Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา 2562

คู่มือนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา 2562

Published by SSRU Archive, 2022-03-29 03:40:22

Description: คู่มือนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา 2562

Keywords: คู่มือนักศึกษา,พ.ศ.2562

Search

Read the Text Version

www.ssru.ac.th 2562มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สวนสุนันทา www.ssru.ac.th

มหาวิทยาลัยราชภฏั สวนสุนนั ทา Suan Sunandha Rajabhat University 12 16 ผังจ�ำ ลอง 17 Lay-out Plan ถนนอ่ทู องนอก 15 11 21 14 22 27 37 ถนนสามเสน 23 26 24 38 36 35 34 N 41 43 44 45 32 57 47 เขตพื้นที่ 1 33 31 56 46 55 58 11 อาคารกรรณาภรณ์พิพัฒน์ 54 ถนนราช ิว ีถ 12 อาคารนลิ รตั นาทร 59 13 อาคารประชมุ พรโสภณิ 14 อาคารมธั ยมสาธิต (หลงั ใหม่) 15 อาคารมธั ยมสาธิต 16 อาคารประถมสาธติ 17 อาคารหอประชมุ สนุ นั ทานสุ รณแ์ ละศูนย์อาหาร เขตพ้นื ท่ี 2 เขตพน้ื ที่ 4 21 อาคารศรจี ุฑาภา (บัณฑติ วิทยาลัย) 41 อาคารศศพิ งษ์ประไพ 22 ฉฐั มราชศลิ ปสดดุ ี 42 อาคารคณะเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม 23 อาคารวิทยาศาสตร์ 43 อาคารสาำ นักงานคณะเทคโนโลยอี ุตสาหกรรม 24 อาคารมาลินีนพดารา 44 อาคารพสิ มยั พิมลสัตย์ 25 อาคารสดบั สนธเ์ิ ฉยี ดเกษม (สาขาคหกรรมศาสตร์) 45 อาคารจฑุ ารัตนาภรณ์ 26 อาคารศนู ย์วทิ ยาศาสตร์ 46 อาคารอาทรทพิ ยนวิ าสน์ 27 อาคารสายสทุ ธานภดล (สาำ นกั ศลิ ปะและวฒั นธรรม) 47 ศูนยป์ ฏบิ ัติการเทคโนโลยีมัลติมีเดยี เขตพน้ื ท่ี 3 เขตพื้นที่ 5 31 อาคารศนู ย์ภาษาและคอมพวิ เตอร์ 51 อาคารเออ้ื นอาชนแ์ ถมถวัลย์ 32 อาคารปัญจมราชบรรณาศรม (สาำ นักงานอธกิ ารบด)ี 54 อาคารโรงแรมสวนสุนนั ทา 33 อาคารเฉลิมพระเกียรติ (ศูนย์วทิ ยบรกิ าร) 55 อาคารเกษตรสนิ เสริมศาสตร์ (โรงผลติ น้าำ ดมื่ ) 34 อาคารเทคโนโลยีและนวตั กรรมทางการศกึ ษา 56 อาคารสวุ พักตร์นเิ วศน์ (คณะวิทยาการจัดการ) 35 อาคารนภิ านภดล (คณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร)์ 57 อาคารวทิ ยาการจัดการใหม่ 36 อาคารศิลปกรรมศาสตร์ 58 คณะศลิ ปกรรมศาสตร์ 37 อาคารเหมวดีพทิ ักษ์ 59 อาคารประกอบพรอ้ มสระวา่ ยนา้ำ 38 อาคารวรลกั ษณานงค์

แผมนหาวททิ ย.่ี า.ล.ยั แราชสภฏัดสวงนสทุนันี่ตทาั้ง 52 2562มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สวนสุนนั ทา 505 2019HStaunddebnotok 110 SUAN SUNANDHA RAJABHAT UNIVERSITY ก�รสคอมบนถส��คถมม�รน�ถทยนต่ี นลงั้ระาเชอเวลยีถิขีทด1ี่ 81โโทท1ถรร9นศสน2าัพร8อทู่ท์05อ0-6-ง2น211016อ860ก0--51เ110ข001ต00ด50ุส1, 5ิต0-ปกh2อรt1tุง.6pพเ0ท:.-/4พ/1wม151ห3w19าw,นถค0.sนร-sน21r1สu06า.0มa-เcส1.0t2h3 65 1 64 49 33 32 30 19 300 9 16 3 น

Contents S T U DwE wN Tw . Hs As Nr uD .BaOcO. Kt h 2 0 1 9 เกี่ยวกบั สวนสุนนั ทา .....3 วทิ ยาลยั พยาบาลและสุขภาพ 240 วทิ ยาลยั สถาปัตยกรรมศาสตร์ 245 ABOUT SUAN SUNANDHA ศูนย์การศกึ ษาจงั หวดั สมทุ รสงคราม 255 สารจากอธกิ ารบดี 3 วทิ ยาลยั สหเวชศาสตร์ 257 ความเปน็ มาของมหาวิทยาลัย 4 ศูนยก์ ารศึกษาจงั หวัดนครปฐม 275 เปา้ หมาย วสิ ัยทศั นข์ องมหาวทิ ยาลัย 5 สถานทสี่ ำ�คญั ในมหาวทิ ยาลัย 6 วทิ ยาลัยนานาชาต ิ 276 วทิ ยาลยั การภาพยนตร์ ศิลปะการแสดง 288 พระราชลญั จกร 7 และสือ่ ใหม่ วทิ ยาลยั โลจสิ ติกส์และซพั พลายเชน 294 โครงสรา้ งองคก์ ร ...12 O R G R A N I Z A T I O N C H A R T ศนู ย์การศึกษาจงั หวัดอดุ รธาน ี 310 ทำ�เนียบผ้บู ริหาร 12 ศนู ยก์ ารศึกษาจงั หวดั ระนอง 311 คณะกรรมการสภามหาวทิ ยาลยั 13 คณะกรรมการสภาวิชาการมหาวิทยาลัย 14 สถาบนั วิจัยและพัฒนา 312 คณะกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัย 15 ส�ำ นักศิลปะและวัฒนธรรม 314 คณะกรรมการสภาคณาจารยแ์ ละขา้ ราชการ 16 ส�ำ นกั วทิ ยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ 315 คณะกรรมการบริหารมหาวทิ ยาลยั (ก.บ.ม.) 17 ส�ำ นักงานอธกิ ารบดี 317 หลักสูตร/สาขาวชิ า ...18 กองกลาง 318 COURSE/BRANCH กองบริการการศึกษา 319 การจดั การศึกษา 18 กองบรหิ ารงานบุคคล 320 ระบบการศึกษา 19 กองพัฒนานักศกึ ษา 321 กองนโยบายและแผน 322 หนว่ ยงาน .....22 INSTITUTE กองคลงั 323 ศูนย์การศึกษาและฝึกอบรมอาเซยี น 324 คณะครศุ าสตร์ 22 สถาบันสรา้ งสรรค์และส่งเสรมิ การเรยี นร้ ู 325 คณะเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม 45 คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ 79 ตลอดชวี ิต คณะวทิ ยาการจัดการ 128 ส�ำ นกั วิชาการศึกษาทัว่ ไปและนวัตกรรมฯ 329 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 151 คณะศิลปกรรมศาสตร์ 197 สำ�นกั ทรัพยส์ ินและรายได้ 330 วิทยาลัยนวตั กรรมและการจัดการ 217 ภาคผนวก ก .....336 ภาคผนวก ข .....356 ภาคผนวก ค .....379 2

เกย่ี วกบั ... ABOUT SUAN SUNANDHA อธิกสาารจารก บดี ..ยินดีต้อนรับนักศึกษาใหม่ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสนุ ันทาทุกคน.. ขอแสดงความยนิ ดีและขอชืน่ ชมต่อความส�ำ เรจ็ ท่ีพวกเราทกุ คนไดใ้ ช้ความวริ ิยะอตุ สาหะ ขยัน หมนั่ เพยี รในการเลา่ เรียนเพ่อื ศกึ ษาตอ่ ในมหาวทิ ยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทาแห่งนี้ ในการสอบคดั เลือก เข้ามาศึกษาในสถาบันแหง่ นี้ มีผู้สมคั รเขา้ มาเป็นจ�ำ นวนมาก แตโ่ ดยเฉล่ยี ถือวา่ นักศกึ ษา คอื 1 ใน 5 เทา่ นัน้ ท่สี ามารถฝา่ ฟันกา้ วมายนื ในจดุ นไ้ี ด้ ดังนน้ั ขอให้ทุกคนภาคภมู ิใจที่มีโอกาสไดเ้ ขา้ มาเปน็ สมาชกิ ใหม่ของ “สวนสนุ นั ทา” อันเปน็ สถาบันการศกึ ษาท่ีมีอดีตและต�ำ นานแหง่ ความย่ิงใหญอ่ ันเป็น ความภาคภมู สิ ืบทอดกันมายาวนาน ชีวติ ของนักศึกษาทไ่ี ดเ้ ข้าเรยี นและทำ�กิจกรรมในรัว้ มหาวทิ ยาลยั น้ัน นบั ไดว้ ่าเป็นโอกาสท่ดี ียิง่ ของชวี ติ ทจ่ี ะไดพ้ ฒั นาตนเองใหเ้ ตม็ ตามศกั ยภาพทม่ี ขี องแตล่ ะบคุ คล นกั ศกึ ษาจะตอ้ งมแี รงบนั ดาลใจ ใฝด่ ี จะต้องมีวนิ ยั ในการดแู ลตนเอง และร้จู กั เลือกวถิ ที ถ่ี กู ตอ้ งเหมาะสมในวัตรปฏบิ ตั ิเพื่อใหป้ ระสบ ความสำ�เรจ็ ในการศึกษาตามที่นักศึกษาได้ตั้งใจไว้ เม่อื เป็นสมาชกิ ใหมใ่ นองค์กรใดองค์กรหนง่ึ กจ็ ะ ต้องมีการปรบั ตวั คอ่ นข้างมากในชว่ งแรกๆ ขอให้นกั ศกึ ษาทุกคนยดึ ถอื ในระเบยี บวินัย และประพฤติ ปฏิบัตติ นใหเ้ หมาะสม เพ่อื เตรยี มพรอ้ มก้าวไปส่คู วามเป็นบณั ฑิตในอนาคต มหาวทิ ยาลัยจะสง่ เสริม ใหน้ กั ศึกษาได้รับการพฒั นาศักยภาพในเร่ืองภาษาต่างประเทศอยา่ งจรงิ จงั และเปน็ ระบบต้งั แตแ่ รกเข้า จนถึงสำ�เรจ็ การศกึ ษา และนอกเหนือจากน้ี นักศึกษาควรค้นหาพรสวรรคท์ มี่ ีอยูใ่ น ตนเองให้พบ เพื่อเป็นจุดเดน่ อกี ประการหนึง่ นอกเหนือจากความรคู้ วามสามารถ ท่ีมี ยิ่งไปกว่านนั้ นกั ศึกษาจะตอ้ งรจู้ ักแบง่ เวลาในการทำ�กิจกรรมตา่ งๆ การทำ�กจิ กรรมทเ่ี หมาะสมจะเป็นประโยชนต์ ่อการทำ�งานในอนาคตหากมีความ มงุ่ มน่ั ในการส่ังสม เสาะแสวงหา พัฒนาความรูท้ ัง้ จากการแนะนำ�สัง่ สอนจาก ครู อาจารย์ และดว้ ยตนเอง กจ็ ะสามารถเกดิ ความเจรญิ งอกงามทางภมู ปิ ญั ญาได้ และท่สี ำ�คญั ควรจะต้องเพยี บพรอ้ มดว้ ยความรทู้ างวิชาการ มีจรยิ ธรรมและ คณุ ธรรม กลา่ วคอื เป็นคนดี คนเก่งของสังคมและใชช้ ีวติ อย่างมคี วามสุข อนั จะท�ำ ใหป้ ณธิ านแห่งสวนสุนันทา คอื ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม น�ำ สังคม บรรลผุ ลเปน็ ที่ประจกั ษต์ อ่ ไป ขออวยพรให้นักศึกษาทกุ คนมีความสุขในการศกึ ษาเล่าเรยี น ในการทำ�กิจกรรมและการใช้ชวี ิตในวยั สดใส และประสบความสำ�เรจ็ ตามท่ีไดต้ ง้ั ใจไว้ทุกประการ (รองศาสตราจารย์ ดร.ฤๅเดช เกดิ วิชัย) อธกิ ารบดีมหาวทิ ยาลัยราชภฏั สวนสนุ นั ทา 3 คู่มือนกั ศึกษา 2 5 6 2 2019 STUDENT HANDBOOK

wมหwาวwทิ ย.าลsยั sราชrภuฏั ส. วaนสcนุ ัน. ทt าh มหาวทิ ยาลยัความเปน็ มาของ... พระองคไ์ ดเ้ สดจ็ ออกไปอยูห่ วั เมอื งและหลาย พระองค์เสด็จล้ีภัยการเมืองไปอยู่ตา่ งประเทศ ประวตั ิ โรงเรยี นนิภาคารจงึ เลกิ ด�ำ เนนิ การไปโดย มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวนสุนนั ทา ปรยิ าย นับแต่นั้นมาสวนสุนนั ทาท่ีเคยงดงาม ตง้ั อยู่เลขที่ 1 ถนนอู่ทองนอก เขตดสุ ิต กรุงเทพฯ รหัสไปรษณยี ์ 10300 ก็ถูกทอดท้ิง ขาดการดแู ลเอาใจใส่ ต�ำ หนกั โทรศัพท์ 0-2160-1000, 0-2160-1111, 0-2160-1023 ตา่ งๆ ช�ำ รดุ ทรดุ โทรมเปน็ อนั มาก พน้ื ทภ่ี ายใน โทรสาร 0-2160-1010 เว็บไซต์ www.ssru.ac.th รกรา้ งวา่ งเปลา่ ตอ่ มาในรชั กาลพระบาทสมเดจ็ โดยพ้ืนทขี่ องมหาวิทยาลยั ราชภฏั สวนสุนนั ทาแห่งน้ี เดมิ เป็นสว่ นหน่งึ ของวงั สวนสนุ ันทา พระเจ้าอยู่หวั อานันทมหดิ ล คณะผูส้ ำ�เร็จ ซ่ึงเปน็ เขตพระราชฐานภายในบรเิ วณของพระราชวังดุสิตซึ่งพระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้า ราชการแทนพระองค์ เห็นว่า สวนสนุ นั ทาถูก เจา้ อยหู่ ัวทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ใหส้ รา้ งขึน้ เพอ่ื เป็นสถานที่พักผ่อนพระอิรยิ าบถแทนการ ทอดทิ้งรกรา้ งอยมู่ ไิ ดท้ �ำ ประโยชน์ จงึ เห็น เสดจ็ ประพาสหวั เมอื ง พระองคม์ พี ระราชประสงค์ให้สวนนม้ี ีลักษณะเป็นสวนป่า จึงโปรดเกลา้ ฯ สมควรให้นำ�เอาพื้นที่ไปใชป้ ระโยชน์ เปน็ ท่ี ให้หาพนั ธ์ไุ ม้ดอกไมผ้ ลทีด่ ีและหาได้ยากนานาชนดิ มาปลูกไวใ้ นสวนแห่งนดี้ ้วย ทมี่ าของชอื่ สวน อยอู่ าศัยของรัฐมนตรแี ละผแู้ ทนราษฎร แต่ แหง่ นม้ี าจากช่ือสวนของพระอินทร์บนสวรรค์ชัน้ ดาวดงึ ส์ ซ่ึงมชี อ่ื ว่า “สนุ นั ทาอุทยาน” และ สภาผแู้ ทนราษฎรขอเพยี งพน้ื ทภ่ี ายนอกก�ำ แพง พระนามของสมเดจ็ พระนางเจา้ สุนนั ทากุมารีรตั น์พระบรมราชเทวี พระมเหสี ซ่ึงเป็นทรี่ กั ยงิ่ ของ ตดิ ถนนสามเสนสร้างเปน็ บ้านพกั ของสมาชิก พระองค์ ซง่ึ ได้สนิ้ พระชนม์จากเหตุเรอื ลม่ ระหว่างเสด็จประพาสพระราชวงั บางปะอนิ จังหวดั สภาผ้แู ทนราษฎรเทา่ นัน้ คณะรัฐมนตรจี ึงลง พระนครศรีอยุธยา นอกจากนพี้ ระองคย์ งั โปรดเกล้าฯ ใหส้ ร้างตำ�หนักขน้ึ เพอื่ เตรยี มไวเ้ ปน็ ที่ มติเหน็ สมควรว่า ควรใช้สถานที่นใี้ หเ้ ป็น ประทับของเจ้านายฝา่ ยใน แตเ่ นื่องจากพระองคเ์ สด็จสวรรคตเสียก่อน การสรา้ งจึงยังไม่แลว้ ประโยชนแ์ ก่การศกึ ษา และมอบใหก้ ระทรวง เสร็จตามพระราชประสงค์ ธรรมการ (กระทรวงศกึ ษาธิการในปัจจบุ ัน) ดำ�เนนิ การจัดตั้งให้เปน็ สถานศกึ ษาของชาติ เมอ่ื พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห่ ัว เสดจ็ ขึ้นครองราชสมบตั ิ ไดท้ รงพระราชดำ�ริ และสถานท่ีศกึ ษาน้ใี ห้ชอ่ื โดยคงชื่อเดมิ ของ วา่ สถานทใ่ี นพระบรมมหาราชวงั ชน้ั ในคบั แคบ ไมเ่ หมาะสมจะเปน็ ทป่ี ระทบั ของพระบรมวงศานวุ งศ์ สถานที่ เพือ่ เป็นอนสุ รณ์ โดยขนานนามว่า ฝ่ายใน จงึ โปรดใหส้ รา้ งพระต�ำ หนกั และตกึ ในบรเิ วณสวนสนุ นั ทาขึ้นอกี หลายหลัง แล้วโปรดให้ “โรงเรยี นสวนสนุ นั ทาวิทยาลัย” เปน็ ทป่ี ระทบั ของพระมเหสเี จา้ จอมมารดา เจา้ จอมและพระราชธดิ าในพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอม- เกลา้ เจา้ อย่หู ัว จ�ำ นวน 32 ตำ�หนัก รวมทง้ั อาคารทพ่ี กั ของบรรดาขา้ ราชบรพิ าร โดยมีสมเด็จ เมอื่ วันท่ี 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2480 พระวมิ าดาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลภี ิรมย์ กรมพระสทุ ธาสินนี าฎ ปิยมหาราชปดวิ รัดา ได้เสด็จ เปิดสอนประกาศนียบัตรประโยคครปู ระถม มาประทบั ณ ต�ำ หนกั สายสทุ ธานพดล (ตกึ 27) ตง้ั แต่ พ.ศ. 2467 ถงึ พ.ศ. 2472 (สน้ิ พระชนม์ (ป.ป.) ตอ่ มาจงึ ไดย้ กฐานะขน้ึ เปน็ “วทิ ยาลยั - ณ ต�ำ หนักท่ปี ระทับสวนสุนนั ทา) เนอื่ งจากในสมยั นั้นบรรดาขุนนาง ขา้ ราชการ ผูม้ ีบรรดาศักดิ์ ครสู วนสุนนั ทา” ในปี พ.ศ. 2518 ตาม นิยมน�ำ บตุ รี และหลานของตนมาถวายตวั ต่อสมเด็จพระวมิ าดาเธอฯ เป็นจ�ำ นวนมาก สมเด็จ พระราชบัญญัตวิ ิทยาลยั ครู พ.ศ. 2518 เปิด พระวิมาดาเธอฯ จึงทรงใหส้ รา้ ง “โรงเรียนนิภาคาร” ขนึ้ ภายในสวนสนุ นั ทา สอนตามหลักสูตร สอนถงึ ระดบั ปรญิ ญาตรี หลกั สตู รครศุ าสตร- การศึกษาในสมัยนนั้ รวมทงั้ อบรมจริยามารยาท การฝีมือ ใหเ้ ปน็ กลุ สตรี บณั ฑิต ในปี พ.ศ. 2535 พระบาทสมเด็จ พระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถ- ครน้ั ถงึ ปี พ.ศ. 2475 ไดม้ กี ารเปลย่ี นแปลงการปกครองขน้ึ บรรดาพระบรมวงศานวุ งศใ์ น บพติ ร ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ พระราชทาน สวนสนุ ันทา หว่ันเกรงภัยจากการเมอื ง จงึ ไดท้ ยอยกนั ออกไปจากสวนสนุ นั ทาจนหมดสิ้น บาง นาม “สถาบันราชภัฏ” เป็นช่อื สถาบนั การ ศกึ ษาในสงั กัดกรมการฝึกหัดครูกระทรวง ศกึ ษาธกิ าร ทง้ั ยงั ไดพ้ ระราชทานตราพระราช- ลัญจกรประจำ�พระองค์ ให้เปน็ ตราสัญลักษณ์ ประจำ�สถาบนั ราชภัฏ และเมอื่ ไดป้ ระกาศใช้ พระราชบัญญัตสิ ถาบนั ราชภัฏ เมอื่ วนั ที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2538 วทิ ยาลยั ครสู วนสนุ นั ทา จงึ มชี อ่ื เปน็ “สถาบนั ราชภัฏสวนสนุ ันทา” ในวันท่ี 15 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2547 พระราชบญั ญตั มิ หาวทิ ยาลยั ราชภัฏ พ.ศ. 2547 ได้ประกาศใช้ในราชกิจจานุเบกษาส่ง ผลให้สถาบนั ราชภฏั สวนสนุ นั ทายกฐานะเปน็ “มหาวิทยาลยั ราชภฏั สวนสุนันทา” นบั แต่น้ัน เป็นต้นมาจนถึงปจั จุบัน 4 คมู่ อื นักศกึ ษา 2 5 6 2 2019 STUDENT HANDBOOK

เก่ยี วกับสวนสุนันทา ABOUT SUAN SUNANDHA มหาวิทยาลัยเปา้ หมาย วสิ ยั ทัศนข์ อง... อตั ลักษณ์ เสาหลัก (Pillar) อาเซยี นอยา่ งมคี ุณภาพ รวมท้งั เป็นการยก เป็นนักปฏิบตั ิ ถนัดวิชาการ เช่ียวชาญ มาตรฐานชุมชน สงั คม และผู้ประกอบการ การสือ่ สาร ชำ�นาญการคิด มจี ติ สาธารณะ ทรงปญั ญา ศรัทธาธรรม นำ�สงั คม ขนาดเลก็ และขนาดกลางหรอื SMEs ให้ (Wisdom Faith and Social เข้มแขง็ Professional practice, aca- Leadership) demic excellence, talent communi- (Provide academic service cation, strategic thinking and public วสิ ยั ทศั น์ (Vision) and transfer technology to the consciousness community, society and ASEAN มหาวิทยาลัยแมแ่ บบที่ดขี องสังคม community to improve the stand- นิยามของอัตลักษณ์ (Smart Archetype University ard of community, society and เป็นนักปฏิบตั ิ หมายถงึ บณั ฑิตที่มี of the Society) small and mediumenterprises ความสามารถดา้ นวชิ าการหรอื วชิ าชพี มที กั ษะ (SMEs)) และมคี วามมุ่งมน่ั ในการปฏบิ ัตงิ าน สามารถ พนั ธกิจ (Mission) ใชห้ ลกั วิชาการด้วยความชำ�นาญ มีคุณธรรม 4. อนรุ ักษ์ พฒั นาใหบ้ รกิ าร และ ใฝ่ศึกษาเรียนรู้ และพัฒนาตนเองให้มคี วาม ผลติ บณั ฑิตท่ีเน้นองคค์ วามรู้สทู่ ้องถ่นิ เปน็ ศนู ย์กลางบริการขอ้ มูลสารสนเทศทาง ก้าวหนา้ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ฝกึ หดั ครู วิจัย บริการวิชาการ และท�ำ นบุ ำ�รุง ดา้ นศิลปวัฒนธรรมกรงุ รตั นโกสนิ ทร์สู่ จิตสาธารณะ หมายถงึ บณั ฑิตทม่ี ี ศลิ ปวัฒนธรรม อาเซียน คุณธรรม ร้จู กั แบง่ ปนั ช่วยเหลอื ผู้อื่น มงุ่ ทำ� ความดที ่เี ปน็ ประโยชน์ต่อชุมชน สังคม และ (to produce graduates with (Preserve, improve service ประเทศชาติ emphasis on knowledge transfer- and become a center for informa- เชย่ี วชาญการสื่อสาร หมายถงึ บณั ฑติ ring to localities, conform good tion on Rattanakosin culture for ทม่ี ที กั ษะการคดิ วเิ คราะห์ สงั เคราะห์ สามารถ teachers, conduct research, provide ASEAN) ส่ือสารและถ่ายทอดความรู้ ความชำ�นาญใน academic services to communities, สาขาวิชาทศี่ ึกษา โดยใชร้ ะบบเครือข่ายและ and to promote and conserve arts 5. วจิ ัย สร้างนวัตกรรม และ เทคโนโลยสี ารสนเทศท่ที นั สมัย สู่ชมุ ชนและ and cultures) องค์ความรู้ สกู่ ารพฒั นาท้องถน่ิ ตลอดจน สังคม การพฒั นาภมู ิปญั ญาไทยสู่ประชาคมอาเซยี น ภารกจิ หลกั (Key result area) และสากล เอกลักษณ์ 1. ผลิตบณั ฑิตทีม่ ีคณุ ภาพระดับ (Research and create เน้นความเป็นวัง ปลกู ฝังองคค์ วามรู้ แนวหน้า ตรงกบั ความตอ้ งการของชมุ ชน innovation and knowledge for the ยึดมน่ั คณุ ธรรมให้เชดิ ชู เปน็ องคก์ รแห่ง และสังคมยุคเศรษฐกจิ ฐานความรู้ อยใู่ น development of the locality and การเรยี นรสู้ ู่สากล สงั คมอาเซียนและประชากรโลก (Global Thai wisdom to ASEAN and inter- citizen) อย่างมีความสุข national level) Royal court concentration, knowledge cultivation, ethical (Produce leading gradu- คา่ นิยมหลัก (Core Values) enhancement and international ates who are needed by the com- learning organization munity and society in the economic 1. ปญั ญาและความคดิ สร้างสรรค์ and knowledge era, who become (Wisdom & Creativity) นิยามของเอกลักษณ์ happy global citizen) 2. ความผาสกุ และความภักดใี น เนน้ ความเปน็ วงั หมายถงึ เปน็ มหา- องค์กร วทิ ยาลัยท่ีสบื สานความเป็นวงั สวนสนุ ันทา 2. ผลิตและพฒั นาครมู ืออาชีพที่ (Happiness & Loyalty) เน้นการอนรุ กั ษ์ เผยแพร่ และเป็นแหล่ง สนองตอบการปฏิรปู การศึกษา และการฝึก 3. บรู ณาการ และความรว่ มมือ เรยี นรขู้ ้อมลู ศิลปวฒั นธรรมด้านตา่ งๆ โดย หัดครู สูอ่ าเซียน (Integ-ration & Collabora เฉพาะศลิ ปวัฒนธรรมกรุงรตั นโกสินทร์ tion) เป็นองค์กรแหง่ การเรียนรู้สสู่ ากล (Produce and develop 4. ความเป็นมืออาชพี หมายถงึ เป็นมหาวิทยาลัยท่มี แี หล่งเรียนรู้ที่ professional teachers to accom- (Professionalism) หลากหลาย ทนั สมยั สามารถแข่งขนั ได้ใน modate the education reform and ระดบั ชาตแิ ละนานาชาติ ตอบสนองทกุ รปู แบบ train teachers for the ASEAN การเรียนรขู้ องผรู้ บั บรกิ ารไดอ้ ย่างทัว่ ถงึ และ community) มปี ระสิทธิภาพ 3. ใหบ้ ริการวิชาการและถ่ายทอด เทคโนโลยแี ก่ชมุ ชน สังคม และประชาคม 5 คมู่ อื นกั ศกึ ษา 2 5 6 2 2019 STUDENT HANDBOOK

wมหwาวwทิ ย.าลsยั sราชrภuฏั ส. วaนสcุนนั. ทt าh มหาวทิ ยาลัยสถานทสี่ ำ�คญั ใน... สมเด็จพระนางเจ้าสนุ นั ทา เม่ือพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้า กมุ ารรี ตั น์พระบรมราชเทวี เจ้าอย่หู ัว เสดจ็ สวรรคต ขณะน้ัน สมเด็จ พระนางเจา้ สนุ นั ทาฯ ทรงมพี ระชนั ษา 9 พรรษา สมเดจ็ พระนางเจา้ สนุ นั ทากมุ ารรี ตั นพ์ ระบรมราชเทวี พระปยิ มเหสี ในรชั กาลท่ี 5 สมเดจ็ พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยู่หวั พระนางเจา้ สนุ นั ทากมุ ารรี ัตนพ์ ระบรมราชเทวี พระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ชุบเลยี้ งดว้ ย เจา้ อยูห่ ัว ล�ำ ดับพระองคท์ ่ี 50 ในสมเดจ็ พระปยิ มาวดีศรีพัชรนิ ทรมาตา (เจา้ จอมมารดาเป่ียม) พระเมตตากรุณายง่ิ กาลตอ่ มาทรงพระกรณุ า เสดจ็ พระราชสมภพ ณ วนั เสารท์ ี่ 10 พฤศจิกายน ปวี อก พุทธศักราช 2403 ณ พระบรม โปรดเกลา้ ฯ สถาปนาพระอสิ ริยยศขึ้นเป็น มหาราชวัง ทรงมีพระเชษฐภาตา พระขนิษฐภคนิ ี และพระขนษิ ฐภาตา ร่วมพระชนนี รวม พระนางเธอฯ พระอัครมเหสี ซ่ึงได้ปฏบิ ัติ 6 พระองค์ หนา้ ทสี่ นองพระมหากรุณาธคิ ุณดว้ ยความ ซอ่ื สตั ย์ จงรกั ภกั ดี เบอ้ื งพระยคุ ลบาทอยา่ งย่ิง 1. พระเจ้าลกู ยาเธอ พระองคเ์ จ้าอุณากรรณ อนันตรนรไชย จนเป็นทโี่ ปรดปรานสนิทเสนห่ าของสมเด็จ 2. พระเจา้ ลูกยาเธอพระองค์เจา้ เทวัญอุไทยวงศ์ พระบรมราชสวามีย่งิ กว่าพระอคั รมเหสหี รอื (สมเด็จพระเจา้ บรมวงศ์เธอกรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ) ขา้ บาทบรจิ ารกิ าองคอ์ น่ื ๆ ในครง้ั นน้ั 3. พระเจา้ ลูกเธอ พระองคเ์ จ้าสนุ ันทากมุ ารรี ตั น์ (สมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากมุ ารีรตั น์ พระบรมราชเทวี) เม่อื พระชนมายไุ ด้ 19 พรรษาทรงมี 4. พระเจ้าลูกเธอพระองค์เจ้าสวา่ งวฒั นา พระราชธดิ าองคแ์ รกทรงพระนามวา่ สมเดจ็ (สมเด็จพระศรีสวรนิ ทราบรมราชเทวี พระพันวสาอยั ยกิ าเจา้ ) พระเจา้ ลกู ยาเธอ เจา้ ฟา้ กรรณาภรณเ์ พชรรตั น์ 5. พระเจ้าลกู เธอ พระองคเ์ จ้าเสาวภาผ่องศรี (สมเดจ็ พระศรพี ัชรินทราบรมราชนิ ีนาถบรมราชชินีพันปีหลวง) สมเดจ็ พระนางเจา้ สุนันทาฯ เสด็จ 6. พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจา้ สวัสดิโสภณ ทวิ งคตเมอ่ื พระชนมายไุ ดเ้ พยี ง 19 ปี 6 เดอื น (สมเดจ็ พระเจ้าบรมวงศเ์ ธอ กรมพระสวัสดวิ ัตนวศิ ิษฐ)์ 21 วัน ด้วยอบุ ัตเิ หตุเรือลม่ ที่ตำ�บลบางพูด ปากเกร็ด นนทบุรี เมื่อวันท่ี 31 พฤษภาคม พทุ ธศักราช 2423 ซ่ึงขณะน้นั ทรงพระครรภ์ อยดู่ ้วย พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงโศกเศรา้ โทมนสั ในพระราชหฤทยั เป็นอยา่ งย่ิง ดว้ ยความเสยี ดายอาลัยรกั เป็น ทส่ี ดุ ดังจารึกท่ีอนสุ าวรียท์ บี่ างปะอนิ ดงั น้ี ทีร่ ะลึกถึงความรักแหง่ สมเดจ็ พระนางเจา้ สนุ ันทากุมารรี ัตน์ พระบรมราชเทวอี คั รมเหสี อนั เสดจ็ ทิวงคตแล้ว ซงึ่ เคยมาอยู่ในสวนนี้ โดยความสขุ สบายจะเปน็ ท่ีเบกิ บานใจ พรอ้ ม ดว้ ยผซู้ ึง่ เปน็ ทีร่ ักและสนิทอย่างยง่ิ ของเธอ อนุสาวรยี ์นสี้ ร้างขึ้นโดยจฬุ าลงกรณบ์ รมราช ผ้เู ป็นสามอี นั ได้รบั ความเศรา้ โศกเพราะ ความทุกขอ์ ันแรงกล้าในเวลานน้ั แทบจะถึง แกช่ วี ิต ถงึ กระนนั้ กย็ ังมิไดห้ ักหาย จุลศักราช 1243 สมเด็จพระนางเจา้ สุนันทากุมารีรัตน์ พระบรมราชเทวี เป็นที่ เคารพสกั การะและเปน็ ศูนยร์ วมจติ ใจของ พวกเราชาวสวนสุนนั ทาทั้งมวล เราเรียกตวั เองว่า ... “ ลู ก พ ร ะ น า ง ” 6 คมู่ อื นักศึกษา 2 5 6 2 2019 STUDENT HANDBOOK

เกี่ยวกบั สวนสนุ นั ทา ABOUT SUAN SUNANDHA พระพทุ ธสนุ ันทากร พระราชลญั จกร เป็นพระพุทธรูปประจ�ำ วิทยาลยั พุทธลักษณะปางประทานพรผา้ ทพิ ย์ ประเภทของพระราชลัญจกร ประดบั ตราประจ�ำ วทิ ยาลยั ครสู วนสนุ นั ทา พระราชลญั จกร คือ ตราประจำ�ชาตซิ ึง่ ใช้ประทบั ในตน้ ขนาดหน้าตักกวา้ ง 17 นวิ้ ประดิษฐาน เอกสารสำ�คญั ของพระมหากษตั ริย์และราชการแผน่ ดินจดั เป็น อยูบ่ นสำ�นกั ศลิ ปะและวัฒนธรรม ได้รับ หมวดหมไู่ ด้ 3 ประเภท ดังนี้ พระราชทานนามจากพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช ¢ พระราชลัญจกรประจำ�พระองค์ บรมนาถบพติ ร เมื่อ พ.ศ. 2512 ¢ พระราชลญั จกรประจำ�แผน่ ดนิ ¢ พระราชลญั จกรส�ำ หรับแผน่ ดิน หอพระ พระราชลญั จกรประจำ�พระองค์ สถานทีซ่ ่ึงวิทยาลยั จัดสรา้ งข้นึ พระราชลญั จกรประจำ�พระองค์ หมายถึง พระตราท่ีใช้ เพอ่ื ประดษิ ฐานพระพทุ ธสนุ นั ทาทพิ รตั น- ประทับกำ�กบั พระปรมาภิไธยพระมหากษตั ริยใ์ นตน้ เอกสารสำ�คญั ปฏิมาศรีมงคลซง่ึ เป็นพระพุทธรูปปาง สว่ นพระองคซ์ ง่ึ ไมเ่ กย่ี วดว้ ยราชการแผน่ ดนิ เชน่ ในประกาศนยี - มารวิชยั ขนาดหน้าตักกว้าง 14 น้ิว บัตรก�ำ กับเหรยี ญรัตนาภรณ์ เปน็ ต้น ไดร้ บั พระราชทานจากสมเดจ็ พระเทพ- รัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี เม่ือ พระราชลญั จกรประจ�ำ พระองคแ์ ตล่ ะรชั กาลมรี ปู สญั ลกั ษณ์ พ.ศ. 2528 เพ่ือเปน็ ทเ่ี คารพรักสักการะ ตา่ งๆ กันไป ในรชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั รัชกาลที่ ของชาวสวนสนุ นั ทาท้ังมวลตัง้ อยบู่ รเิ วณ 1-4 เทา่ ท่หี ลกั ฐานปรากฏพบวา่ ในเงนิ พดดว้ งมีรปู จักรดวงหน่งึ ดา้ นตรงข้ามอาคารหอประชุมสุนันทา และพระราชสญั ลกั ษณ์ประจ�ำ รชั กาลอีกดวงหนงึ่ พระราช นสุ รณ์ สญั ลกั ษณป์ ระจำ�รัชกาลท่ี 1 เปน็ รปู ปทมุ อณุ าโลม รัชกาลท่ี 2 เปน็ รปู ครฑุ ยุคนาค รัชกาลท่ี 3 เป็นรปู ปราสาท รชั กาลท่ี 4 อาคารสายสทุ ธานพดล เปน็ รปู พระมหามงกุฎ โดยทีร่ ูปจกั รจะไม่เปล่ยี นไปตามรัชกาล หรือตึก 27 ซ่งึ เป็นอาคารที่ เนอ่ื งจากเป็นพระราชสญั ลกั ษณ์ส�ำ หรับพระบรมราชวงศ์ ซึ่ง งดงามทรงคุณคา่ ทางสถาปตั ยกรรม ปกครองรฐั สมี ามณฑลอยู่ นอกจากนั้นพบหลกั ฐานปรากฏรปู และประวตั ิศาสตรเ์ ดิมเป็นทป่ี ระทบั ของ พระราชสญั ลกั ษณท์ ใ่ี บปกคมั ภีร์ พระไตรปิฎกฉบบั หลวง ซ่ึง สมเดจ็ พระวมิ าดาเธอกรมพระสทุ ธาสนิ -ี โปรดเกล้าฯ ให้สรา้ งขึน้ ในแต่ละรัชสมยั ดังทกี่ ล่าวมาแลว้ นาฏปยิ มหาราชปดิวรัดาพระอคั รชายา ในรชั กาลที่ 5 ผทู้ รงท�ำ ให้สวนสุนนั ทา ครนั้ ในรัชสมยั พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจ้าอย่หู ัวได้ เป็นศนู ย์รวมของราชสำ�นักฝ่ายในยคุ ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ ให้ตงั้ โรงกษาปณส์ ทิ ธิการข้ึน เพ่อื สุดทา้ ย เปน็ ศนู ยก์ ลางของวฒั นธรรม ผลิตเงินบาทแทนเงนิ พดดว้ ง ตราทใ่ี ช้เงินเหรยี ญนั้น ด้านหนึ่ง ประเพณไี ทยและเป็นสถาบนั การศกึ ษา ของเหรยี ญยังคงเปน็ รปู จักรโดยเตมิ รปู พระมหามงกฎุ มเี คร่ืองสูง อนั มีชื่อเป็นที่เลื่องลอื เป็นสถานทีเ่ กบ็ ตง้ั ขนาบทง้ั สองขา้ ง ตอ่ มาไดท้ รงพระกรณุ าใหส้ รา้ งพระราชลญั จกร รวบรวมและแสดงงานศลิ ปะและวฒั น- ประจำ�พระองคเ์ พ่อื ประทับในต้นเอกสารส�ำ คัญส่วนพระองคท์ ไ่ี ม่ ธรรม สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ เกย่ี วด้วยราชการแผ่นดนิ และเป็นธรรมเนียมปฏบิ ัตติ ลอดมา สยามบรมราชกุมารี เสดจ็ มาทรงทำ�พธิ ี เมือ่ มีการผลัดเปลี่ยนแผน่ ดินกจ็ ะทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ให้ เปดิ ศนู ยศ์ ิลปวัฒนธรรม เมอ่ื วนั ที่ 4 สรา้ งพระราชลัญจกรประจำ�พระองค์ มกราคม พ.ศ. 2533 7 คูม่ อื นกั ศกึ ษา 2 5 6 2 2019 STUDENT HANDBOOK

wมหwาวwทิ ย.าลsัยsราชrภuฏั ส. วaนสcนุ นั. ทt าh พระราชลญั จกรประจ�ำ พระองคร์ ชั กาลท่ี 9 เขม็ เครอื่ งหมายและตราประจ�ำ มหาวทิ ยาลัย พระราชลญั จกรประจ�ำ พระองค์รชั กาลที่ 9 เป็นรูปพระทน่ี ง่ั ราชภัฏสวนสุนันทา อัฐทิศ ประกอบด้วย วงจักร กลางวงจักรมีอักขระเป็น อุ หรอื เลข 9 รอบวงจักรมรี ศั มเี ปลง่ ออกโดยรอบ เหนือจกั รเป็นรูปเศวตฉตั รเจ็ดชัน้ 2480-2508 2509-2537 2538-2547 2548-ปจั จบุ ัน ฉตั รต้ังอยู่บนพระท่นี ัง่ อฐั ทิศ แปลความหมายวา่ ทรงมีพระบรมเดชา- นภุ าพในแผน่ ดนิ โดยท่ีวันบรมราชาภิเษกตามโบราณราชประเพณีได้ ไดม้ ีการเปลยี่ นแปลงและพฒั นาตามลำ�ดับอกั ษรภายใต้มงกฎุ เสด็จประทับเหนือพระทน่ี ่งั อัฐทศิ สมาชกิ รฐั สภาถวายน้�ำ อภเิ ษกจาก พระมหากฐนิ ซึง่ เปน็ พระนามย่อของสมเด็จพระนางเจา้ สุนนั ทากมุ ารี- ทศิ ทั้งแปด นับเปน็ คร้ังแรกในประวัตศิ าสตรท์ พ่ี ระมหากษัตริย์ ใน รตั น์พระบรมราชเทวไี ด้รับพระบรมราชานุญาตจากพระบาทสมเดจ็ ระบอบประชาธิปไตยทรงรับนำ�้ อภิเษกจากสมาชิกรฐั สภาแทนท่จี ะทรง พระเจ้าอยู่หัวภมู พิ ลอดยุ เดชมหาราช เม่อื พ.ศ. 2515 ใหใ้ ชแ้ ทน รับจากราชบัณฑติ ดงั ในรชั กาลก่อน ของเดิม ซง่ึ เป็นรูปเทพธดิ าประนมมือ ยนื บนกอ้ นเมฆ ตอ่ มาพระบาท สมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ วั ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระราช- พระราชลญั จกรประจ�ำ พระองค์ ลญั จกรประจำ�พระองค์ เปน็ ตราสัญลักษณป์ ระจ�ำ สถาบันราชภัฏ เม่อื สขี องสญั ลกั ษณ์ วันท่ี 6 มีนาคม 2528 นบั เป็นพระมหากรณุ าธิคุณลน้ เกล้าฯ แก่ชาว สีนำ�้ เงิน แทนค่า สถาบันพระมหากษตั ริย์ผใู้ ห้ก�ำ เนิดและ สถาบนั ราชภัฏอยา่ งหาทีส่ ุดมไิ ด้ พระราชทานนาม “สถาบันราชภัฏ” ดอกไม้ประจ�ำ มหาวิทยาลัย สเี ขียว แทนค่า แหลง่ ที่ต้ังของสถาบนั ฯ 40 แห่ง ในแหลง่ ดอกไมส้ ัญลกั ษณ์ประจำ� ธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ มที่สวยงาม มหาวิทยาลัย คอื “ดอกแก้ว เจ้าจอม” ตน้ แกว้ เจ้าจอม สที อง แทนคา่ ความเจรญิ รงุ่ เรืองทางภมู ปิ ัญญา เปน็ ไม้ดอกซ่งึ พระบาทสมเดจ็ สสี ม้ แทนค่า ความรุ่งเรืองของศิลปวัฒนธรรมท้องถ่ิน พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั น�ำ มาปลกู ท่ีก้าวไกลใน 41 สถาบนั ในบรเิ วณสวนสนุ นั ทาได้พนั ธุ์มาเมื่อคราวเสดจ็ ฯ สีขาว แทนค่า ความคิดอันบรสิ ทุ ธิข์ องนกั ปราชญ์แหง่ ประพาสประเทศชวา (อินโดนีเซีย) ลักษณะดอกเหมือนดอกแกว้ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั แตก่ ลีบดอกเปน็ สมี ่วงน�้ำ เงิน เกสรสีเหลืองใบเหมอื นใบแก้ว แต่ กลมตดิ กนั และป้อมกว่า ตน้ แรกปลูกไว้บนเนนิ ดินหน้าอาคาร 11 สปี ระจ�ำ มหาวิทยาลยั ปจั จุบนั ขนาดตน้ สูงประมาณ 15 เมตร สปี ระจ�ำ มหาวทิ ยาลยั คือ สนี ้�ำ เงนิ และสีชมพู สีนำ�้ เงนิ หมายถงึ สีประจ�ำ องค์พระมหากษัตรยิ ์ สีชมพู หมายถงึ สปี ระจ�ำ วนั พระราชสมภพของพระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจา้ อยหู่ วั บณั ฑติคณุ ลกั ษณะ...ทพี่ ึงประสงค์ ดา้ นความรแู้ ละวิชาการทางวชิ าชพี (ปญั ญา) 1. การสรา้ งความรู้และวชิ าชีพ ด้านคณุ ธรรมและจริยธรรม 2. การใช้ขอ้ มูลและสารสนเทศ 1. ความซ่ือสัตย์สุจริต และประหยดั 3. การคดิ วเิ คราะห์ 2. ความเสยี สละ อุทิศตนและการทำ�งานเพือ่ ส่วนรวม 4. การคดิ วจิ ารณญาณ 3. ความยุตธิ รรม 5. การสังเคราะห์ข้อมลู และสารสนเทศ 4. ความรบั ผดิ ชอบและตรงตอ่ เวลา 5. ความขยัน อดทน และหมน่ั เพียร ดา้ นทกั ษะส่วนบคุ คล 1. การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ 2. การส่อื สารและภาษา 3. การใชต้ ัวเลขและจำ�นวน 4. การวางแผนและจดั การ 5. การมีความอสิ ระและเปน็ ตัวของตวั เอง 6. การท�ำ งานเปน็ ทมี 8 คมู่ อื นักศึกษา 2 5 6 2 2019 STUDENT HANDBOOK

เกีย่ วกับสวนสนุ ันทา ABOUT SUAN SUNANDHA 1มหาวทิ ยาลัยราชภฏั จดั อันดบั คณุ ภาพมหาวิทยาลัยท่ีสงู ข้นึ และ อันดับ สามารถก้าวขึ้นมาเปน็ มหาวิทยาลยั ราชภฏั มหาวิทยาลยั ราชภัฏสวนสนุ นั ทา ไดน้ ำ� 1 ของประเทศไท ย อนั ดบั 1 ของประเทศได้ ภายในระยะเวลา แนวคดิ ของส�ำ นักงานคณะกรรมการการอดุ ม- เพียง 2 ปี และสามารถรักษาตำ�แหนง่ ราชภฏั ศึกษา มาเป็นแนวทางในการพัฒนามหา- ของบคุ ลากรใหเ้ ข้ากบั เกณฑไ์ ด้ง่ายและใน อันดบั 1 ของประเทศไดถ้ งึ 3 สมยั วิทยาลัย โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ฤๅเดช เกณฑ์การจดั อนั ดบั บางขอ้ ก็สอดคล้องกบั เกดิ วิชยั อธกิ ารบดี ได้นำ�แนวทางการจดั สิ่งทม่ี หาวทิ ยาลยั มอี ยแู่ ล้ว จงึ ทำ�ใหก้ ารพฒั นา หลังจากท่ปี ระสบความสำ�เรจ็ กับการจดั อนั ดับมหาวทิ ยาลัยท่เี ป็นทยี่ อมรับในระดับ มหาวทิ ยาลยั ในระยะแรกเปน็ ไปอยา่ งราบรื่น อันดบั มหาวิทยาลยั ของ Webometrics สากลเข้ามาเปน็ สว่ นหนง่ึ ในการก�ำ หนดทศิ ทาง เปน็ ระบบ มีการพฒั นาอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ทง้ั ใน แล้ว มหาวทิ ยาลัยราชภัฏสวนสุนันทายังคง การพัฒนามหาวทิ ยาลยั ซ่งึ ไดก้ ำ�หนดเปน็ ดา้ นการเรียนการสอน การใหบ้ ริการแก่ มงุ่ มนั่ พัฒนาต่อไป ด้วยการยกระดบั มหา- แผนการพฒั นาไว้ 15 ปี นักศึกษา รวมถึงด้านการวิจัย และไม่สง่ ผล วทิ ยาลยั เขา้ ส่กู ารจดั อนั ดับของ QS World กระทบกบั การทำ�งานของบคุ ลากร ซ่งึ ผลท่ไี ด้ University Rankings แต่การกา้ วเขา้ สู่ ในระยะแรก (ปี 2556-2559) ได้น�ำ จากการด�ำ เนนิ งานตามแผนทก่ี �ำ หนดไว้ สง่ ผล QS นบั ว่าเป็นส่งิ ที่ท้าทายมากสำ�หรับมหา- การจดั อนั ดบั มหาวทิ ยาลยั ของ Webometrics ให้มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สวนสนุ ันทามผี ลการ วิทยาลยั ราชภัฏ ซงึ่ เกณฑข์ อง QS แตกตา่ ง มาก�ำ หนดทศิ ทางการพัฒนามหาวทิ ยาลยั กบั Webometrics มากอยพู่ อสมควร ท�ำ ให้ ดว้ ยเหตุผลทวี่ า่ เกณฑข์ อง Webometrics ต้องมกี ารปรับเปลีย่ นการดำ�เนินงานและ มีบริบทท่ีใกลเ้ คยี งกบั การดำ�เนนิ งานของ การเตรียมความพรอ้ มมากขน้ึ และเพือ่ ให้ มหาวิทยาลัยมากท่สี ุด สามารถปรับการท�ำ งาน มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวนสนุ นั ทา พร้อมทจ่ี ะ เขา้ สกู่ ารจัดอันดับของ QS ในปี 2560 จงึ ไดน้ �ำ QS Stars ซ่งึ เปน็ อกี รูปแบบหนง่ึ ของการจดั อนั ดบั ของ QS ท่เี ปน็ การพัฒนา ตนเองตามเกณฑ์ที่กำ�หนดและวัดออกมาเป็น ระดับของคณุ ภาพ ซ่งึ จ�ำ นวนดาวทม่ี หา- วทิ ยาลยั ได้ กจ็ ะบอกถงึ คณุ ภาพ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวนสนุ นั ทามงุ่ มน่ั ทจี่ ะเปน็ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอนั ดับ 1 และเปน็ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั แหง่ แรก ทเ่ี ขา้ สกู่ ารจดั อนั ดบั ของ QS World University Rankings ในปี 2560 9 คู่มอื นกั ศึกษา 2 5 6 2 2019 STUDENT HANDBOOK

wมหwาวwิทย.าลsยั sราชrภuฏั ส. วaนสcุนนั. ทt าh สวนสนุ ันทา 2030 กา้ วสู่... “มหาวิทยาลัย เอตทัคคะนานาชาติ” 2564 2563 2562 2560-2564 2561 (Sมmหaาวrtทิ Aยrาcลhัยeแtมy่แpบeบUทด่ีniขีvอerงsสitงัyคoมf the Society) 2560 พันธกจิ 1. ผลติ บัณฑิตท่มี ีคณุ ภาพระดบั แนวหนา้ 2. ให้บริการวชิ าการและถา่ ยทอดเทคโนโลยแี กช่ มุ ชนและสงั คม นานาชาติ 3. อนรุ กั ษ์ พฒั นาใหบ้ รกิ ารเปน็ ศนู ยก์ ลางทางดา้ นศลิ ปวฒั นธรรม 4. วิจัย สรา้ งนวตั กรรมและองคค์ วามรู้ 5. สร้างเครือขา่ ยกับมหาวิทยาลัยชนั้ นำ�ในอาเซยี น 6. เปน็ มหาวิทยาลัยทมี่ ีความคลอ่ งตวั ในการบริหารจดั การ ยุทธศาสตร์ 1. พฒั นามหาวิทยาลัยใหเ้ ป็นเอตทคั คะอยา่ งยัง่ ยืน 2. สร้างผลงานวิชาการ ตพี มิ พ์ เผยแพร่ และสิทธทิ างปัญญา 3. สร้างความสัมพันธ์และเชื่อมโยงเครือขา่ ย 4. ขยายการยกยอ่ งระดับนานาชาติ คา่ นิยมหลัก 1. ปญั ญาและความคิดสร้างสรรค์ (Wisdom & Creativity) 2. ความผาสกุ และความภักดใี นองคก์ ร (Happiness & Loyalty) 3. บรู ณาการ และความรว่ มมอื (Integration & Collaboration) 4. ความเปน็ มืออาชพี (Professionalism) 10 คู่มือนกั ศึกษา 2 5 6 2 2019 STUDENT HANDBOOK

เกี่ยวกับสวนสุนันทา ABOUT SUAN SUNANDHA สวนสุนนั ทา 2030 สวนสุนันทา 2030 ก้าวส่.ู .. “มหาวทิ ยาลัย ก้าวส.ู่ .. “มหาวทิ ยาลยั เอตทัคคะนานาชาต”ิ เอตทัคคะนานาชาต”ิ 2569 2574 2568 2573 2567 2565-2569 2572 2570-2574 2566 มหาวทิ ยา(ลNยั icเอheตทGคั uคrะuที่มUอี nัตivลeักrsษitณy)์ 2571 มห(IาnวtทิerยnาaลtัยioเnอaตlทNัคiคchะนeานGาชuาrตuิ 2565 2570 University) พันธกิจ พันธกจิ 1. ผลติ บณั ฑิตทมี่ ีคุณภาพระดบั แนวหน้า 1. ผลติ บณั ฑิตทีม่ คี ุณภาพระดับแนวหนา้ 2. ให้บรกิ ารวชิ าการและถ่ายทอดเทคโนโลยีแก่ชุมชนและสังคม 2. ให้บรกิ ารวิชาการและถา่ ยทอดเทคโนโลยแี กช่ มุ ชนและสังคม นานาชาติ นานาชาติ 3. อนรุ กั ษ์ พฒั นาใหบ้ รกิ ารเปน็ ศนู ยก์ ลางทางดา้ นศลิ ปวฒั นธรรม 3. อนรุ กั ษ์ พฒั นาใหบ้ รกิ ารเปน็ ศนู ยก์ ลางทางดา้ นศลิ ปวฒั นธรรม 4. วจิ ยั สร้างนวตั กรรมและองค์ความรู้ 4. วิจยั สร้างนวัตกรรมและองค์ความรู้ 5. สร้างเครอื ข่ายกบั มหาวทิ ยาลยั ช้ันนำ�ในเอเชีย 5. สร้างเครือขา่ ยกบั มหาวทิ ยาลัยชนั้ นำ�ในระดบั นานาชาติ 6. เปน็ มหาวิทยาลยั ทม่ี ีความเปน็ เลิศในการบริหารจดั การ 6. สร้างนวตั กรรมการศึกษาท่นี �ำ สมัย ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ 1. พัฒนามหาวิทยาลยั ให้เปน็ เอตทคั คะอยา่ งย่ังยืน 1. พฒั นามหาวทิ ยาลยั ใหเ้ ปน็ เอตทัคคะอยา่ งยง่ั ยืน 2. สร้างผลงานวชิ าการ ตพี มิ พ์ เผยแพร่ และสทิ ธทิ างปญั ญา 2. สร้างผลงานวิชาการ ตีพิมพ์ เผยแพร่ และสทิ ธิทางปญั ญา 3. สร้างความสมั พันธแ์ ละเช่อื มโยงเครอื ขา่ ย 3. สรา้ งความสัมพนั ธแ์ ละเช่ือมโยงเครือข่าย 4. ขยายการยกยอ่ งระดบั นานาชาติ 4. ขยายการยกย่องระดับนานาชาติ คา่ นิยมหลกั ค่านิยมหลกั 1. ปญั ญาและความคิดสร้างสรรค์ 1. ปัญญาและความคดิ สรา้ งสรรค์ (Wisdom & Creativity) (Wisdom & Creativity) 2. ความผาสุกและความภกั ดใี นองคก์ ร 2. ความผาสุกและความภกั ดีในองค์กร (Happiness & Loyalty) (Happiness & Loyalty) 3. บูรณาการ และความรว่ มมอื 3. บรู ณาการ และความรว่ มมือ (Integration & Collaboration) (Integration & Collaboration) 4. ความเปน็ มืออาชพี 4. ความเป็นมืออาชพี (Professionalism) (Professionalism) 11 ค่มู ือนักศึกษา 2 5 6 2 2019 STUDENT HANDBOOK

โครงสร้างองค์กร ORGRANIZATION CHART ผบู้ ทรำ�เนิหียบ าร มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสนุ ันทา รศ.ดร.ฤาเดช เกิดวิชยั รศ.ดร.ชตุ กิ าญจน์ ศรีวิบลู ย์ ผศ.ดร.สมเดช รุ่งศรีสวสั ด์ิ อธิการบดี รองอธกิ ารบดีฝา่ ยบริหาร รองอธกิ ารบดฝี า่ ยวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสนุ นั ทา ผศ.ดร.ชนนาถ มนี ะนนั ท์ รศ.ดร.ธนสุวทิ ย์ ทับหริ ัญรกั ษ์ รศ.ดร.วทิ ยา เมฆขำ� รองอธกิ ารบดฝี า่ ยกจิ การนักศกึ ษา รองอธิการบดฝี า่ ยวิจัยและพฒั นา รองอธิการบดฝี า่ ยแผนงาน และประกนั คุณภาพ 12 คู่มือนกั ศกึ ษา 2 5 6 2 2019 STUDENT HANDBOOK

โครงสร้างองค์กร O R G R A N I Z A T I O N C H A R T OZCRAHGTARI ROA TNN I คณะกรรมการ สภามหาวทิ ยาลัย 1. นายกร ทพั พะรงั ส ี นายกสภามหาวทิ ยาลยั 2. ดร.เอนก เพม่ิ วงศเ์ สนยี ์ อุปนายกสภามหาวิทยาลัย 3. นายวัชรกิติ วัชโรทยั กรรมการผ้ทู รงคณุ วฒุ ิ 4. นายประทปี เฉลมิ ภัทรกุล กรรมการผทู้ รงคณุ วุฒิ 5. นายแพทย์มาโนชญ์ ลโี ทชวลิต กรรมการผทู้ รงคณุ วุฒิ 6. ดร.กมล รอดคลา้ ย กรรมการผทู้ รงคณุ วฒุ ิ 7. ดร.สมบัติ คุรุพนั ธ ์ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ 8. ศาสตราจารย์ ดร.วรเดช จนั ทรศร กรรมการผูท้ รงคุณวฒุ ิ 9. ดร.ชูชีพ เอื้อการณ์ กรรมการผู้ทรงคณุ วฒุ ิ 10. ดร.อาภา อรรถบรู ณ์วงศ ์ กรรมการผทู้ รงคณุ วุฒิ 11. นางนฤมล ศิริวฒั น ์ กรรมการผู้ทรงคณุ วุฒิ 12. นายวิโรจน์ กจิ กุลอนันตเอก กรรมการผ้ทู รงคณุ วฒุ ิ 13. นายสมชาย อศั วเศรณ ี ประธาน กก.สง่ เสริมกจิ การมหาวทิ ยาลยั 14. รศ.ดร.ฤๅเดช เกิดวิชัย อธกิ ารบดี 15. ผศ.วรี ะ โชติธรรมาภรณ ์ ประธานสภาคณาจารย์ 16. รศ.ดร.ชตุ ิกาญจน์ ศรีวิบลู ย ์ ผแู้ ทนผูด้ �ำ รงตำ�แหน่งบริหาร 17. ผศ.ดร.นพิ นธ์ ศศธิ รเสาวภา ผแู้ ทนผูด้ �ำ รงต�ำ แหน่งบริหาร 18. ผศ.ดร.คมสนั โสมณวัตร ผ้แู ทนผ้ดู �ำ รงตำ�แหน่งบรหิ าร 19. ผศ.ดร.สวุ รีย์ ยอดฉมิ ผู้แทนผู้ด�ำ รงตำ�แหนง่ บรหิ าร 20. ผศ.ศรสี วุ รรณ เกษมสวัสดิ ์ ผแู้ ทนจากคณาจารย์ประจำ� 21. ผศ.ดร.วชิ าญ เลิศลพ ผแู้ ทนจากคณาจารยป์ ระจ�ำ 22. อาจารย์นยิ ม สุวรรณเดช ผแู้ ทนจากคณาจารย์ประจำ� 23. อาจารย์สกลุ จริยาแจ่มสทิ ธิ ์ ผแู้ ทนจากคณาจารย์ประจ�ำ 24. รศ.ดร.วิทยา เมฆข�ำ เลขานุการสภามหาวทิ ยาลัย 25. รศ.บรรพต พรประเสรฐิ ผู้ชว่ ยเลขานกุ ารสภามหาวิทยาลัย 26. ผศ.ดร.ศิรลิ กั ษณ์ เกตุฉาย ผชู้ ว่ ยเลขานุการสภามหาวิทยาลยั 27. นางสาววรรณวิภา บำ�รงุ พงศ์ ผ้ชู ว่ ยเลขานกุ ารสภามหาวทิ ยาลยั 13 คู่มอื นกั ศึกษา 2 5 6 2 2019 STUDENT HANDBOOK

wมหwาวwิทย.าลsยั sราชrภuฏั ส. วaนสcนุ ัน. ทt าh คณะกรรมการ สภาวิชาการ 1. รศ.ดร.ฤๅเดช เกิดวิชัย ประธานกรรมการ/อธิการบดี 2. ศ.ดร.สมบรู ณ์ สุขสำ�ราญ กรรมการ/ผู้ทรงคุณวุฒิ 3. ศ.ดร.บญุ ทัน ดอกไธสง กรรมการ/ผู้ทรงคุณวุฒิ 4. ศ.(เกยี รตคิ ุณ) ดร.อนนั ต์ รศั ม ี กรรมการ/ผทู้ รงคุณวุฒิ 5. ศ.กิตตคิ ุณ ดร.อจั ฉรา จนั ทร์ฉาย กรรมการ/ผู้ทรงคุณวุฒิ 6. ศ.ดร.รศั มดี ารา หุน่ สวสั ด์ิ กรรมการ/ผทู้ รงคณุ วุฒิ 7. ดร.อ�ำ นาจ สุนทรธรรม กรรมการ/ผูท้ รงคณุ วุฒิ 8. รศ.ดร.พรี ศักด์ิ วรสนุ ทโรสถ กรรมการ/ผทู้ รงคณุ วุฒิ 9. ศ.เอกชาติ จนั อุไรรตั น ์ กรรมการ/ผทู้ รงคุณวุฒิ 10. ดร.สมโภชน์ นพคณุ กรรมการ/ผทู้ รงคณุ วุฒิ 11. รศ.ดร.ชัยสทิ ธิ์ ด่านกติ ติกุล กรรมการ/ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ 12. รศ.ดร.วรางคณา จันทร์คง กรรมการ/ผทู้ รงคุณวฒุ ิ 13. ศ.ดร.ภูมิฐาน รงั คกูลนวุ ัฒน์ กรรมการ/ผทู้ รงคุณวฒุ ิ 14. ผศ.ดร.ศิริพงศ์ พฤทธพิ ันธุ์ กรรมการ/ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ 15. รศ.ดร.สุกญั ญา บรู ณเดชาชยั กรรมการ/ผทู้ รงคณุ วุฒิ 16. รศ.ดร.นันทยิ า น้อยจนั ทร ์ กรรมการ/ผู้แทนคณะครศุ าสตร์ 17. ผศ.ดร.อาณตั ิ ต๊ะปินตา กรรมการ/ผู้แทนคณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 18. อาจารย์ ดร.กฤษณะ เชื้อชัยนาท กรรมการ/ผแู้ ทนคณะวิทยาการจดั การ 19. ผศ.ดร.สกุ ญั ญา ศรโี พธิ ์ กรรมการ/ผแู้ ทนคณะมนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 20. ผศ.วรี ะ โชติธรรมาภรณ์ กรรมการ/ผแู้ ทนคณะเทคโนโลยอี ุตสาหกรรม 21. ผศ.ดร.ชุตมิ า มณีวัฒนา กรรมการ/ผแู้ ทนคณะศิลปกรรมศาสตร์ 22. ผศ.ดร.ดวงสมร รงุ่ สวรรคโ์ พธ ิ์ กรรมการ/ผแู้ ทนบัณฑติ วทิ ยาลัย 23. ผศ.ดร.กรองทอง ไครริ ี กรรมการ/ผแู้ ทนวทิ ยาลัยนานาชาติ 24. ผศ.ดร.พรพรรณ วรสหี ะ กรรมการ/ผูแ้ ทนวิทยาลยั พยาบาลและสุขภาพ 25. ผศ.ดร.บณั ฑติ ผงั นริ ันดร ์ กรรมการ/ผแู้ ทนวทิ ยาลัยนวตั กรรมและการจัดการ 26. อาจารย์พสิ ณฑ์ สุวรรณภักดี กรรมการ/ผู้แทนวิทยาลยั การภาพยนตร์ฯ 27. รศ.ดร.นพ.ธวัชชยั กมลธรรม กรรมการ/ผูแ้ ทนวทิ ยาลยั สหเวชศาสตร์ 28. ผศ.ดร.คมสัน โสมณวตั ร กรรมการ/ผแู้ ทนวิทยาลัยโลจิสติกสฯ์ 29. ผศ.ดร.สมบูรณ์ เวสน ์ กรรมการ/ผแู้ ทนวิทยาลัยสถาปัตยกรรมศาสตร์ 30. ผศ.ดร.สมเดช รุ่งศรสี วสั ดิ ์ กรรมการและเลขานกุ าร/รองอธกิ ารบดฝี า่ ยวชิ าการ 31. ผศ.ดร.สิทธิชัย ธรรมเสนห่ ์ ผชู้ ว่ ยเลขานุการ/ผู้ชว่ ยอธกิ ารบดีฝา่ ยวชิ าการ 32. นางสาวสุวรรณา งามวิทย์โรจน์ ผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร/ผู้อ�ำ นวยการกองบรกิ ารการศกึ ษา 33. นางวรี าวลั ย์ จนั ทรป์ ลา ผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร/หัวหนา้ งานทะเบยี นและประมวลผล 14 ค่มู อื นกั ศึกษา 2 5 6 2 2019 STUDENT HANDBOOK

โครงสร้างองคก์ ร O R G R A N I Z A T I O N C H A R T คณะกรรมการ สง่ เสรมิ กิจการมหาวทิ ยาลยั 1. นายสมชาย อัศวเศรณ ี ประธาน 2. พระธรรมกติ ติเมธี (เกษม) กรรมการ 3. ดร.ปลมื้ ใจ สินอากร กรรมการ 4. นายทวี โพยประโคน กรรมการ 5. ร.ท.ดร.ปรีดา หวานใจ กรรมการ 6. นางยุรพร อนเุ คราะหก์ ุล กรรมการ 7. นายศกั ด์ิรพี วดศี ิรศิ ักด ิ์ กรรมการ 8. นายธรรณม์ชยั รุง่ จิรโรจน ์ กรรมการ 9. ดร.เพชรยุพา บูรณส์ ิรจิ รงุ รฐั กรรมการ 10. ดร.ไมตรี สุนทรวรรณ กรรมการ 11. นางสาวมลั ลิกา แสนภกั ด ี กรรมการ 12. นางสาวรตั น์มณี กงั วาลไกล กรรมการ 13. นางรพีพร แสนวงษา กรรมการ 14. นางสาวสริ ินญา คำ�ตัน นายกองคก์ ารนกั ศึกษา 15. นายปฎิภาน พยหุ กฤษ ประธานสภานักศกึ ษา 16. ผศ.ดร.ชนนาถ มีนะนันทน ์ เลขานกุ าร 17. ผศ.สิรอิ ร จ�ำ ปาทอง ผชู้ ่วยเลขานกุ าร 18. นางพรพิศ ประดิษฐพ์ งษ์ ผชู้ ่วยเลขานกุ าร 19. นายอภศิ กั ด์ิ ธนเศรษฐกร ทป่ี รกึ ษา 20. ดร.วฑิ ูรย์ สมิ ะโชคด ี ท่ปี รกึ ษา 21. นางชไมมาศ ชาตเิ มธากลุ ที่ปรึกษา 22. นางสาวภทั รฐ์ ติ า ทมุ เกดิ ที่ปรกึ ษา 23. นายสมชาย รังษีธนานนท ์ ที่ปรกึ ษา 24. นายเทพรักษ์ เหลืองสวุ รรณ ทป่ี รกึ ษา 25. ดร.พันนภา รักสนิท ที่ปรกึ ษา 26. นางสาวนวลหง อภิธนาคุณ ที่ปรกึ ษา 27. นายสรุ สิทธิ์ วงศ์วทิ ยานนั ท์ ท่ีปรึกษา 28. คณุ ทพิ ยว์ รรณ จกั รเพช็ ร ที่ปรึกษา 29. พลเอกประยทุ ธ เมฆวิชยั ทป่ี รึกษา 15 คมู่ ือนักศึกษา 2 5 6 2 2019 STUDENT HANDBOOK

wมหwาวwิทย.าลsยั sราชrภuัฏส. วaนสcนุ นั. ทt าh คณะกรรมการ สภาคณาจารย์และขา้ ราชการ 1. ผศ.วรี ะ โชตธิ รรมาภรณ ์ ประธานสภาคณาจารย์ฯ 2. ผศ.ศรสี วุ รรณ เกษมสวัสด์ ิ รองประธานสภาคณาจารย์ฯ คนที่ 1 3. อาจารย์สกลุ จริยาแจ่มสทิ ธิ์ รองประธานสภาคณาจารย์ฯ คนที่ 2 4. อาจารย์จนั ทนา แจง้ เจนเวทย ์ กรรมการสภาคณาจารย์ฯ 5. ผศ.จารวุ รรณ ฉัตรทอง กรรมการสภาคณาจารยฯ์ 6. ผศ.สิริมณี บรรจง กรรมการสภาคณาจารยฯ์ 7. ผศ.ดร.ญาณญั ฎา ศริ ภัทรธ์ าดา กรรมการสภาคณาจารย์ฯ 8. ผศ.ดร.วชิ าญ เลิศลพ กรรมการสภาคณาจารย์ฯ 9. ผศ.นภดล สังวาลเพช็ ร กรรมการสภาคณาจารย์ฯ 10. พ.ต.อ.ดร.นพดล บุรณนัฏ กรรมการสภาคณาจารย์ฯ 11. อาจารย์นลนิ สมี ะเสถยี รโสภณ กรรมการสภาคณาจารยฯ์ 12. อาจารยบ์ ัว ศรคี ช กรรมการสภาคณาจารยฯ์ 13. อาจารย์ภาวิณี โสระเวช กรรมการสภาคณาจารย์ฯ 14. อาจารย์ภาณุพงศ์ จันทนผ์ ลนิ กรรมการสภาคณาจารยฯ์ 15. อาจารย์ ดร.วรรณวมิ ล เมฆวิมล กิง่ แกว้ กรรมการสภาคณาจารย์ฯ 16. อาจารยส์ วลักษณ์ เชื้อสุวรรณ ์ กรรมการสภาคณาจารยฯ์ 17. อาจารย์เอกพจน์ ธนะสริ ิ กรรมการสภาคณาจารยฯ์ 18. อาจารยอ์ ญั ชลี หริ ญั แพทย ์ กรรมการสภาคณาจารยฯ์ 19. อาจารยอ์ เสข ขนั ธวชิ ยั กรรมการสภาคณาจารยฯ์ 20. อาจารยอ์ รรณพ ปานพวง กรรมการสภาคณาจารย์ฯ 21. นายรวีวรเสฏฐ์ สืบนกุ ารณ ์ กรรมการสภาคณาจารย์ฯ 22. นายนัฐพล สารตั น์ กรรมการสภาคณาจารยฯ์ 23. นางสาวเนตรดาว อยูย่ ง กรรมการสภาคณาจารย์ฯ 24. นางสาวอรวรรณ สุขมา กรรมการสภาคณาจารย์ฯ 25. นางสาวองั ศมุ าลิน นพพรพกิ ลุ สกลุ กรรมการสภาคณาจารย์ฯ 26. นายศวิ พงษ์ อ้อพงษ ์ กรรมการสภาคณาจารย์ฯ 27. ผศ.ลดั ดา หริ ญั ยวา กรรมการและเลขานกุ ารสภาคณาจารยฯ์ 28. นางสาวขนษิ ฐา พลบั แกว้ ผู้ชว่ ยเลขานกุ าร 29. นางสาวนพรัตน์ หมัดละ ผู้ชว่ ยเลขานกุ าร 16 ค่มู อื นักศึกษา 2 5 6 2 2019 STUDENT HANDBOOK

โครงสรา้ งองคก์ ร O R G R A N I Z A T I O N C H A R T คณะกรรมการ บรหิ ารมหาวทิ ยาลัย (ก.บ.ม.) 1. รศ.ดร.ฤๅเดช เกดิ วิชัย อธกิ ารบดี 2. รศ.ดร.ชตุ กิ าญจน์ ศรีวบิ ลู ย ์ รองอธิการบดฝี า่ ยบรหิ าร 3. ผศ.ดร.สมเดช รุ่งศรีสวัสด์ิ รองอธิการบดีฝ่ายวชิ าการ 4. รศ.ดร.วทิ ยา เมฆขำ� รองอธิการบดีฝา่ ยแผนงานและประกนั คุณภาพ 5. รศ.ดร.ธนสุวิทย์ ทับหริ ัญรกั ษ ์ รองอธิการบดีฝา่ ยวจิ ยั และพัฒนา 6. ผศ.ดร.ชนนาถ มีนะนันทน์ รองอธิการบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา 7. ผศ.ดร.สทิ ธิชัย ธรรมเสนห่ ์ ผู้ชว่ ยอธิการบดฝี า่ ยวชิ าการ 8. อาจารย์นภาศรี สวุ รรณโชต ิ ผู้ชว่ ยอธกิ ารบดฝี า่ ยวเิ ทศสัมพนั ธ์ 9. ผศ.สิริอร จำ�ปาทอง ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายกจิ การนกั ศึกษา 10. อาจารยด์ วงพร แสงทอง ผชู้ ่วยอธกิ ารบดีฝ่ายทรพั ยส์ นิ และรายได้ 11. รศ.ดร.นันทยิ า นอ้ ยจนั ทร์ คณบดีคณะครุศาสตร์ 12. ผศ.ดร.อาณัติ ตะ๊ ปินตา คณบดคี ณะวทิ ยาศาสตร์ฯ 13. ผศ.ดร.ประทปี วจีทองรตั นา คณบดคี ณะวิทยาการจัดการ 14. ผศ.ดร.นิพนธ์ ศศิธรเสาวภา คณบดคี ณะมนษุ ยศาสตรฯ์ 15. ผศ.ดร.ชุติมา มณวี ฒั นา คณบดคี ณะศลิ ปกรรมศาสตร์ 16. ผศ.ดร.พลงั วงษธ์ นสุภรณ์ คณบดคี ณะเทคโนโลยอี ุตสาหกรรม 17. ผศ.ดร.พรพรรณ วรสีหะ คณบดวี ิทยาลัยพยาบาลฯ 18. ผศ.ดร.กรองทอง ไคริร ี คณบดีวทิ ยาลยั นานาชาติ 19. ผศ.ดร.บัณฑติ ผงั นริ นั ดร์ คณบดีวทิ ยาลัยนวตั กรรมฯ 20. รศ.ดร.นพ.ธวชั ชยั กมลธรรม คณบดวี ทิ ยาลยั สหเวชศาสตร์ 21. อาจารย์ ดร.นิรชราภา ทองธรรมชาต ิ คณบดวี ทิ ยาลยั การภาพยนตรฯ์ 22. ผศ.ดร.คมสัน โสมณวัตร คณบดีวิทยาลยั โลจสิ ตกิ สฯ์ 23. ผศ.ดร.สมบรู ณ์ เวสน์ คณบดวี ิทยาลัยสถาปตั ยกรรมศาสตร์ 24. ผศ.ดร.ดวงสมร รงุ่ สวรรคโ์ พธ ์ิ คณบดีบณั ฑติ วิทยาลยั 25. ผศ.ดร.ศิริลักษณ์ เกตฉุ าย ผู้อำ�นวยการสำ�นักวทิ ยบริการฯ 26. อาจารย์อนันตชัย เอกะ ผูอ้ ำ�นวยการส�ำ นกั ศิลปะและวฒั นธรรม 27. ผศ.ดร.สุวรยี ์ ยอดฉิม ผู้อำ�นวยการสถาบนั วิจยั และพัฒนา 28. ผศ.ดร.ปรีชา พงษเ์ พ็ง ผอู้ ำ�นวยการส�ำ นักวชิ าการศึกษาท่ัวไป (GE) 29. นายธวัชชยั ส่เู พอ่ื น ผู้อำ�นวยการสำ�นักทรัพย์สนิ และรายได้ 30. ผศ.ดร.กวนิ วงศ์ลีด ี ผอู้ ำ�นวยการสถาบันสร้างสรรค์ฯ (สสสร.) 31. รศ.ดร.สมเกียรติ กอบวั แก้ว ผู้อำ�นวยการโรงเรยี นสาธติ 32. ผศ.วีระ โชติธรรมาภรณ์ ประธานสภาคณาจารย์และขา้ ราชการ 33. นางพรพิศ ประดิษฐพงษ ์ ตวั แทนขา้ ราชการ 34. นายมนตรี ไทรโรจนร์ ุ่ง ตวั แทนบคุ ลากรที่มิใช่ขา้ ราชการ 35. ผศ.ดร.คมสนั โสมณวัตร รักษาการฯ ผอู้ �ำ นวยการศูนยก์ ารศกึ ษา จ.นครปฐม 36. ผศ.ดร.ภญ.พิมพร ทองเมือง ผอู้ ำ�นวยการศูนย์การศึกษา จ.สมุทรสงคราม 37. อาจารยศ์ ุภมติ ร ศรีสวัสด์ ิ ผูอ้ ำ�นวยการศูนยก์ ารศึกษา จ.อดุ รธานี 38. ผศ.ดร.สจุ ติ รา อ่รู ัตนมณ ี รกั ษาการฯ ผอู้ ำ�นวยการศูนย์แหง่ ความเปน็ เลิศฯ 39. ผศ.ดร.โกมล ไพศาล รกั ษาการฯ ผูอ้ �ำ นวยการส�ำ นักงานอธกิ ารบดี 40. นางอมรวดี กล่นิ จันทร ์ เจ้าหนา้ ท่ีบริหารงานทัว่ ไป ชำ�นาญการพเิ ศษ 17 คมู่ ือนกั ศกึ ษา 2 5 6 2 2019 STUDENT HANDBOOK

หลักสตู ร/สาขาวชิ า COURSE/BRANCH กกาารรจศัดึกษา ศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรี ภาคปกติ ตามนโยบาย มหาวทิ ยาลัยก�ำ หนด มีผลการเรียนเฉลีย่ การคดั เลือกบุคคลเขา้ ศกึ ษาในสถาบันอดุ ม- สะสมไมต่ ำ�่ กว่า 2.00 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสวนสุนันทาเป็น ศกึ ษาระบบการคดั เลอื กแบบใหม่ คอื TCAS สว่ นหนง่ึ ของสงั คมและระบบการศกึ ษาระดบั สงู (Thai University Central Admission 3. โควตาทนุ การศึกษา (ทุน ของประเทศ มภี ารกจิ ในการพัฒนาขีดความ System) โดยเรมิ่ ใชต้ ั้งแต่ปกี ารศกึ ษา 2561 เพชรสนุ ันทา) สำ�หรบั นกั เรียนดเี ดน่ ทวั่ สามารถของทรพั ยากรมนษุ ยใ์ ห้มีคณุ ภาพและ เป็นตน้ ไป แบง่ เป็น 5 รอบดังน้ี ประเทศโดยการคดั เลอื กตอ้ งอยู่เกณฑ์ท่ีทาง มีคุณสมบตั ทิ ่พี ึงประสงค์ ตอบสนองตอ่ ความ มหาวทิ ยาลัยกำ�หนด โดยมหาวิทยาลัย ตอ้ งการของการพฒั นาประเทศ มวี ิสัยทัศน์ รายละเอยี ดการคัดเลือก สนบั สนนุ ใหม้ ีเงินทุนเรยี น มีผลการเรยี นใน ทีว่ า่ “มหาวทิ ยาลยั แมแ่ บบทีด่ ีของสังคม” ท้ัง 5 รอบของ TCAS ระดบั ดีตลอดในระดบั ปรญิ ญาตรี ปริญญาโท (Smart Archetype University of the และปรญิ ญาเอก และร่วมปฏบิ ัตงิ านกับทาง Society) มหาวทิ ยาลัยมเี ปา้ หมายทจี่ ะเป็น รอบที่ 1 : การรับดว้ ยแฟม้ สะสม มหาวิทยาลยั โดยผูส้ มัครตอ้ งกำ�ลงั ศึกษา มหาวิทยาลัยแห่งคณุ ภาพมาตรฐานในระดบั ผลงาน (Portfolio) โดยไมม่ กี ารสอบขอ้ เขยี น ระดับชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 (รวม 5 ภาค นานาชาติในการกา้ วสู่การเปน็ “มหาวิทยาลัย การศกึ ษา) มผี ลการเรยี นเฉลย่ี สะสมไมต่ �ำ่ กวา่ เอตทคั คะนานาชาต”ิ บัณฑิตทจี่ บจากมหา- การรับด้วย Portfolio โดยไม่มกี าร 3.25 ยกเว้น คณะศลิ ปกรรมศาสตรม์ ผี ล วิทยาลัยราชภฏั สวนสนุ ันทา ตอ้ งสามารถ สอบขอ้ เขียน สำ�หรบั นกั เรยี นท่ัวไปนกั เรียน การเรียนเฉล่ียสะสมไม่ตำ�่ กว่า 2.75 แขง่ ขันกบั บัณฑิตนานาชาติไดแ้ ละสามารถ ทมี่ คี วามสามารถพิเศษ นักเรียนโควตา ด�ำ รงชพี อยู่ในสังคมได้อยา่ งมคี ุณภาพและมี นกั เรยี นเครอื ขา่ ย ให้นกั เรียนย่ืนสมัครกบั รอบท่ี 3 : การรับตรงร่วมกนั คณุ ธรรม มหาวทิ ยาลัย ซ่ึงจะรบั สมคั รประมาณเดอื น การรบั ตรงร่วมกัน สำ�หรับนักเรยี น พฤศจกิ ายน-ธันวาคม ของทุกปี โดยผู้สมัคร ท่ัวไป ทีป่ ระชุมอธิการบดแี ห่งประเทศไทย มหาวิทยาลยั จัดการศกึ ษาในระดับ กำ�ลังศกึ ษาระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 6 หรือ (ทปอ.) เปน็ หน่วยกลางรบั สมคั ร นักเรียน ปรญิ ญาตรีและระดบั บณั ฑิตศกึ ษา โดยการ เทียบเท่าและมคี ุณสมบัติตรงตามเกณฑท์ ี่ สามารถเลือกได้ 4 สาขาวชิ า โดยไมม่ ลี ำ�ดบั จัดการศึกษาภาคปกติเป็นการจัดการศึกษา มหาวิทยาลัย คัดเลือกจากผลงานในเลม่ และสถาบนั ทดสอบทางการศกึ ษาแหง่ ชาติ เตม็ เวลา ระบบทวภิ าค โดยใน 1 ปกี ารศกึ ษา Portfolio (องคก์ ารมหาชน) (สทศ.) จัดให้มกี ารสอบ แบง่ ออกเป็น 2 ภาคการศกึ ษาปกติ มีระยะ กลางรว่ มกนั ในเวลาเดยี วกนั โดยมหาวทิ ยาลยั เวลาการศึกษาไมน่ ้อยกว่า 15 สัปดาห์ และ รอบท่ี 2 : การรับแบบโควตาทม่ี ีการ ก�ำ หนดเกณฑก์ ารคดั เลอื กโดยใชค้ ะแนน GAT มหาวทิ ยาลัยอาจเปิดการศกึ ษาภาคฤดรู อ้ น สอบปฏิบัติหรือขอ้ เขียน PAT และ O-Net ซง่ึ จะรับสมัครประมาณ โดยกำ�หนดระยะเวลาการศึกษาและจำ�นวน เดือนกุมภาพนั ธ-์ พฤษภาคม ของทุกปี หนว่ ยกติ ให้มสี ัดส่วนเทียบเคียงกนั ได้กบั ภาค การรับแบบโควตา ทมี่ ีการสอบปฏบิ ัติ รอบท่ี 4 : การรบั แบบ Admission การศึกษาปกติ โดยแบง่ การศกึ ษาเป็นภาค หรอื ข้อเขยี น ส�ำ หรับนกั เรยี นในเขตพื้นที่หรือ การรบั แบบ Admission สำ�หรบั ปกติและภาคพิเศษ จดั การเรียนการสอน ภาคโควตาโรงเรยี นในเครอื ขา่ ย และโครงการ นกั เรยี นท่วั ไป โดยท่ีประชมุ อธิการบดีแหง่ ในวนั จนั ทร-์ อาทติ ยด์ ำ�เนินการจดั การเรยี น ความสามารถพิเศษตา่ งๆ ซงึ่ มหาวิทยาลยั ประเทศไทย (ทปอ.) เปน็ หน่วยกลางในการ การสอนโดยคณะ วิทยาลยั ศนู ยก์ ารศกึ ษา ประกาศเกณฑ์การสอบคัดเลอื กใหน้ ักเรียน รบั สมคั ร นักเรยี นสามารถเลอื กสมคั รได้ 4 โครงการความร่วมมอื กับหนว่ ยงานภาครัฐ ยื่นสมคั รโดยตรงกับมหาวทิ ยาลัย ซง่ึ จะรับ สาขาวิชา แบบมลี �ำ ดับโดยใชเ้ กณฑ์คา่ นำ้�หนัก เอกชน และมหาวิทยาลัยในตา่ งประเทศใน สมัครประมาณเดือนกุมภาพนั ธ์-พฤษภาคม คะแนน GAT PAT และ O-Net และ การจดั การศกึ ษา แลกเปล่ียนบุคลากรและ ของทกุ ปี และเขา้ รับการคัดเลือกตามเกณฑ์ สถาบนั ทดสอบทางการศกึ ษาแหง่ ชาติ (องคก์ าร นกั ศึกษาเพื่อเพม่ิ ความรู้ ศักยภาพ และ การสอบ มหาวทิ ยาลยั แบ่งโควตาเปน็ 3 มหาชน) (สทศ.) จดั ใหม้ กี ารสอบกลางรว่ มกนั ประสบการณ์ในด้านการเรียนการสอน ประเภทดงั น้ี ในเวลาเดยี วกันซึ่งจะรับสมัครประมาณเดือน กุมภาพนั ธ-์ พฤษภาคม ของทุกปี มหาวิทยาลยั ราชภฏั สวนสนุ ันทาได้ 1. โควตาความสามารถทาง รอบท่ี 5 : การรบั ตรงแบบอิสระ ด�ำ เนนิ การรับสมคั รสอบคัดเลอื กบุคคลเข้า วชิ าการ คดั เลือกจากนกั เรยี นทเ่ี รยี นดี มี การรบั ตรงแบบอสิ ระ มหาวิทยาลัยจะ คุณสมบตั ิตรงตามเกณฑ์ท่มี หาวทิ ยาลัย ด�ำ เนนิ การรบั สมคั รประมาณเดอื นกมุ ภาพนั ธ-์ ก�ำ หนด โดยผสู้ มคั รกำ�ลังศกึ ษาระดบั ชั้น พฤษภาคม ของทกุ ปี โดยผู้สมัครก�ำ ลงั ศึกษา มัธยมศึกษาปที ี่ 6 (รวม 5 ภาคการศกึ ษา) ระดับช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 6 หรอื เทยี บเท่า มผี ลการเรียนเฉล่ียสะสมไมต่ ่�ำ กว่า 2.50 ไม่มีการสอบขอ้ เขยี น ใชว้ ธิ ีการสอบสัมภาษณ์ พิจารณาจากผลการเรยี น หรือผลงานจากเล่ม 2. โควตาความสามารถพเิ ศษ Portfolio (ถา้ ม)ี (กีฬา ดนตรี ศลิ ปะ และนาฏศิลป)์ สำ�หรบั นกั เรยี นท่วั ไป ถ้ามีความสามารถทางกีฬาต้อง อย่ใู นระดับเขตหรือนักกฬี าทมี ชาติ ถ้าเปน็ ความสามารถเฉพาะด้านอยใู่ นเกณฑ์ทที่ าง 18 คมู่ อื นักศึกษา 2 5 6 2 2019 STUDENT HANDBOOK

หลกั สูตร/สาขาวชิ า COURSE/BRANCH ระบบการศึกษา ระดับบณั ฑิตศึกษา 1. หลักสูตรประกาศนยี บัตรบณั ฑิตวชิ าชีพครู มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวนสนุ ันทา ใช้ระบบหน่วยกติ (Credit (ป.บณั ฑิตวิชาชีพคร)ู System) ในการจดั รายวิชาของหลกั สตู รการศกึ ษาและใชร้ ะบบ 2. หลกั สตู รครุศาสตรมหาบณั ฑิต (ค.ม.) การจดั การเรียนการสอนเป็นแบบทวิภาค (Semester) ในการเปิด 3. หลักสูตรวทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑิต (วท.ม.) การสอนภาคปกตโิ ดยในปีการศึกษาหนง่ึ ๆ ภาคเรียนที่ 1 และ 4. หลกั สตู รบรหิ ารธรุ กิจมหาบัณฑติ (บธ.ม.) ภาคเรยี นท่ี 2 มรี ะยะเวลาไม่น้อยกวา่ 15 สปั ดาห์ และภาคพิเศษ 5. หลกั สูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบณั ฑติ (รป.ม.) (ภาคฤดรู ้อน) มรี ะยะเวลา 7 สปั ดาห์ แต่จัดการเรยี นการสอน 6. หลกั สตู รรฐั ศาสตรมหาบัณฑติ (ร.ม.) เปน็ แบบทวคี ณู นกั ศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรี 4 ปี จำ�นวนหน่วยกติ 7. หลกั สูตรศลิ ปศาสตรมหาบัณฑติ (ศศ.ม.) ตลอดหลักสตู รไมน่ ้อยกวา่ 120 หน่วยกิต ปรญิ ญาตรี 5 ปี จำ�นวน 8. หลกั สตู รการจดั การมหาบณั ฑติ (กจ.ม.) หนว่ ยกติ ตลอดหลักสตู รไม่น้อยกว่า 150 หนว่ ยกิต 9. หลกั สตู รปรชั ญาดุษฎบี ณั ฑติ (ปร.ด.) 10. หลักสตู รบรหิ ารธรุ กิจดษุ ฎบี ณั ฑติ (บธ.ด.) ท้งั น้ี หลกั สูตรการศกึ ษาทุกระดับ จะสอดคล้องกบั มาตรฐาน 11. หลกั สตู รรฐั ศาสตรดุษฎบี ณั ฑติ (ร.ด.) การอดุ มศึกษา และเกณฑม์ าตรฐานทีเ่ กี่ยวข้องของสำ�นักงาน คณะกรรมการการอดุ มศึกษา และสาขาวชิ าชีพทเ่ี กยี่ วข้องกับหลกั สตู ร คณะครศุ าสตร์ หลกั สตู รครศุ าสตรบณั ฑติ (ค.บ.) ปีการศึกษาน้ี มหาวิทยาลยั ราชภัฏสวนสุนันทา จัดการศกึ ษา 1. สาขาวิชาภาษาไทย ใน 6 คณะ 7 วิทยาลยั สรุปไดด้ งั นี้ 2. สาขาวชิ าภาษาอังกฤษ 3. สาขาวิชาคณติ ศาสตร์ หลกั สูตรและสาขาวิชาท่ีเปิดสอน 4. สาขาวชิ าการศึกษาปฐมวยั ระดับปรญิ ญาตรี 5. สาขาวิชาวิทยาศาสตรท์ ่ัวไป 1. หลักสตู รครุศาสตรบัณฑติ (ค.บ.) 6. สาขาวชิ าสงั คมศึกษา 2. หลักสตู รวิทยาศาสตรบณั ฑิต (วท.บ.) 7. สาขาวิชาเทคโนโลยีดจิ ิทลั เพื่อการศึกษา 3. หลกั สูตรศิลปศาสตรบณั ฑติ (ศศ.บ.) 4. หลักสูตรบรหิ ารธรุ กจิ บณั ฑติ (บธ.บ.) 5. หลักสูตรบัญชบี ัณฑติ (บช.บ.) 6. หลกั สูตรศิลปกรรมศาสตรบัณฑติ (ศป.บ.) 7. หลักสูตรการแพทย์แผนไทยประยกุ ตบ์ ณั ฑิต (พทป.บ.) 8. หลกั สตู รนิเทศศาสตรบัณฑติ (นศ.บ.) 9. หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต (พ.บ.) 10. หลกั สูตรนติ ศิ าสตรบณั ฑิต (น.บ.) 11. หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑติ (รป.บ.) 12. หลักสูตรวศิ วกรรมศาสตรบัณฑิต (วศ.บ.) 13. หลกั สูตรสาธารณสุขศาสตรบณั ฑิต (ส.บ.) 14. หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑติ (ร.บ.) 15. หลักสูตรสถาปตั ยกรรมบัณฑิต (สถ.บ.) 16. หลักสูตรเศรษฐศาสตรบณั ฑติ (ศ.บ.) 17. หลกั สูตรสารสนเทศศาสตรบณั ฑิต (สท.บ.) 18. หลักสตู รการแพทยแ์ ผนจีนบัณฑติ (พจ.บ.) International Program 1. Bachelor of Business Administration Program (B.B.A.) 2. Bachelor of Arts Program (B.A.) 3. Bachelor of Fine Arts (B.F.A.) 19 ค่มู ือนกั ศึกษา 2 5 6 2 2019 STUDENT HANDBOOK

wมหwาวwิทย.าลsัยsราชrภuฏั ส. วaนสcุนัน. ทt าh คณะวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม หลักสูตรวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ (วท.บ.) หลักสตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑิต (วท.บ.) 1. สาขาวชิ าวิทยาการคอมพวิ เตอร์ 1. สาขาวิชาการออกแบบตกแต่งภายในและนิทรรศการ 2. สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ 2. สาขาวิชาการจดั การอุตสาหกรรม 3. สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ 3. สาขาวชิ าอุตสาหกรรมการพิมพ์ 4. สาขาวิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร - แขนงวชิ าเทคโนโลยกี ารพมิ พ์ (Printing Technology) 5. สาขาวชิ าวิทยาศาสตรส์ ่ิงแวดลอ้ ม - แขนงวชิ าการออกแบบสิ่งพิมพ์ (Printing Design) 6. สาขาวิชาเคมี - แขนงวชิ าการจดั การอตุ สาหกรรมการพิมพ์ 7. สาขาวิชาคณิตศาสตรส์ ารสนเทศ (Printing Industrial Management) 8. สาขาวชิ าชวี วิทยา 4. สาขาวิชาการบริหารทรัพยากรอาคาร 9. สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ 5. สาขาวชิ าการออกแบบกราฟิกและมัลตมิ เี ดยี 10. สาขาวิชาสถติ ปิ ระยกุ ต์ 6. สาขาวชิ าเทคโนโลยไี ฟฟา้ 11. สาขาวิชาจลุ ชีววิทยาอตุ สาหกรรม - แขนงวชิ าเทคโนโลยีไฟฟ้าอตุ สาหกรรม 12. สาขาวชิ าฟสิ กิ สป์ ระยุกต์ (Electrical Industrial Technology) 13. สาขาวชิ านิติวทิ ยาศาสตร์ - แขนงวิชาเทคโนโลยอี เิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 14. สาขาวชิ าวิทยาศาสตร์การกีฬาและสขุ ภาพ (Electronic Technology) - แขนงวชิ าเทคโนโลยพี ลังงาน (Energy Technology) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 7. สาขาวชิ าเทคโนโลยีความปลอดภยั และอาชวี อนามัย หลกั สตู รวิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) 8. สาขาวชิ าการออกแบบผลิตภัณฑอ์ ุตสาหกรรม 1. สาขาวชิ าภมู ิศาสตร์และภมู ิสารสนเทศ - แขนงวชิ าการออกแบบผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม หลกั สตู รศิลปศาสตรบณั ฑิต (ศศ.บ.) (Industrial Design) 1. สาขาวิชาภาษาไทย - แขนงวิชานวตั กรรมการออกแบบและธรุ กจิ สร้างสรรค์ 2. สาขาวชิ าภาษาองั กฤษ (Innovation Design and creative economy) 3. สาขาวิชาภาษาจนี 9. สาขาวชิ าเทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์เพอ่ื งานสถาปัตยกรรม 4. สาขาวิชาภาษาญปี่ ุน่ หลักสูตรวศิ วกรรมศาสตรบณั ฑติ (วศ.บ.) 5. สาขาวิชาภาษาองั กฤษธรุ กิจ 1. สาขาวิชาวศิ วกรรมคอมพิวเตอร์ 6. สาขาวิชาการจดั การโรงแรมและธรุ กจิ ท่พี ัก 7. สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมทอ่ งเทย่ี วและบริการ คณะศลิ ปกรรมศาสตร์ 8. สาขาวิชาการจัดการสังคมและวฒั นธรรม หลกั สูตรศลิ ปกรรมศาสตรบณั ฑิต (ศป.บ.) - แขนงวิชาการจัดการพัฒนาสังคม 1. สาขาวิชาจติ รกรรม - แขนงวชิ าการจดั การทางวฒั นธรรม 2. สาขาวิชาการออกแบบเครือ่ งแต่งกาย หลกั สตู รสารสนเทศศาสตรบัณฑิต (สท.บ.) 3. สาขาวชิ าการออกแบบนเิ ทศศลิ ป์ 1. สาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์ 4. สาขาวชิ าการออกแบบผลติ ภัณฑส์ ร้างสรรค์ - แขนงวชิ าระบบสารสนเทศเพอื่ การจัดการ 5. สาขาวชิ าดนตรี - แขนงวิชาสารสนเทศศึกษา 6. สาขาวชิ าศลิ ปะการแสดง หลกั สตู รรฐั ประศาสนศาสตรบัณฑติ (รป.บ.) - นาฏศิลปไ์ ทย 1. สาขาวชิ าการบรหิ ารงานต�ำ รวจ - ศลิ ปะการละคร 2. สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ - แขนงวิชาการปกครองทอ้ งถนิ่ (Local Government) คณะวทิ ยาการจัดการ - แขนงวิชาการบรหิ ารรัฐกิจ (public administration) หลักสตู รนิเทศศาสตรบัณฑติ (นศ.บ.) - แขนงวิชาการบรหิ ารภาครัฐและเอกชน 1. แขนงวชิ าวารสารศาสตร์ (Journalism) (Public and Private Sector Management) 2. แขนงวิชาการประชาสมั พนั ธแ์ ละการส่อื สารองคก์ ร (Public หลกั สูตรนิติศาสตรบณั ฑิต (น.บ.) Relations and Corporate Communication) 1. สาขาวชิ านติ ศิ าสตร์ 3. แขนงวิชาการโฆษณาและสอื่ สารการตลาด (Advertising and Marketing Communication) 4. แขนงวชิ าวทิ ยกุ ระจายเสยี งและวิทยโุ ทรทศั น์ (Radio and Television Broadcasting) 20 คู่มือนักศกึ ษา 2 5 6 2 2019 STUDENT HANDBOOK

หลกั สูตร/สาขาวิชา COURSE/BRANCH 5. แขนงวชิ าภาพยนตรแ์ ละส่อื ดิจทิ ัล (Films and Digital 4. สาขาวิชานวตั กรรมการคา้ ระหว่างประเทศ Media) 5. สาขาวชิ าการจัดการอีสปอรต์ หลักสตู รเศรษฐศาสตรบัณฑิต (ศ.บ.) 6. สาขาวิชาการจดั การการคา้ 1. สาขาวิชาเศรษฐศาสตรธ์ รุ กิจ หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) หลักสูตรบญั ชีบัณฑติ (บช.บ.) 1. สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารเพื่อการตลาด หลักสูตรบริหารธรุ กิจบัณฑติ (บธ.บ.) หลักสตู รรัฐศาสตรบัณฑติ (ร.บ.) สาขาวิชาบรหิ ารธุรกจิ 1. สาขาวิชารัฐศาสตร์ 1. แขนงวิชาการเงินการธนาคาร (Finance and Banking) 2. แขนงวชิ าธรุ กจิ ระหวา่ งประเทศ (International Business) วทิ ยาลยั นานาชาติ 3. แขนงวชิ าการบรหิ ารทรพั ยากรมนษุ ย์ (Human Resource หลกั สตู รบริหารธุรกจิ บัณฑิต (บธ.บ.) Management) Bachelor of Business Administration Program 4. แขนงวิชาการประกอบการธรุ กิจ (Entrepreneurship) (B.B.A.) 5. แขนงวชิ าการจดั การธรุ กิจบรกิ าร (Business Service 1. สาขาวชิ าบรหิ ารธรุ กจิ ระหว่างประเทศ Management) หลักสตู รศิลปศาสตรบณั ฑิต (ศศ.บ.) 6. แขนงวชิ าการตลาด (Marketing) Bachelor of Arts Program (B.A.) หลักสูตรบรหิ ารธุรกจิ บณั ฑติ (บธ.บ.) 1. สาขาวิชาการจัดการท่องเทีย่ ว 1. สาขาวชิ าคอมพวิ เตอรธ์ รุ กจิ 2. สาขาวิชาธรุ กิจการบิน 3. สาขาวชิ าการโรงแรม วทิ ยาลัยพยาบาลและสุขภาพ - Major Hotel Management หลกั สตู รพยาบาลศาสตรบัณฑิต (พย.บ.) - Major Restaurant Business 1. สาขาวชิ าพยาบาลศาสตร์ วิทยาลยั การภาพยนตร์ ศลิ ปะการแสดง วทิ ยาลยั สถาปตั ยกรรม และสื่อใหม่ หลกั สตู รสถาปัตยกรรมบณั ฑิต (สถ.บ.) (5 ปี) 1. สาขาวิชาสถาปัตยกรรม หลกั สูตรศิลปบัณฑิต (ศล.บ.) หลกั สูตรวทิ ยาศาสตรบัณฑติ (วท.บ.) Bachelor of Fine Arts Program (B.F.A.) 1. สาขาวิชาการบรหิ ารงานก่อสรา้ ง สาขาวชิ าศลิ ปะภาพยนตร์ (International Program Program) วทิ ยาลยั สหเวชศาสตร์ - แขนงวิชาการสร้างภาพยนตร์ (Film Production) หลกั สตู รวิทยาศาสตรบณั ฑติ (วท.บ.) - แขนงวชิ าศิลปะการแสดงประยุกต์ (Applied Performing 1. สาขาวชิ าวิทยาศาสตรส์ ขุ ภาพ Arts) - แขนงวชิ าการดูแลสุขภาพเดก็ สาขาวชิ าการสร้างสรรคแ์ ละส่อื ดิจทิ ลั - แขนงวชิ าการดแู ลสุขภาพผูส้ ูงอายุ - แขนงวชิ าการออกแบบดจิ ทิ ัล (Digital Design) - แขนงวชิ าการดูแลสขุ ภาพและความงาม - แขนงวชิ าการตลาดดิจทิ ัล (Digital Marketing) 2. สาขาวชิ าเลขานกุ ารการแพทยแ์ ละสาธารณสุข หลกั สูตรการแพทยแ์ ผนไทยประยุกตบ์ ณั ฑติ (พทป.บ.) วทิ ยาลยั โลจิสตกิ ส์และซัพพลายเซน 1. สาขาวิชาการแพทยแ์ ผนไทยประยุกต์ หลกั สูตรบริหารธรุ กิจบัณฑติ (บธ.บ.) หลกั สตู รสาธารณสขุ ศาสตรบัณฑติ (ส.บ.) 1. สาขาวชิ าการจดั การโลจิสติกส์ 1. สาขาวชิ าสาธารณสขุ ศาสตร์ 2. สาขาวิชาการจัดการซพั พลายเชนธรุ กิจ 2. สาขาวิชาสาธารณสขุ ศาสตรแ์ ละการส่งเสริมสุขภาพ - แขนงวิชาธรุ กิจพาณิชยนาวี หลกั สตู รการแพทย์แผนจีนบณั ฑิต (พจ.บ.) - แขนงวิชาการจัดการธุรกจิ คา้ ปลกี 1. สาขาวิชาการแพทย์แผนจนี - แขนงวชิ าการจดั การโซอ่ ปุ ทานธุรกจิ อาหารและบริการ - แขนงวชิ าการจัดการการขนสง่ วทิ ยาลยั นวัตกรรมและการจัดการ - แขนงวชิ าการจดั การการขนสง่ สินคา้ ทางอากาศ หลกั สตู รบริหารธรุ กจิ บณั ฑติ (บธ.บ.) 3. สาขาวิชาการจดั การโลจสิ ตกิ สส์ �ำ หรับธุรกิจออนไลน์ 1. สาขาวิชาการจัดการระบบสารสนเทศเพอื่ ธรุ กจิ 4. Logistics Management (International 2. สาขาวชิ าการจดั การคุณภาพ Program) 3. สาขาวชิ าการจัดการทนุ มนษุ ยแ์ ละองค์กร 21 ค่มู อื นกั ศึกษา 2 5 6 2 2019 STUDENT HANDBOOK

หน่วยงาน INSTITUTE คคณระ ศุ าสตร์ ประวตั ิความเป็นมา พ.ศ. 2549 โดยใหแ้ บง่ สว่ นราชการในคณะ วสิ ยั ทัศน์ ครุศาสตร์ เป็นส�ำ นักงานคณบดี ระหว่าง คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั วนั ที่ 8-12 พฤศจกิ ายน 2549 มหาวิทยาลยั “แม่แบบสถาบันผลิตครู” สวนสนุ ันทา ได้จัดการเรียนการสอนนบั ตั้งแต่ ราชภฏั สวนสนุ นั ทา ไดจ้ ดั งาน “ใตร้ ม่ พระบารมี ปี พ.ศ. 2480 จนถึงปี พ.ศ. 2560 รวมเวลา 70 สวนสนุ นั ทา” พระเจา้ วรวงศเ์ ธอพระองค์ พันธกจิ 80 ปี โดยเรม่ิ จากโรงเรยี นสวนสนุ นั ทาวทิ ยาลยั เจา้ ศรรี ัศมิ์ พระวรชายาในสมเด็จพระบรม- พัฒนามาเป็นวทิ ยาลยั ครสู วนสุนันทา และ โอรสาธริ าช สยามมกฎุ ราชกุมาร ได้เสด็จ ผลิตและพฒั นาครู ผู้บรหิ าร และ สถาบนั ราชภฏั สวนสุนันทา จนกระทงั่ ได้รับ พระราชดำ�เนนิ มาทรงวางศิลาฤกษ์ “อาคาร บุคลากรทางการศกึ ษา วจิ ยั บริการวชิ าการ การสถาปนาเปน็ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวนสนุ นั ทา กรรณาภรณพ์ ิพฒั น์” (อาคารคณะครศุ าสตร์ และท�ำ นบุ ำ�รงุ ศิลปวัฒนธรรม หลงั ใหม่) ในวันท่ี 9 พฤศจกิ ายน 2549 พ.ศ. 2518 กระทรวงศึกษาธกิ ารได้ ภารกจิ หลัก อนมุ ตั ิใหว้ ิทยาลัยครสู วนสุนนั ทาเป็นสถาบนั พ.ศ. 2550 นกั ศกึ ษาหลักสตู รคร-ุ การศกึ ษาระดบั อุดมศึกษา ตามพระราช- ศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาการศกึ ษา (หลักสตู ร 1. ผลติ บัณฑติ ตามอตั ลกั ษณ์ และ บัญญตั ิวิทยาลยั ครู พ.ศ. 2518 มบี ทบาท 5 ปี) ชน้ั ปที ่ี 3 (รหัสนักศกึ ษา 48) ได้ออก พฒั นาครูมอื อาชีพที่สนองตอบการปฏริ ปู การ หน้าที่และความรบั ผิดชอบในการผลิตครู ฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ชดุ วชิ าการปฏบิ ัติ ศกึ ษาและการฝกึ หดั ครูสู่อาเซยี น แบง่ สายงานการปฏิบตั ิราชการออกเปน็ งานวชิ าชีพครู 1 (Practicum 1) และ ส�ำ นกั งานอธิการ คณะวิชา และภาควิชา โดย นักศึกษาช้นั ปีที่ 4 (รหสั นกั ศึกษา 47) ได้ 2. บริการวชิ าการคณุ ภาพตามความ คณะวิชาครศุ าสตรเ์ ปน็ หน่วยงานหนึง่ ของ ออกฝึกประสบการณ์วชิ าชพี ครู ชดุ วิชาการ ตอ้ งการของผู้รับบริการ เพ่ือพัฒนาความ วิทยาลยั ครสู วนสนุ ันทามหี ัวหนา้ คณะวิชาเปน็ ปฏิบัติงานวชิ าชพี ครู 3 (Practicum 3) แขง็ แกรง่ ทางวชิ าชพี ครู คณาจารย์ และ ผู้บริหารระดับคณะ ณ โรงเรยี นร่วมพัฒนาวชิ าชพี ครู บุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2549 คณะครุศาสตรไ์ ดร้ บั การ ในปีการศึกษา 2561 คณะครุศาสตร์ 3. ทำ�นบุ ำ�รุงศลิ ปวฒั นธรรม สืบสาน จัดสรรงบประมาณเพอ่ื การกอ่ สรา้ งอาคาร จดั การเรียนการสอนหลกั สตู รครศุ าสตร- ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถิน่ และโครงการอนั เนอ่ื ง คณะครศุ าสตรห์ ลงั ใหม่ จ�ำ นวน 85 ลา้ นบาท บณั ฑติ ระดับปริญญาตรี 5 ปี จำ�นวน มาจากพระราชดำ�ริ เพือ่ เป็นประโยชนใ์ นการ และในปกี ารศกึ ษานม้ี นี กั ศกึ ษาคณะครศุ าสตร์ 7 หลกั สูตร จดั การความรู้ หลักสูตร 4 ปี เป็นร่นุ สุดทา้ ยท่ีจะส�ำ เร็จ การศกึ ษา แตย่ งั คงมกี ารเปดิ สอนตามหลกั สตู ร ปรชั ญา 4. วจิ ยั สรา้ งนวตั กรรมและองคค์ วามรู้ 4 ปี ในสาขาวิชาเทคโนโลยแี ละนวัตกรรม เพือ่ เผยแพร่ และถา่ ยทอดให้กับนักศกึ ษา การศึกษา ซึ่งในปนี น้ี กั ศกึ ษาทนุ ครูหลักสูตร ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำ�สังคม 5 ปี ชน้ั ปีที่ 3 ไดเ้ รม่ิ ออกฝึกประสบการณ์ ข้อมูลประชาสัมพันธ์ วิชาชพี ครเู ปน็ ครงั้ แรก (การปฏบิ ัติงานวิชาชีพ หอ้ งปฏบิ ัติการคอมพวิ เตอร์ และ ครู 1) วันที่ 23 มถิ ุนายน 2549 กระทรวง หอ้ งฝกึ ปฏบิ ตั กิ ารสอน ศึกษาธกิ ารได้มปี ระกาศ เร่อื ง การแบ่งส่วน ราชการในมหาวทิ ยาลัยราชภฏั สวนสนุ ันทา 22 คู่มือนกั ศึกษา 2 5 6 2 2019 STUDENT HANDBOOK

คณะครุศาสตร์ รหสั วชิ า ช่ือวิชา น(บ-ป-อ) GEN0105 ความจริงของชีวติ 3(3-0-6) หลกั สตู รการเรียนการสอน Truth of Life GEN0106 ชีวิตในสังคมพหุวฒั นธรรม 3(3-0-6) หคลรกั สุศตู ราสตรบณั ฑติ Life in Multicultural Society GEN0107 ความเปน็ พลเมอื งดี 3(3-0-6) สาขาวิชาวทิ ยาศาสตร์ท่ัวไป Good Citizenship หลักสตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2562 GEN0108 ความคดิ อันงดงาม 3(3-0-6) Beautiful Thought GEN0109 ศาสตรแ์ ห่งราชนั ย์ 3(3-0-6) King’s Philosophy 1. ชื่อหลกั สตู ร GEN0110 สำ�นกึ ไทย 3(3-0-6) ภาษาไทย : หลกั สตู รครุศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรท์ ่ัวไป ภาษาองั กฤษ : Bachelor of Education Program in General Thai Consciousness GEN0111 การสรา้ งบคุ ลิกผนู้ �ำ 3(3-0-6) Science Building Leadership 2. ชอ่ื ปริญญาและสาขาวิชา ภาษาไทย ชือ่ เตม็ : ครุศาสตรบัณฑิต (วทิ ยาศาสตรท์ ่ัวไป) GEN0112 ปัญญาไทยนอกกรอบ 3(3-0-6) Outside of the Box Thai Intellect ชื่อยอ่ : ค.บ. (วิทยาศาสตร์ท่ัวไป) GEN0113 แรงบนั ดาลใจแหง่ ชีวติ 3(3-0-6) ภาษาองั กฤษ ชอ่ื เตม็ : Bachelor of Education (General Science) ชือ่ ยอ่ : B.Ed. (General Science) Inspiration of Life GEN0114 สีสันวรรณกรรม 3(3-0-6) 3. จำ�นวนหน่วยกิตท่เี รยี นตลอดหลกั สตู ร Color of Literatures หลักสูตรระดบั ปริญญาตรีทางวิชาการ 142 หน่วยกิต GEN0115 ภาพยนตรว์ ิจักษ์ 3(3-0-6) Film Appreciation 1) หมวดวชิ าศึกษาท่วั ไป ไม่นอ้ ยกวา่ 30 หนว่ ยกิต GEN0116 ความผดิ หวงั สฝู่ ันที่เปน็ จรงิ 3(3-0-6) การจัดการเรียนการสอนหมวดวิชาศึกษาท่ัวไป นักศึกษาจะต้องเรียนใน รายวชิ าศกึ ษาทว่ั ไป โดยมจี �ำ นวนหนว่ ยกติ ไมน่ อ้ ยกวา่ 30 หนว่ ยกติ แบง่ เปน็ From Disappointment to a Dream Come True 1.1) กลมุ่ วชิ ามนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ ไมน่ ้อยกว่า 6 หนว่ ยกติ 1.2) กลุม่ วชิ าภาษา ใหเ้ รยี นไมน่ ้อยกวา่ 6 หนว่ ยกติ 1.2) กลมุ่ วิชาภาษา ไมน่ ้อยกวา่ 6 หน่วยกติ 1.3) กลมุ่ วชิ าวทิ ยาศาสตรแ์ ละคณิตศาสตร์ ไม่น้อยกวา่ 6 หนว่ ยกติ GEN0201 การใช้ภาษาไทย 3(3-0-6) Thai Usage 1.4) เลอื กเรียนจาก 3 กลุ่มวิชาขา้ งต้นอกี ไมน่ ้อยกวา่ 12 หน่วยกิต GEN0202 ภาษาไทยเชิงวิชาการ 3(3-0-6) 2) หมวดวชิ าเฉพาะด้าน ไมน่ อ้ ยกวา่ 106 หนว่ ยกิต 2.1) กลุ่มวิชาชีพครู ไม่น้อยกวา่ 43 หนว่ ยกิต Thai for Academic Purposes GEN0203 ภาษาไทยเพ่อื การประกอบอาชีพ 3(3-0-6) 2.1.1) วิชาชพี ครู ไมน่ อ้ ยกว่า 28 หนว่ ยกิต Thai for Career 2.1.2) วชิ าฝกึ ประสบการณ์วิชาชพี ไม่น้อยกวา่ 15 หน่วยกติ 2.2) กลุม่ วชิ าเอก ไมน่ อ้ ยกว่า 63 หน่วยกิต GEN0204 ภาษาองั กฤษเพื่อการสือ่ สาร 3(3-0-6) และการสบื ค้น 2.2.1) วิชาบังคบั ไมน่ อ้ ยกวา่ 42 หน่วยกิต English for Communication and 2.2.2) วชิ าเลอื ก ไม่น้อยกว่า 21 หนว่ ยกติ 3) หมวดวิชาเลอื กเสรี ไมน่ ้อยกว่า 6 หนว่ ยกติ Information Retrieval GEN0205 ภาษาองั กฤษเพื่อทักษะการเรยี น 3(3-0-6) English for Study Skills 1) หมวดวิชาศึกษาท่วั ไป ไม่นอ้ ยกว่า 30 หนว่ ยกติ GEN0206 ภาษาองั กฤษเชิงวิชาการ 3(3-0-6) 1.1) กลุ่มวิชามนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ ให้เรียนไมน่ ้อยกวา่ 6 หน่วยกิต English for Academic Purposes GEN0207 ภาษาองั กฤษเพอ่ื การประกอบวิชาชีพ 3(3-0-6) รหัสวชิ า ช่อื วิชา น(บ-ป-อ) English for Career Development GEN0101 ชาววังสวนสุนนั ทา 3(3-0-6) The Royal Court of Suan GEN0208 ภาษาองั กฤษเพ่ือการดูแลสขุ ภาพ 3(3-0-6) English for Health Care Sunandha GEN0209 ภาษาองั กฤษเพ่อื การน�ำ เสนอและการพดู 3(3-0-6) GEN0102 สนุ ทรยี ภาพของชวี ิต 3(3-0-6) Aesthetic Appreciation ในท่สี าธารณะ Public Speaking and Presentation GEN0103 สงั คมไทยในบรบิ ทโลก 3(3-0-6) Skills in English Thai Society in Global Context GEN0104 การพฒั นาตน 3(3-0-6) GEN0210 วาทกรรมภาษาองั กฤษเพือ่ การสื่อสาร 3(3-0-6) Discourse English for Self Development Communication 23 คมู่ ือนกั ศึกษา 2 5 6 2 2019 STUDENT HANDBOOK

wมหwาวwทิ ย.าลsยั sราชrภuัฏส. วaนสcนุ ัน. ทt าh รหสั วิชา ชอ่ื วชิ า น(บ-ป-อ) รหสั วิชา ชอื่ วชิ า น(บ-ป-อ) GEN0211 ภาษาจนี 3(3-0-6) GEN0318 รักปลอดภยั 3(3-0-6) Chinese Language Safe Sex GEN0212 ภาษาพมา่ 3(3-0-6) GEN0319 ผู้ประกอบการธุรกจิ ดจิ ิทัล 3(3-0-6) Burmese Language Entrepreneurship in Digital GEN0213 ภาษาเขมร 3(3-0-6) 1.4) นักศึกษาต้องเลือกเรยี นอีก ไม่นอ้ ยกวา่ 12 หนว่ ยกิต Khmer Language จาก 3 กล่มุ วชิ าขา้ งต้น GEN0214 ภาษาลาว 3(3-0-6) Lao Language 2) หมวดวชิ าเฉพาะดา้ น ไมน่ อ้ ยกว่า 106 หน่วยกติ GEN0215 ภาษาเวียดนาม 3(3-0-6) 2.1) กล่มุ วชิ าชีพครู ไม่นอ้ ยกว่า 43 หนว่ ยกติ Vietnamese Language 2.1.1) วชิ าชีพครู ไม่นอ้ ยกว่า 28 หนว่ ยกติ GEN0216 ภาษามาเลย ์ 3(3-0-6) EDC1101 ภาษาเพ่ือการสอื่ สาร 3(2-2-5) Malay Language Language for Communication 1.3) กลมุ่ วิชาวทิ ยาศาสตรแ์ ละคณิตศาสตร์ EDC1102 คณุ ธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ 3(2-2-5) ใหเ้ รียนไม่นอ้ ยกวา่ 6 หน่วยกติ และจิตวิญญาณความเป็นครู GEN0301 เทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือการสอ่ื สาร 3(3-0-6) Ethics and Spirituality for Teachers Information Technology for EDC1103 จติ วิทยาสำ�หรับครู 3(2-2-5) Communication Psychology for Teacher GEN0302 วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย ี 3(3-0-6) EDC1104 การพัฒนาหลักสตู ร 3(2-2-5) เพือ่ คณุ ภาพชวี ติ Curriculum Development Science and Technology for EDC2101 การวดั และประเมินผลการเรยี นร ู้ 3(2-2-5) Quality of Life Learning Measurement and GEN0303 วทิ ยาศาสตร์กบั สงิ่ แวดลอ้ ม 3(3-0-6) Evaluation Science and Environments EDC2102 วทิ ยาการจดั การเรยี นรู้ 3(2-2-5) GEN0304 รู้เทา่ ทนั ดจิ ิทลั 3(3-0-6) Instructional Science Digital Literacy EDC2103 นวัตกรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศ 3(2-2-5) GEN0305 นนั ทนาการเพอ่ื คุณภาพชวี ติ 3(3-0-6) เพ่ือการสื่อสารการศกึ ษาและการเรยี นรู้ Recreation for Quality of Life Innovation and Information GEN0306 สขุ ภาพสำ�หรับชวี ติ ยคุ ใหม่ 3(3-0-6) Technology for Educational Health Care for New Gen Communication and Learning GEN0307 มหศั จรรยแ์ หง่ ความคิด 3(3-0-6) EDC2104 การบริหารการศึกษาและการประกัน 3(2-2-5) Miracle of Thought คุณภาพการศกึ ษา GEN0308 อินโฟกราฟิก 3(3-0-6) Education Administration and Info Graphic Quality Assurance in Education GEN0309 ชวี ติ กบั ดจิ ิทลั 3(3-0-6) EDC3101 การวจิ ัยและพัฒนานวตั กรรมการเรียนรู้ 3(2-2-5) Digital for Life Research and Development in GEN0310 การส่งเสรมิ สุขภาพทางเพศ 3(3-0-6) Innovation and Learning Sexual Health Promotion EDC4101 ครนุ ิพนธ์ 1(0-2-1) GEN0311 ธรรมชาตบิ �ำ บดั 3(3-0-6) Individual Study Natural Therapy EDC3301 จิตวิทยาการเรยี นรู ้ 3(2-2-5) GEN0312 รู้เทา่ ทันภาวะการเงิน 3(3-0-6) Psychology of Learning Financial Literacy EDC3302 จติ วทิ ยาการเรียนการสอน 3(2-2-5) GEN0313 การเตน้ 3(3-0-6) Psychology of Learning and Dancing Instruction GEN0314 โยคะ 3(3-0-6) EDC3303 การสอนเพศศึกษา 3(2-2-5) Yoga Teaching of Sex Education GEN0315 ชีวติ เลกิ อ้วน 3(3-0-6) EDC3304 ความคิดสร้างสรรค์สำ�หรบั ครู 3(2-2-5) Never Get Fat Again Creativity for Teachers GEN0316 ศาสตรแ์ หง่ การชะลอวัย 3(3-0-6) EDC3305 ผกู้ �ำ กับลกู เสือ-เนตรนารีสามญั รุ่นใหญ่ 1(0-2-1) Science of Anti-Aging ข้ันความรเู้ บื้องต้น GEN0317 ศาสตร์และศิลปแ์ หง่ อาหารชาววงั 3(3-0-6) Basic Unit Leader of Boy Scout State of the Art of Royal Cuisine and Girl Guide 24 คูม่ อื นกั ศกึ ษา 2 5 6 2 2019 STUDENT HANDBOOK

คณะครศุ าสตร์ หลกั สตู รและการเรียนการสอน 2.1.2) วชิ าฝกึ ประสบการณว์ ิชาชีพ 15 หนว่ ยกิต รหสั วิชา ช่ือวชิ า น(บ-ป-อ) รหัสวชิ า ช่อื วชิ า น(บ-ป-อ) SCC3305 สะเตม็ ศึกษา 3(2-2-5) EDC1201 การฝกึ ปฏิบัติวชิ าชพี ระหวา่ งเรยี น 1 1(90) STEM Education Practicum 1 SCC3306 การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ระดบั 3(2-2-5) EDC2202 การฝึกปฏบิ ัติวชิ าชีพระหว่างเรียน 2 1(90) ประถมศกึ ษา Practicum 2 Elementary Science Instruction EDC3203 การฝึกปฏบิ ตั วิ ิชาชพี ระหว่างเรียน 3 1(90) SCC3307 การจดั การเรยี นรู้วทิ ยาศาสตรร์ ะดบั 3(2-2-5) Practicum 3 มธั ยมศกึ ษา EDC4201 การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1 6(360) Secondary Science Instruction Internship 1 SCC3308 วิทยาการค�ำ นวณ 3(2-2-5) EDC4202 การปฏบิ ตั กิ ารสอนในสถานศึกษา 2 6(360) Computing Science Internship 2 SCC3309 การปฏิบตั กิ ารวทิ ยาศาสตรใ์ นโรงเรียน 3(2-2-5) 2.2) กล่มุ วิชาเอก ใหเ้ รยี นไม่นอ้ ยกวา่ 63 หนว่ ยกติ Science Laboratory in School 2.2.1) วิชาบงั คบั ใหเ้ รียนไม่น้อยกว่า 42 หน่วยกิต SCC3310 สัมมนาวิทยาศาสตรแ์ ละการสอน 3(2-2-5) SCC1301 ชีววทิ ยาสำ�หรับครู 1 3(2-2-5) วทิ ยาศาสตร์ Biology for Teachers 1 Seminar in Science and SCC1302 ชีววทิ ยาส�ำ หรบั ครู 2 3(2-2-5) Teaching Science Biology for Teachers 2 SCC3311 ภาษาองั กฤษส�ำ หรบั ครูวทิ ยาศาสตร์ 3(2-2-5) SCC1303 เคมีสำ�หรบั ครู 1 3(2-2-5) English for Science Teachers Chemistry for Teachers 1 SCC3312 ส่งเสริมความคดิ ข้ันสงู ของผู้เรยี น 3(2-2-5) SCC1304 ฟิสกิ สส์ ำ�หรับครู 1 3(2-2-5) Promotion of Learners’ Higher- Physics for Teacher 1 order Thinking SCC1305 ฟสิ ิกสส์ ำ�หรบั ครู 2 3(2-2-5) SCC3313 การวัดและประเมินทางวทิ ยาศาสตร์ศกึ ษา 3(2-2-5) Physics for Teacher 2 Assessment in Science Education SCC1306 คณติ ศาสตร์ส�ำ หรบั การสอนวิทยาศาสตร์ 3(2-2-5) Mathematics for Science 3) หมวดวชิ าเลือกเสรี ไมน่ ้อยกวา่ 6 หนว่ ยกติ Instruction นักศึกษาต้องเลือกเรียนไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต จากรายวิชาใดๆ ใน SCC2301 เคมสี ำ�หรบั ครู 2 3(2-2-5) หลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา โดยไม่ซ้ำ�กับรายวิชาที่เคยเรียนมา Chemistry for Teachers 2 แลว้ และตอ้ งไมเ่ ปน็ รายวชิ าทกี่ �ำ หนดใหเ้ รยี นโดยไมน่ บั หนว่ ยกติ รวมในเกณฑ์ SCC2302 วิทยาศาสตรช์ ีวภาพ 3(2-2-5) การส�ำ เร็จหลกั สตู รของสาขาวชิ า Biological Science SCC2303 วทิ ยาศาสตร์กายภาพ 3(2-2-5) Physical Science หคลรกั สุศูตราสตรบัณฑิต SCC2304 วทิ ยาศาสตร์โลกทงั้ ระบบ 3(2-2-5) Earth System Science สาขาวชิ าการศึกษาปฐมวัย SCC2305 ดาราศาสตร์และอวกาศ 3(2-2-5) หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562 Astronomy and Space SCC3301 วทิ ยาศาสตร์ส่งิ แวดล้อม 3(2-2-5) Environmental Science SCC3302 ไฟฟ้าและพลงั งาน 3(2-2-5) 1. ชอ่ื หลักสตู ร ภาษาไทย : หลักสูตรครุศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาการศึกษาปฐมวยั Electricity and Energy ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Education Program in Early SCC3303 การวจิ ยั เพ่ือพฒั นากระบวนการเรียนร้ ู 3(2-2-5) วิทยาศาสตร์ Childhood Education 2. ชอ่ื ปรญิ ญาและสาขาวชิ า Research to Develop Science ภาษาไทย ชอ่ื เตม็ : ครศุ าสตรบณั ฑติ (การศกึ ษาปฐมวัย) Learning Process 2.2.2) วชิ าเลือก ให้เรยี นไม่นอ้ ยกว่า 21 หน่วยกิต ช่ือยอ่ : ค.บ. (การศกึ ษาปฐมวัย) ภาษาองั กฤษ ช่อื เต็ม : Bachelor of Education (Early Childhood SCC2306 ธรรมชาติและการสบื เสาะทาง 3(2-2-5) Education) วิทยาศาสตร์ Nature of Science and ช่อื ยอ่ : B.Ed. (Early Childhood Education) 3. จ�ำ นวนหนว่ ยกิตท่เี รียนตลอดหลักสตู ร Scientific Inquiry หลกั สตู รระดับปรญิ ญาตรีทางวชิ าการ 142 หน่วยกิต SCC3304 โครงงานและกจิ กรรมทางวิทยาศาสตร์ 3(2-2-5) Science Project and Activity 25 คู่มือนักศึกษา 2 5 6 2 2019 STUDENT HANDBOOK

wมหwาวwิทย.าลsัยsราชrภuฏั ส. วaนสcุนัน. ทt าh 1) หมวดวิชาศกึ ษาทัว่ ไป ไมน่ อ้ ยกวา่ 30 หนว่ ยกติ รหัสวชิ า ชือ่ วชิ า น(บ-ป-อ) การจัดการเรียนการสอนหมวดวิชาศึกษาท่ัวไป นักศึกษาจะต้องเรียนใน GEN0116 ความผดิ หวงั สู่ฝนั ทีเ่ ปน็ จริง 3(3-0-6) รายวชิ าศกึ ษาทว่ั ไป โดยมจี �ำ นวนหนว่ ยกติ ไมน่ อ้ ยกวา่ 30 หนว่ ยกติ แบง่ เปน็ From Disappointment to a 1.1) กลมุ่ วชิ ามนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ ไม่นอ้ ยกวา่ 6 หน่วยกิต Dream Come True 1.2) กลมุ่ วิชาภาษา ไมน่ ้อยกว่า 6 หนว่ ยกติ 1.2) กลมุ่ วิชาภาษา ให้เรียนไมน่ ้อยกว่า 6 หน่วยกติ 1.3) กลุม่ วชิ าวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ไม่นอ้ ยกว่า 6 หน่วยกิต GEN0201 การใช้ภาษาไทย 3(3-0-6) 1.4) เลอื กเรียนจาก 3 กลมุ่ วชิ าข้างตน้ อกี ไม่นอ้ ยกวา่ 12 หน่วยกิต Thai Usage 2) หมวดวิชาเฉพาะด้าน ไมน่ อ้ ยกว่า 106 หนว่ ยกิต GEN0202 ภาษาไทยเชิงวิชาการ 3(3-0-6) 2.1) กลมุ่ วชิ าชพี ครู ไม่น้อยกวา่ 43 หน่วยกิต Thai for Academic Purposes 2.1.1) วิชาชพี ครู ไมน่ ้อยกว่า 28 หนว่ ยกิต GEN0203 ภาษาไทยเพอื่ การประกอบอาชพี 3(3-0-6) 2.1.2) วิชาฝึกประสบการณว์ ิชาชพี ไมน่ ้อยกว่า 15 หนว่ ยกิต Thai for Career 2.2) กลมุ่ วชิ าเอก ไมน่ อ้ ยกวา่ 63 หนว่ ยกติ GEN0204 ภาษาอังกฤษเพื่อการสอ่ื สาร 3(3-0-6) 2.2.1) วิชาบังคับ ไมน่ อ้ ยกว่า 42 หน่วยกิต และการสืบคน้ 2.2.2) วชิ าเลอื ก ไม่นอ้ ยกว่า 21 หน่วยกติ English for Communication and 3) หมวดวชิ าเลอื กเสรี ไม่น้อยกว่า 6 หนว่ ยกิต Information Retrieval GEN0205 ภาษาอังกฤษเพื่อทกั ษะการเรียน 3(3-0-6) 1) หมวดวชิ าศึกษาทวั่ ไป ไมน่ อ้ ยกว่า 30 หน่วยกติ English for Study Skills 1.1) กล่มุ วิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ GEN0206 ภาษาอังกฤษเชิงวชิ าการ 3(3-0-6) ใหเ้ รียนไมน่ อ้ ยกวา่ 6 หนว่ ยกิต English for Academic Purposes รหสั วิชา ชื่อวิชา น(บ-ป-อ) GEN0207 ภาษาอังกฤษเพื่อการประกอบวชิ าชพี 3(3-0-6) GEN0101 ชาววงั สวนสนุ ันทา 3(3-0-6) English for Career Development The Royal Court of Suan GEN0208 ภาษาองั กฤษเพอ่ื การดูแลสุขภาพ 3(3-0-6) Sunandha English for Health Care GEN0102 สนุ ทรียภาพของชวี ิต 3(3-0-6) GEN0209 ภาษาอังกฤษเพอ่ื การนำ�เสนอและการพดู 3(3-0-6) Aesthetic Appreciation ในท่สี าธารณะ GEN0103 สังคมไทยในบรบิ ทโลก 3(3-0-6) Public Speaking and Presentation Thai Society in Global Context Skills in English GEN0104 การพัฒนาตน 3(3-0-6) GEN0210 วาทกรรมภาษาองั กฤษเพื่อการสือ่ สาร 3(3-0-6) Self Development Discourse English for GEN0105 ความจริงของชวี ิต 3(3-0-6) Communication Truth of Life GEN0211 ภาษาจีน 3(3-0-6) GEN0106 ชีวติ ในสังคมพหวุ ัฒนธรรม 3(3-0-6) Chinese Language Life in Multicultural Society GEN0212 ภาษาพม่า 3(3-0-6) GEN0107 ความเป็นพลเมืองด ี 3(3-0-6) Burmese Language Good Citizenship GEN0213 ภาษาเขมร 3(3-0-6) GEN0108 ความคิดอันงดงาม 3(3-0-6) Khmer Language Beautiful Thought GEN0214 ภาษาลาว 3(3-0-6) GEN0109 ศาสตรแ์ หง่ ราชนั ย ์ 3(3-0-6) Lao Language King’s Philosophy GEN0215 ภาษาเวยี ดนาม 3(3-0-6) GEN0110 สำ�นกึ ไทย 3(3-0-6) Vietnamese Language Thai Consciousness GEN0216 ภาษามาเลย ์ 3(3-0-6) GEN0111 การสร้างบุคลิกผนู้ �ำ 3(3-0-6) Malay Language Building Leadership 1.3) กลมุ่ วชิ าวทิ ยาศาสตร์และคณติ ศาสตร์ GEN0112 ปญั ญาไทยนอกกรอบ 3(3-0-6) ให้เรียนไม่นอ้ ยกว่า 6 หน่วยกติ Outside of the Box Thai Intellect GEN0301 เทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่อื การสื่อสาร 3(3-0-6) GEN0113 แรงบนั ดาลใจแห่งชีวติ 3(3-0-6) Information Technology for Inspiration of Life Communication GEN0114 สีสนั วรรณกรรม 3(3-0-6) GEN0302 วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 3(3-0-6) Color of Literatures เพือ่ คุณภาพชีวติ GEN0115 ภาพยนตรว์ จิ กั ษ ์ 3(3-0-6) Science and Technology for Film Appreciation Quality of Life 26 คูม่ อื นกั ศกึ ษา 2 5 6 2 2019 STUDENT HANDBOOK

คณะครศุ าสตร์ หลักสูตรและการเรียนการสอน รหัสวิชา ช่อื วิชา น(บ-ป-อ) รหสั วิชา ช่ือวิชา น(บ-ป-อ) GEN0303 วิทยาศาสตรก์ ับสงิ่ แวดลอ้ ม 3(3-0-6) EDC2101 การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ 3(2-2-5) Science and Environments Learning Measurement and GEN0304 รเู้ ท่าทันดจิ ิทลั 3(3-0-6) Evaluation Digital Literacy EDC2102 วิทยาการจดั การเรียนรู ้ 3(2-2-5) GEN0305 นันทนาการเพอ่ื คุณภาพชีวิต 3(3-0-6) Instructional Science Recreation for Quality of Life EDC2103 นวตั กรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศ 3(2-2-5) GEN0306 สุขภาพสำ�หรับชีวติ ยคุ ใหม่ 3(3-0-6) เพ่ือการส่อื สารการศกึ ษาและการเรียนรู้ Health Care for New Gen Innovation and Information GEN0307 มหศั จรรย์แหง่ ความคดิ 3(3-0-6) Technology for Educational Miracle of Thought Communication and Learning GEN0308 อนิ โฟกราฟิก 3(3-0-6) EDC2104 การบริหารการศึกษาและการประกนั 3(2-2-5) Info Graphic คุณภาพการศกึ ษา GEN0309 ชวี ติ กับดิจทิ ัล 3(3-0-6) Education Administration and Digital for Life Quality Assurance in Education GEN0310 การสง่ เสริมสขุ ภาพทางเพศ 3(3-0-6) EDC3101 การวจิ ัยและพัฒนานวัตกรรมการเรยี นรู้ 3(2-2-5) Sexual Health Promotion Research and Development in GEN0311 ธรรมชาตบิ �ำ บดั 3(3-0-6) Innovation and Learning Natural Therapy EDC4101 ครนุ พิ นธ ์ 1(0-2-1) GEN0312 ร้เู ทา่ ทนั ภาวะการเงิน 3(3-0-6) Individual Study Financial Literacy EDC3301 จิตวทิ ยาการเรียนร้ ู 3(2-2-5) GEN0313 การเต้น 3(3-0-6) Psychology of Learning Dancing EDC3302 จิตวทิ ยาการเรยี นการสอน 3(2-2-5) GEN0314 โยคะ 3(3-0-6) Psychology of Learning and Yoga Instruction GEN0315 ชีวิตเลิกอว้ น 3(3-0-6) EDC3303 การสอนเพศศึกษา 3(2-2-5) Never Get Fat Again Teaching of Sex Education GEN0316 ศาสตรแ์ ห่งการชะลอวยั 3(3-0-6) EDC3304 ความคิดสรา้ งสรรค์สำ�หรับครู 3(2-2-5) Science of Anti-Aging Creativity for Teachers GEN0317 ศาสตรแ์ ละศลิ ป์แห่งอาหารชาววัง 3(3-0-6) EDC3305 ผกู้ ำ�กับลกู เสอื -เนตรนารีสามัญร่นุ ใหญ่ 1(0-2-1) State of the Art of Royal Cuisine ขน้ั ความรเู้ บ้ืองตน้ GEN0318 รักปลอดภัย 3(3-0-6) Basic Unit Leader of Boy Scout Safe Sex and Girl Guide GEN0319 ผู้ประกอบการธุรกจิ ดจิ ทิ ัล 3(3-0-6) 2.1.2) วชิ าฝกึ ประสบการณ์วิชาชีพ 15 หนว่ ยกติ Entrepreneurship in Digital EDC1201 การฝกึ ปฏิบัติวชิ าชพี ระหวา่ งเรียน 1 1(90) 1.4) นกั ศกึ ษาต้องเลอื กเรยี นอกี ไมน่ ้อยกวา่ 12 หน่วยกิต Practicum 1 จาก 3 กล่มุ วิชาข้างตน้ EDC2202 การฝกึ ปฏิบตั ิวชิ าชพี ระหว่างเรยี น 2 1(90) Practicum 2 2) หมวดวิชาเฉพาะด้าน ไมน่ ้อยกว่า 106 หนว่ ยกติ EDC3203 การฝกึ ปฏบิ ัติวชิ าชพี ระหว่างเรยี น 3 1(90) 2.1) กลุ่มวิชาชีพครู ไมน่ อ้ ยกว่า 43 หนว่ ยกติ Practicum 3 2.1.1) วิชาชีพครู ไม่นอ้ ยกว่า 28 หนว่ ยกิต EDC4201 การปฏิบตั ิการสอนในสถานศึกษา 1 6(360) EDC1101 ภาษาเพ่อื การสอื่ สาร 3(2-2-5) Internship 1 Language for Communication EDC4202 การปฏบิ ัตกิ ารสอนในสถานศกึ ษา 2 6(360) EDC1102 คณุ ธรรม จรยิ ธรรม จรรยาบรรณ 3(2-2-5) Internship 2 และจติ วญิ ญาณความเป็นครู 2.2) กลุ่มวิชาเอก ไม่นอ้ ยกวา่ 63 หน่วยกติ Ethics and Spirituality for Teachers 2.2.1) วชิ าบังคับ 42 หนว่ ยกิต EDC1103 จิตวทิ ยาส�ำ หรับครู 3(2-2-5) ECC1301 การพัฒนาสมองเพือ่ การเรยี นร้ ู 3(2-2-5) Psychology for Teacher ส�ำ หรบั เด็กปฐมวยั EDC1104 การพัฒนาหลักสตู ร 3(2-2-5) Brain and Learning for Early Curriculum Development Childhood Students 27 คู่มอื นักศกึ ษา 2 5 6 2 2019 STUDENT HANDBOOK

wมหwาวwิทย.าลsัยsราชrภuัฏส. วaนสcนุ นั. ทt าh รหสั วชิ า ชือ่ วิชา น(บ-ป-อ) รหัสวิชา ชอื่ วิชา น(บ-ป-อ) ECC1302 การอบรมเลี้ยงดูและสง่ เสรมิ การเรยี นรู้ 3(2-2-5) ECC3304 การจัดประสบการณเ์ พ่ือส่งเสรมิ 3(2-2-5) สำ�หรบั เด็กปฐมวัย การเรยี นรสู้ ำ�หรบั เด็กกลุ่มเปา้ หมายเฉพาะ Take Caring and Learning Experience Management to Encouragement for Early Encourage Learning for Specific Childhood Students Children Groups ECC1303 การพฒั นาสุขภาวะและความปลอดภยั 3(2-2-5) ECC3306 การจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้แบบ 3(2-2-5) สำ�หรบั เด็กปฐมวยั บูรณาการ การศึกษาปฐมวัยส�ำ หรับ Heath Care and Safety for Early เดก็ อายุ 3-6 ปี Childhood Students Experience Management to ECC1304 การช่วยเหลือเดก็ ปฐมวยั ทีม่ คี วามตอ้ งการ 3(2-2-5) Enhance Integrated Learning for จ�ำ เปน็ พเิ ศษ Children Age Between Three to Six Special Needed Early Childhood 2.2.1) วชิ าเลอื ก 21 หนว่ ยกติ Students Take Caring ECC2304 ส่อื และของเลน่ ส�ำ หรบั เด็กปฐมวัย 3(2-2-5) ECC1305 การจัดกจิ กรรมทางภาษาและการส่ือสาร 3(2-2-5) Media and Toys for Early ส�ำ หรบั เดก็ ปฐมวัย Childhood Students Language and Communication ECC2305 วรรณกรรมและนิทานส�ำ หรับเดก็ ปฐมวัย 3(2-2-5) Activities for Early Childhood Literatures and Stories for Early Students Childhood Students ECC1306 การจัดกจิ กรรมทักษะความฉลาด 3(2-2-5) ECC3303 การจดั กิจกรรมสง่ เสริมทักษะการคิด 3(2-2-5) ทางอารมณ์และสงั คมส�ำ หรบั เดก็ ปฐมวยั ส�ำ หรบั เด็กปฐมวยั Emotional Quotient and Social Thinking Skills Development Quotient Activities for Early Activities for Early Childhood Childhood Students Students ECC2301 การจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ ความพรอ้ มทาง 3(2-2-5) ECC3305 การมสี ว่ นรว่ มของครอบครวั 3(2-2-5) ด้านรา่ งกายส�ำ หรบั เด็กปฐมวัย สถานพัฒนาเดก็ ปฐมวยั สถานศกึ ษา Physical Development Activities และชมุ ชนระดับการศึกษาปฐมวยั for Early Childhood Students Family and Community ECC2302 การจัดกจิ กรรมทางศลิ ปะระดบั 3(2-2-5) Participation in Early Childhood การศกึ ษาปฐมวัย Education Arts Activities for Early Childhood ECC3307 สัมมนาปญั หาและแนวโน้มในการพฒั นา 3(2-2-5) Students การศึกษาปฐมวัยในอนาคต ECC2303 ลลี า จังหวะและการเคลอ่ื นไหวส�ำ หรบั 3(2-2-5) Seminar in Early Childhood เด็กปฐมวยั Education Development Trend Movement Activities for Early ECC3308 การตอ่ ยอดองคค์ วามรู้เพือ่ พฒั นา 3(2-2-5) Childhood Students นวตั กรรม ECC2306 การจัดประสบการณ์การเรยี นรแู้ บบ 3(2-2-5) Applying Knowledge to Create บูรณาการการศึกษาปฐมวัย ส�ำ หรับเด็ก Innovation อายุต�ำ่ กว่า 3 ปี ECC3309 การวิจยั ในช้ันเรยี นทางการศกึ ษาปฐมวัย 3(2-2-5) Integrated Learning Experience Classroom Research in Early for Children Under Three Childhood Education Years Old ECC4503 ศิลปะการแสดงส�ำ หรับเดก็ ปฐมวัย 3(2-2-5) ECC3301 การจดั กจิ กรรมการเลน่ ส�ำ หรับเด็กปฐมวยั 3(2-2-5) Dramatics Arts for Early Childhood Playing Activities Management ECC4505 ภาษาอังกฤษสำ�หรบั ครูการศึกษาปฐมวัย 3(2-2-5) for Early Childhood Students English for Academic Purpose Learning for Early Childhood Teacher ECC3302 การจดั กิจกรรมทางวิทยาศาสตร์และ 3(2-2-5) ECC4506 สิ่งแวดลอ้ มศกึ ษาส�ำ หรบั เดก็ ปฐมวัย 3(2-2-5) คณติ ศาสตร์ส�ำ หรับเด็กปฐมวัย Environment Studies for Early Science and Mathematics Childhood Activities for Early Childhood Students 28 คมู่ อื นกั ศกึ ษา 2 5 6 2 2019 STUDENT HANDBOOK

คณะครศุ าสตร์ หลักสตู รและการเรยี นการสอน 3) หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่นอ้ ยกวา่ 6 หน่วยกติ รหสั วิชา ชอ่ื วชิ า น(บ-ป-อ) นักศึกษาต้องเลือกเรียนไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต จากรายวิชาใดๆ ใน GEN0104 การพฒั นาตน 3(3-0-6) หลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา โดยไม่ซำ้�กับรายวิชาท่ีเคยเรียนมา Self Development แลว้ และตอ้ งไมเ่ ปน็ รายวชิ าทก่ี �ำ หนดใหเ้ รยี นโดยไมน่ บั หนว่ ยกติ รวมในเกณฑ์ GEN0105 ความจริงของชีวิต 3(3-0-6) การสำ�เร็จหลักสตู รของสาขาวชิ า Truth of Life GEN0106 ชวี ติ ในสังคมพหุวัฒนธรรม 3(3-0-6) Life in Multicultural Society คหลรกั สุศตู ราสตรบณั ฑติ GEN0107 ความเปน็ พลเมอื งด ี 3(3-0-6) Good Citizenship สาขาวิชาภาษาไทย GEN0108 ความคดิ อันงดงาม 3(3-0-6) หลกั สตู รปรับปรุง พ.ศ. 2562 Beautiful Thought GEN0109 ศาสตร์แหง่ ราชันย ์ 3(3-0-6) King’s Philosophy 1. ช่อื หลักสตู ร GEN0110 สำ�นกึ ไทย 3(3-0-6) ภาษาไทย : หลักสตู รครศุ าสตรบัณฑติ สาขาวิชาภาษาไทย Thai Consciousness ภาษาองั กฤษ : Bachelor of Education Program in Thai GEN0111 การสรา้ งบุคลิกผนู้ ำ� 3(3-0-6) 2. ช่อื ปรญิ ญาและสาขาวชิ า Building Leadership ช่ือเต็ม (ไทย) : ครศุ าสตรบัณฑติ (ภาษาไทย) GEN0112 ปัญญาไทยนอกกรอบ 3(3-0-6) ช่ือย่อ (ไทย) : ค.บ. (ภาษาไทย) Outside of the Box Thai Intellect ชื่อเต็ม (องั กฤษ) : Bachelor of Education (Thai) GEN0113 แรงบันดาลใจแห่งชีวติ 3(3-0-6) ชอ่ื ยอ่ (อังกฤษ) : B.Ed. (Thai) Inspiration of Life 3. จ�ำ นวนหนว่ ยกิตที่เรยี นตลอดหลกั สตู ร GEN0114 สีสนั วรรณกรรม 3(3-0-6) หลกั สูตรระดบั ปริญญาตรที างวิชาการ 142 หนว่ ยกติ Color of Literatures GEN0115 ภาพยนตรว์ จิ กั ษ ์ 3(3-0-6) 1) หมวดวชิ าศึกษาท่ัวไป ไมน่ อ้ ยกว่า 30 หนว่ ยกิต Film Appreciation การจัดการเรียนการสอนหมวดวิชาศึกษาทั่วไป นักศึกษาจะต้องเรียนใน GEN0116 ความผิดหวงั สู่ฝนั ที่เปน็ จริง 3(3-0-6) รายวชิ าศกึ ษาทว่ั ไป โดยมจี �ำ นวนหนว่ ยกติ ไมน่ อ้ ยกวา่ 30 หนว่ ยกติ แบง่ เปน็ From Disappointment to a 1.1) กลมุ่ วิชามนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ ไม่นอ้ ยกวา่ 6 หนว่ ยกิต Dream Come True 1.2) กลมุ่ วิชาภาษา ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต 1.2) กลมุ่ วชิ าภาษา ใหเ้ รียนไมน่ ้อยกว่า 6 หน่วยกิต 1.3) กลุ่มวิชาวิทยาศาสตรแ์ ละคณิตศาสตร์ ไมน่ ้อยกวา่ 6 หนว่ ยกิต GEN0201 การใช้ภาษาไทย 3(3-0-6) 1.4) เลือกเรียนจาก 3 กลุ่มวชิ าข้างตน้ อกี ไม่นอ้ ยกวา่ 12 หน่วยกติ Thai Usage 2) หมวดวิชาเฉพาะดา้ น ไมน่ อ้ ยกวา่ 106 หนว่ ยกติ GEN0202 ภาษาไทยเชงิ วชิ าการ 3(3-0-6) 2.1) กล่มุ วชิ าชพี ครู ไม่น้อยกว่า 43 หน่วยกิต Thai for Academic Purposes 2.1.1) วิชาชพี ครู ไม่นอ้ ยกว่า 28 หน่วยกติ GEN0203 ภาษาไทยเพือ่ การประกอบอาชพี 3(3-0-6) 2.1.2) วิชาฝกึ ประสบการณ์วชิ าชพี ไมน่ ้อยกวา่ 15 หนว่ ยกิต Thai for Career 2.2) กลุ่มวชิ าเอก ไมน่ อ้ ยกว่า 63 หนว่ ยกิต GEN0204 ภาษาอังกฤษเพ่ือการส่อื สาร 3(3-0-6) 2.2.1) วชิ าบังคับ ไมน่ อ้ ยกว่า 42 หน่วยกติ และการสบื ค้น 2.2.2) วชิ าเลือก ไมน่ อ้ ยกวา่ 21 หนว่ ยกิต English for Communication and 3) หมวดวิชาเลอื กเสรี ไมน่ ้อยกว่า 6 หนว่ ยกติ Information Retrieval GEN0205 ภาษาอังกฤษเพอ่ื ทักษะการเรยี น 3(3-0-6) 1) หมวดวิชาศึกษาทัว่ ไป ไม่น้อยกวา่ 30 หนว่ ยกิต English for Study Skills 1.1) กลุ่มวิชามนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ GEN0206 ภาษาองั กฤษเชงิ วิชาการ 3(3-0-6) ใหเ้ รยี นไม่นอ้ ยกว่า 6 หน่วยกิต English for Academic Purposes รหสั วิชา ชื่อวิชา น(บ-ป-อ) GEN0207 ภาษาอังกฤษเพอ่ื การประกอบวิชาชพี 3(3-0-6) GEN0101 ชาววังสวนสุนนั ทา 3(3-0-6) English for Career Development The Royal Court of Suan GEN0208 ภาษาองั กฤษเพอ่ื การดูแลสขุ ภาพ 3(3-0-6) Sunandha English for Health Care GEN0102 สนุ ทรียภาพของชวี ิต 3(3-0-6) GEN0209 ภาษาอังกฤษเพ่อื การน�ำ เสนอและการพดู 3(3-0-6) Aesthetic Appreciation ในทส่ี าธารณะ GEN0103 สงั คมไทยในบรบิ ทโลก 3(3-0-6) Public Speaking and Presentation Thai Society in Global Context Skills in English 29 ค่มู ือนกั ศกึ ษา 2 5 6 2 2019 STUDENT HANDBOOK

wมหwาวwทิ ย.าลsัยsราชrภuัฏส. วaนสcนุ ัน. ทt าh รหสั วิชา ชอ่ื วชิ า น(บ-ป-อ) รหัสวิชา ชือ่ วิชา น(บ-ป-อ) GEN0210 วาทกรรมภาษาอังกฤษเพือ่ การสอ่ื สาร 3(3-0-6) GEN0316 ศาสตรแ์ หง่ การชะลอวยั 3(3-0-6) Discourse English for Science of Anti-Aging Communication GEN0317 ศาสตรแ์ ละศลิ ปแ์ ห่งอาหารชาววงั 3(3-0-6) GEN0211 ภาษาจนี 3(3-0-6) State of the Art of Royal Cuisine Chinese Language GEN0318 รกั ปลอดภัย 3(3-0-6) GEN0212 ภาษาพมา่ 3(3-0-6) Safe Sex Burmese Language GEN0319 ผู้ประกอบการธรุ กิจดิจทิ ัล 3(3-0-6) GEN0213 ภาษาเขมร 3(3-0-6) Entrepreneurship in Digital Khmer Language 1.4) นกั ศกึ ษาตอ้ งเลือกเรยี นอกี ไมน่ ้อยกว่า 12 หนว่ ยกิต GEN0214 ภาษาลาว 3(3-0-6) จาก 3 กล่มุ วชิ าขา้ งต้น Lao Language GEN0215 ภาษาเวียดนาม 3(3-0-6) 2) หมวดวิชาเฉพาะดา้ น ไม่นอ้ ยกวา่ 106 หน่วยกิต Vietnamese Language 2.1) กล่มุ วชิ าชพี ครู ไม่นอ้ ยกวา่ 43 หน่วยกติ GEN0216 ภาษามาเลย ์ 3(3-0-6) 2.1.1) วชิ าชพี ครู ไม่น้อยกว่า 28 หน่วยกิต Malay Language EDC1101 ภาษาเพือ่ การส่ือสาร 3(2-2-5) 1.3) กลุม่ วชิ าวทิ ยาศาสตรแ์ ละคณิตศาสตร์ Language for Communication ใหเ้ รยี นไมน่ ้อยกว่า 6 หนว่ ยกติ EDC1102 คณุ ธรรม จรยิ ธรรม จรรยาบรรณ 3(2-2-5) GEN0301 เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการสอื่ สาร 3(3-0-6) และจิตวิญญาณความเปน็ ครู Information Technology for Ethics and Spirituality for Teachers Communication EDC1103 จิตวิทยาสำ�หรบั ครู 3(2-2-5) GEN0302 วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย ี 3(3-0-6) Psychology for Teacher เพอ่ื คุณภาพชีวติ EDC1104 การพัฒนาหลักสตู ร 3(2-2-5) Science and Technology for Curriculum Development Quality of Life EDC2101 การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นร้ ู 3(2-2-5) GEN0303 วิทยาศาสตร์กับส่ิงแวดล้อม 3(3-0-6) Learning Measurement and Science and Environments Evaluation GEN0304 รเู้ ทา่ ทันดจิ ทิ ลั 3(3-0-6) EDC2102 วทิ ยาการจัดการเรยี นร ู้ 3(2-2-5) Digital Literacy Instructional Science GEN0305 นนั ทนาการเพ่อื คุณภาพชวี ิต 3(3-0-6) EDC2103 นวตั กรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศ 3(2-2-5) Recreation for Quality of Life เพื่อการสอ่ื สารการศกึ ษาและการเรยี นรู้ GEN0306 สุขภาพส�ำ หรับชีวิตยุคใหม่ 3(3-0-6) Innovation and Information Health Care for New Gen Technology for Educational GEN0307 มหศั จรรยแ์ ห่งความคดิ 3(3-0-6) Communication and Learning Miracle of Thought EDC2104 การบริหารการศึกษาและการประกัน 3(2-2-5) GEN0308 อนิ โฟกราฟกิ 3(3-0-6) คณุ ภาพการศกึ ษา Info Graphic Education Administration and GEN0309 ชวี ติ กับดจิ ทิ ัล 3(3-0-6) Quality Assurance in Education Digital for Life EDC3101 การวจิ ยั และพัฒนานวตั กรรมการเรยี นร ู้ 3(2-2-5) GEN0310 การสง่ เสริมสขุ ภาพทางเพศ 3(3-0-6) Research and Development in Sexual Health Promotion Innovation and Learning GEN0311 ธรรมชาตบิ ำ�บัด 3(3-0-6) EDC4101 ครุนพิ นธ ์ 1(0-2-1) Natural Therapy Individual Study GEN0312 รูเ้ ท่าทนั ภาวะการเงิน 3(3-0-6) EDC3301 จิตวิทยาการเรียนร ู้ 3(2-2-5) Financial Literacy Psychology of Learning GEN0313 การเตน้ 3(3-0-6) EDC3302 จิตวิทยาการเรียนการสอน 3(2-2-5) Dancing Psychology of Learning and GEN0314 โยคะ 3(3-0-6) Instruction Yoga EDC3303 การสอนเพศศกึ ษา 3(2-2-5) GEN0315 ชวี ติ เลิกอว้ น 3(3-0-6) Teaching of Sex Education Never Get Fat Again EDC3304 ความคิดสร้างสรรคส์ �ำ หรับครู 3(2-2-5) Creativity for Teachers 30 คู่มือนักศกึ ษา 2 5 6 2 2019 STUDENT HANDBOOK

คณะครุศาสตร์ หลกั สูตรและการเรียนการสอน รหสั วิชา ชือ่ วิชา น(บ-ป-อ) รหัสวชิ า ชื่อวิชา น(บ-ป-อ) EDC3305 ผกู้ �ำ กับลูกเสือ-เนตรนารสี ามัญร่นุ ใหญ่ 1(0-2-1) THC3302 การออกแบบและผลติ สือ่ การศกึ ษา 3(2-2-5) ขน้ั ความรเู้ บอ้ื งตน้ กลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาไทย Basic Unit Leader of Boy Scout Design and Production of and Girl Guide Educational Media of Thai 2.1.2) วชิ าฝกึ ประสบการณว์ ิชาชพี 15 หนว่ ยกติ Language Learning Area EDC1201 การฝึกปฏิบตั ิวิชาชพี ระหว่างเรยี น 1 1(90) THC3303 การวัดและประเมนิ ผลการเรียนการสอน 3(2-2-5) Practicum 1 ภาษาไทยในศตวรรษที่ 21 EDC2202 การฝกึ ปฏบิ ตั ิวชิ าชพี ระหวา่ งเรยี น 2 1(90) Measurement and Evaluation of Practicum 2 Thai Language Teaching in EDC3203 การฝึกปฏิบัติวิชาชพี ระหว่างเรยี น 3 1(90) 21st Century Practicum 3 THC3304 การจดั การเรียนรู้ภาษาไทย 3(2-2-5) EDC4201 การปฏบิ ตั ิการสอนในสถานศึกษา 1 6(360) Instructional of Thai Language Internship 1 2.2.2) วิชาเลือก 21 หนว่ ยกิต EDC4202 การปฏบิ ัตกิ ารสอนในสถานศกึ ษา 2 6(360) THC3305 ความคดิ สร้างสรรคก์ ับการสรรสร้าง 3(2-2-5) Internship 2 งานเขียน 2.2) กลุม่ วิชาเอก ไมน่ อ้ ยกวา่ 63 หน่วยกิต Creative Thinking and Creative 2.2.1) วิชาบงั คับ 42 หนว่ ยกติ Writing THC1301 การฟงั การดแู ละการพดู สำ�หรับ 3(2-2-5) THC3306 การเขยี นสารคดี 3(2-2-5) ครูภาษาไทย Non-fiction Writing Listening Watching and THC3307 ศิลปะการน�ำ เสนอ 3(2-2-5) Speaking Art of Presentation THC1302 แนวทางการศึกษาวรรณคดไี ทย 3(2-2-5) THC3308 ภาษาไทยเพ่ือกจิ ธรุ ะ 3(2-2-5) The Study of Thai Literature Thai for Official Purposes THC1303 หลกั ภาษาไทย 3(2-2-5) THC3309 ภาษาเพือ่ การโฆษณาและประชาสัมพันธ์ 3(2-2-5) Principles of Thai Language Language for Advertising and THC1304 การอ่านคิดพัฒนาชวี ติ 3(2-2-5) Public Relations Reading, Thinking, and THC3310 ภาษาไทยเพอื่ การแสดง 3(2-2-5) Developing Life Thai for Performances THC1305 การเขียนเพื่อการส่อื สารทางวิชาการ 3(2-2-5) THC3311 ศิลปะการอา่ นออกเสียง 3(2-2-5) และวิชาชีพ The Art of Read Aloud Writing for Academic THC3312 การประพันธร์ อ้ ยกรองไทย 3(2-2-5) Communication and Occupation Thai Verse Composition THC1306 พฒั นาการของภาษาไทย 3(2-2-5) THC3313 บทพระราชนพิ นธ์ในพระบาทสมเดจ็ 3(2-2-5) The Development of Thai พระพุทธเลศิ หล้านภาลยั Language King Rama II’s Literary Works THC2301 พัฒนาการของวรรณคดีไทย 3(2-2-5) THC3314 บทพระราชนพิ นธ์ในพระบาทสมเด็จ 3(2-2-5) The Development of Thai พระมงกฎุ เกลา้ เจ้าอย่หู ัว Literature King Rama VI’s Literary Works THC2302 ภาษาศาสตร์สำ�หรบั ครูภาษาไทย 3(2-2-5) THC3315 นวนิยายและเร่อื งสัน้ 3(2-2-5) Linguistics for Thai Language Novels and Short Stories Teacher THC3316 วรรณกรรมทอ้ งถ่ิน 3(2-2-5) THC2303 วรรณกรรมกับการวิจารณ์อย่าง 3(2-2-5) Thai Local Literature สรา้ งสรรค์ THC3317 คติชนวิทยา 3(2-2-5) Literature and Creative Criticism Folklore THC2304 วรรณกรรมคดั สรรในหนังสือเรียน 3(2-2-5) THC3318 ภาษาไทยถ่นิ 3(2-2-5) The Best Selected Literatures Thai Dialects in Textbooks THC3319 ภาษากบั วัฒนธรรมไทย 3(2-2-5) THC3301 การออกแบบการจัดการเรียนรู ้ 3(2-2-5) Thai Language and Culture วิชาภาษาไทย THC3320 ค�ำ และส�ำ นวนในภาษาไทย 3(2-2-5) Learning Design of Thai Words and Idiomatic Expression Language in Thai Language 3(2-2-5) 31 ค่มู อื นักศึกษา 2 5 6 2 2019 STUDENT HANDBOOK

wมหwาวwทิ ย.าลsยั sราชrภuัฏส. วaนสcนุ นั. ทt าh รหัสวิชา ชอื่ วชิ า น(บ-ป-อ) 2.2) กลมุ่ วชิ าเอก ไมน่ อ้ ยกว่า 63 หนว่ ยกิต THC3321 ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย 3(2-2-5) 2.2.1) วิชาบงั คบั ไม่น้อยกวา่ 42 หน่วยกติ Foreign Languages in Thai 2.2.2) วชิ าเลอื ก ไม่น้อยกว่า 21 หนว่ ยกิต Language 3) หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกวา่ 6 หนว่ ยกติ THC3322 การสอนภาษาไทยส�ำ หรับชาวตา่ งชาติ 3(2-2-5) Teaching Thai Language for 1) หมวดวิชาศึกษาทัว่ ไป ไมน่ ้อยกว่า 30 หน่วยกติ Foreigners 1.1) กล่มุ วิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ THC3323 การพัฒนาหนงั สือเรยี นภาษาไทย 3(2-2-5) ใหเ้ รียนไม่น้อยกวา่ 6 หนว่ ยกติ Thai Language Textbooks รหัสวิชา ชอ่ื วิชา น(บ-ป-อ) Development GEN0101 ชาววงั สวนสุนันทา 3(3-0-6) THC3324 วจิ ัยในชัน้ เรยี น 3(2-2-5) The Royal Court of Suan Classroom Action Research Sunandha THC3325 โครงงานและสมั มนา 3(2-2-5) GEN0102 สนุ ทรยี ภาพของชวี ิต 3(3-0-6) Project and Seminar Aesthetic Appreciation GEN0103 สงั คมไทยในบริบทโลก 3(3-0-6) 3) หมวดวชิ าเลอื กเสรี ไม่น้อยกวา่ 6 หน่วยกติ Thai Society in Global Context ให้เลือกเรียนรายวิชาใดๆ ในหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา GEN0104 การพฒั นาตน 3(3-0-6) โดยไม่ซำ้�กับรายวิชาท่ีเคยเรียนมาแล้ว และต้องไม่เป็นรายวิชาที่กำ�หนดให้ Self Development เรยี นโดยไมน่ ับหนว่ ยกติ รวมในเกณฑก์ ารสำ�เรจ็ หลกั สูตรของสาขาวิชา GEN0105 ความจรงิ ของชวี ติ 3(3-0-6) Truth of Life GEN0106 ชีวติ ในสงั คมพหวุ ฒั นธรรม 3(3-0-6) หคลรกั สศุูตราสตรบณั ฑติ Life in Multicultural Society GEN0107 ความเป็นพลเมืองดี 3(3-0-6) สาขาวิชาภาษาอังกฤษ Good Citizenship หลกั สตู รปรับปรุง พ.ศ. 2562 GEN0108 ความคดิ อนั งดงาม 3(3-0-6) Beautiful Thought GEN0109 ศาสตร์แหง่ ราชันย์ 3(3-0-6) 1. ชอ่ื หลกั สตู ร King’s Philosophy ภาษาองั กฤษ : หลักสตู รครศุ าสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าภาษาอังกฤษ ภาษาองั กฤษ : Bachelor of Education Program in English GEN0110 สำ�นกึ ไทย 3(3-0-6) Thai Consciousness 2. ชอ่ื ปรญิ ญาและสาขาวชิ า GEN0111 การสรา้ งบคุ ลิกผู้นำ� 3(3-0-6) ภาษาไทย ชื่อเตม็ (ไทย) : ครศุ าสตรบัณฑติ (ภาษาองั กฤษ) ชื่อย่อ (ไทย) : ค.บ. (ภาษาองั กฤษ) Building Leadership GEN0112 ปญั ญาไทยนอกกรอบ 3(3-0-6) ภาษาองั กฤษ ชอ่ื เตม็ (องั กฤษ) : Bachelor of Education (English) Outside of the Box Thai Intellect ชอ่ื ยอ่ (อังกฤษ) : B.Ed. (English) 3. จ�ำ นวนหน่วยกติ ท่เี รียนตลอดหลักสตู ร GEN0113 แรงบนั ดาลใจแหง่ ชวี ิต 3(3-0-6) Inspiration of Life หลักสูตรระดบั ปรญิ ญาตรที างวิชาการ 142 หน่วยกิต GEN0114 สสี ันวรรณกรรม 3(3-0-6) 1) หมวดวชิ าศึกษาทั่วไป ไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกติ Color of Literatures GEN0115 ภาพยนตร์วจิ ักษ์ 3(3-0-6) การจัดการเรียนการสอนหมวดวิชาศึกษาท่ัวไป นักศึกษาจะต้องเรียนใน Film Appreciation รายวชิ าศกึ ษาทวั่ ไป โดยมจี �ำ นวนหนว่ ยกติ ไมน่ อ้ ยกวา่ 30 หนว่ ยกติ แบง่ เปน็ 1.1) กลุ่มวิชามนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ ไม่นอ้ ยกว่า 6 หนว่ ยกติ GEN0116 ความผดิ หวงั ส่ฝู นั ทเี่ ปน็ จริง 3(3-0-6) From Disappointment to a 1.2) กลมุ่ วิชาภาษา ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต Dream Come True 1.3) กลุม่ วิชาวทิ ยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตร์ ไมน่ ้อยกวา่ 6 หน่วยกิต 1.4) เลอื กเรยี นจาก 3 กลุ่มวิชาขา้ งตน้ อีก ไม่น้อยกวา่ 12 หน่วยกิต 1.2) กลุ่มวิชาภาษา ให้เรยี นไม่น้อยกวา่ 6 หน่วยกติ GEN0201 การใชภ้ าษาไทย 3(3-0-6) 2) หมวดวิชาเฉพาะดา้ น ไมน่ อ้ ยกวา่ 106 หน่วยกิต Thai Usage 2.1) กล่มุ วชิ าชพี ครู ไมน่ อ้ ยกวา่ 43 หนว่ ยกิต 2.1.1) วชิ าชีพครู ไมน่ อ้ ยกวา่ 28 หนว่ ยกิต GEN0202 ภาษาไทยเชิงวิชาการ 3(3-0-6) Thai for Academic Purposes 2.1.2) วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชพี ไมน่ ้อยกว่า 15 หน่วยกิต GEN0203 ภาษาไทยเพอื่ การประกอบอาชีพ 3(3-0-6) Thai for Career 32 คูม่ ือนักศกึ ษา 2 5 6 2 2019 STUDENT HANDBOOK

คณะครศุ าสตร์ หลกั สูตรและการเรยี นการสอน รหสั วิชา ชื่อวิชา น(บ-ป-อ) รหสั วชิ า ชือ่ วชิ า น(บ-ป-อ) GEN0204 ภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสาร 3(3-0-6) GEN0308 อินโฟกราฟิก 3(3-0-6) และการสืบคน้ Info Graphic English for Communication and GEN0309 ชวี ิตกบั ดจิ ิทัล 3(3-0-6) Information Retrieval Digital for Life GEN0205 ภาษาองั กฤษเพื่อทักษะการเรียน 3(3-0-6) GEN0310 การสง่ เสรมิ สขุ ภาพทางเพศ 3(3-0-6) English for Study Skills Sexual Health Promotion GEN0206 ภาษาอังกฤษเชงิ วิชาการ 3(3-0-6) GEN0311 ธรรมชาตบิ �ำ บดั 3(3-0-6) English for Academic Purposes Natural Therapy GEN0207 ภาษาองั กฤษเพื่อการประกอบวิชาชีพ 3(3-0-6) GEN0312 รู้เท่าทันภาวะการเงนิ 3(3-0-6) English for Career Development Financial Literacy GEN0208 ภาษาอังกฤษเพอื่ การดแู ลสขุ ภาพ 3(3-0-6) GEN0313 การเตน้ 3(3-0-6) English for Health Care Dancing GEN0209 ภาษาองั กฤษเพอื่ การน�ำ เสนอและการพูด 3(3-0-6) GEN0314 โยคะ 3(3-0-6) ในที่สาธารณะ Yoga Public Speaking and Presentation GEN0315 ชีวิตเลกิ อ้วน 3(3-0-6) Skills in English Never Get Fat Again GEN0210 วาทกรรมภาษาองั กฤษเพอ่ื การสอื่ สาร 3(3-0-6) GEN0316 ศาสตรแ์ ห่งการชะลอวยั 3(3-0-6) Discourse English for Science of Anti-Aging Communication GEN0317 ศาสตรแ์ ละศลิ ปแ์ หง่ อาหารชาววงั 3(3-0-6) GEN0211 ภาษาจนี 3(3-0-6) State of the Art of Royal Cuisine Chinese Language GEN0318 รักปลอดภัย 3(3-0-6) GEN0212 ภาษาพม่า 3(3-0-6) Safe Sex Burmese Language GEN0319 ผู้ประกอบการธรุ กจิ ดิจิทลั 3(3-0-6) GEN0213 ภาษาเขมร 3(3-0-6) Entrepreneurship in Digital Khmer Language 1.4) นกั ศึกษาต้องเลือกเรยี นอกี ไมน่ ้อยกวา่ 12 หน่วยกติ GEN0214 ภาษาลาว 3(3-0-6) จาก 3 กล่มุ วิชาข้างต้น Lao Language GEN0215 ภาษาเวยี ดนาม 3(3-0-6) 2) หมวดวิชาเฉพาะดา้ น ไม่นอ้ ยกว่า 106 หน่วยกิต Vietnamese Language 2.1) กลุ่มวชิ าชีพครู ไมน่ ้อยกวา่ 43 หน่วยกติ GEN0216 ภาษามาเลย์ 3(3-0-6) 2.1.1) วิชาชพี ครู ไมน่ ้อยกว่า 28 หนว่ ยกิต Malay Language EDC1101 ภาษาเพ่อื การสอ่ื สาร 3(2-2-5) 1.3) กลุ่มวิชาวทิ ยาศาสตรแ์ ละคณิตศาสตร์ Language for Communication ใหเ้ รยี นไมน่ อ้ ยกวา่ 6 หนว่ ยกติ EDC1102 คุณธรรม จรยิ ธรรม จรรยาบรรณ 3(2-2-5) GEN0301 เทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่อื การส่อื สาร 3(3-0-6) และจติ วิญญาณความเปน็ ครู Information Technology for Ethics and Spirituality for Teachers Communication EDC1103 จติ วทิ ยาส�ำ หรบั ครู 3(2-2-5) GEN0302 วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลย ี 3(3-0-6) Psychology for Teacher เพ่ือคุณภาพชีวิต EDC1104 การพัฒนาหลกั สูตร 3(2-2-5) Science and Technology for Curriculum Development Quality of Life EDC2101 การวัดและประเมินผลการเรยี นรู ้ 3(2-2-5) GEN0303 วทิ ยาศาสตรก์ บั สิ่งแวดลอ้ ม 3(3-0-6) Learning Measurement and Science and Environments Evaluation GEN0304 รูเ้ ท่าทนั ดจิ ิทลั 3(3-0-6) EDC2102 วิทยาการจัดการเรยี นร้ ู 3(2-2-5) Digital Literacy Instructional Science GEN0305 นันทนาการเพอื่ คณุ ภาพชวี ติ 3(3-0-6) EDC2103 นวตั กรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ 3(2-2-5) Recreation for Quality of Life เพ่อื การส่ือสารการศึกษาและการเรยี นรู้ GEN0306 สขุ ภาพสำ�หรบั ชีวิตยคุ ใหม่ 3(3-0-6) Innovation and Information Health Care for New Gen Technology for Educational GEN0307 มหัศจรรย์แห่งความคิด 3(3-0-6) Communication and Learning Miracle of Thought 33 คมู่ ือนกั ศึกษา 2 5 6 2 2019 STUDENT HANDBOOK

wมหwาวwิทย.าลsัยsราชrภuัฏส. วaนสcนุ ัน. ทt าh รหสั วชิ า ชื่อวชิ า น(บ-ป-อ) รหัสวิชา ช่อื วิชา น(บ-ป-อ) EDC2104 การบรหิ ารการศกึ ษาและการประกัน 3(2-2-5) EEC2306 สัทศาสตรแ์ ละสทั วทิ ยาส�ำ หรับครู 3(2-2-5) คณุ ภาพการศึกษา ภาษาอังกฤษ Education Administration and Phonetics and Phonology for Quality Assurance in Education Teachers of English EDC3101 การวิจัยและพฒั นานวัตกรรมการเรียนรู้ 3(2-2-5) EEC2307 วรรณกรรมเพื่อการสอนภาษาอังกฤษ 3(2-2-5) Research and Development in Literary Works for English Innovation and Learning Language Teaching EDC4101 ครนุ พิ นธ ์ 1(0-2-1) EEC2308 ไวยากรณข์ ัน้ สูงส�ำ หรบั ครูภาษาองั กฤษ 3(2-2-5) Individual Study Advanced Grammar for Teachers EDC3301 จติ วิทยาการเรียนร ู้ 3(2-2-5) of English Psychology of Learning EEC2309 การแปลสำ�หรบั ครูภาษาองั กฤษ 3(2-2-5) EDC3302 จติ วิทยาการเรยี นการสอน 3(2-2-5) Translation for Teachers of English Psychology of Learning and EEC2310 การเขยี นเชงิ วิชาการส�ำ หรบั ครู 3(2-2-5) Instruction ภาษาองั กฤษ EDC3303 การสอนเพศศึกษา 3(2-2-5) Academic Writing for Teachers Teaching of Sex Education of English EDC3304 ความคดิ สรา้ งสรรค์ส�ำ หรับครู 3(2-2-5) EEC3311 หลกั สตู รและการจัดการเรียนร้ ู 3(2-2-5) Creativity for Teachers ภาษาอังกฤษ EDC3305 ผกู้ ำ�กับลูกเสือ-เนตรนารสี ามัญรุ่นใหญ่ 1(0-2-1) Curriculum and English Learning ขน้ั ความรู้เบ้ืองตน้ Activities Basic Unit Leader of Boy Scout EEC3312 การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู ้ 3(2-2-5) and Girl Guide ภาษาองั กฤษ 2.1.2) วิชาฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชพี 15 หนว่ ยกิต English Language Assessment EDC1201 การฝกึ ปฏิบัตวิ ชิ าชพี ระหว่างเรียน 1 1(90) EEC3313 การวจิ ัยทางการเรียนการสอน 3(2-2-5) Practicum 1 ภาษาองั กฤษ EDC2202 การฝึกปฏิบัติวชิ าชีพระหวา่ งเรยี น 2 1(90) Research in English Language Practicum 2 Teaching EDC3203 การฝึกปฏิบัตวิ ชิ าชพี ระหวา่ งเรยี น 3 1(90) EEC3314 สัมมนาการสอนภาษาอังกฤษ 3(2-2-5) Practicum 3 Seminar in English Language EDC4201 การปฏบิ ัติการสอนในสถานศึกษา 1 6(360) Teaching Internship 1 2.2.1) วชิ าเลอื ก 21 หน่วยกติ EDC4202 การปฏิบตั ิการสอนในสถานศึกษา 2 6(360) EEC1315 ภาษาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั 3(2-2-5) Internship 2 เพื่อการสอนภาษาองั กฤษ 2.2) กลุม่ วิชาเอก ใหเ้ รยี นไม่นอ้ ยกว่า 63 หน่วยกิต Linguistics and Digital 2.2.1) วิชาบังคับ ใหเ้ รยี นไมน่ อ้ ยกว่า 42 หนว่ ยกิต Technology for English Language EEC1301 การฟงั และการพดู ส�ำ หรับครูภาษาอังกฤษ 3(2-2-5) Teaching Listening and Speaking for EEC2316 การพฒั นาสือ่ และนวตั กรรมการเรียนรู้ 3(2-2-5) Teachers of English ภาษาอังกฤษ EEC1302 หลักภาษาสำ�หรับครูภาษาอังกฤษ 3(2-2-5) Material Development and English Structure for Teachers Learning Innovations in English of English Language Teaching EEC1303 วัฒนธรรมโลกสำ�หรบั ครภู าษาองั กฤษ 3(2-2-5) EEC3317 การจัดการเรยี นรภู้ าษาอังกฤษสำ�หรบั 3(2-2-5) World Cultures for Teachers ผูเ้ รยี นในศตวรรษท่ี 21 of English English Language Learning EEC1304 การจัดการช้นั เรยี นภาษาองั กฤษ 3(2-2-5) Management for the 21st Century English Classroom Management Learners EEC1305 การอ่านเพื่อการคิดวเิ คราะห์ส�ำ หรับครู 3(2-2-5) EEC3318 การจดั การเรียนรู้ภาษาอังกฤษ 3(2-2-5) ภาษาอังกฤษ ในโรงเรียนสองภาษา Critical Reading for Teachers English Language Learning of English Management in Bilingual Schools 34 ค่มู อื นักศึกษา 2 5 6 2 2019 STUDENT HANDBOOK

คณะครศุ าสตร์ หลักสตู รและการเรียนการสอน รหัสวิชา ช่ือวิชา น(บ-ป-อ) 3. จำ�นวนหน่วยกิตทเี่ รยี นตลอดหลกั สตู ร EEC3319 การบูรณาการการอา่ นเชิงวชิ าการ 3(2-2-5) หลักสตู รระดบั ปรญิ ญาตรที างวิชาการ 142 หนว่ ยกิต กบั การพฒั นาองค์กรวิชาชพี ของครู ภาษาองั กฤษ 1) หมวดวชิ าศกึ ษาทวั่ ไป ไม่น้อยกวา่ 30 หนว่ ยกติ Integration of Academic Reading การจัดการเรียนการสอนหมวดวิชาศึกษาทั่วไป นักศึกษาจะต้องเรียนใน and Development of English รายวชิ าศกึ ษาทวั่ ไป โดยมจี �ำ นวนหนว่ ยกติ ไมน่ อ้ ยกวา่ 30 หนว่ ยกติ แบง่ เปน็ Teachers Association 1.1) กลุ่มวชิ ามนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ ไมน่ ้อยกวา่ 6 หนว่ ยกิต EEC3320 การออกแบบการจดั การเรยี นรู้ 3(2-2-5) 1.2) กลุ่มวิชาภาษา ไมน่ ้อยกว่า 6 หน่วยกิต ภาษาอังกฤษระดับมัธยมศึกษา 1.3) กลุ่มวชิ าวิทยาศาสตร์และคณติ ศาสตร์ ไม่น้อยกวา่ 6 หนว่ ยกิต Design of English Language 1.4) เลือกเรยี นจาก 3 กลมุ่ วชิ าขา้ งตน้ อกี ไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกติ Learning Area at Secondary Level 2) หมวดวิชาเฉพาะด้าน ไม่นอ้ ยกว่า 106 หน่วยกติ EEC3321 การจัดการเรียนรูเ้ พอื่ พฒั นาทกั ษะ 3(2-2-5) 2.1) กลุม่ วชิ าชีพครู ไมน่ อ้ ยกวา่ 43 หนว่ ยกติ การคดิ ด้วยวรรณกรรมส�ำ หรบั เด็ก 2.1.1) วชิ าชพี ครู ไมน่ ้อยกว่า 28 หน่วยกิต Learning Management for 2.1.2) วชิ าฝกึ ประสบการณ์วชิ าชพี ไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต Thinking Skill Development through 2.2) กลุ่มวิชาเอก ไม่นอ้ ยกวา่ 63 หน่วยกิต Children Literature 2.2.1) วชิ าบังคับ ไม่น้อยกวา่ 42 หน่วยกิต EEC3322 ภาษาอังกฤษเพือ่ การทดสอบมาตรฐาน 3(2-2-5) 2.2.2) วิชาเลอื ก ไม่น้อยกว่า 21 หนว่ ยกติ English for Language Proficiency 3) หมวดวชิ าเลอื กเสรี ไมน่ ้อยกวา่ 6 หน่วยกิต Tests EEC3323 การวเิ คราะหค์ วามตอ้ งการทางภาษา 3(2-2-5) 1) หมวดวิชาศึกษาทวั่ ไป ไม่น้อยกว่า 30 หนว่ ยกิต เพื่อการสอนภาษาองั กฤษ 1.1) กลุ่มวิชามนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ Language Needs Analysis for ให้เรยี นไมน่ ้อยกวา่ 6 หนว่ ยกติ English Language Teaching รหัสวิชา ชือ่ วิชา น(บ-ป-อ) EEC3324 วิจัยวพิ ากษท์ างการจดั การเรยี นรู้ 3(2-2-5) GEN0101 ชาววงั สวนสนุ นั ทา 3(3-0-6) ภาษาองั กฤษ The Royal Court of Suan Research Critique on English Sunandha Language Learning Management GEN0102 สุนทรียภาพของชวี ิต 3(3-0-6) EEC3325 การนิเทศการสอนวิชาภาษาองั กฤษ 3(2-2-5) Aesthetic Appreciation English Language Instructional GEN0103 สงั คมไทยในบรบิ ทโลก 3(3-0-6) Supervision Thai Society in Global Context GEN0104 การพัฒนาตน 3(3-0-6) 3) หมวดวชิ าเลอื กเสรี ไมน่ อ้ ยกวา่ 6 หน่วยกติ Self Development ใหเ้ ลอื กเรยี นรายวชิ าใดๆ ในหลกั สตู รมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวนสนุ นั ทาโดย GEN0105 ความจริงของชีวติ 3(3-0-6) ไมซ่ �ำ้ กบั รายวชิ าทเี่ คยเรยี นมาแลว้ และตอ้ งไมเ่ ปน็ รายวชิ าทก่ี �ำ หนดใหเ้ รยี นโดย Truth of Life ไมน่ บั หนว่ ยกติ รวมในเกณฑ์การส�ำ เรจ็ หลกั สตู รของสาขาวชิ า GEN0106 ชีวิตในสังคมพหวุ ฒั นธรรม 3(3-0-6) Life in Multicultural Society GEN0107 ความเป็นพลเมืองดี 3(3-0-6) หคลรกั สศุูตราสตรบณั ฑิต Good Citizenship GEN0108 ความคิดอันงดงาม 3(3-0-6) สาขาวิชาสังคมศึกษา Beautiful Thought หลกั สูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. 2562 GEN0109 ศาสตร์แห่งราชันย์ 3(3-0-6) King’s Philosophy 1. ช่ือหลกั สตู ร GEN0110 ส�ำ นกึ ไทย 3(3-0-6) ภาษาไทย : หลักสตู รครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศึกษา Thai Consciousness ภาษาองั กฤษ : Bachelor of Education Program in Social GEN0111 การสรา้ งบุคลิกผนู้ �ำ 3(3-0-6) Studies Building Leadership 2. ช่อื ปรญิ ญาและสาขาวิชา GEN0112 ปัญญาไทยนอกกรอบ 3(3-0-6) ภาษาไทย ชื่อเตม็ : ครุศาสตรบัณฑิต (สังคมศกึ ษา) Outside of the Box Thai Intellect ชื่อยอ่ : ค.บ. (สงั คมศึกษา) GEN0113 แรงบันดาลใจแหง่ ชวี ิต 3(3-0-6) ภาษาองั กฤษ ชือ่ เตม็ : Bachelor of Education (Social Studies) Inspiration of Life ช่ือย่อ : B.Ed. (Social Studies) GEN0114 สสี ันวรรณกรรม 3(3-0-6) Color of Literatures 35 คมู่ ือนักศึกษา 2 5 6 2 2019 STUDENT HANDBOOK

wมหwาวwิทย.าลsัยsราชrภuฏั ส. วaนสcุนัน. ทt าh รหสั วชิ า ช่อื วชิ า น(บ-ป-อ) รหัสวชิ า ช่อื วิชา น(บ-ป-อ) GEN0115 ภาพยนตรว์ ิจกั ษ ์ 3(3-0-6) GEN0302 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลย ี 3(3-0-6) Film Appreciation เพ่อื คุณภาพชวี ติ GEN0116 ความผดิ หวงั สู่ฝนั ทเ่ี ป็นจริง 3(3-0-6) Science and Technology for From Disappointment to a Quality of Life Dream Come True GEN0303 วทิ ยาศาสตร์กับส่ิงแวดลอ้ ม 3(3-0-6) 1.2) กลมุ่ วชิ าภาษา ใหเ้ รียนไม่น้อยกว่า 6 หนว่ ยกติ Science and Environments GEN0201 การใช้ภาษาไทย 3(3-0-6) GEN0304 ร้เู ท่าทนั ดจิ ทิ ัล 3(3-0-6) Thai Usage Digital Literacy GEN0202 ภาษาไทยเชิงวชิ าการ 3(3-0-6) GEN0305 นนั ทนาการเพ่อื คุณภาพชีวิต 3(3-0-6) Thai for Academic Purposes Recreation for Quality of Life GEN0203 ภาษาไทยเพื่อการประกอบอาชีพ 3(3-0-6) GEN0306 สุขภาพส�ำ หรบั ชวี ิตยคุ ใหม่ 3(3-0-6) Thai for Career Health Care for New Gen GEN0204 ภาษาองั กฤษเพอ่ื การส่อื สาร 3(3-0-6) GEN0307 มหัศจรรย์แห่งความคดิ 3(3-0-6) และการสืบคน้ Miracle of Thought English for Communication and GEN0308 อินโฟกราฟิก 3(3-0-6) Information Retrieval Info Graphic GEN0205 ภาษาอังกฤษเพ่อื ทักษะการเรียน 3(3-0-6) GEN0309 ชีวติ กบั ดจิ ทิ ลั 3(3-0-6) English for Study Skills Digital for Life GEN0206 ภาษาองั กฤษเชงิ วิชาการ 3(3-0-6) GEN0310 การส่งเสรมิ สขุ ภาพทางเพศ 3(3-0-6) English for Academic Purposes Sexual Health Promotion GEN0207 ภาษาองั กฤษเพอ่ื การประกอบวิชาชีพ 3(3-0-6) GEN0311 ธรรมชาตบิ ำ�บัด 3(3-0-6) English for Career Development Natural Therapy GEN0208 ภาษาองั กฤษเพือ่ การดูแลสุขภาพ 3(3-0-6) GEN0312 ร้เู ทา่ ทนั ภาวะการเงิน 3(3-0-6) English for Health Care Financial Literacy GEN0209 ภาษาองั กฤษเพอ่ื การน�ำ เสนอและการพูด 3(3-0-6) GEN0313 การเตน้ 3(3-0-6) ในท่สี าธารณะ Dancing Public Speaking and Presentation GEN0314 โยคะ 3(3-0-6) Skills in English Yoga GEN0210 วาทกรรมภาษาองั กฤษเพ่ือการส่อื สาร 3(3-0-6) GEN0315 ชีวิตเลิกอ้วน 3(3-0-6) Discourse English for Never Get Fat Again Communication GEN0316 ศาสตรแ์ ห่งการชะลอวยั 3(3-0-6) GEN0211 ภาษาจีน 3(3-0-6) Science of Anti-Aging Chinese Language GEN0317 ศาสตรแ์ ละศลิ ปแ์ หง่ อาหารชาววงั 3(3-0-6) GEN0212 ภาษาพมา่ 3(3-0-6) State of the Art of Royal Cuisine Burmese Language GEN0318 รกั ปลอดภัย 3(3-0-6) GEN0213 ภาษาเขมร 3(3-0-6) Safe Sex Khmer Language GEN0319 ผปู้ ระกอบการธรุ กจิ ดจิ ทิ ลั 3(3-0-6) GEN0214 ภาษาลาว 3(3-0-6) Entrepreneurship in Digital Lao Language 1.4) นักศึกษาต้องเลือกเรียนอกี ไมน่ ้อยกว่า 12 หน่วยกติ GEN0215 ภาษาเวยี ดนาม 3(3-0-6) จาก 3 กลุ่มวิชาขา้ งต้น Vietnamese Language GEN0216 ภาษามาเลย์ 3(3-0-6) 2) หมวดวชิ าเฉพาะด้าน ไมน่ อ้ ยกว่า 106 หนว่ ยกิต Malay Language 2.1) กลมุ่ วชิ าชีพครู ไมน่ ้อยกว่า 43 หนว่ ยกติ 1.3) กลมุ่ วิชาวิทยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตร์ 2.1.1) วิชาชพี ครู ไม่นอ้ ยกว่า 28 หน่วยกิต ใหเ้ รยี นไม่น้อยกวา่ 6 หน่วยกติ EDC1101 ภาษาเพือ่ การสื่อสาร 3(2-2-5) GEN0301 เทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อการสอ่ื สาร 3(3-0-6) Language for Communication Information Technology for EDC1102 คณุ ธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ 3(2-2-5) Communication และจติ วิญญาณความเป็นครู Ethics and Spirituality for Teachers EDC1103 จิตวิทยาสำ�หรับครู 3(2-2-5) Psychology for Teacher 36 คมู่ ือนกั ศึกษา 2 5 6 2 2019 STUDENT HANDBOOK

คณะครศุ าสตร์ หลักสตู รและการเรียนการสอน รหัสวชิ า ชอื่ วชิ า น(บ-ป-อ) รหัสวชิ า ชอื่ วิชา น(บ-ป-อ) EDC1104 การพัฒนาหลักสูตร 3(2-2-5) SOC1303 การเมืองการปกครองไทย 3(2-2-5) Curriculum Development Thai Politics and Government EDC2101 การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ 3(2-2-5) SOC1304 ภมู ิศาสตรก์ ายภาพ 3(2-2-5) Learning Measurement and Physical Geography Evaluation SOC2301 เศรษฐศาสตร์เบื้องตน้ 3(2-2-5) EDC2102 วทิ ยาการจัดการเรียนร้ ู 3(2-2-5) Introduction to Economics Instructional Science SOC2302 กฎหมายเบื้องต้น 3(2-2-5) EDC2103 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ 3(2-2-5) Principles of Jurisprudence เพอ่ื การส่อื สารการศึกษาและการเรยี นรู้ SOC2303 อารยธรรมโลก 3(2-2-5) Innovation and Information World Civilization Technology for Educational SOC2304 ศาสนศึกษา 3(2-2-5) Communication and Learning Religious Studies EDC2104 การบริหารการศึกษาและการประกนั 3(2-2-5) SOC3301 เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกจิ โลก 3(2-2-5) คุณภาพการศกึ ษา Thai Econocy and World Education Administration and Economy Quality Assurance in Education SOC3302 วธิ ีวทิ ยาการสอนสังคมศึกษา 3(2-2-5) EDC3101 การวจิ ัยและพฒั นานวัตกรรมการเรียนร ู้ 3(2-2-5) Social Studies Teaching Research and Development in Methodology Innovation and Learning SOC3303 สง่ิ แวดล้อมและประชากรศกึ ษา 3(2-2-5) EDC4101 ครุนพิ นธ์ 1(0-2-1) Environment and Population Individual Study Education EDC3301 จติ วิทยาการเรยี นรู้ 3(2-2-5) SOC3304 ประวตั ศิ าสตร์ทอ้ งถ่นิ 3(2-2-5) Psychology of Learning Local History EDC3302 จิตวทิ ยาการเรยี นการสอน 3(2-2-5) SOC3305 วัฒนธรรมสงั คมดิจิทลั 3(2-2-5) Psychology of Learning and Digital Society Culture Instruction SOC3306 โลกศกึ ษา 3(2-2-5) EDC3303 การสอนเพศศึกษา 3(2-2-5) Global Education Teaching of Sex Education 2.2.2) วิชาเลอื ก 21 หน่วยกติ EDC3304 ความคิดสรา้ งสรรคส์ ำ�หรบั ครู 3(2-2-5) SOC1305 ภูมิศาสตร์ประเทศไทย 3(2-2-5) Creativity for Teachers Geography of Thailand EDC3305 ผกู้ ำ�กบั ลูกเสือ-เนตรนารีสามญั รุ่นใหญ่ 1(0-2-1) SOC1306 มโนทศั น์สงั คมศึกษา 3(2-2-5) ข้นั ความรเู้ บอื้ งตน้ Social Studies Concepts Basic Unit Leader of Boy Scout SOC1307 พทุ ธธรรมและธรรมวทิ ยา 3(2-2-5) and Girl Guide Religious Doctrines 2.1.2) วิชาฝกึ ประสบการณ์วิชาชีพ 15 หนว่ ยกติ SOC1308 กรงุ เทพศกึ ษา 3(2-2-5) EDC1201 การฝึกปฏบิ ตั วิ ิชาชีพระหวา่ งเรียน 1 1(90) Bangkok Studies Practicum 1 SOC2305 เครอ่ื งมือทางภูมศิ าสตรแ์ ละภูมสิ ารสนเทศ 3(2-2-5) EDC2202 การฝกึ ปฏิบัติวชิ าชีพระหว่างเรยี น 2 1(90) Geographic Tools and Geo- Practicum 2 informatics EDC3203 การฝึกปฏิบัติวชิ าชีพระหวา่ งเรยี น 3 1(90) SOC2306 เกมเบด็ เตล็ดเพ่ือการสอนสงั คมศึกษา 3(2-2-5) Practicum 3 Minor Games for Social Studies EDC4201 การปฏบิ ัติการสอนในสถานศกึ ษา 1 6(360) Instruction Internship 1 SOC2307 ประวัติศาสตรเ์ อเชียตะวนั ออกเฉยี งใต ้ 3(2-2-5) EDC4202 การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 6(360) Southeast Asian History Internship 2 SOC2308 การพัฒนาหลักสตู รสังคมศกึ ษา 3(2-2-5) 2.2) กลมุ่ วิชาเอก ไมน่ อ้ ยกวา่ 63 หนว่ ยกิต Social Studies Curriculum 2.2.1) วิชาบงั คบั 42 หนว่ ยกิต Development SOC1301 ประวัติศาสตร์ไทย 3(2-2-5) SOC2309 ศาสนาและความเช่อื ในเอเชยี 3(2-2-5) Thai History ตะวันออกเฉยี งใต้ SOC1302 หลักสังคมวทิ ยา 3(2-2-5) Religious and Beliefs in Principles of Sociology Southeast Asia 37 คู่มอื นักศึกษา 2 5 6 2 2019 STUDENT HANDBOOK

wมหwาวwทิ ย.าลsัยsราชrภuัฏส. วaนสcุนัน. ทt าh รหัสวชิ า ชื่อวิชา น(บ-ป-อ) 2.1.1) วิชาชพี ครู ไมน่ อ้ ยกวา่ 28 หน่วยกติ SOC2310 เพศสถานะในสังคม 3(2-2-5) 2.1.2) วชิ าฝึกประสบการณว์ ิชาชีพ ไมน่ ้อยกว่า 15 หนว่ ยกติ Gender in Society 2.2) กล่มุ วิชาเอก ไม่น้อยกว่า 63 หน่วยกติ SOC2311 ปัญหาสังคมผ่านการแสดง 3(2-2-5) 2.2.1) วิชาบงั คับ ไม่นอ้ ยกว่า 42 หนว่ ยกติ Social Issues through 2.2.2) วิชาเลือก ไมน่ อ้ ยกวา่ 21 หนว่ ยกติ Performances 3) หมวดวิชาเลือกเสรี ไมน่ อ้ ยกว่า 6 หน่วยกติ SOC3307 นวตั กรรมและสอ่ื ดิจิทลั ทางสงั คมศึกษา 3(2-2-5) Educational Innovation and 1) หมวดวชิ าศกึ ษาท่วั ไป ไมน่ อ้ ยกว่า 30 หนว่ ยกิต Digital Media in Social Studies 1.1) กลุ่มวชิ ามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ SOC3308 การวิจยั เชงิ ปฏิบตั ิการในช้นั เรยี น 3(2-2-5) ให้เรียนไมน่ อ้ ยกวา่ 6 หนว่ ยกติ สงั คมศกึ ษา รหัสวชิ า ช่ือวชิ า น(บ-ป-อ) Social Studies Classroom Action GEN0101 ชาววงั สวนสุนนั ทา 3(3-0-6) Research The Royal Court of Suan SOC3309 สัมมนาสงั คมศกึ ษา 3(2-2-5) Sunandha Seminar in Social Studies GEN0102 สุนทรยี ภาพของชีวิต 3(3-0-6) SOC3310 ภาษาอังกฤษสำ�หรบั ครูสังคมศึกษา 3(2-2-5) Aesthetic Appreciation English for Social Studies Teacher GEN0103 สงั คมไทยในบริบทโลก 3(3-0-6) Thai Society in Global Context 3) หมวดวชิ าเลือกเสรี ไม่นอ้ ยกว่า 6 หนว่ ยกติ GEN0104 การพฒั นาตน 3(3-0-6) ให้เลือกเรียนรายวิชาใดๆ ในหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา Self Development โดยไม่ซำ้�กับรายวิชาที่เคยเรียนมาแล้ว และต้องไม่เป็นรายวิชาที่กำ�หนดให้ GEN0105 ความจริงของชีวิต 3(3-0-6) เรียนโดยไมน่ ับหนว่ ยกิตรวมในเกณฑก์ ารส�ำ เรจ็ หลกั สตู รของสาขาวชิ า Truth of Life GEN0106 ชวี ิตในสงั คมพหุวัฒนธรรม 3(3-0-6) Life in Multicultural Society คหลรักสศุตู ราสตรบัณฑติ GEN0107 ความเปน็ พลเมอื งดี 3(3-0-6) Good Citizenship สาขาวิชาคณติ ศาสตร์ GEN0108 ความคดิ อนั งดงาม 3(3-0-6) หลักสตู รปรับปรุง พ.ศ. 2562 Beautiful Thought GEN0109 ศาสตร์แหง่ ราชันย ์ 3(3-0-6) King’s Philosophy 1. ช่ือหลกั สูตร GEN0110 ส�ำ นกึ ไทย 3(3-0-6) ภาษาไทย : หลกั สตู รครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Education Program in Thai Consciousness GEN0111 การสรา้ งบคุ ลกิ ผูน้ ำ� 3(3-0-6) Mathematics Building Leadership 2. ชื่อปรญิ ญาและสาขาวิชา ชอ่ื เต็ม (ไทย) : ครุศาสตรบัณฑติ (คณิตศาสตร)์ GEN0112 ปญั ญาไทยนอกกรอบ 3(3-0-6) Outside of the Box Thai Intellect ช่ือยอ่ (ไทย) : ค.บ. (คณิตศาสตร)์ GEN0113 แรงบนั ดาลใจแหง่ ชีวิต 3(3-0-6) ชอ่ื เต็ม (องั กฤษ) : Bachelor of Education (Mathematics) ชอ่ื ย่อ (องั กฤษ) : B.Ed. (Mathematics) Inspiration of Life GEN0114 สสี นั วรรณกรรม 3(3-0-6) 3. จำ�นวนหน่วยกิตทีเ่ รยี นตลอดหลักสตู ร Color of Literatures หลักสูตรระดับปรญิ ญาตรที างวิชาการ 142 หน่วยกติ GEN0115 ภาพยนตร์วิจกั ษ ์ 3(3-0-6) Film Appreciation 1) หมวดวชิ าศึกษาท่วั ไป ไม่นอ้ ยกวา่ 30 หน่วยกติ GEN0116 ความผดิ หวังสูฝ่ นั ทเ่ี ป็นจรงิ 3(3-0-6) การจัดการเรียนการสอนหมวดวิชาศึกษาทั่วไป นักศึกษาจะต้องเรียนใน รายวชิ าศกึ ษาทว่ั ไป โดยมจี �ำ นวนหนว่ ยกติ ไมน่ อ้ ยกวา่ 30 หนว่ ยกติ แบง่ เปน็ From Disappointment to a Dream Come True 1.1) กลุ่มวิชามนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ ไม่นอ้ ยกว่า 6 หนว่ ยกติ 1.2) กล่มุ วิชาภาษา ให้เรียนไม่น้อยกวา่ 6 หน่วยกติ 1.2) กลมุ่ วิชาภาษา ไมน่ อ้ ยกวา่ 6 หน่วยกติ 1.3) กลมุ่ วชิ าวิทยาศาสตร์และคณติ ศาสตร์ ไม่น้อยกว่า 6 หนว่ ยกิต GEN0201 การใช้ภาษาไทย 3(3-0-6) Thai Usage 1.4) เลือกเรียนจาก 3 กลุม่ วชิ าขา้ งต้นอกี ไม่นอ้ ยกว่า 12 หนว่ ยกติ GEN0202 ภาษาไทยเชงิ วชิ าการ 3(3-0-6) 2) หมวดวชิ าเฉพาะดา้ น ไม่น้อยกว่า 106 หนว่ ยกิต 2.1) กลุม่ วิชาชีพครู ไมน่ ้อยกวา่ 43 หนว่ ยกิต Thai for Academic Purposes GEN0203 ภาษาไทยเพือ่ การประกอบอาชพี 3(3-0-6) Thai for Career 38 คูม่ อื นักศกึ ษา 2 5 6 2 2019 STUDENT HANDBOOK

คณะครศุ าสตร์ หลกั สูตรและการเรยี นการสอน รหสั วิชา ชื่อวิชา น(บ-ป-อ) รหสั วชิ า ชือ่ วชิ า น(บ-ป-อ) GEN0204 ภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสาร 3(3-0-6) GEN0308 อินโฟกราฟิก 3(3-0-6) และการสืบคน้ Info Graphic English for Communication and GEN0309 ชวี ิตกบั ดจิ ิทัล 3(3-0-6) Information Retrieval Digital for Life GEN0205 ภาษาองั กฤษเพื่อทักษะการเรียน 3(3-0-6) GEN0310 การสง่ เสรมิ สขุ ภาพทางเพศ 3(3-0-6) English for Study Skills Sexual Health Promotion GEN0206 ภาษาอังกฤษเชงิ วิชาการ 3(3-0-6) GEN0311 ธรรมชาตบิ �ำ บดั 3(3-0-6) English for Academic Purposes Natural Therapy GEN0207 ภาษาองั กฤษเพื่อการประกอบวิชาชีพ 3(3-0-6) GEN0312 รู้เท่าทันภาวะการเงนิ 3(3-0-6) English for Career Development Financial Literacy GEN0208 ภาษาอังกฤษเพอื่ การดแู ลสขุ ภาพ 3(3-0-6) GEN0313 การเตน้ 3(3-0-6) English for Health Care Dancing GEN0209 ภาษาองั กฤษเพอื่ การน�ำ เสนอและการพูด 3(3-0-6) GEN0314 โยคะ 3(3-0-6) ในที่สาธารณะ Yoga Public Speaking and Presentation GEN0315 ชีวิตเลกิ อ้วน 3(3-0-6) Skills in English Never Get Fat Again GEN0210 วาทกรรมภาษาองั กฤษเพอ่ื การสอื่ สาร 3(3-0-6) GEN0316 ศาสตรแ์ ห่งการชะลอวยั 3(3-0-6) Discourse English for Science of Anti-Aging Communication GEN0317 ศาสตรแ์ ละศลิ ปแ์ หง่ อาหารชาววงั 3(3-0-6) GEN0211 ภาษาจนี 3(3-0-6) State of the Art of Royal Cuisine Chinese Language GEN0318 รักปลอดภัย 3(3-0-6) GEN0212 ภาษาพม่า 3(3-0-6) Safe Sex Burmese Language GEN0319 ผู้ประกอบการธรุ กจิ ดิจิทลั 3(3-0-6) GEN0213 ภาษาเขมร 3(3-0-6) Entrepreneurship in Digital Khmer Language 1.4) นกั ศึกษาต้องเลือกเรยี นอกี ไมน่ ้อยกวา่ 12 หน่วยกติ GEN0214 ภาษาลาว 3(3-0-6) จาก 3 กล่มุ วิชาข้างต้น Lao Language GEN0215 ภาษาเวยี ดนาม 3(3-0-6) 2) หมวดวิชาเฉพาะดา้ น ไม่นอ้ ยกว่า 106 หน่วยกิต Vietnamese Language 2.1) กลุ่มวชิ าชีพครู ไมน่ ้อยกวา่ 43 หน่วยกติ GEN0216 ภาษามาเลย์ 3(3-0-6) 2.1.1) วิชาชพี ครู ไมน่ ้อยกว่า 28 หนว่ ยกิต Malay Language EDC1101 ภาษาเพ่อื การสอ่ื สาร 3(2-2-5) 1.3) กลุ่มวิชาวทิ ยาศาสตรแ์ ละคณิตศาสตร์ Language for Communication ใหเ้ รยี นไมน่ อ้ ยกวา่ 6 หนว่ ยกติ EDC1102 คุณธรรม จรยิ ธรรม จรรยาบรรณ 3(2-2-5) GEN0301 เทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่อื การส่อื สาร 3(3-0-6) และจติ วิญญาณความเปน็ ครู Information Technology for Ethics and Spirituality for Teachers Communication EDC1103 จติ วทิ ยาส�ำ หรบั ครู 3(2-2-5) GEN0302 วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลย ี 3(3-0-6) Psychology for Teacher เพ่ือคุณภาพชีวิต EDC1104 การพัฒนาหลกั สูตร 3(2-2-5) Science and Technology for Curriculum Development Quality of Life EDC2101 การวัดและประเมินผลการเรยี นรู ้ 3(2-2-5) GEN0303 วทิ ยาศาสตรก์ บั สิ่งแวดลอ้ ม 3(3-0-6) Learning Measurement and Science and Environments Evaluation GEN0304 รูเ้ ท่าทนั ดจิ ิทลั 3(3-0-6) EDC2102 วิทยาการจัดการเรยี นร้ ู 3(2-2-5) Digital Literacy Instructional Science GEN0305 นันทนาการเพอื่ คณุ ภาพชวี ติ 3(3-0-6) EDC2103 นวตั กรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ 3(2-2-5) Recreation for Quality of Life เพ่อื การส่ือสารการศึกษาและการเรยี นรู้ GEN0306 สขุ ภาพสำ�หรบั ชีวิตยคุ ใหม่ 3(3-0-6) Innovation and Information Health Care for New Gen Technology for Educational GEN0307 มหัศจรรย์แห่งความคิด 3(3-0-6) Communication and Learning Miracle of Thought 39 คมู่ ือนกั ศึกษา 2 5 6 2 2019 STUDENT HANDBOOK

wมหwาวwิทย.าลsยั sราชrภuฏั ส. วaนสcนุ นั. ทt าh รหัสวิชา ชอื่ วิชา น(บ-ป-อ) รหสั วชิ า ชอ่ื วชิ า น(บ-ป-อ) EDC2104 การบรหิ ารการศกึ ษาและการประกนั 3(2-2-5) MAC2304 เทคโนโลยีดจิ ิทัลเพ่ือการจดั การเรียนร ู้ 3(2-2-5) คณุ ภาพการศึกษา คณติ ศาสตร์ Education Administration and Digital Technology for Mathematical Quality Assurance in Education Learning Management EDC3101 การวจิ ัยและพฒั นานวัตกรรมการเรียนร้ ู 3(2-2-5) MAC2305 การจัดการเรียนรูค้ ณิตศาสตรร์ ะดบั 3(2-2-5) Research and Development in ประถมศึกษา Innovation and Learning Mathematical Learning Management EDC4101 ครุนพิ นธ ์ 1(0-2-1) for Primary School Individual Study MAC3301 การจัดการเรียนรคู้ ณติ ศาสตรร์ ะดบั 3(2-2-5) EDC3301 จติ วิทยาการเรียนร้ ู 3(2-2-5) มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ Psychology of Learning Mathematical Learning Management EDC3302 จิตวทิ ยาการเรียนการสอน 3(2-2-5) for Secondary School Psychology of Learning and MAC3302 การจดั การเรียนรคู้ ณติ ศาสตรร์ ะดับ 3(2-2-5) Instruction มธั ยมศึกษาตอนปลาย EDC3303 การสอนเพศศึกษา 3(2-2-5) Mathematical Learning Management Teaching of Sex Education for High School EDC3304 ความคิดสรา้ งสรรคส์ �ำ หรับครู 3(2-2-5) MAC3303 การจดั การเรยี นรสู้ ะเต็มศึกษา 3(2-2-5) Creativity for Teachers STEM Education EDC3305 ผูก้ ำ�กบั ลกู เสอื -เนตรนารีสามัญรนุ่ ใหญ่ 1(0-2-1) MAC3304 การวจิ ัยทางคณิตศาสตรศ์ ึกษา 3(2-2-5) ขัน้ ความรู้เบอ้ื งตน้ Research in Mathematics Education Basic Unit Leader of Boy Scout MAC3305 การจัดกิจกรรมทางคณติ ศาสตร์ 3(2-2-5) and Girl Guide Conducting Mathematical Activities 2.1.2) วิชาฝกึ ประสบการณ์วิชาชพี 15 หนว่ ยกิต 2.2.1) วชิ าเลือก ไมน่ อ้ ยกวา่ 21 หน่วยกติ EDC1201 การฝกึ ปฏิบัติวิชาชีพระหว่างเรียน 1 1(90) MAC3306 วิทยาการค�ำ นวณ 3(2-2-5) Practicum 1 Computing Science EDC2202 การฝกึ ปฏิบัตวิ ิชาชพี ระหว่างเรียน 2 1(90) MAC3307 ระบบจำ�นวน 3(2-2-5) Practicum 2 Number System EDC3203 การฝกึ ปฏบิ ัติวิชาชพี ระหวา่ งเรยี น 3 1(90) MAC3308 พีชคณติ เชิงเสน้ 3(2-2-5) Practicum 3 Linear Algebra EDC4201 การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1 6(360) MAC3309 การวิเคราะห์เชงิ คณติ ศาสตร ์ 3(2-2-5) Internship 1 Mathematical Analysis EDC4202 การปฏบิ ตั ิการสอนในสถานศึกษา 2 6(360) MAC3310 พชี คณิตนามธรรม 3(2-2-5) Internship 2 Abstract Algebra 2.2) กลมุ่ วิชาเอก ไมน่ ้อยกวา่ 63 หนว่ ยกติ MAC3311 วยิ ตุ คณิต 3(2-2-5) 2.2.1) วชิ าบงั คบั ไม่น้อยกว่า 42 หนว่ ยกิต Discrete Mathematics MAC1301 หลักการคณติ ศาสตร ์ 3(2-2-5) MAC3312 ทฤษฎีสมการ 3(2-2-5) Principle of Mathematics Theory of Equation MAC1302 แคลคลู สั 1 3(2-2-5) MAC3313 การแก้ปัญหาทางคณติ ศาสตร์ 3(2-2-5) Calculus I Mathematical Problem Solving MAC1303 แคลคลู ัส 2 3(2-2-5) MAC3314 ประวตั แิ ละพัฒนาการทางคณติ ศาสตร์ 3(2-2-5) Caculus II History and Development in MAC1304 ความนา่ จะเป็นและสถิต ิ 3(2-2-5) Mathematics Probability and Statistics MAC3315 การวดั และประเมินผลการเรยี นร ู้ 3(2-2-5) MAC2301 เรขาคณติ เบ้อื งต้น 3(2-2-5) คณิตศาสตร์ Fundametals of Geometry Measurement and Assessment MAC2302 ทฤษฎจี ำ�นวน 3(2-2-5) for Mathematics Number Theory MAC3316 สมั มนาทางคณติ ศาสตรศ์ กึ ษา 3(2-2-5) MAC2303 ภาษาองั กฤษส�ำ หรับการจัดการเรียนรู้ 3(2-2-5) Mathematics Educational Seminar คณิตศาสตร์ MAC3317 สถิติเพือ่ การวจิ ยั 3(2-2-5) English for Mathematical Statistics for Research Learning Management 40 คู่มือนักศึกษา 2 5 6 2 2019 STUDENT HANDBOOK

คณะครุศาสตร์ หลักสตู รและการเรียนการสอน 3) หมวดวชิ าเลอื กเสรี ไม่น้อยกวา่ 6 หน่วยกติ รหสั วิชา ชอ่ื วชิ า น(บ-ป-อ) นักศึกษาต้องเลือกเรียนไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต จากรายวิชาใดๆ ใน GEN0103 สังคมไทยในบริบทโลก 3(3-0-6) หลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา โดยไม่ซ้ำ�กับรายวิชาที่เคยเรียนมา Thai Society in Global Context แลว้ และตอ้ งไมเ่ ปน็ รายวชิ าทกี่ �ำ หนดใหเ้ รยี นโดยไมน่ บั หนว่ ยกติ รวมในเกณฑ์ GEN0104 การพฒั นาตน 3(3-0-6) Self Development การส�ำ เร็จหลกั สตู รของสาขาวชิ า GEN0105 ความจริงของชวี ิต 3(3-0-6) หคลรกั สศุูตราสตรบัณฑติ Truth of Life GEN0106 ชีวติ ในสังคมพหวุ ฒั นธรรม 3(3-0-6) สาขาวิชาเทคโนโลยดี ิจทิ ลั เพือ่ การศึกษา Life in Multicultural Society หลกั สูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. 2562 GEN0107 ความเป็นพลเมืองด ี 3(3-0-6) Good Citizenship GEN0108 ความคดิ อนั งดงาม 3(3-0-6) Beautiful Thought 1. ช่ือหลักสูตร GEN0109 ศาสตร์แห่งราชนั ย ์ 3(3-0-6) ภาษาไทย : หลักสตู รครุศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยดี ิจิทลั King’s Philosophy เพ่อื การศึกษา GEN0110 ส�ำ นึกไทย 3(3-0-6) ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Education Program in Digital Thai Consciousness Technology for Education GEN0111 การสร้างบคุ ลิกผนู้ ำ� 3(3-0-6) Building Leadership 2. ช่ือปรญิ ญาและสาขาวชิ า GEN0112 ปัญญาไทยนอกกรอบ 3(3-0-6) ภาษาไทย ชอ่ื เต็ม : ครศุ าสตรบณั ฑิต (เทคโนโลยดี ิจิทลั เพือ่ การศึกษา) ช่ือย่อ : ค.บ. (เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั เพอ่ื การศึกษา) Outside of the Box Thai Intellect GEN0113 แรงบันดาลใจแห่งชีวิต 3(3-0-6) ภาษาองั กฤษ ชอื่ เต็ม : Bachelor of Education (Digital Inspiration of Life Technology for Education) ชือ่ ยอ่ : B.Ed. (Digital Technology for Education) GEN0114 สีสันวรรณกรรม 3(3-0-6) Color of Literatures 3. จ�ำ นวนหนว่ ยกิตท่ีเรียนตลอดหลักสตู ร GEN0115 ภาพยนตร์วิจกั ษ ์ 3(3-0-6) หลกั สตู รระดบั ปริญญาตรีทางวิชาการ 142 หนว่ ยกิต Film Appreciation GEN0116 ความผดิ หวังส่ฝู ันที่เปน็ จรงิ 3(3-0-6) 1) หมวดวิชาศึกษาทว่ั ไป ไม่นอ้ ยกว่า 30 หน่วยกิต From Disappointment to a การจัดการเรียนการสอนหมวดวิชาศึกษาท่ัวไป นักศึกษาจะต้องเรียนใน รายวชิ าศกึ ษาทว่ั ไป โดยมจี �ำ นวนหนว่ ยกติ ไมน่ อ้ ยกวา่ 30 หนว่ ยกติ แบง่ เปน็ Dream Come True 1.2) กลุม่ วชิ าภาษา ใหเ้ รียนไมน่ ้อยกว่า 6 หนว่ ยกติ 1.1) กลมุ่ วชิ ามนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ ไมน่ อ้ ยกว่า 6 หน่วยกติ GEN0201 การใชภ้ าษาไทย 3(3-0-6) 1.2) กล่มุ วชิ าภาษา ไมน่ อ้ ยกว่า 6 หน่วยกิต 1.3) กลมุ่ วชิ าวทิ ยาศาสตร์และคณติ ศาสตร์ ไมน่ อ้ ยกว่า 6 หน่วยกติ Thai Usage GEN0202 ภาษาไทยเชงิ วชิ าการ 3(3-0-6) 1.4) เลือกเรยี นจาก 3 กล่มุ วชิ าข้างต้นอกี ไมน่ อ้ ยกวา่ 12 หนว่ ยกิต Thai for Academic Purposes 2) หมวดวชิ าเฉพาะดา้ น ไม่น้อยกว่า 106 หน่วยกติ 2.1) กลุม่ วชิ าชีพครู ไม่นอ้ ยกว่า 43 หน่วยกิต GEN0203 ภาษาไทยเพือ่ การประกอบอาชีพ 3(3-0-6) Thai for Career 2.1.1) วิชาชพี ครู ไมน่ อ้ ยกวา่ 28 หนว่ ยกติ GEN0204 ภาษาองั กฤษเพ่ือการส่อื สาร 3(3-0-6) 2.1.2) วิชาฝกึ ประสบการณว์ ิชาชีพ ไมน่ ้อยกวา่ 15 หน่วยกติ 2.2) กลมุ่ วิชาเอก ไม่นอ้ ยกว่า 63 หนว่ ยกติ และการสบื ค้น English for Communication and 2.2.1) วิชาบังคับ ไม่นอ้ ยกว่า 42 หนว่ ยกิต Information Retrieval 2.2.2) วิชาเลือก ไม่น้อยกวา่ 21 หนว่ ยกติ 3) หมวดวชิ าเลือกเสรี ไมน่ ้อยกวา่ 6 หน่วยกิต GEN0205 ภาษาองั กฤษเพื่อทักษะการเรยี น 3(3-0-6) English for Study Skills GEN0206 ภาษาองั กฤษเชงิ วิชาการ 3(3-0-6) 1) หมวดวชิ าศึกษาทว่ั ไป ไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต English for Academic Purposes 1.1) กล่มุ วชิ ามนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ ใหเ้ รยี นไมน่ อ้ ยกวา่ 6 หนว่ ยกติ GEN0207 ภาษาอังกฤษเพื่อการประกอบวชิ าชีพ 3(3-0-6) English for Career Development รหัสวิชา ชอ่ื วิชา น(บ-ป-อ) GEN0208 ภาษาองั กฤษเพ่อื การดูแลสุขภาพ 3(3-0-6) GEN0101 ชาววังสวนสุนันทา 3(3-0-6) The Royal Court of Suan English for Health Care GEN0209 ภาษาองั กฤษเพ่ือการนำ�เสนอและการพดู 3(3-0-6) Sunandha ในท่สี าธารณะ GEN0102 สนุ ทรยี ภาพของชีวิต 3(3-0-6) Aesthetic Appreciation Public Speaking and Presentation Skills in English 41 คมู่ อื นกั ศกึ ษา 2 5 6 2 2019 STUDENT HANDBOOK

wมหwาวwิทย.าลsยั sราชrภuัฏส. วaนสcุนนั. ทt าh รหสั วชิ า ช่อื วิชา น(บ-ป-อ) รหสั วชิ า ชอื่ วชิ า น(บ-ป-อ) GEN0210 วาทกรรมภาษาองั กฤษเพื่อการส่อื สาร 3(3-0-6) GEN0316 ศาสตรแ์ หง่ การชะลอวยั 3(3-0-6) Discourse English for Science of Anti-Aging Communication GEN0317 ศาสตร์และศิลปแ์ หง่ อาหารชาววงั 3(3-0-6) GEN0211 ภาษาจีน 3(3-0-6) State of the Art of Royal Cuisine Chinese Language GEN0318 รกั ปลอดภยั 3(3-0-6) GEN0212 ภาษาพมา่ 3(3-0-6) Safe Sex Burmese Language GEN0319 ผ้ปู ระกอบการธรุ กจิ ดจิ ทิ ลั 3(3-0-6) GEN0213 ภาษาเขมร 3(3-0-6) Entrepreneurship in Digital Khmer Language 1.4) นักศึกษาต้องเลือกเรียนอกี ไมน่ อ้ ยกว่า 12 หน่วยกิต GEN0214 ภาษาลาว 3(3-0-6) จาก 3 กลมุ่ วิชาขา้ งตน้ Lao Language GEN0215 ภาษาเวียดนาม 3(3-0-6) 2) หมวดวิชาเฉพาะดา้ น ไมน่ อ้ ยกว่า 106 หนว่ ยกิต Vietnamese Language 2.1) กลมุ่ วิชาชพี ครู ไมน่ อ้ ยกว่า 43 หน่วยกติ GEN0216 ภาษามาเลย์ 3(3-0-6) 2.1.1) วิชาชพี ครู ไม่นอ้ ยกวา่ 28 หนว่ ยกติ Malay Language EDC1101 ภาษาเพ่ือการสือ่ สาร 3(2-2-5) 1.3) กลมุ่ วิชาวทิ ยาศาสตร์และคณติ ศาสตร์ Language for Communication ให้เรียนไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกติ EDC1102 คณุ ธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ 3(2-2-5) GEN0301 เทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ การสอ่ื สาร 3(3-0-6) และจติ วิญญาณความเป็นครู Information Technology for Ethics and Spirituality for Teachers Communication EDC1103 จติ วิทยาสำ�หรับครู 3(2-2-5) GEN0302 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลย ี 3(3-0-6) Psychology for Teacher เพือ่ คุณภาพชวี ติ EDC1104 การพฒั นาหลกั สตู ร 3(2-2-5) Science and Technology for Curriculum Development Quality of Life EDC2101 การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นร้ ู 3(2-2-5) GEN0303 วทิ ยาศาสตรก์ ับสง่ิ แวดลอ้ ม 3(3-0-6) Learning Measurement and Science and Environments Evaluation GEN0304 รเู้ ท่าทนั ดิจทิ ลั 3(3-0-6) EDC2102 วทิ ยาการจัดการเรียนรู้ 3(2-2-5) Digital Literacy Instructional Science GEN0305 นันทนาการเพือ่ คณุ ภาพชวี ิต 3(3-0-6) EDC2103 นวตั กรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศ 3(2-2-5) Recreation for Quality of Life เพ่ือการสอื่ สารการศกึ ษาและการเรียนรู้ GEN0306 สขุ ภาพส�ำ หรับชีวิตยคุ ใหม่ 3(3-0-6) Innovation and Information Health Care for New Gen Technology for Educational GEN0307 มหัศจรรย์แหง่ ความคิด 3(3-0-6) Communication and Learning Miracle of Thought EDC2104 การบริหารการศึกษาและการประกนั 3(2-2-5) GEN0308 อินโฟกราฟกิ 3(3-0-6) คุณภาพการศกึ ษา Info Graphic Education Administration and GEN0309 ชีวติ กบั ดิจทิ ัล 3(3-0-6) Quality Assurance in Education Digital for Life EDC3101 การวิจัยและพัฒนานวตั กรรมการเรยี นรู้ 3(2-2-5) GEN0310 การสง่ เสริมสุขภาพทางเพศ 3(3-0-6) Research and Development in Sexual Health Promotion Innovation and Learning GEN0311 ธรรมชาติบำ�บัด 3(3-0-6) EDC4101 ครุนพิ นธ ์ 1(0-2-1) Natural Therapy Individual Study GEN0312 รเู้ ทา่ ทันภาวะการเงนิ 3(3-0-6) EDC3301 จิตวทิ ยาการเรยี นร้ ู 3(2-2-5) Financial Literacy Psychology of Learning GEN0313 การเตน้ 3(3-0-6) EDC3302 จิตวทิ ยาการเรยี นการสอน 3(2-2-5) Dancing Psychology of Learning and GEN0314 โยคะ 3(3-0-6) Instruction Yoga EDC3303 การสอนเพศศกึ ษา 3(2-2-5) GEN0315 ชีวิตเลิกอว้ น 3(3-0-6) Teaching of Sex Education Never Get Fat Again EDC3304 ความคิดสรา้ งสรรค์สำ�หรบั ครู 3(2-2-5) Creativity for Teachers 42 คู่มือนกั ศกึ ษา 2 5 6 2 2019 STUDENT HANDBOOK

คณะครศุ าสตร์ หลักสูตรและการเรียนการสอน รหสั วชิ า ชอื่ วชิ า น(บ-ป-อ) รหสั วิชา ชอ่ื วชิ า น(บ-ป-อ) EDC3305 ผูก้ �ำ กับลกู เสือ-เนตรนารีสามญั รนุ่ ใหญ่ 1(0-2-1) DTC3304 การเขียนโปรแกรมและพัฒนา 3(2-2-5) ข้นั ความรเู้ บื้องต้น แอพพลิเคชันเพอื่ การศกึ ษา Basic Unit Leader of Boy Scout Computer Programing and and Girl Guide Developing Applications for 2.1.2) วชิ าฝกึ ประสบการณว์ ิชาชพี 15 หนว่ ยกติ Education EDC1201 การฝึกปฏบิ ตั วิ ิชาชีพระหว่างเรยี น 1 1(90) DTC3305 การวจิ ยั เทคโนโลยีดิจทิ ัลเพื่อการศึกษา 3(2-2-5) Practicum 1 Research in Digital Technology EDC2202 การฝึกปฏิบตั วิ ชิ าชีพระหว่างเรยี น 2 1(90) for Education Practicum 2 DTC3306 การบรหิ ารจดั การสภาพแวดล้อม 3(2-2-5) EDC3203 การฝึกปฏบิ ัติวชิ าชีพระหว่างเรยี น 3 1(90) การเรยี นรเู้ ทคโนโลยดี ิจทิ ัลและคอมพิวเตอร์ Practicum 3 Management of Learning EDC4201 การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1 6(360) Environments Digital Technology Internship 1 and Computers EDC4202 การปฏบิ ตั กิ ารสอนในสถานศึกษา 2 6(360) 2.2.2) วิชาเอกเลือก ให้เรยี นไม่น้อยกวา่ 21 หน่วยกิต Internship 2 DTC1401 การถ่ายภาพและวดี ิทศั นด์ จิ ิทัล 3(2-2-5) 2.2) กลมุ่ วชิ าเอก จำ�นวนไมน่ ้อยกวา่ 63 หนว่ ยกติ เพอ่ื การศกึ ษา 2.2.1) วชิ าเอกบงั คับ ไม่นอ้ ยกว่า 42 หน่วยกิต Photo and Digital Video for DTC1301 เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั เพ่ือการศกึ ษา 3(2-2-5) Education Digital Technology for Education DTC1402 การออกแบบและผลติ กราฟกิ แอนิเมชัน 3(2-2-5) DTC1303 ระบบหุ่นยนต์พน้ื ฐานเพื่อการศึกษา 3(2-2-5) และส่อื ดจิ ทิ ลั เพ่อื การศึกษา Fundamentals of Robotic System Design and Production Graphic for Education Animation and Digital Media DTC1304 การใชแ้ ละบำ�รงุ รกั ษาอปุ กรณ์ 3(2-2-5) DTC1403 การออกแบบและพฒั นาสอื่ โสตทัศนวสั ดุ 3(2-2-5) คอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยีดิจิทัล การศกึ ษา เพ่อื การศกึ ษา Design and Development of Using and Maintenance of Audio Visual Media in Educational Computer Equipment and Digital Technology Technology for Education DTC1404 การสรา้ งสอ่ื การเรียนการสอน 3(2-2-5) DTC2301 การเขยี นโปรแกรมควบคมุ หนุ่ ยนต ์ 3(2-2-5) Production of Media Instruction เพอื่ การศึกษา DTC1405 วิทยุและโทรทัศนด์ จิ ทิ ลั เพอ่ื การศึกษา 3(2-2-5) Control Robotic Programing for Digital Radio and Television Education Program for Education DTC2302 การออกแบบและพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัล 3(2-2-5) DTC2401 ระบบเครอื ขา่ ยและการจดั การระบบ 3(2-2-5) เพ่อื การศึกษา คลาวด์เพ่อื การศกึ ษา Design and Development Digital Network System and Cloud Technology for Education Computing Systems Management DTC2303 การจดั ท�ำ ฐานข้อมลู ทางการศกึ ษา 3(2-2-5) for Education Database Systems for Education DTC2402 วิทยาการกา้ วหน้าทางเทคโนโลยดี ิจทิ ัล 3(2-2-5) DTC2304 การออกแบบเว็บไซต์เพือ่ การศกึ ษา 3(2-2-5) และคอมพวิ เตอรเ์ พือ่ การศึกษา Web Design for Education Advanced Digital Technology and DTC3301 นวัตกรรมทางเทคโนโลยีดิจิทัล 3(2-2-5) Computer for Education เพื่อการศึกษา DTC2403 ธรุ กจิ ดิจทิ ลั เพอ่ื การศึกษา 3(2-2-5) Innovation of Digital Technology Digital Business for Education for Education DTC2404 การฝกึ อบรมเทคโนโลยดี ิจทิ ัล 3(2-2-5) DTC3302 การพฒั นาโครงงานทางเทคโนโลย ี 3(2-2-5) และคอมพิวเตอรเ์ พ่ือการศึกษา การศกึ ษาและคอมพิวเตอร์ Training in Digital Technology Project development in Educational and Computer for Education Technology and Computer DTC2405 กฎหมายและจรยิ ธรรมทาง 3(2-2-5) DTC3303 วทิ ยาการค�ำ นวณ 3(2-2-5) เทคโนโลยดี ิจิทัลและคอมพวิ เตอร์ Computational science Law and Ethics in Digital Technology and Computer 43 คูม่ อื นกั ศกึ ษา 2 5 6 2 2019 STUDENT HANDBOOK

wมหwาวwิทย.าลsยั sราชrภuัฏส. วaนสcนุ ัน. ทt าh รหัสวิชา ชอื่ วชิ า น(บ-ป-อ) รหสั วชิ า ชือ่ วชิ า น(บ-ป-อ) DTC2406 การผลติ สือ่ ดจิ ิทัลเพ่อื การศึกษา 3(2-2-5) DTC3407 การบริหารจดั การเทคโนโลยแี ละส่ือสาร 3(2-2-5) Production of Digital Media for การศกึ ษา Education Administration and Management DTC3401 การออกแบบระบบงานคอมพวิ เตอร ์ 3(2-2-5) of Educational Communication and การศกึ ษา Technology System Design Computer DTC3408 เทคนิคการฝึกอบรม 3(2-2-5) Education Techniques of Training DTC3402 เทคโนโลยดี จิ ิทัลสำ�หรบั ผู้เรียนทมี่ ี 3(2-2-5) DTC3409 ระบบปฏิบัตกิ ารและโปรแกรมประยุกต์ 3(2-2-5) ความต้องการพิเศษ เพ่อื การศึกษา Digital Technology for Students Operating System and with Special Needs Application for Education DTC3403 ภาษาอังกฤษสำ�หรับเทคโนโลยีดจิ ิทลั 3(2-2-5) DTC3410 ระบบเครอื ข่ายคอมพิวเตอรเ์ พือ่ การศกึ ษา 3(2-2-5) และคอมพิวเตอรเ์ พ่อื การศึกษา Operating System and English for Digital Technology Application for Education and Computer for Education DTC3411 การจัดนิทรรศการด้วยส่ือมัลตมิ เี ดีย 3(2-2-5) DTC3404 ระบบสารสนเทศและดจิ ทิ ลั เพ่อื การศึกษา 3(2-2-5) Multimedia for Exhibition nformation System and Digital for Education 3) หมวดวชิ าเลอื กเสรี ไม่น้อยกว่า 6 หนว่ ยกติ DTC3405 ออกแบบสื่อเพอ่ื การศกึ ษาตามแนว 3(2-2-5) ให้เลือกเรียนรายวิชาใดๆ ในหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เศรษฐกจิ พอเพียง โดยไม่ซำ้�กับรายวิชาที่เคยเรียนมาแล้ว และต้องไม่เป็นรายวิชาที่กำ�หนดให้ Design Media for Education เรยี นโดยไม่นบั หน่วยกติ รวมในเกณฑก์ ารสำ�เรจ็ หลักสตู รของสาขาวชิ า According to The Sufficiency Economy DTC3406 การออกแบบและพัฒนาเทคโนโลย ี 3(2-2-5) และสื่อสารการศึกษา Design and Development of Educational Communication and Technology 44 คูม่ ือนักศกึ ษา 2 5 6 2 2019 STUDENT HANDBOOK

หน่วยงาน INSTITUTE อเคณทุตะ คสโานหโลกยรี รม ประวตั คิ วามเปน็ มา 2. การวจิ ยั ทส่ี ามารถน�ำ ไปใชป้ ระโยชน์ - แขนงวิชาเทคโนโลยี และสอดคล้องกับความตอ้ งการของสถาน อิเล็กทรอนิกส์ คณะเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม ได้เริ่ม ประกอบการหรือชุมชน - แขนงวชิ าเทคโนโลยี จากการเป็นหน่วยงานในสงั กดั คณะวทิ ยา- พลงั งาน ศาสตร์และเทคโนโลยี ซ่งึ มีการเปดิ สอน 3. บริการวชิ าการ ใหก้ ารบรกิ าร 1.7 สาขาวชิ าอตุ สาหกรรมการพมิ พ์ หลกั สตู รหตั กรรมศกึ ษาและอตุ สาหกรรมศลิ ป์ วิชาการทเี่ ป็นเอตทคั คะ ท่ีตอบและแก้ปญั หา หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559 มาตั้งแต่ปีการศกึ ษา 2522 ต่อมาไดม้ กี าร ของสงั คม โดยการมสี ว่ นรว่ มกับชมุ ชน - แขนงวชิ าเทคโนโลยี เปิดสอนในหลกั สูตรด้านอุตสาหกรรมท่ี ทอ้ งถิ่น และสังคม การพิมพ์ หลากหลาย เพอื่ ให้สอดคลอ้ งกับความ - แขนงวชิ าการออกแบบ ตอ้ งการสภาพเศรษฐกจิ สงั คมและเทคโนโลยี 4. การทำ�นบุ ำ�รุงศิลปะและวฒั นธรรม สิ่งพมิ พ์ ทแ่ี ปรเปลย่ี นเมือ่ ปีการศึกษา 2543 มีการ ประเพณีไทยและสบื สานวฒั นธรรมวัง - แขนงวิชาการจดั การ เปดิ สอนหลกั สูตรดา้ นอุตสาหกรรมมากข้ึน สวนสุนันทา อตุ สาหกรรมการพิมพ์ จึงไดจ้ ดั ต้ังคณะเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม 1.8 สาขาวิชาเทคโนโลยี จนกระทัง้ ปี พ.ศ. 2547 สถาบันราชภัฏ หลักสตู รและสาขาวิชาทเี่ ปดิ สอน คอมพวิ เตอรเ์ พอ่ื งาน สวนสุนนั ทาได้เปล่ยี นสภาพเป็นมหาวิทยาลัย สถาปัตยกรรม หลักสตู ร ราชภัฏสวนสุนนั ทา ตามพระราชบญั ญตั ิ 1. หลกั สูตรวิทยาศาสตรบณั ฑิต ปรับปรงุ พ.ศ. 2560 มหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 คณะ (วท.บ. 4 ป)ี 1.9 สาขาวิชาการออกแบบ เทคโนโลยอี ตุ สาหกรรมจงึ ได้รับการจดั ตั้ง 1.1 สาขาวิชาการจดั การ ผลิตภณั ฑ์อุตสาหกรรม ให้เป็นหน่วยงานระดบั คณะตามประกาศ อตุ สาหกรรม หลักสูตร หลักสตู รปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560 กระทรวงศึกษา เรอ่ื ง การแบ่งส่วนราชการ ปรบั ปรุง พ.ศ. 2558 - แขนงวชิ าการออกแบบ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สวนสนุ นั ทา ซ่งึ ปจั จุบนั 1.2 สาขาวิชาเทคโนโลยีความ ผลิตภณั ฑอ์ ุตสาหกรรม มกี ารเปิดสอนหลักสูตรวิทยาศาสตรบณั ฑิต ปลอดภัยและอาชีวอนามัย - แขนงวิชานวตั กรรมการ (วท.บ.) 4 ปี และหลักสูตรวิศวกรรม- หลักสูตรปรับปรงุ พ.ศ. 2559 ออกแบบและธรุ กจิ ศาสตรบัณฑติ (วศ.บ.) 4 ปี 1.3 การออกแบบตกแต่งภายใน สรา้ งสรรค์ และนทิ รรศการ หลกั สตู ร 2. หลกั สูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑติ ปรชั ญา ปรบั ปรุง พ.ศ. 2558 1.4 การออกแบบกราฟกิ และ (วศ.บ. 4 ป)ี ทักษะเปน็ เลศิ เชดิ ชคู ุณธรรม ก้าวนำ� มัลตมิ เี ดีย หลกั สูตรปรับปรงุ 2.1 สาขาวชิ าวิศวกรรม วชิ าการ เชี่ยวชาญเทคโนโลยี พ.ศ. 2559 คอมพวิ เตอร์ หลกั สตู ร 1.5 การบรหิ ารทรัพยากรอาคาร ปรบั ปรุง พ.ศ. 2558 วสิ ยั ทศั น์ หลักสตู รปรับปรุง พ.ศ. 2559 1.6 สาขาวชิ าเทคโนโลยไี ฟฟา้ หน่วยงานจดั การศึกษาที่มีคุณภาพและ หลกั สตู รปรับปรงุ พ.ศ. 2559 มาตรฐานวชิ าชีพ - แขนงวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้า อุตสาหกรรม พนั ธกิจ 1. ผลิตบัณฑติ ทเ่ี น้นทกั ษะในการ ประกอบวิชาชพี มคี วามรับผิดชอบ มีความ พรอ้ มในการเรียนรู้ทันต่อการเปลีย่ นแปลง อยูเ่ สมอ 45 คมู่ ือนกั ศกึ ษา 2 5 6 2 2019 STUDENT HANDBOOK

คณะเทคโนโลยอี ุตสาหกรรม รหสั วิชา ช่ือวชิ า น(บ-ป-อ) GEN0104 การพัฒนาตน 3(3-0-6) Self Development GEN0105 ความจรงิ ของชีวติ 3(3-0-6) Truth of Life หวลทิักสยูตราศาสตรบณั ฑิต GEN0106 ชวี ติ ในสังคมพหวุ ฒั นธรรม 3(3-0-6) Life in Multicultural Society สาขาวชิ าเทคโนโลยคี อมพิวเตอร์เพอื่ งานสถาปัตยกรรม GEN0107 ความเปน็ พลเมอื งดี 3(3-0-6) Good Citizenship GEN0108 ความคดิ อันงดงาม 3(3-0-6) Beautiful Thought 1. ชื่อหลกั สตู ร GEN0109 ศาสตรแ์ หง่ ราชนั ย์ 3(3-0-6) ภาษาไทย : หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์ เพอ่ื งานสถาปตั ยกรรม King’s Philosophy GEN0110 สำ�นกึ ไทย 3(3-0-6) ภาษาองั กฤษ : Bachelor of Science Program in Computer Thai Consciousness Technology Application for Architecture 2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา GEN0111 การสรา้ งบคุ ลกิ ผู้นำ� 3(3-0-6) Building Leadership ชือ่ เตม็ (ไทย) : วทิ ยาศาสตรบัณฑิต (เทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์เพือ่ งาน GEN0112 ปญั ญาไทยนอกกรอบ 3(3-0-6) สถาปตั ยกรรม) ช่อื ย่อ (ไทย) : วท.บ. (เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่องานสถาปตั ยกรรม) Outside of the Box Thai Intellect GEN0113 แรงบันดาลใจแห่งชีวติ 3(3-0-6) ชอื่ เตม็ (องั กฤษ) : Bachelor of Science (Computer Technology Inspiration of Life Application for Architecture) ชื่อยอ่ (องั กฤษ) : B.Sc. (Computer Technology Application GEN0114 สีสันวรรณกรรม 3(3-0-6) Color of Literatures for Architecture) GEN0115 ภาพยนตร์วิจักษ ์ 3(3-0-6) จ�ำ นวนหน่วยกติ รวมตลอดหลักสูตร 130 หนว่ ยกติ Film Appreciation GEN0116 ความผดิ หวงั สูฝ่ ันท่ีเปน็ จรงิ 3(3-0-6) 1) หมวดวชิ าศึกษาทั่วไป ไม่นอ้ ยกวา่ 30 หน่วยกติ From Disappointment to a การจัดการเรียนการสอนหมวดวิชาศึกษาทั่วไป นักศึกษาจะต้องเรียนใน รายวชิ าศกึ ษาทว่ั ไป โดยมจี �ำ นวนหนว่ ยกติ ไมน่ อ้ ยกวา่ 30 หนว่ ยกติ แบง่ เปน็ Dream Come True 1.2) กลุ่มวิชาภาษา ให้เรียนไมน่ อ้ ยกวา่ 6 หน่วยกิต 1.1) กล่มุ วิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ไมน่ ้อยกวา่ 6 หนว่ ยกติ GEN0201 การใชภ้ าษาไทย 3(3-0-6) 1.2) กลมุ่ วชิ าภาษา ไมน่ ้อยกว่า 6 หน่วยกิต 1.3) กลุ่มวิชาวทิ ยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกติ Thai Usage GEN0202 ภาษาไทยเชงิ วิชาการ 3(3-0-6) 1.4) เลือกเรยี นจาก 3 กลมุ่ วชิ าข้างต้นอกี ไมน่ อ้ ยกวา่ 12 หนว่ ยกติ Thai for Academic Purposes 2) หมวดวิชาเฉพาะดา้ น เรยี นไม่น้อยกว่า 94 หน่วยกติ 1.1) วิชาแกน 36 หนว่ ยกิต GEN0203 ภาษาไทยเพอื่ การประกอบอาชพี 3(3-0-6) Thai for Career 1.2) วิชาเฉพาะดา้ น 45 หนว่ ยกิต GEN0204 ภาษาอังกฤษเพื่อการสอื่ สาร 3(3-0-6) 1.3) วิชาภาษาองั กฤษสำ�หรับวชิ าชพี 6 หนว่ ยกิต 1.4) วชิ าฝึกประสบการณ์วิชาชีพ 7 หนว่ ยกิต และการสืบค้น English for Communication and 3) หมวดวชิ าเลอื กเสรี เรียนไมน่ อ้ ยกว่า 6 หนว่ ยกติ Information Retrieval 1) หมวดวิชาศกึ ษาท่ัวไป ไม่น้อยกวา่ 30 หนว่ ยกติ GEN0205 ภาษาอังกฤษเพ่อื ทักษะการเรยี น 3(3-0-6) English for Study Skills 1.1) กลมุ่ วิชามนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ GEN0206 ภาษาอังกฤษเชงิ วิชาการ 3(3-0-6) ใหเ้ รียนไมน่ ้อยกว่า 6 หนว่ ยกิต รหัสวชิ า ชื่อวชิ า น(บ-ป-อ) English for Academic Purposes GEN0207 ภาษาองั กฤษเพื่อการประกอบวชิ าชพี 3(3-0-6) GEN0101 ชาววังสวนสุนันทา 3(3-0-6) English for Career Development The Royal Court of Suan Sunandha GEN0208 ภาษาอังกฤษเพ่ือการดแู ลสขุ ภาพ 3(3-0-6) English for Health Care GEN0102 สุนทรยี ภาพของชวี ติ 3(3-0-6) GEN0209 ภาษาอังกฤษเพอื่ การน�ำ เสนอและการพดู 3(3-0-6) Aesthetic Appreciation GEN0103 สังคมไทยในบริบทโลก 3(3-0-6) ในที่สาธารณะ Public Speaking and Presentation Thai Society in Global Context Skills in English 46 คู่มือนกั ศกึ ษา 2 5 6 2 2019 STUDENT HANDBOOK

คณะเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม หลกั สูตรและการเรยี นการสอน รหัสวิชา ช่อื วิชา น(บ-ป-อ) รหัสวิชา ชอ่ื วิชา น(บ-ป-อ) GEN0210 วาทกรรมภาษาองั กฤษเพื่อการสือ่ สาร 3(3-0-6) GEN0316 ศาสตรแ์ หง่ การชะลอวยั 3(3-0-6) Discourse English for Science of Anti-Aging Communication GEN0317 ศาสตร์และศลิ ปแ์ หง่ อาหารชาววงั 3(3-0-6) GEN0211 ภาษาจนี 3(3-0-6) State of the Art of Royal Cuisine Chinese Language GEN0318 รักปลอดภัย 3(3-0-6) GEN0212 ภาษาพมา่ 3(3-0-6) Safe Sex Burmese Language 1.4) นักศึกษาตอ้ งเลอื กเรยี นอีก ไม่นอ้ ยกวา่ 12 หน่วยกิต GEN0213 ภาษาเขมร 3(3-0-6) จาก 3 กลมุ่ วชิ าขา้ งตน้ Khmer Language GEN0214 ภาษาลาว 3(3-0-6) 2) หมวดวชิ าเฉพาะดา้ น เรยี นไม่น้อยกวา่ 94 หนว่ ยกติ Lao Language 2.1) วชิ าแกน บงั คับเรียนรายวชิ าดังต่อไปน้ี 36 หนว่ ยกิต GEN0215 ภาษาเวยี ดนาม 3(3-0-6) CAA1303 หลกั การออกแบบสถาปัตยกรรม 3(2-2-5) Vietnamese Language Principle of Architectural Design GEN0216 ภาษามาเลย์ 3(3-0-6) CAA1304 แนวความคดิ ในการออกแบบ 3(2-2-5) Malay Language สถาปัตยกรรม 1.3) กลุม่ วิชาวิทยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตร์ Architectural Design Concept ให้เรียนไมน่ อ้ ยกวา่ 6 หนว่ ยกิต CAA1406 เทคโนโลยีกอ่ สร้าง 1 3(2-2-5) GEN0301 เทคโนโลยีสารสนเทศเพอ่ื การสื่อสาร 3(3-0-6) Construction Technology 1 Information Technology for CAA2204 การออกแบบผงั บรเิ วณและภูมิทัศน ์ 3(2-2-5) Communication Site and Landscape Planning GEN0302 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลย ี 3(3-0-6) CAA2305 เทคนคิ สถาปตั ยกรรม 1 3(1-4-4) เพ่อื คุณภาพชวี ติ Architectural Technique 1 Science and Technology for CAA2306 เทคนิคสถาปัตยกรรม 2 3(1-4-4) Quality of Life Architectural Technique 2 GEN0303 วิทยาศาสตรก์ บั สิง่ แวดล้อม 3(3-0-6) CAA2307 เทคนิคสถาปตั ยกรรม 3 3(1-4-4) Science and Environments Architectural Technique 3 GEN0304 รูเ้ ท่าทันดจิ ิทลั 3(3-0-6) CAA2308 เทคนิคสถาปัตยกรรม 4 3(1-4-4) Digital Literacy Architectural Technique 4 GEN0305 นันทนาการเพื่อคณุ ภาพชีวติ 3(3-0-6) CAA2409 เทคโนโลยีกอ่ สรา้ ง 2 3(2-2-5) Recreation for Quality of Life Construction Technology 2 GEN0306 สุขภาพสำ�หรบั ชีวิตยคุ ใหม่ 3(3-0-6) CAA2410 เทคโนโลยกี ่อสร้าง 3 3(2-2-5) Health Care for New Gen Construction Technology 3 GEN0307 มหศั จรรย์แห่งความคดิ 3(3-0-6) CAA3903 การเตรียมงานวิจัย 3(1-4-4) Miracle of Thought Research Preparation GEN0308 อินโฟกราฟกิ 3(3-0-6) CAA4906 งานวจิ ัยเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ 3(1-4-4) Info Graphic เพือ่ งานสถาปตั ยกรรม GEN0309 ชีวติ กับดจิ ทิ ัล 3(3-0-6) Computer Technology Application Digital for Life for Architecture Research GEN0310 การส่งเสรมิ สขุ ภาพทางเพศ 3(3-0-6) 2.2) วิชาเฉพาะด้าน ให้เลือกเรียนจากรายวชิ าดงั ต่อไปน้ี Sexual Health Promotion ไม่นอ้ ยกว่า 45 หน่วยกติ GEN0311 ธรรมชาตบิ �ำ บัด 3(3-0-6) CAA1202 ทัศนศิลปเ์ บ้อื งต้น 3(2-2-5) Natural Therapy Fundamental of Visual Art GEN0312 รู้เท่าทนั ภาวะการเงนิ 3(3-0-6) CAA1301 การเขยี นแบบสถาปัตยกรรม 3(2-2-5) Financial Literacy Architectural Drawing GEN0313 การเต้น 3(3-0-6) CAA1306 การเขียนทัศนยี ภาพงานสถาปตั ยกรรม 3(2-2-5) Dancing Architectural Delineation GEN0314 โยคะ 3(3-0-6) CAA1309 สถาปัตยกรรมไทย 3(2-2-5) Yoga Thai Architecture GEN0315 ชวี ติ เลิกอว้ น 3(3-0-6) CAA1310 การถ่ายภาพและวีดีโอเพือ่ การออกแบบ 3(2-2-5) Never Get Fat Again Photography and Videography for Design 47 คู่มอื นกั ศึกษา 2 5 6 2 2019 STUDENT HANDBOOK

wมหwาวwิทย.าลsยั sราชrภuัฏส. วaนสcุนนั. ทt าh รหัสวิชา ชือ่ วิชา น(บ-ป-อ) 3) หมวดวชิ าเลอื กเสร ี 6 หน่วยกติ CAA2205 สำ�รวจรังวดั อาคาร 3(2-2-5) ให้นักศึกษาเลือกเรียนจากวิชาท่ีเปิดสอน ในมหาวิทยาลัยราชภัฏสวน- Building Surveyor สุนันทาได้โดยไม่ซำ้�กันกับรายวิชาท่ีเคยเรียนมาแล้ว และต้องไม่เป็นรายวิชา CAA2606 การเขยี นแบบงานสถาปตั ยกรรม 3(2-2-5) ที่ก�ำ หนดให้เรยี นโดยนบั หน่วยกติ รวม ในเกณฑ์การส�ำ เรจ็ หลักสตู รของสาขา ด้วยคอมพิวเตอร ์ วชิ าน้ี Computer-Aided Drawing 3.1) แสดงแผนการศกึ ษา for Architecture แผนการจัดการเรียนการสอนในหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา CAA2607 คอมพวิ เตอรก์ ราฟิกเพ่อื การนำ�เสนอ 3(2-2-5) เทคโนโลยคี อมพวิ เตอรเ์ พอ่ื งานสถาปตั ยกรรม ใหน้ กั ศกึ ษาลงทะเบยี นจ�ำ นวน งานสถาปตั ยกรรม 1 ไมเ่ กนิ กวา่ 21 หนว่ ยกติ ตามแผนการศกึ ษาทกี่ �ำ หนดซง่ึ อาจเปลย่ี นแปลงตาม Computer Graphic for ความเหมาะสมตามประกาศมหาวทิ ยาลัย Architectural Presentation 1 CAA2608 คอมพิวเตอร์กราฟกิ เพอ่ื การนำ�เสนอ 3(2-2-5) งานสถาปัตยกรรม 2 วหลิทกั สยูตราศาสตรบณั ฑิต Computer Graphic for Architectural Presentation 2 สาขาวิชาการออกแบบผลิตภณั ฑอ์ ตุ สาหกรรม CAA2609 คอมพิวเตอรก์ ราฟกิ เพื่อการนำ�เสนอ 3(2-2-5) หลกั สูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560 งานสถาปตั ยกรรม 3 Computer Graphic for Architectural Presentation 3 1. ชอ่ื หลกั สูตร ภาษาไทย : หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าการออกแบบผลติ ภณั ฑ์ CAA2610 คอมพวิ เตอรก์ ราฟิกเพื่อการน�ำ เสนอ 3(2-2-5) อตุ สาหกรรม งานสถาปัตยกรรม 4 Computer Graphic for ภาษาองั กฤษ : Bachelor of Science Program in Industrial Architectural Presentation 4 Design CAA2611 การออกแบบกราฟิกและเวบ็ ไซต์ 3(2-2-5) 2. ชือ่ ปรญิ ญาและสาขาวิชา ชอื่ เต็ม (ไทย) : วิทยาศาสตรบัณฑติ (การออกแบบผลิตภณั ฑ์ Graphic and Web Design อตุ สาหกรรม) CAA3207 การออกแบบตกแตง่ ภายใน 3(2-2-5) Interior Design ช่ือย่อ (ไทย) : วท.บ. (การออกแบบผลิตภณั ฑอ์ ตุ สาหกรรม) CAA3407 อุปกรณ์ระบบอาคาร 3(2-2-5) ชื่อเต็ม (อังกฤษ) : Bachelor of Sciences (Industrial Design) Building System Equipment ชอ่ื ยอ่ (องั กฤษ) : B.Sc. (Industrial Design) CAA3610 แนวความคดิ แบบจ�ำ ลองสารสนเทศ 3(2-2-5) 3. วชิ าเอก - แขนงวิชาการออกแบบผลิตภณั ฑ์อตุ สาหกรรม ของอาคาร (Industrial Design) Building Information Modeling (BIM) - แขนงวิชานวัตกรรมการออกแบบและธรุ กิจสรา้ งสรรค์ CAA4904 สมั มนาเพ่อื การพฒั นาผลงาน 3(3-0-6) (Innovation Design and creative economy) Portfolio Seminar จ�ำ นวนหนว่ ยกติ เรยี นตลอดหลกั สตู ร 133 หน่วยกิต CAA4907 การปฏิบัตวิ ิชาชพี สถาปัตยกรรม 3(1-4-4) 1) หมวดวชิ าศึกษาทว่ั ไป ไมน่ อ้ ยกว่า 30 หน่วยกิต Architectural Professional Practice การจัดการเรียนการสอนหมวดวิชาศึกษาทั่วไป นักศึกษาจะต้องเรียนใน 2.3) วชิ าภาษาอังกฤษสำ�หรับวิชาชพี 6 หนว่ ยกติ รายวชิ าศกึ ษาทวั่ ไป โดยมจี �ำ นวนหนว่ ยกติ ไมน่ อ้ ยกวา่ 30 หนว่ ยกติ แบง่ เปน็ CAA3203 ภาษาองั กฤษในวิชาชีพสถาปตั ยกรรม 1 3(3-0-6) 1.1) กล่มุ วชิ ามนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ ไมน่ ้อยกว่า 6 หนว่ ยกติ English for Architectural Field 1 1.2) กลุ่มวิชาภาษา ไมน่ ้อยกวา่ 6 หนว่ ยกติ CAA3204 ภาษาอังกฤษในวชิ าชีพสถาปตั ยกรรม 2 3(3-0-6) 1.3) กลุ่มวชิ าวิทยาศาสตรแ์ ละคณิตศาสตร์ ไมน่ ้อยกว่า 6 หน่วยกติ English for Architectural Field 2 1.4) เลอื กเรียนจาก 3 กลมุ่ วชิ าข้างตน้ อกี ไม่นอ้ ยกวา่ 12 หนว่ ยกติ 2.4) วิชาฝกึ ประสบการณ์วชิ าชพี 7 หนว่ ยกติ 2) หมวดวิชาเฉพาะดา้ น เรยี นไม่นอ้ ยกว่า 97 หนว่ ยกติ 2.1) วชิ าแกน 45 หนว่ ยกิต CAA4801 การเตรียมฝึกประสบการณว์ ิชาชีพ 2(90) 2.2) วิชาชพี เฉพาะดา้ น 33 หนว่ ยกิต สถาปตั ยกรรม Preparation for Professional 2.3) วิชาการจดั การ 6 หนว่ ยกิต Experience in Architecture 2.4) วชิ าภาษาองั กฤษสำ�หรบั วชิ าชพี 6 หนว่ ยกติ CAA4802 การฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชีพ 5(450) 2.5) วิชาฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชพี 7 หนว่ ยกิต สถาปตั ยกรรม 3) หมวดวชิ าเลอื กเสรี เรียนไม่น้อยกวา่ 6 หน่วยกิต Field Experience in Architecture 48 คมู่ อื นกั ศกึ ษา 2 5 6 2 2019 STUDENT HANDBOOK


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook