงิน 3(3-0-6) GEN0208 ภาษาอังกฤษเพอ่ื การดูแลสุขภาพ 3(3-0-6) Financial Literacy English for Health Care GEN0313 การเตน้ 3(3-0-6) GEN0209 ภาษาองั กฤษเพอ่ื การน�ำ เสนอและการพดู 3(3-0-6) Dancing ในท่ีสาธารณะ GEN0314 โยคะ 3(3-0-6) Public Speaking and Presentation Yoga Skills in English GEN0315 ชวี ิตเลกิ อว้ น 3(3-0-6) GEN0210 วาทกรรมภาษาอังกฤษเพอื่ การสอื่ สาร 3(3-0-6) Never Get Fat Again Discourse English for GEN0316 ศาสตร์แหง่ การชะลอวัย 3(3-0-6) Communication Science of Anti-Aging
041 SunandhaSuan Rajabhat University STUDENT HANDBOOK 2021 รหัสวชิ า ชือ่ วิชา น(บ-ป-อ) รหสั วชิ า ชอื่ วชิ า น(บ-ป-อ) GEN0317 ศาสตร์และศิลปแ์ หง่ อาหารชาววงั 3(3-0-6) EDC3305 ผกู้ �ำ กบั ลูกเสอื -เนตรนารสี ามัญรุ่นใหญ่ 1(0-2-1) State of the Art of Royal Cuisine ขนั้ ความรูเ้ บื้องต้น GEN0318 รกั ปลอดภัย 3(3-0-6) Basic Unit Leader of Boy Scout Safe Sex and Girl Guide GEN0319 ผู้ประกอบการธรุ กจิ ดิจิทัล 3(3-0-6) 2.1.2) วชิ าฝกึ ประสบการณ์วิชาชีพ 15 หนว่ ยกติ EDC1201 การฝึกปฏิบัตวิ ชิ าชพี ระหวา่ งเรียน 1 1(90) Entrepreneurship in Digital Practicum 1 GEN0320 รวยด้วยดจิ ิทัล 3(3-0-6) Digital Millionaire EDC2202 การฝกึ ปฏบิ ตั ิวชิ าชพี ระหวา่ งเรยี น 2 1(90) Practicum 2 1.4) นักศึกษาต้องเลอื กเรยี นอีก ไมน่ อ้ ยกวา่ 12 หน่วยกิต EDC3203 การฝึกปฏบิ ัตวิ ชิ าชีพระหว่างเรยี น 3 1(90) จาก 3 กลมุ่ วชิ าขา้ งตน้ Practicum 3 EDC4201 การปฏบิ ตั ิการสอนในสถานศกึ ษา 1 6(360) 2) หมวดวิชาเฉพาะด้าน ไม่นอ้ ยกวา่ 106 หนว่ ยกติ Internship 1 2.1) กลมุ่ วชิ าชีพครู ไม่นอ้ ยกว่า 43 หนว่ ยกติ 2.1.1) วิชาชีพครู ไมน่ อ้ ยกว่า 28 หน่วยกติ EDC4202 การปฏิบตั กิ ารสอนในสถานศกึ ษา 2 6(360) Internship 2 EDC1101 ภาษาเพอ่ื การส่อื สาร 3(2-2-5) 2.2) กลมุ่ วิชาเอก จ�ำ นวนไมน่ ้อยกวา่ 63 หน่วยกิต Language for Communication EDC1102 คุณธรรม จรยิ ธรรม จรรยาบรรณ 3(2-2-5) 2.2.1) วิชาเอกบงั คบั ไมน่ ้อยกว่า 42 หน่วยกิต DTC1301 เทคโนโลยดี ิจทิ ัลเพอื่ การศึกษา 3(2-2-5) และจติ วิญญาณความเป็นครู Digital Technology for Education Ethics and Spirituality for Teachers EDC1103 จติ วิทยาส�ำ หรับครู 3(2-2-5) DTC1302 วทิ ยาศาสตร์และคณิตศาสตรพ์ ื้นฐาน 3(2-2-5) สำ�หรับครเู ทคโนโลยีดิจิทลั Psychology for Teacher Fundamentals of Science and EDC1104 การพัฒนาหลกั สูตร 3(2-2-5) Curriculum Development Mathematics for Digital Technology Teachers EDC2101 การวดั และประเมินผลการเรียนร ู้ 3(2-2-5) DTC1303 ระบบหุ่นยนต์พน้ื ฐานเพ่อื การศกึ ษา 3(2-2-5) Learning Measurement and Evaluation Fundamentals of Robotic System for Education EDC2102 วิทยาการจัดการเรยี นร ู้ 3(2-2-5) DTC1304 การใชแ้ ละบำ�รุงรักษาอุปกรณ์ 3(2-2-5) Instructional Science EDC2103 นวตั กรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ 3(2-2-5) คอมพิวเตอรแ์ ละเทคโนโลยดี จิ ิทลั เพือ่ การศกึ ษา เพ่ือการส่ือสารการศกึ ษาและการเรียนรู้ Using and Maintenance of Innovation and Information Technology for Educational Computer Equipment and Digital Technology for Education Communication and Learning DTC2301 การเขยี นโปรแกรมควบคมุ หนุ่ ยนต์ 3(2-2-5) EDC2104 การบริหารการศกึ ษาและการประกัน 3(2-2-5) คณุ ภาพการศึกษา เพ่อื การศกึ ษา Control Robotic Programing for Education Administration and Education Quality Assurance in Education EDC3101 การวิจยั และพฒั นานวัตกรรมการเรยี นรู้ 3(2-2-5) DTC2302 การออกแบบและพัฒนาเทคโนโลยีดจิ ิทลั 3(2-2-5) เพ่ือการศึกษา Research and Development in Design and Development Digital Innovation and Learning EDC4101 ครุนพิ นธ์ 1(0-2-1) Technology for Education DTC2303 การจัดทำ�ฐานขอ้ มูลทางการศกึ ษา 3(2-2-5) Individual Study Database Systems for Education EDC3301 จิตวิทยาการเรยี นร ู้ 3(2-2-5) Psychology of Learning DTC2304 การออกแบบเวบ็ ไซตเ์ พ่ือการศึกษา 3(2-2-5) Web Design for Education EDC3302 จติ วิทยาการเรียนการสอน 3(2-2-5) DTC3301 นวตั กรรมทางเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั 3(2-2-5) Psychology of Learning and Instruction เพื่อการศกึ ษา Innovation of Digital Technology EDC3303 การสอนเพศศกึ ษา 3(2-2-5) for Education Teaching of Sex Education EDC3304 ความคดิ สร้างสรรค์ส�ำ หรับครู 3(2-2-5) DTC3302 การพฒั นาโครงงานทางเทคโนโลย ี 3(2-2-5) การศกึ ษาและคอมพิวเตอร์ Creativity for Teachers Project development in Educational Technology and Computer
042 SunandhaSuan Rajabhat University STUDENT HANDBOOK 2021 รหัสวชิ า ชอ่ื วชิ า น(บ-ป-อ) รหัสวชิ า ชอื่ วชิ า น(บ-ป-อ) DTC3303 วทิ ยาการค�ำ นวณ 3(2-2-5) DTC2406 การผลิตสอื่ ดิจทิ ัลเพอ่ื การศึกษา 3(2-2-5) Computational science Production of Digital Media for DTC3304 การเขียนโปรแกรมและพฒั นา 3(2-2-5) Education แอพพลิเคชันเพอ่ื การศกึ ษา DTC3401 การออกแบบระบบงานคอมพวิ เตอร ์ 3(2-2-5) Computer Programing and การศึกษา Developing Applications for System Design Computer Education Education DTC3305 การวจิ ยั เทคโนโลยีดิจทิ ลั เพ่ือการศึกษา 3(2-2-5) Research in Digital Technology DTC3402 เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั สำ�หรับผู้เรยี นทมี่ ี 3(2-2-5) ความต้องการพิเศษ for Education Digital Technology for Students DTC3306 การบรหิ ารจัดการสภาพแวดล้อม 3(2-2-5) การเรยี นรู้เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั และคอมพิวเตอร์ with Special Needs DTC3403 ภาษาอังกฤษส�ำ หรับเทคโนโลยดี จิ ิทัล 3(2-2-5) Management of Learning และคอมพวิ เตอร์เพือ่ การศึกษา Environments Digital Technology and Computers English for Digital Technology and Computer for Education 2.2.2) วิชาเอกเลือก ให้เรียนไมน่ ้อยกว่า 21 หนว่ ยกิต DTC3404 ระบบสารสนเทศและดจิ ิทลั เพือ่ การศกึ ษา 3(2-2-5) DTC1401 การถา่ ยภาพและวีดิทัศนด์ ิจทิ ัล 3(2-2-5) เพ่อื การศึกษา nformation System and Digital for Education Photo and Digital Video for DTC3405 ออกแบบส่ือเพ่อื การศกึ ษาตามแนว 3(2-2-5) Education DTC1402 การออกแบบและผลติ กราฟิก แอนิเมชนั 3(2-2-5) เศรษฐกจิ พอเพยี ง Design Media for Education และสอ่ื ดิจทิ ัลเพือ่ การศึกษา According to The Sufficiency Design and Production Graphic Animation and Digital Media Economy DTC3406 การออกแบบและพัฒนาเทคโนโลยี 3(2-2-5) DTC1403 การออกแบบและพัฒนาสือ่ โสตทัศนวัสด ุ 3(2-2-5) และสอื่ สารการศกึ ษา การศกึ ษา Design and Development of Design and Development of Educational Communication and Audio Visual Media in Educational Technology Technology DTC1404 การสรา้ งสอ่ื การเรียนการสอน 3(2-2-5) DTC3407 การบรหิ ารจดั การเทคโนโลยแี ละสอ่ื สาร 3(2-2-5) การศกึ ษา Production of Media Instruction Administration and Management DTC1405 วทิ ยแุ ละโทรทัศน์ดิจทิ ัลเพอื่ การศกึ ษา 3(2-2-5) Digital Radio and Television of Educational Communication and Technology Program for Education DTC3408 เทคนิคการฝกึ อบรม 3(2-2-5) DTC2401 ระบบเครือขา่ ยและการจัดการระบบ 3(2-2-5) คลาวด์เพือ่ การศึกษา Techniques of Training DTC3409 ระบบปฏบิ ตั ิการและโปรแกรมประยกุ ต์ 3(2-2-5) Network System and Cloud เพอื่ การศึกษา Computing Systems Management for Education Operating System and Application for Education DTC2402 วทิ ยาการก้าวหนา้ ทางเทคโนโลยีดจิ ทิ ัล 3(2-2-5) DTC3410 ระบบเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา 3(2-2-5) และคอมพวิ เตอรเ์ พอ่ื การศกึ ษา Advanced Digital Technology and Operating System and Application for Education Computer for Education DTC3411 การจดั นิทรรศการดว้ ยส่อื มลั ติมีเดยี 3(2-2-5) DTC2403 ธุรกจิ ดจิ ทิ ัลเพ่ือการศึกษา 3(2-2-5) Digital Business for Education Multimedia for Exhibition DTC2404 การฝกึ อบรมเทคโนโลยดี ิจิทลั 3(2-2-5) 3) หมวดวชิ าเลอื กเสรี ไมน่ อ้ ยกว่า 6 หนว่ ยกติ และคอมพวิ เตอรเ์ พือ่ การศึกษา Training in Digital Technology ให้เลือกเรียนรายวิชาใดๆ ในหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา โดยไม่ซำ้�กับรายวิชาที่เคยเรียนมาแล้ว และต้องไม่เป็นรายวิชาที่กำ�หนดให้ and Computer for Education เรียนโดยไมน่ บั หนว่ ยกิตรวมในเกณฑ์การสำ�เร็จหลักสูตรของสาขาวชิ า DTC2405 กฎหมายและจรยิ ธรรมทาง 3(2-2-5) เทคโนโลยดี จิ ทิ ัลและคอมพวิ เตอร์ Law and Ethics in Digital Technology and Computer
043 SunandhaSuan Rajabhat University STUDENT HANDBOOK 2021 วทิ ยาศาสตครณแ์ ละ ะเทคโนโลยี ประวตั ิความเป็นมา ยุคปัจจบุ ัน ยคุ แรกเร่มิ เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2547 ได้ มีการประกาศใช้พระราช-บัญญัติมหาวิทยาลัย นบั จาก พ.ศ. 2480 จนถงึ พ.ศ. 2560 รวมเวลา 80 ปี มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวนสนุ นั ทา ราชภัฏ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จึง ได้เริม่ ก่อตง้ั จากโรงเรียนสวนสนุ ันทาวทิ ยาลยั ก่อนปี พ.ศ. 2491 วทิ ยาศาสตรเ์ ปน็ วิชา เป็นคณะในมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาเปิด ที่สอนในระดบั ประถมศกึ ษาและมธั ยมศึกษา ในปี พ.ศ. 2501 ไดเ้ ปดิ สอนเปน็ โรงเรยี น สอนในสาขาวิทยาศาสตร์ระดับปริญญาตรี 4 ฝกึ หดั ครสู วนสนุ นั ทา หลกั สตู รประกาศนยี บตั รวชิ าการศกึ ษาชนั้ สงู (ป.กศ.สงู ) วทิ ยาศาสตร์ ปี ได้แก่ สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ท่ัวไป สาขา จัดเปน็ หมวดวทิ ยาศาสตร์ทีป่ ระกอบดว้ ย ภาควชิ าเคมี ภาควชิ าชีววิทยา ภาควิชาฟิสกิ ส์ วิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ สาขาวิชาเคมี สาขา และวิทยาศาสตรท์ ว่ั ไป วิชาชีววิทยาประยุกต์ สาขาวิชาฟิสิกส์ สาขาวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร สาขาวิชา ยคุ กลาง วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม สาขาวิชาสถิติประยุกต์ สาขาวชิ าจลุ ชวี วทิ ยา สาขาวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ ในปี พ.ศ. 2518 ไดเ้ ปลยี่ นเปน็ วทิ ยาลยั ครสู วนสนุ นั ทา จดั เปน็ คณะวชิ าวทิ ยาศาสตร์ สาขาวิชาการแพทย์แผนไทยประยุกต์ สาขาวิชา มีการจัดต้ังศูนย์ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ให้บริการอบรมครูประจำ� วิทยาศาสตร์สุขภาพ และสาขาวิชาอุตสาหกรรม การวิชาวิทยาศาสตร์และเปิดสอนระดับปริญญาตรีสายครุศาสตร์ คณะวิชาวิทยาศาสตร์ อาหารและการบรกิ าร ในปี พ.ศ. 2527 ได้ก�ำ หนดให้วทิ ยาลัยครเู ปดิ สอนได้ 3 สาขาคือ สาขาการศกึ ษา สาขา วทิ ยาศาสตร์ และสาขาศลิ ปศาสตร์ คณะวชิ าวทิ ยาศาสตรจ์ งึ ไดเ้ ปลย่ี นเปน็ คณะวทิ ยาศาสตร์ พ.ศ. 2549 คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี และเทคโนโลยี ประกอบดว้ ย 9 ภาควชิ าและ 2 โปรแกรมวชิ า ปี พ.ศ. 2538 พระบาท เปิดสอนหลักสูตรระดับปริญญาตรีเพิ่ม 2 สาขา สมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั ฯ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ พระราชทานชอ่ื วทิ ยาลัยครเู ป็นสถาบัน ได้แก่ สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ และสาขาวิชา ราชภฏั คณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีได้เปดิ สอน 2 สาขา คอื สาขาวชิ าการศกึ ษา ท่ี คณิตศาสตร์สารสนเทศ และระดับปริญญาโท เน้นด้านวิทยาศาสตร์ และสาขาวิชาวทิ ยาศาสตร์ ในปี พ.ศ. 2545 นักศึกษาสาขาวชิ าการ (ภาคพิเศษ) 2 สาขา ได้แก่ สาขาวิชาคณิตศาสตร์ ศกึ ษาไดย้ า้ ยไปอยใู่ นความรบั ผดิ ชอบของคณะครศุ าสตร์ คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ศึกษา และสาขาวชิ าการจัดการและควบคมุ มลพิษ จงึ เปิดสอนเฉพาะสาขาวชิ าวิทยาศาสตร์ ไดแ้ ก่ สาขาวชิ าวทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ สาขาวชิ า พร้อมทั้งจัดตั้งศูนย์วิทยาศาสตร์ ตามประกาศ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ทวั่ ไป สาขาวชิ าเคมี สาขา กระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง การแบ่งส่วนราชการ วิชาฟิสิกส์ สาขาวิชาชีววิทยาประยุกต์ สาขาวิชาสถิติประยุกต์ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ส่ิง ในมหาวิทยาลยั ราชภัฏสวนสุนันทา แวดล้อม และสาขาวิชาวิทยาศาสตรส์ ุขภาพ พ.ศ. 2552 คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เปิดสอนหลักสูตรระดับปริญญาตรี 14 สาขา วิชา ได้แก่ สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ สาขา วิชาคณิตศาสตร์สารสนเทศ สาขาวิชาวิทยาการ คอมพิวเตอร์ สาขาวิชาเคมี สาขาวิชาชีววิทยา ประยกุ ต์ สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยกี าร อาหาร สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม สาขา วิชาสถิติประยุกต์ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ สาขาวิชาการแพทย์แผนไทยประยุกต์ สาขาวิชา เทคโนโลยีชีวภาพ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ สาขาวิชาจุลชีววิทยา และสาขาวิชาอุตสาหกรรม อาหารและการบริการ (ปดิ หลกั สูตรฟสิ กิ ส์) และ ระดับปรญิ ญาโท (ภาคพิเศษ) 2 สาขาวชิ า ได้แก่ สาขาวิชาการจัดการและควบคุมมลพิษ และสาขา วิชานิติวิทยาศาสตร์ (ปิดหลักสูตรคณิตศาสตร์ ศึกษา ภาคพเิ ศษ)
044 SunandhaSuan Rajabhat University STUDENT HANDBOOK 2021 พ.ศ. 2553 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเปิดสอนระดับ ปรชั ญา ปรญิ ญาตรเี พม่ิ อกี 4 สาขาวชิ า คอื ฟสิ กิ สป์ ระยกุ ต์ วทิ ยาศาสตรส์ ขุ ภาพ และความงาม จลุ ชวี วทิ ยาอตุ สาหกรรม (ปดิ หลกั สตู รจลุ ชวี วทิ ยา) และ “มีความรู้ดี มีคุณธรรม นำ�ชาติพัฒนาด้วยวิทยาศาสตร์และ ชีววิทยา (ปิดหลักสูตรชีววิทยาประยุกต์) รวมหลักสูตรท่ีเปิดสอน เทคโนโลย”ี ในระดบั ปริญญาตรี 16 สาขาวชิ า และระดบั ปรญิ ญาโท 2 สาขาวิชา วสิ ัยทศั น์ พ.ศ. 2554 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเปดิ สอนหลักสูตร ระดับปริญญาตรีเพ่ิม 1 สาขาวิชา ได้แก่ สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรส์ ุขภาพ “มุ่งพัฒนาการศึกษาการวิจัยด้านวิทยาศาสตร์และบูรณาการ (ดูแลเดก็ เล็กและผู้สงู อาย)ุ องค์ความรู้ เพ่ือผลิตบัณฑิตท่ีมีคุณภาพและคุณธรรมในการพัฒนา สังคมและประเทศชาติ” พ.ศ. 2555 สาขาวิชาในสังกัดคณะวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี จำ�นวน 4 สาขาวิชา ได้แก่ สาขาวิชาการแพทย์แผนไทยประยุกต์ พนั ธกิจ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ (ดูแลเด็กเล็กและผู้สูงอายุ) สาขาวิชา วิทยาศาสตรส์ ุขภาพและความงาม และสาขาวชิ าวทิ ยาศาสตร์การกีฬา 1. ผลิตบัณฑิตวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มีคุณภาพและ และสขุ ภาพไดย้ า้ ยออกเปน็ หนว่ ยงานภายนอกภายใตส้ งั กดั วทิ ยาลยั สห คุณธรรมเพ่อื พฒั นาสงั คม เวชศาสตรค์ ณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยจี งึ มหี ลกั สตู รระดบั ปรญิ ญา ตรี จ�ำ นวน 13 สาขาวชิ า โดยแบง่ ออกเป็น 2 ภาควิชา ไดแ้ ก่ ภาค 2. พัฒนาระบบการจัดการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และ วชิ าวทิ ยาศาสตร์ ประกอบดว้ ย สาขาวิชาต่างๆ ดงั ต่อไปนี้ คือ สาขา เทคโนโลยีทม่ี ีคุณภาพ วชิ าคณติ ศาสตรส์ ารสนเทศ สาขาวชิ าสถติ ปิ ระยกุ ต์ สาขาวชิ าเคมี สาขา วชิ าชวี วทิ ยา สาขาวชิ าฟสิ กิ สป์ ระยกุ ต์ สาขาวชิ าจลุ ชวี วทิ ยาอตุ สาหกรรม 3. พัฒนางานวิจัยและสร้างองค์ความรู้ให้เป็นท่ียอมรับระดับ และภาควชิ าวทิ ยาศาสตร์ประยกุ ต์ ประกอบไปด้วยสาขาวชิ าต่างๆ ดัง นานาชาติ ต่อไปนี้ คือ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม สาขาวิชาเทคโนโลยี ชีวภาพ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร สาขาวิชา 4. บริการวิชาการและถ่ายทอดเทคโนโลยีแก่ชุมชนและสังคม คหกรรมศาสตร์ สาขาวชิ าอตุ สาหกรรมอาหารและการบรกิ าร สาขาวชิ า เพอ่ื ยกมาตรฐานชุมชน วทิ ยาการคอมพิวเตอร์ และสาขาวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ 5. สรา้ งเสรมิ การอนรุ กั ษภ์ มู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ และท�ำ นบุ �ำ รงุ ศลิ ป- พ.ศ. 2556 คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยเี ปดิ สอนหลักสูตร วัฒนธรรม ระดับปริญญาเอก (ภาคพิเศษ) เพ่ิมเตมิ ได้แก่ หลักสูตรปรัชญาดษุ ฎี บณั ฑิต สาขาวชิ านติ ิวทิ ยาศาสตร์ สว่ นหลักสูตรระดบั ปริญญาตรี ยัง 6. บริหารจดั การองคก์ รดว้ ยหลกั การบรกิ ารจัดการราชการที่ดี คงมจี ำ�นวน 13 สาขาวิชา เชน่ เดมิ ภารกจิ หลัก พ.ศ. 2558 สาขาวชิ าวิทยาศาสตรก์ ารกีฬาและสขุ ภาพ ได้ยา้ ย จากวิทยาลัยสหเวชศาสตร์มาสังกัดคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 1. ผลิตบัณฑิตท่ีมีคุณภาพระดับแนวหน้าให้ตรงกับความ รวมหลักสูตรระดับปริญญาตรี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมี ตอ้ งการของชมุ ชนและสงั คมยคุ ประเทศไทย 4.0 จำ�นวน 14 สาขาวิชา 2. วจิ ยั และสรา้ งนวตั กรรมเพอื่ เกดิ องคค์ วามรสู้ กู่ ารพฒั นาทอ้ ง พ.ศ. 2559 คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยเี ปดิ หลกั สตู รระดบั ถิน่ ตลอดจนการพฒั นาภูมปิ ัญญาไทยสปู่ ระชาคมอาเซียนและสากล ปริญญาตรีเพมิ่ อกี 1 สาขาวชิ า ไดแ้ ก่ สาขาวิชานิตวิ ทิ ยาศาสตร์ เปน็ หลกั สตู รใหม่ สว่ นสาขาวชิ าคหกรรมศาสตรแ์ ละสาขาวชิ าอตุ สาหกรรม 3. ให้บริการวิชาการและถ่ายทอดเทคโนโลยีแก่ชุมชน สังคม อาหารและการบรกิ าร มกี ารปรบั ปรงุ หลกั สตู รโดยท�ำ การรวมทงั้ 2 สาขา และประชาคมอาเซยี นอยา่ งมคี ณุ ภาพรวมทงั้ เปน็ การยกมาตรฐานชมุ ชน วิชาไวเ้ ปน็ หลักสูตรเดียว คอื คหกรรมศาสตร์ ดงั นน้ั หลักสตู รระดบั สังคมและผูป้ ระกอบการขนาดเล็กและขนาดกลางหรอื SMEs ให้เข้ม ปรญิ ญาตรขี องคณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยใี นปจั จบุ นั มจี �ำ นวน 14 แข็ง สาขาวชิ า สว่ นหลกั สตู รระดบั ปรญิ ญาโท (ภาคพเิ ศษ) ไดม้ กี ารปรบั ปรงุ หลกั สตู รเดมิ คือ การจัดการและควบคมุ มลพิษ มาเปน็ หลักสตู รการ 4. อนุรักษ์และพัฒนาการให้บริการ รวมท้ังเป็นศูนย์กลาง จัดการสิ่งแวดลอ้ มแทน บริการข้อมูลสารสนเทศทางด้านศิลปวัฒนธรรมกรุงรัตนโกสินทร์สู่ อาเซียน พ.ศ. 2560 คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยไี ดด้ �ำ เนนิ การพฒั นา ศกั ยภาพทางด้านต่างๆ ท้ังในเรอื่ งงานวิจยั งานบรกิ ารวชิ าการ และ เสาหลกั ไดจ้ ดั ตั้งศูนยก์ ารทดสอบมาตรฐานฝมี อื แรงงานแหง่ ชาติ สาขาอาชพี ผู้ ประกอบการอาหารไทย มหาวิทยาลยั ราชภฏั สวนสุนนั ทา ซ่งึ มีผสู้ นใจ ทรงปญั ญา ศรัทธาธรรม นำ�สงั คม ทั้งบุคคลภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยเข้ามารับการทดสอบฝีมือ (Wisdom, Alignment and Social Leadership) การทำ�อาหารเป็นจ�ำ นวนมาก วัฒนธรรม 1. การพัฒนาภูมปิ ญั ญาสชู่ ุมชน 2. การตรงเวลา สามัคคี มคี ณุ ธรรม 3. การบรหิ ารจดั การแบบธรรมาภบิ าล อตั ลักษณ์ “เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำ�นาญ การคิด มีจติ สาธารณะ”
045 SunandhaSuan Rajabhat University STUDENT HANDBOOK 2021 เอกลกั ษณ์ 7. สาขาวชิ าจลุ ชวี วทิ ยาอตุ สาหกรรมอาหารและนวตั กรรมชวี ภาพ - แขนงวชิ าจลุ ชวี วิทยาอุตสาหกรรมอาหารและผลิตภัณฑ์ “เน้นความเปน็ วงั ปลกู ฝงั องคค์ วามรู้ ยึดม่นั คุณธรรมใหเ้ ชดิ ชู (Industrial Microbiology for Food and เปน็ องคก์ รแหง่ การเรยี นรู้สสู่ ากล” Products) - แขนงวชิ านวัตกรรมผลิตภณั ฑช์ วี ภาพ ค่านิยมหลัก (Bioinnovation Products) 8. สาขาวิชาวทิ ยาศาสตร์และนวัตกรรม 1. W (Wisdom & Creativity) : ปัญญาและความคดิ - แขนงวชิ าเคมี (Chemistry) สร้างสรรค์ - แขนงวชิ าคณติ ศาสตรป์ ระยุกต์ (Applied Mathematics) 2. H (Happiness & Loyalty) : ความผาสุกและ - แขนงวชิ าฟิสกิ ส์ (Physics) ความภกั ดใี นองคก์ ร 9. สาขาวชิ าวิทยาการคอมพิวเตอร์และนวัตกรรมข้อมลู 3. I (Integration & Collaboration) : บูรณาการและ - แขนงวชิ าวทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ (Computer Science) ความร่วมมอื - แขนงวชิ าวทิ ยาการขอ้ มลู และการวิเคราะหส์ ถิตเิ ชิงธรุ กจิ 4. P (Professionalism) : ความเปน็ มืออาชีพ (Data Science and Statistical Analysis in Business) ยทุ ธศาสตร์ หลักสตู รสารสนเทศศาสตรบัณฑิต (สท.บ.) ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 พัฒนามหาวิทยาลัยให้เป็นเอตทคั คะอยา่ ง 1. สาขาวชิ าการจดั การนวัตกรรมดิจทิ ลั และคอนเทนท์ ย่ังยนื - แขนงวชิ าการจัดการนวตั กรรมดิจิทลั ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 2 สร้างผลงานวิชาการสกู่ ารยกระดบั ภมู ิปัญญา (Digital Innovation Management) ท้องถนิ่ อยา่ งยั่งยืน - แขนงวิชาการจัดการดจิ ทิ ลั คอนเทนท์ ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 สรา้ งความสัมพนั ธ์ เชอื่ มโยงเครอื ขา่ ยและ (Digital Content Management) ท้องถิ่น หลกั สูตรปรญิ ญาโท (ภาคปกติและภาคพเิ ศษ) ยุทธศาสตรท์ ี่ 4 ขยายการยกยอ่ งระดับนานาชาติ ภาคพเิ ศษ 1. วทิ ยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานติ วิ ิทยาศาสตร์ วัตถปุ ระสงคข์ องคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (Master of Science Program in Forensic Science) 1. เพ่ือผลิตบัณฑิตทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีให้มี 2. วทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าการจัดการส่งิ แวดลอ้ ม คุณภาพและมาตรฐานให้เหมาะสมกับการเป็นวชิ าชพี ชน้ั สงู (Master of Science Program in Environmental Management) 2. พฒั นาวชิ าการและวชิ าชพี ชน้ั สงู โดยมงุ่ โอกาสทางการศกึ ษา หลกั สูตรปริญญาเอก (ภาคพเิ ศษ) ระดบั อุดมศึกษาเพอื่ พฒั นาศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์ 1. ปรชั ญาดษุ ฎีบัณฑติ กิตติมศกั ดิ์ สาขาวชิ านิติวิทยาศาสตร์ (Doctor of Philosophy Program in Forensic 3. ศึกษาวิจัยและพัฒนางานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Science) เพ่ือเป็นการชี้นำ�ในการพัฒนาท้องถ่ินให้มีความเจริญสู่การพัฒนาที่ ยงั่ ยืน 4. เผยแพร่ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีท่ีเหมาะสม กบั สังคมไทย 5. เพอ่ื พฒั นาวชิ าการทสี่ ามารถน�ำ ไปใหเ้ กดิ ประโยชนต์ อ่ ทอ้ งถน่ิ และสังคม ข้อมลู เก่ยี วกับหลกั สตู รท่ีเปดิ สอน หลกั สูตรปริญญาตรี (ภาคปกติ) หลักสตู รวิทยาศาสตรบณั ฑติ (วท.บ.) 1. สาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ 2. สาขาวชิ าคหกรรมศาสตร์ 3. สาขาวชิ าวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยกี ารอาหาร 4. สาขาวิชานติ วิ ทิ ยาศาสตร์ 5. สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรก์ ารกีฬาและสุขภาพ 6. สาขาวชิ าชีววทิ ยาส่ิงแวดล้อม - แขนงวชิ าชวี วทิ ยา (Biology) - แขนงวิชาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยสี ิ่งแวดล้อม (Environmental Science and Technology)
046 SunandhaSuan Rajabhat University STUDENT HANDBOOK 2021 รหสั วิชา ชื่อวชิ า น(บ-ป-อ) รหัสวิชา ชอ่ื วิชา น(บ-ป-อ) หสลากั สขูตารววิทยิชาศาาสคตหรบกัณฑริตรมศาสตร์ GEN0107 ความเปน็ พลเมอื งด ี 3(3-0-6) Good Citizenship หลักสตู รปรบั ปรงุ พ.ศ. 2564 GEN0108 ความคดิ อนั งดงาม 3(3-0-6) Beautiful Thought GEN0109 ศาสตรแ์ หง่ ราชนั ย์ 3(3-0-6) King’s Philosophy GEN0110 สำ�นึกไทย 3(3-0-6) Thai Consciousness 1. ชอ่ื หลักสูตร GEN0111 การสรา้ งบุคลกิ ผนู้ �ำ 3(3-0-6) ภาษาไทย : หลักสตู รวทิ ยาศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ ภาษาองั กฤษ : Bachelor of Science Program in Home Building Leadership GEN0112 ปญั ญาไทยนอกกรอบ 3(3-0-6) Economics Outside of the Box Thai Intellect 2. ชอ่ื ปรญิ ญาและสาขาวชิ า ภาษาไทย ชือ่ เตม็ : วิทยาศาสตรบัณฑติ (คหกรรมศาสตร์) GEN0113 แรงบนั ดาลใจแห่งชวี ิต 3(3-0-6) Inspiration of Life ชือ่ ยอ่ : วท.บ. (คหกรรมศาสตร)์ GEN0114 สีสนั วรรณกรรม 3(3-0-6) ภาษาอังกฤษ ชอ่ื เตม็ : Bachelor of Science (Home Economics) ชอ่ื ย่อ : B.Sc. (Home Economics) Color of Literatures GEN0115 ภาพยนตรว์ ิจักษ ์ 3(3-0-6) 3. จ�ำ นวนหน่วยกิตท่ีเรยี นตลอดหลกั สตู ร 120 หน่วยกติ Film Appreciation โครงสรา้ งหลักสูตร GEN0116 ความผดิ หวังสฝู่ นั ที่เปน็ จริง 3(3-0-6) From Disappointment to 1) หมวดวชิ าศึกษาทัว่ ไป เรียนไม่นอ้ ยกว่า 30 หน่วยกิต a Dream Come True 1.1) กลุ่มวชิ ามนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ ให้เรียนไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกติ GEN0117 อยเู่ ป็นวทิ ยา 3(3-0-6) Science of Living 1.2) กลุ่มวชิ าภาษา ใหเ้ รยี นไม่นอ้ ยกวา่ 6 หน่วยกติ 1.2) กลุ่มวชิ าภาษา ใหเ้ รยี นไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกติ 1.3) กลมุ่ วชิ าวิทยาศาสตรแ์ ละคณิตศาสตร์ ให้เรียนไมน่ อ้ ยกว่า 6 หนว่ ยกติ GEN0201 การใช้ภาษาไทย 3(3-0-6) Thai Usage 1.4) และนักศึกษาตอ้ งเลือกเรยี นอีกไม่นอ้ ยกวา่ 12 หน่วยกิต GEN0202 ภาษาไทยเชิงวิชาการ 3(3-0-6) จาก 3 กล่มุ วิชาข้างตน้ 2) หมวดวิชาเฉพาะดา้ น เรียนไม่น้อยกวา่ 84 หน่วยกิต Thai for Academic Purposes GEN0203 ภาษาไทยเพอ่ื การประกอบอาชีพ 3(3-0-6) 2.1) วิชาแกน เรยี น 18 หน่วยกิต Thai for Career 2.2) วชิ าพน้ื ฐานวชิ าชพี เรยี น 18 หนว่ ยกิต 2.3) วิชาเฉพาะ เรียนไม่น้อยกวา่ 42 หนว่ ยกติ GEN0204 ภาษาองั กฤษเพื่อการสอื่ สาร 3(3-0-6) และการสบื ค้น - วิชาบังคับ เรยี น 24 หน่วยกติ English for Communication and - วิชาเลือก เรยี นไม่น้อยกวา่ 18 หน่วยกิต 2.4) วิชาการฝึกประสบการณ์วชิ าชพี หรือสหกิจศึกษา 6 หน่วยกติ Information Retrieval GEN0205 ภาษาอังกฤษเพ่อื ทักษะการเรยี น 3(3-0-6) 3) หมวดวชิ าเลอื กเสรี เรยี นไมน่ ้อยกว่า 6 หน่วยกิต English for Study Skills 1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป เรยี นไม่นอ้ ยกว่า 30 หนว่ ยกิต GEN0206 ภาษาอังกฤษเชงิ วชิ าการ 3(3-0-6) English for Academic Purposes 1.1) กลุ่มวิชามนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ GEN0207 ภาษาอังกฤษเพ่ือการประกอบวิชาชพี 3(3-0-6) ให้เรยี นไมน่ อ้ ยกวา่ 6 หนว่ ยกติ GEN0101 ชาววงั สวนสนุ ันทา 3(3-0-6) English for Career Development GEN0208 ภาษาอังกฤษเพอ่ื การดูแลสขุ ภาพ 3(3-0-6) The Royal Court of Suan English for Health Care Sunandha GEN0102 สุนทรยี ภาพของชวี ติ 3(3-0-6) GEN0209 ภาษาองั กฤษเพอื่ การนำ�เสนอและการพดู 3(3-0-6) ในทส่ี าธารณะ Aesthetic Appreciation Public Speaking and Presentation GEN0103 สงั คมไทยในบรบิ ทโลก 3(3-0-6) Thai Society in Global Context Skills in English GEN0210 วาทกรรมภาษาอังกฤษเพ่อื การสื่อสาร 3(3-0-6) GEN0104 การพฒั นาตน 3(3-0-6) Discourse English for Communication Self Development GEN0105 ความจริงของชีวติ 3(3-0-6) GEN0211 ภาษาจนี 3(3-0-6) Chinese Language Truth of Life GEN0212 ภาษาพมา่ 3(3-0-6) GEN0106 ชีวติ ในสังคมพหวุ ัฒนธรรม 3(3-0-6) Life in Multicultural Society Burmese Language
047 SunandhaSuan Rajabhat University STUDENT HANDBOOK 2021 รหัสวิชา ช่ือวิชา น(บ-ป-อ) รหัสวชิ า ชือ่ วิชา น(บ-ป-อ) GEN0213 ภาษาเขมร 3(3-0-6) GEN0319 ผปู้ ระกอบการธรุ กจิ ดจิ ทิ ัล 3(3-0-6) Khmer Language Entrepreneurship in Digital GEN0214 ภาษาลาว 3(3-0-6) GEN0320 รวยดว้ ยดจิ ทิ ลั 3(3-0-6) Lao Language Digital Millionaire GEN0215 ภาษาเวยี ดนาม 3(3-0-6) 1.4) และนักศกึ ษาตอ้ งเลอื กเรียนอีก ไม่นอ้ ยกวา่ 12 หนว่ ยกติ Vietnamese Language จาก 3 กล่มุ วชิ าขา้ งต้น GEN0216 ภาษามาเลย ์ 3(3-0-6) Malay Language 2) หมวดวิชาเฉพาะดา้ น เรยี นไม่นอ้ ยกวา่ 84 หน่วยกติ GEN0217 ภาษาเกาหลี 3(3-0-6) 2.1) วิชาแกน เรียน 18 หนว่ ยกิต Korean Language BIO1011 ชวี วิทยา 1 3(3-0-6) 1.3) กลุม่ วิชาวทิ ยาศาสตร์และคณติ ศาสตร์ Biology 1 ใหเ้ รียนไมน่ อ้ ยกวา่ 6 หนว่ ยกติ BIO1012 ปฏบิ ตั กิ ารชวี วทิ ยา 1 1(0-3-1) GEN0301 เทคโนโลยีสารสนเทศเพอื่ การสื่อสาร 3(3-0-6) Biological Laboratory 1 Information Technology for CHE1121 เคมีท่วั ไป 1 3(3-0-6) Communication General Chemistry 1 GEN0302 วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3(3-0-6) CHE1122 ปฏิบตั กิ ารเคมีท่วั ไป 1 1(0-3-1) เพอ่ื คณุ ภาพชวี ิต General Chemistry Laboratory 1 Science and Technology for PHY1111 ฟสิ ิกส์ 1 3(3-0-6) Quality of Life Physics 1 GEN0303 วิทยาศาสตร์กับสิ่งแวดลอ้ ม 3(3-0-6) PHY1112 ปฏบิ ัตกิ ารฟิสกิ ส์ 1 1(0-3-1) Science and Environments Physics Laboratory 1 GEN0304 ร้เู ท่าทนั ดิจทิ ลั 3(3-0-6) MAT1102 คณติ ศาสตรเ์ บอื้ งตน้ 3(3-0-6) Digital Literacy Basic Mathematics GEN0305 นันทนาการเพื่อคณุ ภาพชีวติ 3(3-0-6) MAT1411 แคลคลู ัส 1 3(3-0-6) Recreation for Quality of Life Calculus 1 GEN0306 สขุ ภาพสำ�หรบั ชีวติ ยุคใหม่ 3(3-0-6) 2.2) วิชาพน้ื ฐานวชิ าชีพ เรยี น 18 หนว่ ยกิต Health Care for New Gen HEC1106 ทัศนมติ ทิ างคหกรรมศาสตร์ 3(3-0-6) GEN0307 มหัศจรรยแ์ ห่งความคิด 3(3-0-6) Perpective in Home Economics Miracle of Thought HEC1200 วทิ ยาศาสตร์การประกอบอาหาร 3(2-2-5) GEN0308 อินโฟกราฟิก 3(3-0-6) Science of Cookery Info Graphic HEC1209 อาหารไทยชาววังสวนสนุ นั ทา 3(2-2-5) GEN0309 ชีวิตกบั ดิจทิ ลั 3(3-0-6) Suan Sunandha Palace Cuisine Digital for Life HEC2503 การวิจัยทางคหกรรมศาสตร์ 3(2-2-5) GEN0310 การสง่ เสรมิ สขุ ภาพทางเพศ 3(3-0-6) Research in Home Economics Sexual Health Promotion HEC2505 การเปน็ ผู้ประกอบการคหกรรมศาสตร์ 3(2-2-5) GEN0311 ธรรมชาติบ�ำ บัด 3(3-0-6) Home Economic Entrepreneurship Natural Therapy HEC3409 การบรหิ ารงานครวั ในธรุ กิจร้านอาหาร 3(2-2-5) GEN0312 รู้เท่าทันภาวะการเงนิ 3(3-0-6) Restaurant Kitchen Management Financial Literacy 2.3) วิชาเฉพาะ เรียนไมน่ อ้ ยกว่า 42 หน่วยกิต GEN0313 การเตน้ 3(3-0-6) - วชิ าบงั คับ เรียน 24 หน่วยกิต Dancing HEC1100 การจดั การทรพั ยากรมนุษยแ์ ละชมุ ชน 3(3-0-6) GEN0314 โยคะ 3(3-0-6) Human Resources and Consumption Yoga Management GEN0315 ชีวิตเลกิ อ้วน 3(3-0-6) HEC1104 การจัดการบา้ นและครอบครัว 3(2-2-5) Never Get Fat Again Home and Family Management GEN0316 ศาสตรแ์ ห่งการชะลอวยั 3(3-0-6) HEC1105 สิ่งทอและเคร่อื งนุ่งห่ม 3(2-2-5) Science of Anti-Aging Textile and Clothes GEN0317 ศาสตร์และศิลปแ์ ห่งอาหารชาววัง 3(3-0-6) HEC1203 หลกั สุขาภิบาลและความปลอดภยั 3(2-2-5) State of the Art of Royal Cuisine ในงานอาหาร GEN0318 รกั ปลอดภัย 3(3-0-6) Principles of Sanitation Safe Sex and Safety in Food
048 SunandhaSuan Rajabhat University STUDENT HANDBOOK 2021 รหัสวชิ า ช่อื วชิ า น(บ-ป-อ) รหัสวชิ า ชื่อวิชา น(บ-ป-อ) HEC1204 อาหารไทย 3(2-2-5) HEC3410 การจดั การงานเลยี้ งและการบรกิ ารอาหาร 3(2-2-5) Thai Cuisine Catering Management and HEC1218 ขนมไทย 3(2-2-5) Food Services Thai Desserts HEC4901 สัมมนาทางคหกรรมศาสตร ์ 1(1-0-2) HEC1303 โภชนาการ 3(2-2-5) Seminar in Home Economics Nutrition ส่ิงทอและเครอ่ื งนงุ่ ห่ม HEC2502 การจัดดอกไมแ้ ละแกะสลกั ผกั ผลไม ้ 3(2-2-5) HEC2510 การออกแบบเสื้อผ้าและเครือ่ งแตง่ กาย 3(2-2-5) เพ่ือการตกแต่ง Clothing and Dressing Design Floral Arrangement and Vegetable HEC2511 หลักการตัดเย็บเส้อื ผา้ 3(2-2-5) Fruit Carving for Decoration Principles of Dressmaking - วชิ าเลือก ใหเ้ ลอื กเรียนจากรายวชิ าตอ่ ไปนี้ HEC2512 สีและการยอ้ ม 3(2-2-5) ไมน่ ้อยกวา่ 18 หนว่ ยกติ Dye and Dyeing อาหารโภชนาการและบรกิ าร ศิลปประดิษฐ์และงานสร้างสรรค์ HEC1219 อาหารเอเชีย 3(2-2-5) HEC2507 งานใบตองและดอกไม้สด 3(2-2-5) Asian Cuisine Banana Leaf Craft and Floral HEC1403 เครอ่ื งดม่ื และไอศกรีม 3(2-2-5) HEC2508 การออกแบบผลิตภณั ฑแ์ ละบรรจภุ ัณฑ์ 3(2-2-5) Beverage and Ice Cream Product Design and Packaging HEC2207 อาหารว่าง 3(2-2-5) HEC2509 เคร่ืองหอมและของช�ำ ร่วย 3(2-2-5) Snacks Perfume and Souvenir Production HEC2209 การจดั รายการอาหารและการคิดต้นทนุ 3(2-2-5) พัฒนาการมนุษยแ์ ละครอบครวั Menu Planning and Costing HEC2208 การดแู ลสุขภาพผู้สงู อายุ 3(2-2-5) HEC2212 เบเกอร่ี 3(2-2-5) Health Care for The Elderly Bakery HEC2211 พฒั นาการและการอบรมเลี้ยงดเู ด็ก 3(2-2-5) HEC2214 อาหารยุโรป 3(2-2-5) Child Development and Care European Cuisine HEC3203 การอบรมเล้ียงดูเด็กกลุ่มพิเศษ 3(2-2-5) HEC2216 การแปรรูปอาหาร 1 3(2-2-5) Care for Special Children Food Processing 1 การจัดการบ้านและทอี่ ยอู่ าศัย HEC2217 การแปรรูปอาหาร 2 3(2-2-5) HEC2218 การบรหิ ารงานแมบ่ ้าน 3(2-2-5) Food Processing 2 Housekeeping Management HEC2301 โภชนาการในวงจรชีวิต 3(2-2-5) HEC2219 การจัดและตกแต่งบา้ น 3(2-2-5) Nutrition in Life Cycle Home Furnishing and Decorations HEC2305 อาหารเพอื่ สขุ ภาพ 3(2-2-5) HEC2220 สขุ าภบิ าลและความปลอดภัยภายในบ้าน 3(2-2-5) Food for Health Housing Sanitation and Safety HEC2306 อาหารบำ�บดั โรค 3(2-2-5) 2.4) วิชาการฝึกประสบการณ์วชิ าชีพหรือสหกิจศกึ ษา 6 หน่วยกิต Dietetics นักศึกษาสามารถเลอื กเรียนไดจ้ ากแผน ก หรอื แผน ข ดังน้ี HEC2513 การประกอบอาหารโมเลกูลาร ์ 3(2-2-5) แผน ก เปน็ แผนการศึกษาทเ่ี น้นการท�ำ วิจัยโดยมีอาจารยท์ ปี่ รกึ ษา Molecular Gastronomy งานวิจยั เป็นผู้ควบคมุ โดยเรียนรายวิชาตอ่ ไปนี้ HEC2627 สมั มนาภาษาอังกฤษสำ�หรบั ธุรกจิ อาหาร 3(2-2-5) HEC4804 การฝึกประสบการณ์วิชาชพี ทาง 3(450) Seminar in English for คหกรรมศาสตร์ Food Business Field Experience in Home Economics HEC3202 เบเกอร่ใี นโอกาสพิเศษ 3(2-2-5) HEC4902 โครงการวิจัยทางคหกรรมศาสตร์ 3(0-6-3) Bakery for Special Occasions Research Project in Home Economics HEC3404 ธรุ กจิ อาหารและเครื่องดม่ื 3(2-2-5) แผน ข เปน็ แผนการศกึ ษาทเี่ นน้ การไปปฏบิ ตั งิ านเตม็ เวลา ณ สถาน Food and Beverage Business ประกอบการทีใ่ หค้ วามรว่ มมือ ครบ 1 ภาคการศึกษา โดยมีลกั ษณะงานตรง HEC3405 โลจสิ ตกิ สใ์ นงานอตุ สาหกรรมอาหาร 3(2-2-5) ตามสาขาวิชาท่ีศึกษา และอยู่ภายใต้การดูแลของบุคลากรหรือเจ้าหน้าที่ ซ่ึง และการบริการ สถานประกอบการมอบหมาย โดยเรียนรายวชิ าตอ่ ไปนี้ Logistics in Food Industry HEC4803 สหกจิ ศึกษา 6(450) and Service Co-operative Education HEC3406 การจดั การครัวมาตรฐานในอุตสาหกรรม 3(2-2-5) อาหารและการบริการ 3) หมวดวิชาเลือกเสรี ไมน่ อ้ ยกว่า 6 หนว่ ยกิต Standard Kitchen Management ให้เลือกเรยี นไม่น้อยกวา่ 6 หน่วยกติ จากวิชาท่เี ปิดสอนในมหาวิทยาลยั of Food Industry and Service
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416