ภาพท่ี 50 แบบจาลองวิธีคานวณมวลชีวภาพของต้นไม้ที่มีชีวิต และต้นไม้ยืนต้นตาย ในรปู แบบตา่ งๆ ด้วยสมการแอลโลเมตรกิ ของ Tsutsumi et al. (1983) 83
การศกึ ษาซากพืชที่รว่ งหลน่ ตอ่ ซากพชื (Litter) ในทางนิเวศวิทยาป่าไม้ หมายถึง ใบไม้ กง่ิ ไมเ้ ลก็ ๆ ดอก ผล เปลือก หรือ ช้นิ สว่ นเลก็ ๆ ของพืช รวมไปถึงซากแมลงทต่ี ิดอยู่ ตามใบไม้ และร่วงหล่นลงสู่พื้นดิน ส่วนผลผลิต ของซากพชื หรือ Litter production คือ ปริมาณ ของอนิ ทรยี วัตถุทั้งหมดที่เป็นช้ินส่วนของพืชที่ ตายไปแล้ว เช่น ใบ เปลือก ก่ิง ดอก-ผล และ ลาต้น หรือส่วนที่ยังมีชีวิตอยู่ เช่น เมล็ด และ ใบสด รวมไปถึงซากสัตว์หรือแมลงท่ีร่วงหล่น ลงมาด้วย อย่างไรก็ตามปริมาณของซากพืชน้ี จะหมายถึงเศษไม้เล็กๆ ใบไม้ท่ีร่วงหล่นลงมา ทับถมกันในช้ันของอินทรียวัตถุเท่าน้ัน ไม่ได้ รวมถึงไม้ขนาดใหญ่ เช่น กิ่งขนาดใหญ่ ลาต้น หรือผลท่ีมีขนาดใหญ่และน้าหนักมาก Curlin (1970) กล่าวว่า ใบ กิ่ง และลาต้น เป็นส่วนที่ สาคัญ และให้ปริมาณสารอาหารกลับลงสู่ พื้นป่ามากที่สุด แม้ว่าปริมาณสารอาหารในใบ จะไม่ค่อยคงที่ เปล่ียนแปลงไปได้ตามฤดูกาล แคลเซียมจะมีการสะสมตลอดฤดูของการ เติบโต ขณะที่โพแทสเซียม และไนโตรเจน จะลดลงในระยะแก่จัด (Kramer and Kozlowski, 1960) หลังจากฤดูกาลเติบโต ฟอสฟอรัสจะ ค่อนข้างคงท่ีจนกว่าใบจะร่วงหล่น การลดลง ของปริมาณสารอาหารน้ีจะมีความสัมพันธ์กับ การดูดซึมของต้นไม้ และการชะล้างของใบ (Carlisle et al., 1966 a.) ในฤดูใบไม้ร่วง บางส่วน ของไนโตรเจน และสารอาหารพืชอ่ืนๆ ในใบ จะเคลื่อนย้ายไปสู่กิ่งอ่อนก่อนท่ีใบจะร่วงหล่น 84
กรรมวิธีที่สารอาหาร เคล่ือนย้ายจากใบไปสู่ กิ่งอ่อนนี้มีความสาคัญต่อต้นไม้มากเพราะ ไม่เช่นนั้นแล้ว สารอาหารส่วนใหญ่จะ สูญหายไปช่ัวคราวกับใบที่ร่วงหล่นลงสู่พื้นดิน (Kramer and Kozlowski, 1960) แม้ว่าการ ร่วงหล่นของใบจะมีตลอดทั้งปีแต่จะมากท่ีสุด ในฤดูใบไม้ร่วง (Bray and Gorham, 1964) ซ่ึงจะมีปริมาณสูงสุดเนื่องจากชนิดพันธ์ุพืช และปัจจยั ภมู ิอากาศ ซงึ่ โดยท่ัวไปแล้ว พวกพืช เมล็ดเปลือย (gymnosperm) จะมีการท้ิงใบ สมา่ เสมอตลอดปี ในระยะที่ใบร่วง Bray and Gorham (1964) กล่าวว่า การร่วงหล่นของ ซากพืชส่วนใหญ่แล้วจะแปรผันไปตามเขต ภูมิอากาศ ในป่าผลัดใบทางเขตหนาวขั้วโลก เหนือ ใบไม้จะร่วงหล่นมากในฤดูใบไม้ร่วง ซ่ึงมี ระยะเวลาค่อนข้างสั้น และจะร่วงหล่นเป็น ปริมาณสูง สุดในเดื อนตุลาค มถึงเดือ น พฤศจิกายน (Carlisle et al., 1966 b.) ในเขต อบอุ่นทางตอนใต้ ต้นไม้จะผลัดใบในช่วง ระหว่างเดือนเมษายนถึงเดือนมิถุนายน และจะมี ปรมิ าณสงู สุดในเดือนพฤษภาคม (Jensen, 1974) ส่วนในเขตอบอุ่นทางนิวซีแลนด์และออสเตรเลีย ใบไม้จะร่วงหล่นมากในเดือนกันยายนถึงเดือน พฤศจิกายน (Bray and Gorham, 1964) ปา่ ไม้ใน เขตร้อนช้ืนจะมีใบไม้ร่วงหล่นตลอดท้ังปี แต่จะมี ปริมาณสูงสุดในฤดูร้อนแห้งแล้งระหว่างเดือน พฤศจิกายนถึงเดือนมีนาคม (Nye, 1961; Hopkins, 1966; Rodin and Bazilevich, 1967) ตอ่ 85
สาหรบั ปา่ ไม้ในประเทศไทย วัลลภ (2512) การศึกษาซากพืชในส่วนของ Litter ไดท้ าการศึกษาปรมิ าณการร่วงหล่นของเศษไม้ เพ่ือนาไปประเมินปริมาณคาร์บอนในพ้ืนที่ป่า ใบไม้ ในป่าดิบเขาบริเวณลุ่มน้าห้วยคอกม้า ของประเทศอินโดนีเซีย จะทาการศึกษาซากพืช จงั หวดั เชียงใหม่ ซึ่งมีไม้ก่อขึ้นเป็นพันธ์ุไม้หลัก บนพ้ืนดินควบคู่กับการศึกษาไม้พ้ืนล่าง จาก ผลการศึกษาปรากฏว่า ปริมาณการร่วงหล่นมี แปลงตัวอย่างขนาด 1X1 m2 ดังที่กล่าวมาแล้ว มากในฤดูร้อนเดือนมกราคมถึงเดือนเมษายน (Hairiah et al., 2001) เป็นการเก็บข้อมูลเพียง ในเดือนพฤษภาคมถึงเดือนธันวาคมจะมีการ ครั้งเดียวควบคู่กับการข้อมูลต้นไม้ เป็นการเก็บ ร่วงหล่นน้อย และปริมาณของเศษไม้ใบไม้ ข้อมูลแบบง่ายๆ แต่น่าจะมีความคลาดเคล่ือนสูง มากท่ีสุดในเดือนกุมภาพันธ์ และน้อยที่สุดใน เนอ่ื งจากไม่ทราบว่าซากพืชดังกล่าวร่วงหล่นทับถม เดือนสิงหาคม ท้ังน้ีเพราะต้นไม้จาเป็นต้อง กันมานานเท่าไร และบางพื้นท่ีเมื่อเกิดไฟป่า ปรบั ตัวใหเ้ ขา้ กบั สภาวะของความร้อนแห้งแล้ง ซากพืชถูกทาลายหมดหรือบางส่วน ก็จะได้ โดยการท้ิงใบเพ่ือลดการคายน้าจึงมีการร่วง ข้อมูลท่ีไม่ถูกต้อง ดังนั้นการศึกษาการร่วงหล่น หล่นมาก ส่วนในช่วงที่มีความช้ืนสูงต้นไม้ไม่ ของซากพืช (Litter Fall) ควรมีการใชต้ ะแกรงท่ี ต้องลดการคายน้าเพื่อมีชีวิตรอดจึงมีปริมาณ บุด้วยตาข่ายท่ีมีขนาดคงท่ีวางกระจายให้ท่ัว การรว่ งหล่นนอ้ ย (สามคั คี และชมุ พล, 2517) พ้ืนท่ีเพื่อรองรับซากพืชดังกล่าว และเข้าไปเก็บ รวบรวมทุกเดือนเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 24 เดือน จะได้ข้อมูลซากพืชท่ีมีความถูกต้องมากกว่า ข้อมูลที่ได้นี้นอกจากจะใช้ในการประเมิน คาร์บอนแล้ว สามารถพัฒนาเป็นฐานข้อมูลเพื่อ เรียกคา่ เสยี หายทางแพง่ ตามกระบวนการยุติธรรม ในกรณีการบุกรุกแผ้วถางป่า ทาให้เกิดความ สูญเสียด้านธาตุอาหารและความอุดมสมบูรณ์ ของดนิ ที่ควรจะไดร้ ับจากซากพชื เหลา่ นี้ 86
ตะแกรงรองรบั ซากพชื ทร่ี ว่ งหลน่ รูปทรงของตะแกรงรองรับซากพืชปกติ จะมี 2 รูปแบบ คือ แบบวงกลม และแบบ สี่เหลย่ี มจัตรุ ัส ขึน้ อยู่กับวัตถุประสงค์ และลักษณะของหมู่ไม้นั้นๆ ดังแสดงในภาพท่ี 51 ในกรณี แบบวงกลมจะเหมาะสมกับศึกษาต้นไม้ในรูปแบบของสวนป่าที่มีระยะปลูกแคบ ประหยัด ค่าใช้จ่าย แต่การดัดให้เป็นวงกลมอาจทาได้ยากและขาท่ีต้ังรองรับตะแกรงอาจมีความแข็งแรง ไม่มากนัก ขณะท่ีตะแกรงรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส เหมาะสมกับการศึกษาในป่าธรรมชาติ ทาได้ง่าย มี ความแข็งแรง แต่เสียค่าใช้จ่ายสูงกว่า ในคู่มือนี้จะขอกล่าวถึงเฉพาะเทคนิคด้านการทาและการ ตดิ ตั้งตะแกรงในรปู แบบส่ีเหลยี่ มจตั รุ สั ในหวั ข้อถัดไป ภาพท่ี 51 ตะแกรงรองรบั ซากพชื ทรี่ ่วงหลน่ ในรูปแบบของวงกลมและส่เี หลี่ยมจตั รุ สั ต ะ แ ก ร ง ท่ี ใ ช้ ร อ ง รั บ ซ า ก พื ช แ บ บ ใสถ่ ุงเก็บซากพืชได้หมด (ภาพที่ 52-1) เมื่อกดขา ส่ีเหล่ียมจัตุรัส มักนิยมใช้เป็นขนาด 1X1 m2 เหล็กลงดินลึกประมาณ 20 cm ส่วนท่ีหย่อน ทาจากเหล็กเส้นขนาด 3 หุน มีขายาว 1 m ของตาข่ายจะสูงจากพ้ืนดินประมาณ 20-30 cm รองรับทัง้ 4 มมุ พน้ื ตะแกรงจะเยบ็ บดุ ว้ ยตาข่าย ไมค่ วรใหต้ าข่ายสมั ผสั กบั พ้นื ดนิ โดยตรง จะทาให้ สีฟ้าให้น้าซึมผ่านได้ดี ควรใช้ตาข่ายที่มีหน้ากว้าง ตาข่ายผุง่ายและอายุการใช้งานส้ันลง ในกรณี 1.8-2.0 m ขนาด 16 ตา (คือระยะห่างของเส้น เป็นพื้นที่ท่ีมีน้าท่วม ขาตะแกรงควรยาวกว่าปกติ ไนลอน ในพ้ืนที่ 1 ตารางนิ้ว จะมีเส้นไนลอน อาจมีความยาว 1.5-2.0 m เพื่อให้อยู่เหนือน้า แนวตง้ั 16 เสน้ และแนวนอน 16 เส้น) เมื่อเย็บติด (ภาพที่ 52-2) ไม่ควรใช้ตาข่ายหน้ากว้าง 1.2 m กับโครงเหล็กแล้วควรให้ตาข่ายมีส่วนที่หย่อนลึก เพราะเม่ือนามาบุตะแกรงกน้ ตาข่ายจะตื้นหรือ ประมาณ 50-60 cm เพื่อใช้เป็นที่รองรับซากพืช ตึงเกนิ ไป ซากพชื จะปลิวหรือกระเด็นออกจาก จะสะดวกต่อการเก็บรวบรวมซากพืชในตะแกรง ตะแกรงได้ง่าย การเก็บซากพืชทาได้ยากและ สามารถตลบตาข่ายเพื่อนาเศษเล็กเศษน้อยเข้า เกบ็ ซากพืชได้ไมห่ มด ดังแสดงในภาพท่ี 52-3 87
ภาพที่ 52 ตะแกรงรองรับซากพืช สี่เหล่ียมจัตุรัส 1) ตะแกรงควรมีส่วนที่หย่อน ลึกประมาณ 50-60 cm จะสามารถตลบตาข่าย เพ่อื ความสะดวกในการเก็บซากพชื 2) ในพื้นที่ ท่ีมีน้าท่วมขังในฤดูฝน ขาของตะแกรงจะยาว กวา่ 1 m หรือยกตะแกรงขึ้นใหอ้ ยู่เหนือน้า และ 3) ตะแกรงท่ีมีตาข่ายหย่อนน้อยเกินไป จะไม่ เหมาะสมกับการเก็บข้อมูลซากพืช เพราะซาก พชื จะปลวิ ออกจากตะแกรงได้งา่ ย เทคนิคการทาตะแกรงรองรับซากพชื ในอดีตการทาตะแกรงรองรับซากพืช มักนิยมใช้เหล็กเส้นขนาด 3 หุน มีความยาว 1 m พอดี จานวน 8 ท่อน/ตะแกรง ทาการอ๊อกเช่ือมเหล็กให้เป็นส่ีเหลี่ยมจัตุรัสก่อน จากน้ันจึงทาการ ออ๊ กเชอ่ื มขาตรงมมุ ขอบทงั้ 4 มุม จากน้ันเย็บบุด้วยตาข่าย ดังแสดงในภาพที่ 53 เมื่อนาไปติดต้ังใน พน้ื ท่สี วนป่าจะทาไดส้ ะดวกรวดเร็ว เนือ่ งจากมสี ภาพต้นไม้เป็นแถวเปน็ แนว แต่ในพ้นื ทป่ี า่ ธรรมชาติ การนาตะแกรงลักษณะแบบนี้ไปติดตั้ง ทาได้ลาบากมาก เพราะมีสภาพรกทึบ ทาให้ขาและตัว ตะแกรงติดขัดกับต้นไม้ระหว่างการลาเลียง ทาให้ตะแกรงเสียรูปทรง และเสียเวลามากเม่ือนาไป ตดิ ตั้งในแปลงตวั อยา่ ง ภาพที่ 53 ตะแกรงรองรับซากพืช ท่มี ขี าอ๊อกเช่ือมติดกับตวั ตะแกรง จะทาให้การ ลาเลียงตะแกรงไปติดตั้งในพื้นท่ียากลาบาก และเสยี เวลามาก 88
เม่ือมีการแยกขาออกจากตัวตะแกรง จะทาให้การลาเลียงตะแกรงเข้าติดตั้งในพื้นท่ีมีความ สะดวกรวดเร็วเพิ่มขึ้น ลาเลียงได้ครั้งละจานวนมากๆ โดยส่วนของของขาจะอ๊อกเชื่อมด้วยปลอกเหล็ก ขนาด 15 cm และส่วนของตะแกรงจะอ๊อกเชื่อมเหล็กทาเป็นเดือยยาวประมาณ 10 cm ตามภาพท่ี 54 ภาพท่ี 54 ตะแกรงรองรับซากพืช เม่ือมีการแยกส่วนของขาออกมาจากตัวตะแกรง โดยส่วนของขาทาเป็นปลอกเหล็ก ส่วนของมุมตะแกรงเป็นเดือยเหล็กท่ีสวมกันได้พอดี จะทาให้ การลาเลียงตะแกรงเขา้ ไปติดตงั้ ในพื้นที่ทาได้งา่ ยและสะดวกรวดเรว็ ข้นึ 89
การติดตั้งตะแกรงทใ่ี ชใ้ นการเกบ็ ซากพชื ในการติดต้ังตะแกรงรองรับซากพืช ภายใต้ “กิจกรรมสารวจ ศึกษา และประเมินการ เปล่ียนแปลงของระบบนิเวศและการกักเก็บคาร์บอนในพื้นท่ีป่าไม้” ภายในแปลงตัวอย่างถาวร ขนาด 40X40 และ 50X50 m2 จะทาการติดต้ังตะแกรง จานวน 5 ตะแกรงต่อแปลง โดยมี ตาแหนง่ ทตี่ ดิ ตั้งแสดงในภาพที่ 24 ในการติดต้ังตะแกรงถ้าตาแหน่งติดกับต้นไม้ใหญ่ หรือมีก้อนหิน ขนาดใหญ่ ไม่สามารถตอกขาเหล็กเพ่ือตั้งตะแกรงได้ ให้ย้ายตาแหน่งที่ต้ังออกไปให้ห่างจากจุด เดิมไม่มากนัก ในการวางตะแกรงต้องใช้ระดับน้าและค้อนช่วยในการปรับแต่งให้ตะแกรงอยู่ใน แนวระดบั ดังแสดงในภาพท่ี 55 ภาพที่ 55 การตดิ ตง้ั ตะแกรงรองรับซากพืชในพนื้ ทแ่ี ปลงตวั อยา่ งถาวร ตัวตะแกรงต้อง อยู่ในแนวระดบั โดยใชร้ ะดบั นา้ และคอ้ นช่วยในการปรบั แต่ง 90
อุปกรณใ์ นการเกบ็ รวบรวมซากพชื จากตะแกรง ภายหลงั จากติดตงั้ ตะแกรงเรียบรอ้ ยแล้ว เป็นจานวนมาก ถ้าทิ้งไว้หลายวันโดยไม่เปิด ควรให้หมายเลขประจาตะแกรงอย่างเป็นระบบ ปากถุงจะทาให้ซากพืชท่ีเก็บมาเสียหายได้ เ พื่ อ ป้ อ ง กั น ค ว า ม สั บ ส น ที่ อ า จ เ กิ ด ข้ึ น ไ ด้ โดยเฉพาะอย่างย่ิงเมื่อต้องเก็บซากพืชช่วงที่ ก่อนทาการศึกษาในคร้ังแรกควรทาการตลบ ฝนตก การนาซากพืชออกมาผึ่งให้แห้งจะทา ตาข่ายเพื่อนาเศษซากพืชที่อาจมีอยู่ในตาข่าย ได้ยากและไม่สะดวก เมื่อใช้ถุงตาข่ายเก็บซากพืช ออกใหห้ มด เมื่อตะแกรงรองรับซากพืชครบ 1 จะมีการถ่ายเทของอากาศดี ซากพืชท่ีเก็บจะ เดือน จึงทาการเก็บรวบรวมซากพืชที่อยู่ใน เสียหายน้อยมาก กรณีซากพืชท่ีเปียกช้ืนด้วย ตะแกรงนั้น อุปกรณ์ท่ีใช้ในการเก็บรวบรวม น้าฝน ก็สามารถสลัดถุงตาข่ายให้น้าออกจาก ซากพืชแสดงในตารางท่ี 13 ถุงทีใ่ ช้ในการเก็บ ซากพืชได้ง่าย การนาไปแขวนกับราวเพื่อผึ่ง ซากพืช ควรทาจากตาข่ายที่เหลือจากการทา ซากพชื ก็ทาได้งา่ ยสะดวกและรวดเร็ว โดยไม่ต้อง ตะแกรง นามาเย็บเป็นถุงขนาด 30X50 cm2 ทาการเปดิ ปากถงุ ตาข่ายใหย้ ่งุ ยาก ไม่ควรวาง ไมค่ วรใชถ้ ุงพลาสตกิ ในการเกบ็ ซากพืช (ภาพท่ี 56) ถุงตาขา่ ยไว้ที่พื้นปูนหรือพื้นดินเพราะจะทาให้ เนื่องจากถุงพลาสติกจะไม่สามารถระบาย ซากพืชแห้งช้า และอาจมีเศษดินเข้าไปภายใน อากาศได้ ทาให้เกิดไอน้าเกาะติดถุงพลาสติก ถุงตาขา่ ย ทาใหก้ ารแยกซากพชื ยากลาบาก ตารางที่ 13 รายการอปุ กรณ์ในการเก็บรวบรวมซากพืชจากตะแกรง และทาการคัดแยกซากพืช เป็นสว่ นต่างๆ อันดับ รายการ จานวน วัตถุประสงค์ 1 ถุงตาขา่ ยขนาด 30 X 50 cm2 เหมาะสม ใช้สาหรบั เกบ็ ซากพชื แยกรายตะแกรง 2 เชอื กฟาง 1 มว้ น ใช้ผูกปากถงุ ตาข่ายหลงั เกบ็ ซากพชื 3 กรรไกรตดั กระดาษ 1 อัน ใช้ตัดเชอื กฟาง 4 กรรไกรตดั กง่ิ ไม้ 1 อนั ใชส้ าหรับตดั กิ่งไม้ขนาดเล็กที่ยื่นออกจากตะแกรง 5 เล่ือยคันธนูขนาดเล็ก 1 อัน ใช้สาหรบั ตดั กิง่ ไม้ขนาดใหญท่ ่ีไม่สามารถใชก้ รรไกรตดั กิ่ง 6 ปา้ ยขนาดเลก็ เหมาะสม แสดงหมายเลขตะแกรงและแปลงท่เี กบ็ ซากพชื ใสใ่ นถุงตาขา่ ย 7 ถงุ พลาสตกิ ขนาดใหญ่ เหมาะสม ใชส้ าหรบั รวบรวมถงุ ตาข่ายจากข้อ 1 เพ่อื นาออกจากพ้ืนท่ี 8 อุปกรณ์ซ่อมแซม และตะแกรงสารอง 1 ชดุ เข็ม เชือก ตาข่าย ตะแกรงสารอง เพอ่ื ใช้ซอ่ มแซมท่ีชารดุ 9 กระดาษหนงั สอื พมิ พ์ เหมาะสม ใชส้ าหรบั คดั แยกซากพืชและใสซ่ ากพืชนาไปอบแห้ง 10 ทีเ่ ยบ็ กระดาษพร้อมลูก 2 ชุด ใชเ้ ยบ็ กระดาษหนังสือพิมพท์ าเป็นถงุ หรอื กระทงคัดแยกซากพชื 11 ตะกรา้ พลาสตกิ ส่เี หลี่ยม (25X30X10 cm3) 4 อนั ใชใ้ ส่ ซากพชื จากถุงตาขา่ ยเพอ่ื ทาการคัดแยกเปน็ ส่วนตา่ งๆ 12 ปากกาเคมี 2 ดา้ ม ใช้เขียนอธบิ ายบนถงุ กระดาษหนังสือพมิ พ์ก่อนนาไปอบแหง้ 13 ลังพลาสติกพับได้ที่มชี อ่ งระบายอากาศ เหมาะสม ลาเลยี งซากพืชทคี่ ัดแยกแล้วเพือ่ นาไปอบในห้องปฏบิ ัติการ 91
ภาพที่ 56 การเกบ็ ซากพชื จากตะแกรงรองรับ ไม่ควรใชถ้ ุงพลาสตกิ ในการเก็บ จะทาใหเ้ กิด ความเสยี หายต่อซากพืชไดเ้ ม่อื ไมไ่ ดเ้ ปดิ ปากถุงเป็นเวลาหลายวนั ควรใชถ้ งุ ตาข่ายในการเกบ็ ซากพืช ในกรณีทีม่ ซี ากพืชส่วนที่เป็นก่ิงไม้โผล่ ซากพชื ส่วนที่เกนิ กวา่ 5 cm ใหท้ ้งิ ไป ในการ พ้นตะแกรง ให้ใช้กรรไกรตัดก่ิงไม้ท่ีโผล่พ้น เข้าไปเก็บรวบรวมซากพืชทุกเดือน ในบาง ตะแกรงน้นั ออกไป ส่วนก่งิ ไม้ที่เหลืออยู่ภายใน กรณีจะพบว่ามีตะแกรงชารุด เช่น ต้นไม้ใหญ่ ตะแกรงจัดเป็นซากพืชที่ต้องทาการเก็บข้อมูล ล้มทับตะแกรง ไฟไหม้ตะแกรง ถูกตัดตาข่าย ในบางกรณีท่ีมีกิ่งไม้จานวนมากและยาวกว่าถุง นาไปเก็บเห็ด หรือโดนช้างเหยียบพับตะแกรง ตาขา่ ยใหท้ าการตัดทอนกิง่ ไมเ้ หล่าน้ันให้สั้นลง (ภาพที่ 58) ถ้าพบเหตุการณ์เช่นนี้ ให้ถือว่า แล้วทาการเก็บซากพืชในตะแกรงให้หมดจน ข้อมูลในเดือนนั้น ของตะแกรงน้ัน สูญหายจะ ตะแกรงว่างเปล่า ห้ามนากิ่งไม้หรือซากพืชที่ ไม่นามาคิดคานวณ แม้ว่าจะพบเศษซากพืช อยใู่ นตะแกรงท้ิงไป (ภาพท่ี 57) ไม่บ่อยคร้ังที่ บางส่วนติดภายในตะแกรง และควรมีชุด จะพบกิ่งไม้ขนาดใหญ่ตกลงสู่ตะแกรง ในกรณี อุปกรณ์ซ่อมแซมตาข่าย หรือตะแกรงสารอง ทีม่ ีก่ิงไม้ขนาด Ø เกิน 5 cm ให้ใช้เลื่อยคันธนู ติดตั้งใหม่ทันทีในวันนั้นเพ่ือจะได้เก็บรวบรวม ตดั แบง่ ส่วนทนี่ ้อยกวา่ 5 cm เกบ็ เปน็ ส่วนของ ข้อมูลไดต้ อ่ เนอ่ื ง ตอ่ ไป ภาพที่ 57 กรณที ีม่ ีซากกิ่งไม้บางสว่ นอย่นู อกตะแกรง จะใชก้ รรไกรตัดกิ่งไม้ท่ีอยู่นอกตะแกรง ออกทิ้งไป และหากซากกิ่งไม้ท่ีอยู่ในตะแกรงมีความยาวมากกว่าถุงตาข่ายท่ีใช้เก็บซากพืช ให้ทาการ ตัดทอนกิง่ ไมเ้ หล่านนั้ เพอื่ ใสใ่ นถุงตาข่าย แลว้ นาออกจากพ้นื ทีเ่ พอ่ื ทาการคดั แยกในขนั้ ตอนต่อไป 92
ภาพที่ 58 ตะแกรงรองรับซากพืชที่ชารุดด้วยสาเหตุต่างๆ 1) ไม้ใหญ่ล้มทับตะแกรง ทอ่ี ทุ ยานแห่งชาตปิ างสดี า 2) ไฟไหมต้ ะแกรง ทีอ่ ทุ ยานแหง่ ชาตดิ อยอินทนนท์ 3) ตาข่ายถูกตัด เพ่ือนาไปเก็บเห็ด ท่ีอุทยานแห่งชาติเอราวัณ และ 4) ตะแกรงที่ถูกช้างป่าเหยียบทาลาย ท่ีเขต รักษาพนั ธุ์สัตวป์ ่าเขาสอยดาว การคัดแยกซากพชื เมื่อเกบ็ รวบรวมซากพชื จากทกุ ตะแกรงและทกุ แปลงเสรจ็ สิ้นเรยี บรอ้ ยแลว้ ใหน้ าถงุ ซากพืช ดังกลา่ วท้ังหมดมาคัดแยกที่สานักงาน หรือท่ีพัก ไม่ควรทาการคัดแยกซากพืชในพ้ืนที่ป่า เพราะ ไม่สะดวกและมีความผิดพลาดได้ง่ายถ้ามีฝนตก ในกรณีซากพืชเปียกชื้นมากจากน้าฝนให้นาถุง ซากพืชแขวนกับราวเพ่ือผ่ึงลมหรือแดด ประมาณ 2-3 วัน การคัดแยกซากพืชขณะท่ีเปียกช้ืน จะทาไดย้ ากและมคี วามผิดพลาดมากกวา่ ตอนซากพืชแห้ง 93
ในการคัดแยกซากพืชของแต่ละถุงตาข่ายที่เก็บมาจากตะแกรง จะคัดแยกออกเป็น 5 ส่วน คือ 1) ใบไม้ 2) ก่ิงไม้ 3) เปลือกไม้ 4) ดอก-ผล และ 5) อ่ืนๆ ในส่วนของอ่ืนๆ จะเป็นส่วน ของเศษเลก็ เศษน้อยของส่วนท่ี 1 2 3 และ 4 ท่ีไม่สามารถแยกได้ รวมถึงมูลสัตว์หรือซากแมลงท่ี ตกอยู่ในตะแกรงน้ัน ถ้าการคัดแยกมีความละเอียดส่วนของ “อื่นๆ” จะมีจานวนน้อย (ภาพที่ 59) วัตถุประสงค์ของการคัดแยกออกเป็นส่วนๆ เพื่อสะดวกในการนาไปอบแห้ง เพ่ือใช้ในการ คานวณหาปริมาณของธาตุอาหารของส่วนต่างๆ ท่ีจะคืนสู่ในระบบนิเวศ รวมถึงปริมาณของ คาร์บอนในแต่ละส่วน ดงั กล่าว ส่วนของใบไม้ ส่วนของก่ิงไม้ สว่ นของเปลือกไม้ สว่ นของดอก-ผล สว่ นอ่ืนๆ ภาพท่ี 59 การคัดแยกซากพืชท่ีอยู่ในตะแกรงรองรับซากพืช ออกเป็น 5 ส่วน คือ สว่ นของใบไม้ ส่วนของกิ่งไม้ ส่วนของเปลือกไม้ ส่วนของดอก-ผล และสว่ นอืน่ ๆ ก่อนทาการคัดแยกซากพืช ต้องเตรียมถุงกระดาษเพ่ือใส่ซากพืชท่ีคัดแยกแล้ว เพ่ือความ สะดวกและประหยัดค่าใช้จ่ายจะใช้กระดาษหนังสือพิมพ์พับให้เป็นถุงแล้วเย็บด้วยที่เย็บกระดาษเพียง 2 หรอื 3 ด้าน เหลือสว่ นสาหรับใส่ซากพืชไว้ 1 ด้าน หลังจากใส่ซากพืชเรียบร้อยแล้ว จึงทาการ พบั แล้วเยบ็ ปดิ ปากถงุ ให้เรียบร้อย กระดาษหนังสือพิมพ์ท่ีใช้ไม่ควรเป็นกระดาษอาร์ตมันเพราะ มีการซึมน้าไม่ดี เมื่อนาไปอบต้องใช้เวลานาน ขนาดของถุงกระดาษที่จัดเตรียมไว้จะมี 4 ขนาด เพื่อใช้กบั ปรมิ าณของซากพืชตามความเหมาะสม ดงั แสดงในภาพที่ 60 94
ภาพที่ 60 การเตรยี มถุงกระดาษหนงั สอื พมิ พ์ แสดงการพับ การเย็บ และขนาดของถุงท่ี เย็บเสร็จแล้ว 4 ขนาด ข้นั ตอนในการคดั แยกซากพชื ออกเป็น ส่วนเศษเล็กเศษน้อยที่แยกไม่ได้ จะจัดเป็น ส่วนๆ ดังกล่าว จะนาถุงตาข่ายที่บรรจุซากพืช “สว่ นอืน่ ๆ” โดยตอ้ งรวมกบั เศษซากพืชที่ติดบน เทลงบนตะกร้าพลาสติกสี่เหล่ียม ที่วางลงบน หนังสือพมิ พ์ทใี่ ช้รองคดั แยกสว่ นต่างๆ เข้าไปด้วย กระดาษหนังสือพิมพ์ จากน้ันจะทาการคัดแยก จากน้ันใช้ปากกาเคมีเขียนบนถุงกระดาษ ระบุ ซากพืชเป็นส่วนต่างๆ โดยวางลงบนกระดาษ หมายเลขประจาตะแกรง ส่วนของซากพืช และ หนังสอื พิมพ์ที่พับทาเป็นขอบสูงประมาณ 1 นิ้ว วัน/เดือน/ปี ท่ีทาการเก็บหรือแยกซากพืช เม่ือ เพือ่ กันไมใ่ ห้ซากพืชหลุดออกนอกหนังสือพิมพ์ แยกครบทุกส่วนใน 1 ตะแกรงให้ทาการเย็บ เม่ือคัดแยกเสร็จจะนาซากพืชใส่ลงถุงกระดาษ รวมกันเป็นชุดๆ แล้วนาเรียงในลังพลาสติก ที่เตรียมไว้และเย็บปิดปากถุง เมื่อทาการคัดแยก พับได้ที่มีช่องระบายอากาศเพื่อนาไปอบใน ส่วนของ ใบ กง่ิ เปลอื ก และดอก-ผล ครบหมดแลว้ หอ้ งปฏิบัติการต่อไป ดงั แสดงในภาพที่ 61 ภาพที่ 61 ข้ันตอนการคัดแยกซากพืชเป็นส่วนต่างๆ นาใส่ถุงกระดาษ เพื่อเตรียม เคลอื่ นยา้ ยไปยังห้องปฏบิ ัติการ 95
ในการอบซากพืชเพอ่ื ไล่ความชื้น ไม่ต้องช่ังน้าหนักก่อนทาการอบ เน่ืองจากทาการเก็บ ซากพืชทั้งหมดจากตะแกรงรองรับโดยตรง จึงคานวณเป็นน้าหนักแห้งต่อ 1 m2 มีจานวน 5 ตะแกรง/แปลง จึงนาไปคานวณต่อหน่วยพื้นท่ีต่อไป ไม่ควรนาซากพืชท้ังหมดที่ยังไม่ผ่านการ คัดแยกออกเป็นส่วนๆ เข้าตู้อบจนแห้ง แล้วนาซากพืชนั้นมาคัดแยกภายหลัง แล้วนาไปชั่งหา น้าหนักแห้งของส่วนต่างๆ นับเป็นข้อผิดพลาดอย่างย่ิง เพราะการคัดแยกซากพืชเป็นส่วนต่างๆ ตอ้ งใชเ้ วลาค่อนข้างมาก ทาให้ซากพืชนั้นดูดความชื้นจากอากาศเข้าไปทาให้น้าหนักผิดพลาดได้ ประกอบกับซากพืชท่ีอบแห้งจะแตกหักเป็นเศษเล็กเศษน้อยจานวนมากทาให้การคัดแยกทาได้ ลาบาก ถ้าจะแก้ไขก็ต้องนาซากพืชที่แยกออกเป็นส่วนๆ แล้ว ใส่ถุงกระดาษแล้วนาไปอบไล่ ความชืน้ เพม่ิ อกี ไมน่ อ้ ยกวา่ ½ วนั แลว้ ทาการช่งั น้าหนักใหม่ การอบซากพืชทีผ่ า่ นการคดั แยกแลว้ สามารถนาถุงกระดาษดังกล่าวเข้าตู้อบ ท่ีอุณหภูมิ 105O C เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 48 ชั่วโมง หรือจนซากพืชมีน้าหนักคงที่ ยกเว้นในกรณีที่จะนา ตัวอย่างซากพืชไปวิเคราะห์ธาตุอาหาร จะทาการอบที่อุณหภูมิ 80O C เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 72 ชั่วโมง หรือจนซากพืชมีน้าหนักคงท่ี จากน้ันปิดตู้อบรอให้ซากพืชอุ่นๆ แล้วจึงนาไปช่ังน้าหนัก โดยทาการตัดถุงกระดาษเทซากพืชลงในลงในถาดที่ตั้งบนเคร่ืองชั่งท่ีตั้งค่าเป็นศูนย์อ่านค่าที่ได้ แล้วบันทึกค่า เพื่อนาไปคานวณหาปริมาณคาร์บอนในส่วนของซากพืชเป็นรายเดือนและรายปี ตอ่ หนว่ ยพ้ืนที่ จากนั้นจึงนามาประเมินคา่ คาร์บอนเฉลีย่ ของพน้ื ทีป่ า่ ไม้ ตอ่ ไป 9966
การสะสมคารบ์ อนในกลุม่ ของคารบ์ อนในดิน (Soil Organic Matter) ดิน เป็นปัจจัยหน่ึงท่ีกาหนดชนิดและลักษณะการเจริญเติบโตของพืชในพื้นท่ี เอิบ (2533) กล่าวไว้ว่าพืชพรรณธรรมชาติที่ข้ึนอยู่บนดินเป็นปัจจัยวินิจฉัยค่อนข้างดีถึงลักษณะของดินหรือ ชนิดของดินที่พบ ขบวนการสร้างดิน (soil formation) ประกอบด้วย (1) การสลายตัวผุพังของ หินและแร่ การทับถมเพิ่มพูนของส่ิงท่ีสลายตัว และ (2) การผสมคลุกเคล้าของอินทรียวัตถุจาก ผวิ ดินกอ่ ให้เกดิ ลักษณะและชนั้ ดนิ ตา่ งๆ การเกดิ ดนิ ต้องการเวลาในการสร้างตัวและสร้างช้ันดิน ซ่ึงแสดงออกในด้านรูปหน้าตัด (Soil profile) จานวนช้ันหน้าตัดดินข้ึนอยู่กับขบวนการสร้างดิน วัตถุต้นกาเนิด และสภาพพื้นที่ (อภิสิทธิ์, 2530) ความสัมพันธ์ระหว่างดินและพืชเป็นเรื่องท่ี สลบั ซับซอ้ นและมขี อบเขตกวา้ งจากรายงานของ อานาจ (2525), Brady (1974) และ Corbett (1969) กลา่ วไว้วา่ ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งดินกบั พืชเก่ยี วข้องกับสมบัติทางกายภาพของดินที่สาคัญได้แก่ ความลึก ของดิน เนื้อดิน โครงสร้างของดิน และสถานะความชื้นในดิน สมบัติทางเคมี ได้แก่ ปฏิกิริยาดิน ปรมิ าณอินทรยี วตั ถุ ปรมิ าณธาตอุ าหาร ความจใุ นการแลกเปล่ยี นประจบุ วก และการอมิ่ ตวั ด้วยดา่ งของดนิ การศึกษาการสะสมคาร์บอนในกลุ่มของคาร์บอนในดิน จะเน้นหนักทางด้านการสุ่ม การเก็บ และการจัดเตรียมตัวอย่างดินภาคสนาม จากพ้ืนที่แปลงตัวอย่างถาวร ให้ถูกต้องตามหลักวิชาการ และ นาส่งตัวอยา่ งดงั กลา่ วไปวเิ คราะห์ในหอ้ งปฏิบัติการ ตอ่ ไป อปุ กรณ์ในการเก็บตวั อย่างดิน อุ ป ก ร ณ์ ใ น ก า ร เ ก็ บ ตั ว อ ย่ า ง ดิ น ภาคสนาม มีอยู่ค่อนข้างมากจาเป็นต้องมีการ เต รี ย มล่ ว ง หน้ าเ พื่ อ คว าม ส ะ ดว กใ นก า ร ปฏบิ ตั ิงาน ดงั แสดงในภาพที่ 62 และตารางท่ี 14 ภาพท่ี 62 อปุ กรณท์ ใ่ี ช้ในการเก็บ ตัวอย่างดนิ ภาคสนาม หมายเลขในภาพคือ อปุ กรณ์ท่แี สดงใน ตารางท่ี 14 97
ตารางที่ 14 รายการอุปกรณใ์ นการเก็บตัวอยา่ งดินภาคสนาม เพ่ือศกึ ษาการสะสมคาร์บอนในดนิ อนั ดับ รายการ จานวน 1 จอบสาหรับขดุ ดิน-กลบดิน 1 เล่ม 2 เสยี มเหล็กสาหรับแตง่ หนา้ ตัดดนิ ให้เรยี บ 1 เล่ม 3 เหลก็ ใชส้ าหรบั แทงดนิ ออกจาก Soil Auger 1 อนั 4 Soil Auger ใชส้ าหรับเกบ็ ตวั อย่างดนิ ตามระดับความลกึ 1 อนั 5 ผ้าใบปพู ้นื ขนาด 4X6 m 1 ผนื 6 ผา้ ใบกนั แดด ขนาด 2X2 m 1 ผืน 7 กระบอกอะลูมเิ นยี มสาหรบั เก็บตัวอย่างดิน (Soil Can) ขนาดปรมิ าตร 100 cc 5 อัน 8 อุปกรณต์ อก Soil Can ใหล้ งดนิ 1 อนั 9 ไม้บรรทัดพบั ไดข้ นาดความยาว 1 m ใชว้ ัดระดับความลึกของดิน 1 อนั 10 เกรยี งเหลก็ ใช้ในการกาหนดหมายตาแหน่งระดบั ความลกึ 2 อนั 11 แปลงทาสีขนาด 1 และ 2 น้วิ ใช้ทาความสะอาด Soil Can 2 อนั 12 มีดคัตเตอรใ์ ชใ้ นการปาดหนา้ ดนิ ท่ีล้นของ Soil Can 1 อนั 13 กรรไกรตดั กระดาษใช้สาหรับตดั รากฝอยที่โผลพ่ ้น Soil Can 1 อัน 14 กรรไกรตดั กิง่ ใช้สาหรบั ตัดรากไมข้ นาดใหญ่ท่อี ยูใ่ นชนั้ หน้าตัดดนิ 1 อัน 15 มดี ทาครวั ขนาด 6 นวิ้ ใชใ้ นการปาดหนา้ ดนิ ทล่ี น้ ของ Soil Can 1 ดา้ ม 16 พลั่วมอื แบบแบน เพือ่ ใช้ในการจัดเตรยี มพ้ืนที่สาหรับ Soil can 1 อนั 17 พลัว่ มือ ใช้ในการเก็บตัวอยา่ งดนิ ด้านแนวด่ิง 1 อัน 18 ที่ตักดินอะลูมเิ นียมเพือ่ ใชร้ องตวั อยา่ งดินจากชนั้ หน้าตดั ดิน 1 อนั 19 กระดาษกาวหนังไก่ 1 ม้วน 20 ปากกาเคมี 3 ดา้ ม 21 หนังยางวงสาหรบั รดั ถุงพลาสติก 1 หอ่ 22 ถุงพลาสติก ขนาด 4X6 และ 8X12 น้วิ อยา่ งละ 1 kg 2 kg 23 เชอื กฟาง 1 มว้ น 24 ถงุ ปุ๋ยขนาดใหญ่ 12 ใบ 25 เหล็กเส้น 3 หนุ 2 เส้น 26 ค้อนเหล็ก 2 อัน 98
การเก็บตัวอย่างดินในแปลงตัวอยา่ งถาวร ปกตกิ ารเกบ็ ตวั อยา่ งดนิ ในพ้ืนที่ป่าไม้ มวี ัตถปุ ระสงค์เพ่ือนาตัวอย่างดินท่ีได้ไปวิเคราะห์ หาปริมาณธาตุอาหารต่างๆ รวมถึงปริมาณคาร์บอนในดิน โดยมีความแตกต่างกับการศึกษาสารวจ และจาแนกดิน ทม่ี วี ตั ถุประสงค์ในการจาแนกดินออกเป็นดินชนิดต่างๆ (Soil Series) ต้องมีการ จัดทาชั้นหน้าตัดดิน ทาการเก็บตัวอย่างดินเพื่อวิเคราะห์คุณสมบัติทางเคมีและกายภาพด้านต่างๆ จานวนมาก จาเปน็ ตอ้ งใช้ความรูค้ วามชานาญในดา้ นน้ีเป็นการเฉพาะ ในการเก็บตัวอยา่ งดินภาคสนาม สามารถแบง่ ออกเป็น 2 ประเภท คือ 1) เกบ็ ตามช้ัน หน้าตดั ดิน เช่น A, B, BC และ C เป็นตน้ และ 2) เก็บตามระดับความลึก เช่น 0-15, 15-30 และ 30-50 cm เป็นต้น การเกบ็ ตวั อยา่ งดินตามชน้ั หน้าตัดดิน มกั นิยมเกบ็ ข้อมลู พร้อมกับการ ทาช้ันหนา้ ตดั ดนิ (Soil Profile) โดยทาการขุดดนิ ให้มีความกว้าง ยาว ลึก ประมาณ 1X1X1m3 โดยทาการปรับแต่งด้านท่จี ดั ทาชน้ั หน้าตัดดินให้เรยี บเพยี งดา้ นเดยี ว ดงั แสดงในภาพท่ี 63 ภาพท่ี 63 การเก็บตัวอย่างดินตามชั้นหน้าตัดดิน จะดาเนินการพร้อมกับการศึกษา ช้นั หน้าตดั ดิน (Soil Profile) 1) เมอื่ ได้พ้นื ท่ีที่เหมาะสมจะทาการขุดหลุม ที่มีขนาด 1X1X1 m3 2) ทาการกาหนดขอบเขตของชั้นหน้าตัดดิน ด้านท่ีทาการศึกษาให้หันหน้าขึ้นบนท่ีลาดชัน เนื่องจากทางานได้ง่ายกว่า 3) การเก็บตัวอย่างดินตามชั้นหน้าตัดดิน และ 4) การเก็บความ หนาแนน่ ของดิน (Bulk Density) ดว้ ยภาชนะเก็บดนิ (Soil Can) ขนาด 500 cc 99
การเก็บตัวอย่างดินตามชั้นหน้าตัดดินจะต้องใช้เวลามาก และจะทาพร้อมกับการศึกษา ชั้นหน้าตัดดินหรือการสารวจดิน ซ่ึงต้องใช้ทักษะและความชานาญค่อนข้างสูงจึงไม่ควรให้ เจา้ หน้าท่ีภาคสนามดาเนินงานเอง การเก็บตัวอย่างดินตามระดับความลึก เป็นวิธีการทางานได้ง่าย และสามารถมอบหมายให้เจ้าหน้าที่ภาคสนามสามารถดาเนินการได้ เมื่อผ่านการอบรมเทคนิค การเกบ็ ตัวอย่างดนิ ภาคสนาม ดังนั้นคู่มือฉบับน้ีจะแนะนาเทคนิคการเก็บตัวอย่างดินตามระดับ ความลึก เพื่อศึกษาปริมาณคาร์บอนในแปลงตัวอย่างถาวรภายใต้ “โครงการสารวจ ศึกษา และ ประเมินการเปล่ยี นแปลงของระบบนเิ วศ และการกักเก็บคาร์บอนในพืน้ ที่ปา่ ” ตาแหนง่ การเก็บตวั อยา่ งดนิ การเกบ็ ตัวอย่างดินในแปลงตัวอยา่ งถาวรท้งั ขนาด 40X40 และ 50X50 m2 จะทาการเก็บ ตัวอยา่ งดิน 3 จดุ บรเิ วณมมุ ของสามเหล่ยี มดา้ นเท่าที่มคี วามยาวด้านละประมาณ 25 m (ภาพท่ี 64) ในกรณีท่ีสภาพพื้นท่ีมีความลาดชันสูง ตาแหน่งของมุมสามเหล่ียมด้านเท่าจะมีลักษณะเอียงขึ้น เพอื่ ใหค้ รอบคลมุ พ้ืนท่ี ดา้ นลา่ ง ดา้ นกลาง และดา้ นบน ของความลาดชนั ดงั แสดงในภาพที่ 65 25 m 25 m 25 m 25 m 25 m 25 m ภาพท่ี 64 จุดเก็บดนิ 3 จุด บริเวณมุมของสามเหล่ียมดา้ นเท่าทีม่ คี วามยาวดา้ นละประมาณ 25 m 1) แปลงตวั อยา่ งถาวรขนาด 40X40 m2 และ 2) แปลงตวั อยา่ งถาวรขนาด 50X50 m2 100
0 ภาพท่ี 65 จุดเก็บดินในพ้ืนท่ีมีความลาดช้ันแตกต่างกัน 1) พื้นท่ีท่ีมีความลาดชันน้อย และ 2) พน้ื ท่ที ม่ี ีความลาดชันสูง ในแต่ละจุดจะเก็บดินท่ีระดับความลึก 0-15, 15-30 และ 30-50 cm นาดินที่ระดับ ความลึกเดยี วกันท้งั 3 จดุ มาผสมคลกุ เคล้าใหเ้ ป็นเนือ้ เดยี วกัน แล้วสุ่มตัวอยา่ งดินนา้ หนักดินประมาณ 500 g ใส่ลงในถงุ พลาสตกิ รัดปากถงุ พรอ้ มลงรายละเอียดของข้อมลู ลงบนถุงตวั อยา่ งใหถ้ กู ต้อง ในการเก็บตวั อย่างดินตามระดบั ความลึก แบง่ ออกเป็น 2 แบบ คอื 1. การใช้สว่านเก็บตวั อยา่ งดิน (Soil Auger) 2. การใชจ้ อบขดุ ดนิ ตามระดบั ความลกึ การเก็บตวั อยา่ งดนิ โดยใช้ Soil Auger ในขั้นตอนแรกจะทาการหมายตาแหน่งของระยะ ความลึก บนตัว Soil Auger ด้วยปากเคมี ท่ีระดับ 15, 30 และ 50 cm ดังแสดงใน ภาพที่ 66 ภาพที่ 66 การเกบ็ ตัวอยา่ งดินตามระดับความลึกด้วย Soil Auger 1) การหมายตาแหน่ง ระดบั ความลึกบน Soil Auger 2) การหมุน Soil Auger เพ่ือเก็บตัวอย่างดิน และ 3) การนาดิน ออกจาก Soil Auger 101
ก่อนทาเกบ็ ตวั อยา่ งดินจะใช้เหล็กเส้น ขนาด 3 หุน ยาว 1 m ตอกสารวจพ้ืนท่ีบริเวณ มุมสามเหล่ียมด้านเท่าที่จะเก็บตัวอย่างดิน เพอ่ื หลีกเลี่ยงตาแหน่งท่ีมีก้อนหินใหญ่ใต้พื้นดิน หรอื บริเวณที่มรี ากไม้ใหญ่ เม่ือได้จุดที่เหมาะสม จะทาการปรับพื้นผิวดินให้เรียบโดยนากล้าไม้ และเศษซากพชื ออกใหห้ มดเหลอื เฉพาะผิวเน้ือดิน แล้วจึงนา Soil Auger หมุนเจาะลงไปตามระดับ ความลกึ ที่ต้องการ เม่ือถึงระยะที่ตอ้ งการให้ดึง Soil Auger ขึ้นมา แล้วใช้แท่งเหล็กแทงดินนา ดินออกจาก Soil Auger ให้หมดแล้วแยกดินที่ ได้ไว้บนกระสอบปยุ๋ ทาความสะอาด Soil Auger แล้วจึง นาไปเก็บดินในระดับความลึกถัดไปในหลุม เดยี วกัน บางกรณีไม่สามารถเก็บตัวอย่างดินที่ ระดับความลึกท่ี 30-50 cm ได้ จาเป็นต้อง ขยับเปลี่ยนตาแหน่งใหม่ ตัวอย่างที่เก็บแล้ว ของระดับ 0-15 และ 15-30 cm จาเป็นต้อง ทิ้งไป แล้วเก็บข้อมูลดินใหม่ท้ังหมด เพื่อให้ได้ ข้อมูลทุกระดับอยู่ในหลุมเดียวกันยกเว้นกรณี ในพื้นท่ีท่ีมีสภาพดินตื้น ไม่สามารถเก็บดินที่ ระดับ 30-50 cm ได้ ให้ทาการเก็บข้อมูล เ ท่ า ที่ เ ก็ บ ไ ด้ แ ล้ ว ล ง ห ม า ย เ ห ตุ ใ ห้ ชั ด เ จ น แต่ในทางปฏิบัติแล้วควรเลือกพ้ืนท่ีที่มีความ ลกึ มากกว่า 50 cm เพ่ือใช้ในการเปรียบเทียบ กบั ขอ้ มลู ดนิ จากแปลงตัวอยา่ งในพื้นท่ีอื่นๆ ตอ่ ไป เม่ือได้ตัวอย่างดินครบทั้ง 3 จุด และ 3 ระดับความลึกแล้ว ให้นาดินที่ระดับความ ลึกเดียวกันมาผสม คลุกเคล้าให้เป็นเน้ือ เดียวกัน แล้วสุ่มตัวอย่างดินน้าหนักประมาณ 500 g ใส่ลงในถุงพลาสติกรัดปากถุง พร้อมลง รายละเอยี ดของขอ้ มลู ลงบนถงุ ตัวอยา่ งใหถ้ กู ตอ้ ง 102
ในกรณีต้องเก็บข้อมูลในพ้ืนที่นาน หลายวัน ถุงตัวอย่างดินดังกล่าวต้องเปิดปากถุง เ พ่ื อ ร ะ บ า ย ค ว า ม ช้ื น อ อ ก จ า ก ตั ว อ ย่ า ง ดิ น เพราะอาจเกิดเช้ือราทาให้ตัวอย่างดินเกิด ความเสียหายได้เม่ือไม่เปิดปากถุงพลาสติก ก่อนเดินทางกลับให้ทาการรัดปากถุงเพ่ือ สะดวกต่อการขนยา้ ย ตอ่ ไป การเก็บตัวอย่างดินจาก Soil Auger นี้ ตวั อยา่ งดินท่ีได้จดั เป็นดินท่ีถูกรบกวน (Disturb Soil) ไม่สามารถนาตัวอย่างที่ได้นี้มาศึกษา ความหนาแน่นของเน้ือดิน (Bulk Density) ได้ ดังน้นั ภายหลงั การเจาะหลมุ เก็บตวั อย่างดินแล้ว จาเป็นต้องทาการศึกษา Bulk Density ของ แตล่ ะระดับความลึกเพิ่มเตมิ ไมน่ อ้ ยกว่า 1 จุด เพื่อนาค่าท่ีได้มาคานวณเป็นมวลดินต่อหน่วย พ้ืนท่ี และนาผลจากการวิเคราะห์ตัวอย่างดิน มาคานวณเปน็ ต่อหนว่ ยพน้ื ท่ี ตอ่ ไป การศกึ ษา Bulk Density จะเก็บตัวอย่าง จากดินท่ีไม่ถูกรบกวน (Undisturbed Soil) โดยการใช้จอบขุดหลุมให้ลึกประมาณ 50 cm การเก็บ Bulk Density เมื่อทา 3 จุด ตรงมุม สามเหล่ียมด้านเท่า ก็สามารถาการเก็บตัวอย่าง ดนิ ตามระดบั ความลึกไปพร้อมกันได้เลย เพราะมี ความสะดวกและประหยัดเวลามากกว่าการใช้ Soil Auger ในการเก็บตัวอย่างดินตามระดับ ความลกึ ดังน้ันในคู่มือเล่มน้ี จึงขอแนะนาให้ ทาการเกบ็ Bulk Density จานวน 3 จุด พร้อมกับ การเก็บตัวอย่างดินตามระดับความลึก 0-15, 15-30 และ 30-50 cm 103
การเก็บข้อมลู ความหนาแนน่ ของดิน ก า ร ศึ ก ษ า ค ว า ม ห น า แ น่ น ข อ ง ดิ น (Bulk Density) จะเกบ็ ตวั อย่างจากดินท่ีไม่ถูก รบกวน (Undisturbed Soil) โดยใช้จอบขุด หลุมให้มีขนาดประมาณ 50X50X50 cm3 ให้ ด้านท่ีจะเก็บข้อมูลหันหน้าขึ้นเนินเพื่อความ สะดวกในการทางาน และไม่ใหม้ ีการเหยียบย่า บริเวณดา้ นทีจ่ ะทาการเก็บข้อมูล เพราะจะทา ให้ดินถูกอัดแน่นจากการเหยียบย่าได้ ส่วน ด้านข้างท้ังสองด้านและด้านหลังสามารถ เหยียบย่าขณะที่ทาการขุดดินได้ เมื่อได้ระดับ ความลึกตามต้องการจะใช้เสียมแต่งด้านท่ีจะ เก็บข้อมูลให้เรียบ แล้วใช้ไม้บรรทัดวัดระดับ ความลึกของช้ันหน้าตัดดิน พร้อมกับใช้เกรียง เหล็กหรือมีดทาครัวทาการขีดแนวของระดับ ความลึก 15 และ 30 cm เม่ือขุดหลุม แต่งหน้าตัด และหมาย ตาแหน่งความลึกเสร็จแล้ว จะทาการเก็บ ตัวอย่างดินจากด้านล่างสุดก่อนตรงตาแหน่ง 30 cm ลงมาถึงก้นหลุมท่ีตาแหน่ง 50 cm โดยใช้ถุงปุ๋ยปูก้นหลุมแล้วใช้เกรียงขูดเนื้อดิน ลงมาตลอดชน้ั หน้าตัดดินให้มีความหนาเท่าๆ กัน เสร็จแล้วนาดินตัวอย่างที่ได้ไปกองรวมไว้นอก หลมุ ทาเคร่ืองหมายวา่ เปน็ ของระดบั 30-50 cm จากนน้ั จึงทาทร่ี ะดับ 15-30 cm และ 0-15 cm โดยใช้วิธีการเดียวกับ 30-50 cm หรือใช้ที่ตัก ดินอะลูมิเนียมเพ่ือใช้รองตัวอย่างดินจากช้ัน หนา้ ตดั ดนิ ก็ได้ ดังแสดงในภาพท่ี 67 104
ภาพท่ี 67 การเก็บตัวอย่างดินตามระดับความลึกโดยใช้จอบขุดหลุม ซึ่งเป็นหลุม เดยี วกนั กับการศึกษา Bulk Density 1) เม่ือได้พื้นท่ีท่ีเหมาะสมให้ทาการขุดหลุมโดยการใช้จอบ หรือเสียม 2) ทาการแต่งหน้าตัดให้ได้ขนาดความลึกและความกว้างประมาณด้านละ 50 cm 3) การกาหนดระดับชั้นความลึกจากผิวดิน 4) การเก็บตัวอย่างดินจากช้ันหน้าตัดดิน 5) การ เตรยี มตัวอยา่ งดนิ จากจานวน 3 จุด ท่ีระดับความลกึ เดยี วกันก่อนนามาผสมคลุกเคล้าเข้าด้วยกัน และ 6) การสุม่ ตวั อยา่ งดินน้าหนักประมาณ 500 g เพอื่ นาไปวเิ คราะหใ์ นห้องปฏบิ ัตกิ าร 105
การศึกษา Bulk Density จะทาหลังจากเก็บตัวอย่างดินเสร็จส้ินแล้ว เน่ืองจากการเก็บ Bulk Density จะใช้ภาชนะเก็บดิน (Soil Can) ขนาดความจุ 100 cc (หรือ 100 cm3) มีความสูง 5.5 cm ในการเกบ็ Bulk Density ที่ระดับความลึก 0-15 15-30 และ 30-50 cm จะเก็บประมาณ ตรงกึ่งกลางของแต่ละช้ัน โดยทาการเปิดหน้าดินท่ีมีขนาดความกว้าง-ยาว ด้านละ 15 cm ลึก ประมาณ 4-5 cm แล้วใช้ Soil Can ที่นาฝาปิดหัว-ท้ายออก แล้ววางตรงกึ่งกลางของพื้นที่ที่ เตรียมไว้ จากนั้นใช้ท่ีตอกวางบน Soil Can ใช้ค้อนตอกจนจมดินเสมอส่วนโค้งของตัวตอก จากน้ันใช้เกรียงหรือพลั่วมือแซะรอบๆ กระบอก Soil Can แล้วจึงงัดกระบอกโดยมีดินส่วนล่าง ต่ากวา่ กระบอกประมาณ 2-3 cm ตดิ ขึน้ มาดว้ ย ดงั แสดงในภาพท่ี 68 ภาพท่ี 68 ขั้นตอนการเกบ็ ข้อมูล Bulk Density ของดนิ ท่รี ะดับความลกึ 0-15 cm 106
จากน้ันจึงทาการหงายกระบอกขึ้น ใช้มีดทาครัวหรือมีดคัตเตอร์ตัดแต่งดินส่วนท่ีเกิน กระบอกออกให้เสมอขอบกระบอก จากน้ันใช้ฝาปิดด้านท่ีตัดแต่งแล้ว ข้ันต่อไปทาการพลิก กระบอกลงแล้วนาที่ตอกออกไป ทาการปรับแต่งดินให้เสมอกระบอกเช่นเดียวกันกับตอนแรก เสร็จแล้วจึงนาดินออกจากกระบอกใส่ลงในถุงพลาสติกให้หมดแล้วลงรายละเอียดของข้อมูลที่ เกบ็ วา่ เป็นของสถานที่ใด แปลงทีเ่ ท่าไร และระดับความลึกท่เี กบ็ ตวั อย่าง ดงั แสดงในภาพที่ 69 ภาพที่ 69 ข้ันตอนการจัดเก็บตัวอย่างดิน โดยทาการปรับแต่งตัวอย่างดินและนา ตวั อย่างดินทไี่ ดใ้ ส่ถงุ พลาสตกิ 107
เมื่อเก็บตัวอย่าง Bulk Density ที่ระดับ 0-15 cm เสร็จส้ินแล้ว ข้ันต่อไปต้องทาการ ปรับแต่งพ้ืนที่ท่ีจะเก็บตัวอย่างท่ีระดับ 15-30 cm ให้เรียบร้อยเสียก่อน ให้มีพื้นท่ีกว้าง-ยาว ดา้ นละ 15 cm ทเ่ี ป็นแนวเดียวกันของระดับ 0-15 cm แต่ลึกลงไปประมาณ 20 cm จากผิวดิน จากนนั้ จงึ ทาการเก็บตัวอย่างที่ระดับ 15-30 cm ส่วนท่ีระดับ 30-50 cm จะใช้ความลึกที่ระดับ 35 cm จากผิวดินลงมา ดังแสดงในภาพท่ี 70 ภาพท่ี 70 การเก็บข้อมูล Bulk Density ภาคสนาม ท่ีระดับความลึก 15-30 cm (สามภาพดา้ นซา้ ยมือ) และ 30-50 cm (สามภาพด้านขวามอื ) 108
การเตรียมตวั อย่างดนิ ในห้องปฏบิ ัตกิ าร ตัวอยา่ งดินทเี่ กบ็ รวบรวมได้จากภาคสนาม จะมี 2 ประเภท คือ 1) ตัวอย่างดินท่ีเตรียม ไวส้ าหรับวเิ คราะห์ธาตุอาหาร และ 2) ตัวอยา่ งดนิ ท่เี ตรยี มไวส้ าหรับวเิ คราะห์ Bulk Density ตัวอย่างดินท่ีเตรียมไว้สาหรับวิเคราะห์ธาตุอาหาร เม่ือถึงห้องปฏิบัติการ ต้องรีบนาดิน ออกจากถุงพลาสตกิ ใสภ่ าชนะแล้วผงึ่ ในที่รม่ (Air Dry) เพื่อให้ดินแห้งเสียก่อน ดังแสดงในภาพที่ 71 การปลอ่ ยดินไวใ้ นถุงพลาสติกจะทาให้ตัวอย่างดินเกิดราข้ึนได้ เน่ืองจากความช้ืนของดิน ร่วมถึง การย่อยสลายของจุลินทรีย์ในดิน ทาให้ค่าวิเคราะห์ดินบางค่าคลาดเคล่ือนได้ เม่ือดินตัวอย่าง แห้งดีแล้วให้นาใส่ถุงพลาสติกรัดปากถุงด้วยหนังยางวง เม่ือมีความพร้อมจึงส่งดินท่ีเก็บได้ไป วิเคราะห์หาปริมาณธาตอุ าหาร ต่อไป ภาพท่ี 71 การผ่ึงดินในท่ีร่ม เพ่ือเตรียมส่งตัวอย่างไปวิเคราะห์หาปริมาณของธาตุ อาหารในห้องปฏิบตั ิการ 109
การวเิ คราะหต์ ัวอยา่ งดินทนี่ ยิ มทากัน ได้แก่ อนิ ทรียวตั ถุ (Organic Matter, OM) คาร์บอน (Carbon, C) ไนโตรเจน (Nitrogen, N) โปรแตสเซียม (Potassium, K) ฟอสฟอรัส (Phosphorus, P) แคลเซยี ม (Calcium, Ca) และ แมก็ นีเซยี ม (Magnesium, Mg) นอกจากนีจ้ ะมีการวิเคราะหท์ างด้าน กายภาพ เช่น ความเปน็ กรด-ดา่ ง (pH) ปริมาณทราย (% Sand) ปริมาณทรายแป้ง (% Silt) ปรมิ าณ ดนิ เหนยี ว (% Clay) และเนอื้ ดิน (Texture) โดยมีค่าใช้จ่ายในการวิเคราะห์ข้อมูลในห้องปฏิบัติการ ดังกล่าวข้างต้น รวมเป็นเงินทั้งหมด 1,100 บาท ต่อหนึ่งตัวอย่างดิน (ราคาอ้างอิงจาก ห้องปฏิบตั ิการปฐพวี ิทยาปา่ ไม้ ภาควิชาวนวฒั นวทิ ยา คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปี พ.ศ. 2560) ถ้ามีการวิเคราะห์ข้อมูลชนิดอ่ืนๆ นอกจากน้ี จะมีค่าใช้จ่ายเพ่ิมขึ้น แต่ถ้ามีการ วเิ คราะหเ์ ฉพาะค่า C พร้อมกบั ค่า N จะมคี ่าใช้จ่ายอย่ทู ่ี 600 บาท/ตวั อยา่ ง ในการวิเคราะห์หาปริมาณธาตุอาหารหรือธาตุคาร์บอน จะนาดินตัวอย่างมาร่อนผ่าน ตะแกรงท่ีมีขนาดความกว้าง 2 mm หรือ 2 mesh ดังน้ันการวิเคราะห์ปริมาณคาร์บอนจึงเป็น ลกั ษณะของเน้ือดินล้วนๆ ที่ลอดผ่านตะแกรงออกไป ไม่รวมก้อนกรวด หิน หรือรากไม้ท่ีมีขนาด มากกว่า 2 mm ส่วนตัวอย่างดินที่เตรียมไว้สาหรับวิเคราะห์ Bulk Density จะนาดินออกจากถุงพลาสติก ใส่ลงในถ้วยอะลูมิเนียมขนาดเล็ก เพื่อนาไปเข้าตู้อบท่ีอุณหภูมิ 105 OC เป็นระยะเวลา 48 ชั่วโมง ต่อเนอ่ื งกัน หรอื จนกวา่ ตัวอย่างดนิ จะแหง้ สนิท จากนั้นนาไปชัง่ หานา้ หนักแห้งของดินแล้วบันทึก ข้อมูลท่ีได้ ดังแสดงในภาพท่ี 72 เนื่องจากตัวอย่างดินดังกล่าวไม่ได้ศึกษาความชื้นในดินจึงไม่ จาเป็นต้องชงั่ นา้ หนกั ของดนิ ก่อนการอบแหง้ ภาพที่ 72 การอบตวั อยา่ งดนิ เพือ่ ศึกษา Bulk Density และการชั่งน้าหนักดินภายหลังจาก การอบแห้งแล้ว 111100
เม่อื ชง่ั หาน้าหนักแห้งของดินตัวอย่างเรียบร้อยแล้ว จะพบว่ามีก้อนกรวด และรากไม้ ผสม อยู่ด้วยในตัวอย่างดิน จึงจาเป็นต้องทาการแยกส่วนต่างๆ เหล่าน้ีออกไปจากเนื้อดิน เพื่อการ คานวณหาปริมาณคาร์บอนได้ถูกต้องมากขึ้น ในการแยกก้อนกรวดและรากไม้ออกจากตัวอย่างดิน สามารถทาได้ 2 วธิ ี คือ 1) วิธีแบบแหง้ และ 2) วิธีแบบเปียก วิธีแบบแห้ง คือการแยกก้อนกรวดและรากไม้ออกจากตัวอย่างดิน โดยการบดแบบเบาๆ ด้วยโกรง่ บดยา หรอื ขวดแกว้ กลิ้งบดบนภาชนะที่เรียบ ให้เนื้อดินแตกออกจากกัน จากนั้นจึงทาการ ร่อนผ่านตะแกรงที่มีขนาด 2 mm แล้วจึงทาการแยกส่วนของกรวดและรากไม้ ออกมาแล้วนาไป อบแหง้ นาคา่ ของกรวดและรากไม้หักออกจากน้าหนักดินท้ังหมด ซึ่งวิธีการนี้ต้องใช้เวลาค่อนข้างมาก และไมส่ ะดวกเมือ่ มจี านวนตวั อย่างมากๆ วิธีแบบเปียก เป็นการใช้น้าในการชะล้างส่วนที่เป็นเนื้อดินออกไปจนหมดคงเหลือ แต่สว่ นที่เป็นกอ้ นกรวด และรากไมท้ ี่ตดิ อยูใ่ นตาข่าย จากน้ันจึงแยกเอาไปอบแห้ง จะใช้ตาข่ายสีฟ้า ทตี่ ัดออกเปน็ ขนาด 40X40 cm2 นาตัวอย่างดินท่ีผ่านการอบและชั่งน้าหนักแห้งเรียบร้อยแล้ว มาใส่ บนตาขา่ ยทีจ่ ัดเตรยี มไว้ รวบชายทง้ั สี่ด้านเขา้ หากันรัดดว้ ยหนงั ยาง ทาการร่อนด้วยมือเพื่อเอาเน้ือดิน สว่ นใหญอ่ อกไปก่อน หลงั จากการรอ่ นจะมีดิน ก้อนกรวด และรากไม้ ที่ยังหลงเหลือบางส่วน นาถุง ตาขา่ ยท่ีบรรจุดินไปแช่ในอา่ งนา้ 1 วัน แล้วนาไปแกว่งในน้าเพื่อให้เน้ือดินหลุดลอดออกจากตาข่าย ดังแสดงในภาพที่ 73 ถา้ เป็นน้าในลาธารท่ีมีการไหลสม่าเสมอจะทาให้มีการชะล้างเน้ือดินไปได้ง่ายข้ึน ภาพที่ 73 การใช้เทคนิคแบบเปียก เพ่ือแยกก้อนกรวดและรากไม้ออกจากตัวอย่างดิน ในการศึกษา Bulk Density 111
หลังจากนาถุงตาข่ายท่ีบรรจุดิน แกว่งในน้าจนเนื้อดินละลายหลุดออกหมด จะพบว่ามี รากไม้ และก้อนกรวด เหลอื อย่ใู นตาข่าย ใหผ้ ึ่งลมประมาณ 1 ชั่วโมง จากนั้นทาการคัดแยกส่วน ที่เป็นราก และก้อนกรวด ออกจากกัน และนาใส่ลงในถ้วยอะลูมิเนียมขนาดเล็ก นาเข้าตู้อบท่ี อณุ หภมู ิ 105O C เปน็ ระยะเวลา 24 ชว่ั โมง ดงั แสดงในภาพที่ 74 ภาพท่ี 74 หลังจากนาตาข่ายท่ีบรรจุดินแกว่งในน้า จนเนื้อดินหลุดรอดออกไปหมด จะพบว่ามีราก และก้อนกรวด ติดอยู่ภายในตาข่าย ทาการคัดแยกส่วนของราก และก้อนกรวด แล้วนาเข้าตู้อบหาน้าหนักแห้งต่อไป (ดินที่อยู่ในถุงเป็นดินที่ผ่านการร่อนด้วยมือไม่ต้องนาเข้า ตูอ้ บ ให้ท้ิงไป) 112
การคานวณปริมาณคารบ์ อนต่อหน่วยพน้ื ที่ จากการเก็บตัวอย่างดินตามระดับความลึกพร้อมกับการหา Bulk Density ที่เป็นการ เก็บตวั อย่างจากดนิ ที่ไมถ่ ูกรบกวน (Undisturbed Soil) จานวน 1 จุด ไดแ้ บง่ ระดับความลกึ ออกเป็น 3 ระดับคือ 0-15 15-30 และ 30-50 cm มีข้อมูลน้าหนักทั้งหมด จานวน 3 ระดับ ซึ่งเป็น ขอ้ มูลน้าหนกั แหง้ ของดินทง้ั หมดภายหลังจากการอบแห้ง จากน้ันทาการแยกส่วนท่ีเป็นราก และ ก้อนกรวด ด้วยวิธีเปียก โดยแกว่งในน้าเพ่ือเอาเนื้อดินออกไปให้หมด นาส่วนของรากและก้อน กรวดไปอบไล่ความชื้น จากน้ันนามาช่ังหาน้าหนักแห้ง เม่ือนาเอาข้อมูลน้าหนักทั้งหมดหักด้วย ค่าของรากและก้อนกรวด จะเป็นน้าหนักของดิน แสดงในตารางที่ 15 ในกรณีท่ีมีข้อมูลจานวน 2-3 จุด ใหใ้ ชค้ า่ เฉล่ียแทนค่าในตารางดังกล่าว ตารางท่ี 15 ตัวอย่างของข้อมูลจานวน 1 จุด แสดงมิติต่างๆ ที่ได้จากการเก็บตัวอย่างภาคสนาม และคา่ ทไ่ี ดจ้ ากการวิเคราะห์ทางหอ้ งปฏบิ ตั ิการ เพ่อื การคานวณปริมาณคารบ์ อนตอ่ หน่วยพนื้ ท่ี ระดบั นา้ หนัก นา้ หนกั น้าหนัก น้าหนกั Bulk ปริมาตร มวล ปริมาณ C ความลึก ท้งั หมด ของราก ของกรวด ของดนิ Density ของดิน ของดนิ C ในดิน (cm) (g) (g) (g) (g) (t/m3) (m3/ha) (t/ha) (%) (tC/ha) 0-15 69.49 0.25 1.39 67.85 0.6785 1,500 1,017.75 5.59 56.8922 15-30 95.38 0.30 1.45 93.63 0.9363 1,500 1,404.45 4.02 56.4589 30-50 85.75 0.05 13.60 72.10 0.7210 2,000 1,442.00 3.38 48.7396 *รวมทง้ั หมด 162.0907 หมายเหตุ : * ข้อมูลภาคสนามของ Bulk Density และปรมิ าณคาร์บอนในดนิ ของป่าเบญจพรรณ แปลง H3 ในพื้นท่ีอทุ ยานแหง่ ชาติ เอราวัณ จงั หวดั กาญจนบรุ ี 113
ความหนาแนน่ รวม (Bulk Density, Db) หมายถงึ สัดสว่ นระหว่างมวลของดินขณะที่ดินแห้ง สนิทกับปริมาตรทั้งหมดของดิน (ปริมาตรของส่วนประกอบทุกๆ ส่วนรวมกัน) (ภาควิชาปฐพีวิทยา, 2530) โดยมสี ูตรในการคานวณดงั นี้ Db = Ms / Vb โดยท่ี Db = ความหนาแนน่ รวม (g/cm3 หรอื t/m3) Ms = มวลของดนิ ทแ่ี หง้ สนทิ (g) Vb = ปรมิ าตรรวม (cm3) เน่ืองจาก Soil Can มปี รมิ าตร 100 cm3 ดังนน้ั เมื่อนาข้อมลู น้าหนักของดินหารดว้ ย ปรมิ าตรของ Soil Can จะเป็นค่าของ Bulk Density ทมี่ ีหน่วยเป็น g/cm3 หรือเท่ากบั t/m3 ส่วนปรมิ าตรของดนิ หาไดจ้ ากปรมิ าตรรวมทั้งหมดในพื้นที่ 1 ha (100X100 = 10,000 m2) และมีความหนา 15 cm (ทร่ี ะดับความลกึ 0-15 cm) ดังน้ี Vb = ความกวา้ ง X ความยาว X ความลึก โดยที่ Vb = ปรมิ าตรของดนิ (m3/ha) ความกว้าง = 100 m = 100 m ความยาว = 15 cm หรอื 0.15 m = 100 X 100 X 0.15 ความลึก = 1,500 m3/ha แทนค่า Vb Vb จากวิธีการคานวณดังกล่าวข้างต้นทาให้ทราบถึงปริมาตรรวมทั้งหมดของดินที่ระดับ 0-15 15-30 และ 30-50 cm โดยมีค่า 1,500 1,500 และ 2,000 m3/ha ตามลาดบั เมื่อต้องการทราบมวลของดิน จะนาข้อมูล Bulk Density คูณกับปริมาตรของดิน จากน้ัน นาขอ้ มลู ปริมาณคาร์บอนในดินของระดับชั้นตา่ งๆ ทีไ่ ด้จากหอ้ งปฏบิ ัตกิ ารปฐพวี ทิ ยาปา่ ไม้ ของคณะ วนศาสตร์ ที่มีค่าเป็นเปอร์เซนต์ (%) โดยใช้ค่าจากมวลของดินในการคานวณ ผลการคานวณจะได้ เป็นคา่ คารบ์ อนในดนิ ตอ่ หน่วยพน้ื ท่ี ในแตล่ ะระดบั ความลกึ เม่อื กลา่ วถึงปรมิ าณคารบ์ อนในพ้ืนที่ป่า จะใช้คาว่า “ปริมาณคารบ์ อนทส่ี ะสมถึงระดบั ความลึก 50 cm มคี ่า 162.0907 tC/ha” 114
เอกสารอ้างอิง เกียรติก้อง พิตรปรีชา, ธิติ วิสารัตน์, สมบูรณ์ กีรติประยูร และ ชิงชัย วิริยะบัญชา. 2530. การ ประมาณมวลชีวภาพและปรมิ าตรรายต้นของไมย้ คู าลิปตสั คามาลดูเลนซิส. เอกสารทาง วชิ าการ เล่มที่ 18. งานนิเวศวทิ ยาป่าไม้, ฝ่ายวนวฒั นวจิ ยั กองบารงุ กรมปา่ ไม.้ 23 น. ชิงชยั วริ ิยะบญั ชา, สมหมาย นามสวาท และ บรรณศาสตร์ ดวงศรีเสน. 2541. มวลชีวภาพเหนือ พื้นดิน, ดัชนีพื้นที่ผิวใบ และการวิเคราะห์ความเพ่ิมพูนทางด้านเส้นผ่าศูนย์กลางโดย วิธีการตรวจสอบวงปีของไม้สัก อายุ 21 ปี ณ สวนป่าแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่. เอกสาร ทางวิชาการ เลขที่ 41003 พ.ศ. 2541. กลุ่มการปลูกป่า, ส่วนวนวัฒนวิจัย สานักวิชาการ ปา่ ไม้ กรมป่าไม.้ กรุงเทพฯ. 20 น. ชิงชัย วิริยะบัญชา และกันตินันท์ ผิวสอาด. 2546. การประมาณผลผลิตด้านปริมาตรของลาต้น และมวลชวี ภาพเหนือพื้นดินของสวนป่าไม้สัก. ใน รายงานการประชุมการป่าไม้ ประจาปี 2545. “ศักยภาพของป่าไม้ต่อการฟื้นฟูเศรษฐกิจไทย” จัดการประชุมโดย กรมป่าไม้ กระทรวงเกษตร ชงิ ชยั วริ ยิ ะบญั ชา, กนั ตินนั ท์ ผิวสอาด และสริ ริ ตั น์ จนั ทร์มหเสถียร. 2548. การประเมินศักยภาพ ของกิจกรรมการปลูกสร้างสวนป่าในการลดความรุนแรงของการเปล่ียนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ. ใน รายงานการประชุมวิชาการ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศทางด้านป่า ไม้ “ศักยภาพของป่าไม้ในการสนับสนุนพิธีสารเกียวโต” ณ โรงแรมมารวย การ์เด้น กรงุ เทพฯ วันท่ี 4-5 สงิ หาคม 2548. สานักวจิ ัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยาน แห่งชาติ สตั วป์ า่ และพนั ธพุ์ ชื . 12 น. ชิงชัย วิริยะบัญชา, วิโรจน์ รัตนพรเจริญ และสิรินทร์ ติยานนท์. 2552. ผลผลิตปฐมภูมิสุทธิและ ศักยภาพ ในการสะสมคาร์บอนของไม้เศรษฐกิจบางชนิด.เอกสารนาเสนอ ใน การประชุม วิชาการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมล้อมแห่งชาติครั้งที่ 2. ระหว่างวันท่ี 14-16 กนั ยายน 2552 ณ ศูนย์นทิ รรศการและการประชุมไบเทค บางนา กรุงเทพฯ. 12 น. ชิงชัย วิริยะบัญชา, ภาณุมาศ ลาดปาละ และวัฒนา ศักด์ิชูวงษ์. 2554. การสะสมคาร์บอนของ เถาวัลย์ในป่าธรรมชาติ ณ อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน. การประชุมวิชาการระดับชาติ เร่อื ง ประเทศไทยกบั ภูมิอากาศโลก คร้ังที่ 2 : การเปลี่ยนกระบวนทัศน์สู่เศรษฐกิจสีเขียว วันท่ี 18 - 19 สิงหาคม 2554 ณ ศูนย์ประชุมอิมแพ็ค อารีนา เมืองทองธานี ปากเกร็ด นนทบุร.ี องคก์ ารบรหิ ารจดั การกา๊ ซเรือนกระจก (องคก์ ารมหาชน). 23 น. 115
ชิงชัย วิริยะบัญชา, วัฒนา ศักด์ิชูวงษ์, ปิยะพงษ์ สืบเสน และปาริฉัตร์ พ่ึงไทย. 2559. รายงาน การแก้ไขปัญหาการทรุดโทรมของไม้ยางนาท่ียืนต้นตายและล้มตายตามธรรมชาติ ณ วนอุทยานนครไชยบวร ตาบลท่าเสา อาเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร. ส่วนวิจัยการ อนุรักษ์ป่าไม้, สานักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช, กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และ พนั ธ์พุ ืช. 48 น. ชิงชยั วริ ยิ ะบัญชา, วโิ รจน์ รตั นพรเจรญิ , ภาณมุ าศ ลาดปาละ, สิริรตั น์ จันทร์มหเสถียร, ปาริฉัตร์ พึ่งไทย และปยิ ะพงษ์ สืบเสน. 2560 a. รายงานฉบับสมบูรณ์ การเปล่ียนแปลงลักษณะสังคมพืช และการสะสมคาร์บอนเหนือพื้นดินในระบบนิเวศป่าดิบเขา. ส่วนวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้, สานกั วิจยั การอนุรกั ษป์ า่ ไม้และพันธุ์พืช, กรมอทุ ยานแห่งชาติ สตั ว์ปา่ และพนั ธุพ์ ืช. 65 น. ชิงชัย วิริยะบัญชา, วิโรจน์ รัตนพรเจริญ และภาณุมาศ ลาดปาละ. 2560 b. สมการประมาณมวล ชีวภาพเหนือพื้นดินของพันธุ์ไม้รองบางชนิดในพ้ืนที่ป่าธรรมชาต.ิ ใน การประชุมวิชาการ และนาเสนอผลงานวิชาการเครือข่ายงานวิจัยนิเวศวิทยาป่าไม้ประเทศไทย ครั้งที่ 6: ณ สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล นครปฐม ระหว่าง วันท่ี 19-20 มกราคม พ.ศ. 2560. ชิงชยั วิริยะบัญชา และวิโรจน์ รัตนพรเจริญ. 2561. การศึกษาปัจจัยด้านภูมิอากาศของป่าชนิดต่างๆ ในพื้นท่ีกลุ่มป่าภูเขียว-น้าหนาว. เอกสารนาเสนอ ใน โครงการประชุม เรื่อง การรายงานผล การดาเนินงานแผนงานวิจัยความหลากหลายทางชีวภาพในพ้ืนท่กี ลุ่มปา่ ภูเขียว - น้าหนาว ระหวา่ งวนั ท่ี 27 - 28 มถิ ุนายน 2561 ณ หอ้ งประชมุ ตึกกสิกรรม กรมวชิ าการเกษตร. 50 น. ดอกรัก มารอด. 2538. แบบแผนการทดแทนข้ันทุติยภูมิในป่าผสมผลัดใบของสถานีวิจัยต้นน้าแม่ กลอง จังหวดั กาญจนบรุ .ี วทิ ยานพิ นธ์ปรญิ ญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. บรรณศาสตร์ ดวงศรีเสน และชิงชัย วิริยะบัญชา. 2545. มวลชีวภาพ, ดัชนีพื้นท่ีผิวใบ และการ วิเคราะห์ความเพ่ิมพูนทางด้านเส้นผ่าศูนย์กลางโดยวิธีการตรวจสอบวงปีของไม้สักอายุ 8 ปี ณ สวนป่าแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่. เอกสารงานวิจัย. กลุ่มการปลูกป่า, ส่วนวนวัฒนวิจัย, สานักวชิ าการปา่ ไม,้ กรมป่าไม.้ ธิติ วิสารัตน์ และ ชลธิดา เชิญขุนทด. 2547. องค์ประกอบของชนิดพันธุ์พืชและปริมาณมวลชีวภาพ เหนือพื้นดินของต้นไม้ในป่าดิบแล้ง. ใน เอกสารประกอบการประชุม “การประชุมการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศทางป่าไม้ : ป่าไม้กับการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ” ณ. โรงแรมมารวยการ์เด้น กรุงเทพฯ ระหว่างวันท่ี 16-17 สิงหาคม 2547. กรมอุทยานแห่งชาติ สตั ว์ปา่ และพันธุพ์ ืช. 31 น. พิทยา เพชรมาก. 2520. ผลผลิตขั้นปฐมภูมิของสวนป่าไม้สักที่ตัดสางขยายระยะ และไม่ตัดสางขยาย ระยะ ณ ท้องท่ีอาเภองาว จังหวัดลาปาง. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรงุ เทพฯ. 94 น. 116
ภาควชิ าปฐพีวิทยา. 2530. ปฐพีวทิ ยาเบอ้ื งตน้ . คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 673 น. รุ่งสุริยา บัวสาลี. 2545. ลักษณะของสังคมพืชป่าผสมผลัดใบช้ืนในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ ปริญญาโท, มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์. วัลลภ สุคนธ์. 2512. การศึกษาปริมาณการสะสมและธาตุอาหารของอินทรียวัตถุในป่าดิบลุ่มน้าห้วย คอกมา้ . วทิ ยานพิ นธป์ รญิ ญาตรี. มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์. วินัย แก้วดีเลิศ, ชิงชัย วิริยะบัญชา และวิโรจน์ รัตนพรเจริญ. 2560. การศึกษามวลชีวภาพเหนือ พื้นดินของไม้ต๋าว ในพื้นที่โครงการศูนย์ภูฟ้าพัฒนา จังหวัดน่าน. ใน การประชุมการป่าไม้ ประจาปี พ.ศ. 2560 “รวมพลงั รกั ษป์ า่ ด้วยศาสตร์พระราชา” วันท่ี 5 - 7 กนั ยายน พ.ศ. 2560 ณ มิราเคลิ แกรนด์ คอนเวนช่ัน. กรมอทุ ยานแห่งชาติ สตั วป์ ่า และพันธพ์ุ ชื . น. 74-85. วิสุทธ์ิ สุวรรณาภินันท์, พงษ์ศักด์ิ สหุนาฬุ, ปรีชา ธรรมานนท์ และอนันต์ชัย เขื่อนธรรม. 2526. ผลผลติ ของปา่ ไผ่รวก หนิ ลบั กาญจนบุร.ี ใน วารสารวนศาสตร์ 2 (2) : 114-134. สคาร ทีจันทึก และพงษ์ศักด์ิ สหุนาฬุ. 2546. ความสัมพันธ์ระหว่าสังคมพืชพรรณไม้ป่า และ ปัจจัยทางด้านดิน ตามการเปล่ียนแปลงทางความสูงของภูมิประเทศในอุทยานแห่งชาติ ดอยอินทนนท.์ ภาควิชาวนวฒั นวทิ ยา, คณะวนศาสตร์, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ. สมบูรณ์ กีรติประยูร และสมหมาย นามสวาท. 2537. เทคนิคบางอย่างในการประมาณผลผลิตของสวน ป่า II. การประมาณมวลชีวภาพของส่วนของลาต้นที่มีขนาดจากัด, ใน รายงานการประชุมวิชาการ ป่าไม้ ประจาปี 2537: การปลูกป่าเพื่อพัฒนาส่ิงแวดล้อม. ระหว่างวันที่ 21-25 พฤศจิกายน 2537 ณ โรงแรมวังใต้ อาเภอเมือง จงั หวดั สุราษฎร์ธานี. น. 124-137. สมบรู ณ์ กรี ติประยรู . 2557. คู่มอื การใช้โปรแกรม ECOPACK2. ใน : เอกสารประกอบการฝึกอบรม หลกั สูตร “การวิเคราะหข์ อ้ มูลจากตัวแปรในแปลงตัวอย่างถาวร”. ส่วนวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้ สานักวจิ ัยการอนุรักษ์ปา่ ไมแ้ ละพนั ธุพ์ ืช. น. 1-45 สมศักดิ์ สุขวงศ์. 2520. นิเวศวิทยาป่าไม้. คู่มือการปฏิบัติงานภาคฤดูร้อน. ภาควิชาชีววิทยาป่าไม้, คณะวนศาสตร,์ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์. สรายุทธ บุณยะเวชชีวิน. 2530. รูปแบบสังคมพืชป่าดิบแล้ง ที่สะแกราช จังหวัดนครราชสีมา. วารสารวนศาสตร์ 1: 36-50. สาพิศ ร้อยอาแพง. 2533. ผลผลิตมวลชีวภาพของไม้ไผ่พื้นเมือง 4 ชนิด. ภาควิชาวนวัฒนวิทยา คณะวนศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร.์ 28 น. สามัคคี บญุ ยะวฒั น์ และ ชมุ พล งามผ่องใส. 2517. การวจิ ัยลมุ่ นา้ ท่หี ว้ ยคอกม้า เล่มท่ี 17. 21 น. 117
สุนันทา ขจรศรีชล. 2531. ลักษณะทางนิเวศวิทยาบางประการของป่าสนธรรมชาติ บริเวณ โครงการหลวงบ้านวัดจันทร์ อาเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท. มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร,์ กรุงเทพฯ. 134 น. อภิสิทธ์ิ เอ่ียมหน่อ. 2530. ธรณีสัณฐานวิทยา. พิมพ์คร้ังท่ี 1, โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพาณิชย์จากัด. กรงุ เทพมหานคร. 393 น. อานาจ สุวรรณฤทธิ์. 2525. ความสัมพันธ์ระหว่างดินกับพืช เล่ม 1. ภาคปฐพีวิทยา. คณะเกษตร. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.์ อิทธพิ งศ์ วรรณลังกา, รุ่งเรือง พูลศิริ, ลดาวัลย์ พวงจิตร. 2558. มวลชีวภาพเหนือพื้นดินในสวนไผ่ 4 ชนดิ ทมี่ ีอายุลาต่างกัน ณ สถานีเกษตรหลวงอ่างขาง จังหวัดเชียงใหม.่ วารสารวนศาสตร์ 34 (1) : 67-75 (2558) อุทิศ กุฏอินทร์. 2542. นิเวศวิทยาพ้ืนฐานเพื่อการป่าไม้. ภาควิชาชีววิทยาป่าไม้, คณะวนศาสตร์, มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร,์ กรงุ เทพฯ. เอิบ เขียวร่ืนรมณ์. 2533. ดินของประเทศไทย. ภาควิชาปฐพีวิทยา, คณะเกษตร, มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร.์ กรงุ เทพฯ 651 หนา้ . Boncina, A. 2000. Comparison of structure and biodiversity in the Rajhenav virgin in forest remnant and managed forest in the Dinamic region of Slovenia. Glbal Eco. & Biogeo. 9:201-211. Brady, N.C. 1974. The Nature and Properties of Soils (8th Edition) MacMillan Publishing CO., Inc. New York. Bray, J.R. and E. Gorham. 1964. Litter production in forests of the world. Adv. Ecol. Res. 2: 101-157. Carlisle, A., A.H.F. Brown and E.J. White. 1966 a. The organic matter and nutrient element in the precipitation beneath a sessile oak canopy. J. Ecol. 54: 87-98. Carlisle, A., A.H.F. Brown and E.J. White. 1966 b. Litterfall, leaf production and the effects of defoliation by Totrix Viridana in a sessile oak (Quercus petraea) Woodland. J. Ecol. 54: 65-85. Chan N., S. Takeda, R. Suzuki and S. Yamamoto. 2013. Establishment of allometric models and estimation of biomass recovery of swidden cultivation fallows in mixed deciduous forests of the Bogo Mountains, Myanmar. Forest Ecology and Management 304 (2013) 427-436. 118
Chapman, S.B. 1976. Production ecology and nutrient budgets, In Methods in Plant Ecology. Black-well Scientific Publications, London. pp. 157-229. Clapham, A. R. 1932. The form of the observational unit in quantitative ecology. J. Ecol. 20:192-197. Corbett, J.R. 1969 The Living Soil : The process of soil formation Martindale Press PTY. LTD. NSW. Australia. Curlin, J.W. 1970. Nutrient Cycling as a factor in site Productivity and forest fertilization In Youngberg, C.T. and C.B. Davey. Tree growth and Forest Soils; Proc. of the third North Amer. For. Soils Conference. Oregon State Univ. Press. Curtis, J. T. 1959 . The Vegetation of Wisconsin, an Ordination of Plant Communities. Madison : University of Wisconsin Press. Fisher, A. R., A. S. Gorbert and C. B. Williams. 1943. The relation between the number of species and the number of individuals in a random sample of an annual population. J. Anim. Ecol. 12 : 42-58 Gleason, H. A. 1920. Some application of the Quardrat method. Bull. Torrey Botan. Club. 47 : 21-23. Greig-Smith, P. 1964. Quantitative Plant Ecology. 2 nd ed. London : Butterworths. Hairiah K., SM. Sitompal, M. van Noordwijk and C. Plam. 2001. Carbon stocks of tropical land use systems as part of the global C Balance. ASB Lecture Note 4A. ICRAF, Bogor, Indonesia. 49 pp. Hopkins, B. 1966. Vegetation of the Olobeneji Forest Reserve, Nigeria. IV. The litter and soil with special reference to their seasonal changes. J. Ecol. 54: 687-703. Ishizuka, M. 1991. Development of the software for silviculture research. Research and Training in Re-afforestation Project in Thailand (Phase II). 61 pp. IPCC. 2003. Good Practice Guidance for Land Use, Land-Use Change and Forestry. The Institute for Global Environmental Strategies (IGES), Hayama, Japan. P. 3.15. IPCC. 2006. 2006 IPCC Guidelines for National Greenhouse Gas Inventories. Volume 4 : Agriculture, Forestry and Other Land Use. Chapter 4 : Forest Land. The Institute for Global Environmental Strategies (IGES), Hayama, Japan. 83 pp. 119
Jensen, V. 1974. Decomposition of angiosperm tree leaf litter. In Dickinson, C.H. and G.J.F. Pugh. Biology of Plant Litter Decomposition Vol. I. New York: Academic Press. Kershaw, K.A. 1964. Qualitative and Dynamics Ecology. London : Edward Arnold. Kramer, P.J. and T.T. Kozlowski. 1960. Physiology of Trees. New York: McGraw-Hill Book Company Inc. Kreb, G.J. 1972. Ecology. New York : Harper and Row Publishers. Kutintara, U., D. Marod, M. Takahashi, and T. Nakashizuka. 1995. Growth and dynamics of bamboos in a tropical seasonal forest. In Proceedings of the International Workshop on \"The Changes of Tropical Forest Ecosystems by EL Nino and Others\", Bangkok, Japan Science & Technology Agency+National Research Council of Thailand+Japan International Science & Technology Exchange Center, p.125-139. Marod, D., U. Kutintara, H. Tanaka and T. Nakashisuka. and C. Yarwudhi. 1999. Structural dynamic of a natural mixed deciduous forest in western Thailand. Vegetation Sci. 10: 777-786. 9: 201-211. Mueller-Dombois, D. and H. Ellenberg. 1974. Aims and Methods Vetgetation Ecology. New York : John Wiley & Sons, Inc. Nye, P.H. 1961. Organic matter and nutrient cycles under moist tropical forests. Plant and Soil.13: 333-346. Odum, E.P. 1963. Functional of Ecology. Holt, T Reinhary & Winston Inc., New York. 152 p. Ogawa, H., K. Yoda and T. Kira. 1961. A preliminary survey on the vegetation of Thailand. Nature and Life in SE Asia. 1 : 21-157. Ogawa, H., K. Yoda, K. Ogino and T. Kira. 1965. Comparative ecological studies on three main types of forest vegetation in Thailand. II. Plant Biomass. Nature and Life in Southeast Asia 4 : 49-80. Ogino, K., D. Ratanawongs, T. Tsutsumi and T. Shidei. 1967. The primary production of tropical forests in Thailand. Southeast Asian Studies 5 (in Japan). p. 121-154. 120
Oosting, H. J. 1956. The Study of Plant Communities, an Introduction to Plant Ecology. 2 nd ed. San Francisgo : W.H. Freeman and Co. Phillips, E.A. 1959. Methods vegetation study. New York : Henry Holt and Cpmpany, Inc. Reuter, D.J., Robinson, J.B., Peverill, K.I., Price, G.H. and Lambert, M.J. 1997. Guidelines for collecting, handling and analysing plant materials. In \"Plant analysis: An interpretation manual\" (D.J. Reuter and J.B. Robinson, eds.), CSIRO Publishing, Collingwood, pp. 53-70. Rodin, L.E. and N.I. Bazilevich. 1967. Production and Mineral Cycling in Terrestrial Vegetation. Edinburgh: Oliver and Boyd. Shannon, C. E. and W. Weaver. 1949. The Mathematical Theory of Communication. Univ. Illinois Press, Urbana. 50 p. Shimwell, D. W. 1971. Description and Classification of Vegetation. Sidgwick & Jackson, London. 322 p. Siccama, T. G., F. H. Borman and G. F. Likens. 1970. The hubbard Brook ecosystem study, productivity, nutrient, and phytosociology of the herbaceous layer. Ecol. Monogr. 40 : 389-402 Simpson, E. H. 1949. Measurement of diversity. Natural 163 : 688 Snowdon, P., J. Raison†, H. Keith, P. Ritson†, P. Grierson, M. Adams, K. Montagu†, H. Bi, W. Burrows and D. Eamus. 2002. Protocol for Sampling Tree and Stand Biomass. National Carbon Accounting System Technical Report No. 31 March 2002. The Australian Greenhouse Office is the lead Commonwealth agency on greenhouse matters. Printed in Australia for the Australian Greenhouse Office, © Commonwealth of Australia 2002. 76 p. Tsutsumi T., K. Yoda, P. Sahunalu, P. Dhanmanonda and B. Prachaiyo. 1983. Forest : Felling, Burning and Regeneration. In Shifting cultivation. An experiment at Nam Phrom, Thailand and its implications for upland farming in the monsoon Tropics. Edited by K. kyuma and C. Pairintra. p. 13-62. 121
Viriyabuncha, C., S. Janmahasatien and K. Peawsa-ad, 2003. Assessment of the Potentiality of Re-afforestation Activities in Climate Change Mitigation, Annual Report April, 2002 - March, 2003. Silviculture Research Group, Department of National Park, Wildlife and Flora. Bangkok, THAILAND. 121 pp. Viriyabuncha. C., S. Janmahasatien and K. Peawsa-ad. 2005. Assessment of the Potentiality of Re-afforestation Activities in Climate Change Mitigation. Final Report April, 2004 - March, 2005. Silviculture Research Group, Department of National Park, Wildlife and Plant Conservation. Bangkok, THAILAND. 65 pp. Westman, W. E. and R. H. Whittaker. 1975 The pygmy forest region of Northern California, study biomass and primary productivity. J. Ecol. 63 (2) : 493-520. Xiao, T.L., W.T. Jian, L.F. Zhi & H.L. Mai. 2009. Diversity and aboveground biomass of lianas in the tropical seasonal rain forests of Xishuangbanna, SW China. Rev. biol. trop v.57 n.1-2 San José mar.-jun. 2009. .. 122
ภาคผนวกท่ี 1 ขอ้ มลู มวลชีวภาพเหนอื พื้นดนิ ภาคสนามของไม้สัก อายุ 21 ปี ระยะปลกู 2X8 m2 ณ สวนป่านาดว้ ง อาเภอนาด้วง จงั หวัดเลย (ท่มี า : Viriyabuncha et al., 2005) ภาคผนวก 123
124 ภาคผนวกที่ 1 (ตอ่ )
ภาคผนวกที่ 1 (ตอ่ ) 125
126 ภาคผนวกที่ 1 (ตอ่ )
ภาคผนวกที่ 1 (ตอ่ ) 127
128 ภาคผนวกที่ 1 (ตอ่ )
ภาคผนวกที่ 1 (ตอ่ ) 129
130 ภาคผนวกที่ 1 (ตอ่ )
ภาคผนวกที่ 1 (ตอ่ ) 131
132 ภาคผนวกที่ 1 (ตอ่ )
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154