ตารางท่ี 7 ข้อมูลขนาดจากัดของลาต้น และปริมาตรของลาต้นของไม้สัก อายุ 21 ปี ระยะปลูก 2X8 m2 ณ สวนป่านาดว้ ง อาเภอนาดว้ ง จงั หวดั เลย ต้นท่ี DBH Ws Ws>10 Vt Vt>10 cm DBH/2 Ws/Ws>10 Vt/Vt>10 (cm) (kg) (kg) (m3) (m3) (cm) (kg) (m3) 0.074 0.044 6.00 0.584 0.591 1 12.00 33.458 19.532 0.118 0.090 7.75 0.756 0.766 0.164 0.143 9.10 0.876 0.872 2 15.50 53.195 40.222 0.210 0.193 10.25 0.918 0.918 0.259 0.246 11.05 0.944 0.950 3 18.20 74.756 65.502 0.378 0.371 12.75 0.984 0.982 0.515 0.503 13.40 0.976 0.976 4 20.50 98.751 90.699 0.505 0.495 14.30 0.978 0.980 0.806 0.786 16.05 0.983 0.976 5 22.10 127.332 120.194 0.742 0.722 19.00 0.974 0.973 6 25.50 192.430 189.296 7 26.80 237.807 232.011 8 28.60 243.234 237.972 9 32.10 414.445 407.566 10 38.00 376.767 367.107 เน่ืองจากข้อมูลของไม้สักท่ีใช้ในการ ขนาด Ø จากัดท่ี 10 cm ตัวอย่าง เช่น เม่ือ คานวณควรมีขนาด DBH ต้ังแต่ 6 cm ขึ้นไป กาหนดให้ต้นสักมีค่า DBH = 14 cm และมี จงึ จะมีขนาดจากดั ของ ลาตน้ และ ปริมาตร ท่ีมี Ht = 13 m จะได้ค่า DBH2. Ht = 2,548 cm2. m Ø มากกว่า 10 cm แต่ข้อมูลที่ใช้เป็นตัวอย่าง เมือ่ นาคา่ นี้ไปคานวณหา Ws จากสมการภาพที่ ที่มีอายุมากและมีขนาดใหญ่มี DBH มากกว่า 14-1 และ Vt จากสมการภาพท่ี 15-1 จะได้ 10 cm ทาให้โปรแกรม SILVICS ไม่สามารถใช้ ค่า 42.316 kg และ 0.099 m3 ตามลาดับ คานวณในรูปของ Richards Function ได้ จากนั้นนาค่า DBH = 14 cm นาไปคานวณหา จาเป็นต้องปรับข้อมูลของ DBH จากภาคสนาม ค่าสัดส่วนจากสมการภาพท่ี 17-1 จะได้ โดยนามาหารด้วย 2 ทุกต้น เพื่อให้โปรแกรม สัดส่วนของมวลชีวภาพลาต้น 0.7045 และ SILVICS สามารถคานวณได้ ผลของสมการ ภาพที่ 17-2 จะได้สัดส่วนของปริมาตร แสดงในภาพท่ี 17 สามารถนาสมการที่ได้ไป 0.7100 เม่ือนาค่าสัดส่วนท่ีได้ไปคูณกับค่า คานวณว่าต้นไม้ที่มีขนาด DBH และความสูง มวลชีวภาพของลาต้นและปริมาตร จะได้ค่า ต้นนั้นมีมวลชีวภาพของลาต้นหรือปริมาตร มวลชีวภาพของลาต้นและปริมาตร ท่ีมีขนาด ของลาต้นเป็นเท่าไร จากนั้นนาค่า DBH มา Ø มากกวา่ 10 cm โดยไดค้ ่า 29.812 kg และ คานวณกับสมการในภาพท่ี 17 จะได้ค่าสัดส่วนที่ 0.070 m3 ตามลาดับ ในทางกลับกันส่วนท่ีมี ไม่เกิน 1.00 เม่ือนามาคูณกับมวลชีวภาพของ ขนาด Ø นอ้ ยกวา่ 10 cm จะมีค่า 12.504 kg ลาต้น หรอื ปรมิ าตรของลาตน้ ทไ่ี ด้ จะไดค้ ่าท่มี ี และ 0.029 m3 ตามลาดับ 33
ภาพที่ 17 สมการในรปู แบบ Richards Function ทีน่ ามาประยุกต์ใช้กับความสัมพันธ์ ระหว่างขนาด DBH กับค่าสัดส่วนของ 1) มวลชีวภาพของลาต้นทั้งหมดกับมวลชีวภาพลาต้นท่ีมี ขนาด Ø มากกว่า 10 cm และ 2) ปริมาตรลาตน้ ทง้ั หมดกบั ปริมาตรลาต้นทีม่ ขี นาด Ø มากกวา่ 10 cm สมการแอลโลเมตรกิ ของมวลชีวภาพใต้พื้นดิน มวลชีวภาพของรากที่ผู้เขียนได้เคยศึกษามาในอดีต มีจานวนของไม้ตัวอย่างไม่มากนัก จะเปน็ ต้นไม้ในสวนปา่ ท้ังหมด รวมจานวนท้ังส้ิน 26 ต้น แยกเป็นไม้สัก ท่ีสวนป่าแม่จาง อาเภอ แม่เมาะ จังหวัดลาปาง อายุ 17 และ 22 ปี ช้ันอายุละ 5 ต้น ไม้กระถินเทพาและไม้ยูคาลิปตัส คามาลดเู ลนซสิ ท่ีสวนป่าคลองตะเกรา อาเภอท่าตะเกียบ จังหวัดฉะเชิงเทรา อายุ 5 ปี ชนิดละ 5 ต้น และไม้ยูคาลิปตัส คามาลดูเลนซิส อายุ 2 ปี ที่สถานีทดลองปลูกพรรณไม้ห้วยทา อาเภอ พยุห์ จังหวดั ศรสี ะเกษ จานวน 6 ต้น ขอ้ มูลภาคสนามรายตน้ ได้แสดงในตารางที่ 8 34
ตารางท่ี 8 ข้อมูลขนาดความโต และความสูง กับมวลชีวภาพของลาต้น ก่ิง ใบ ส่วนท่ีอยู่เหนือ พื้นดิน และราก รายต้น และสัดส่วนของมวลชีวภาพของรากต่อมวลชีวภาพเหนือพื้นดินของไม้สัก ไม้กระถนิ เทพา และไม้ยูคาลปิ ตัส คามาลดเู ลนซสิ ท่ีอายุและระยะปลูกต่างๆ ระยะปลกู DBH Ht DBH2. Ht มวลชีวภาพ (kg) สัดส่วน ชนดิ ต้นท่ี Wb Wl AGB เอกสารอ้างองิ (mXm) (cm) (m) (cm2. m) Ws Wr Wr/AGB 1 9.40 12.62 1,115.10 20.003 1.137 1.770 22.910 6.026 0.263 สกั 2 13.10 14.30 2,454.02 41.258 3.502 7.411 52.171 13.281 0.255 2X2 3 16.00 14.51 3,714.56 64.651 7.341 11.456 83.448 25.149 0.301 4 19.70 15.50 6,015.40 101.349 7.239 17.378 125.966 41.107 0.326 (อายุ 17 ปี) 5 22.90 16.90 8,862.53 155.345 13.916 63.448 232.709 51.976 0.223 Viriyabuncha 6 12.40 14.20 2,183.39 38.632 1.142 4.525 44.299 10.575 0.239 et al. (2003) สกั 7 15.90 15.90 4,019.68 78.603 6.094 23.153 107.850 21.926 0.203 4X4 8 20.00 19.53 7,812.00 151.119 10.164 37.901 199.184 34.581 0.174 9 23.20 18.90 10,172.74 184.908 12.658 39.630 237.196 51.227 0.216 (อายุ 22 ปี) 10 26.90 17.74 12,836.84 212.058 15.529 77.736 305.323 64.810 0.212 11 8.70 11.95 904.50 14.088 0.904 0.623 15.615 3.146 0.201 กระถนิ 3X3 12 10.00 15.10 1,510.00 28.362 2.258 1.167 31.787 4.920 0.155 เทพา 13 12.10 15.05 2,203.47 39.124 5.504 2.288 46.916 8.278 0.176 (อายุ 5 ปี) 14 14.90 16.19 3,594.34 60.921 5.716 2.662 69.299 14.972 0.216 ยคู าลิปตสั 3X3 15 17.80 17.15 5,433.81 98.864 22.685 6.206 127.755 17.073 0.134 ชงิ ชัย และคณะ คามาล 16 5.10 10.30 267.90 7.826 0.620 0.503 8.949 2.124 0.237 (2552) ดูเลนซสิ 17 7.70 11.77 697.84 14.127 2.266 1.252 17.645 3.911 0.222 (อายุ 5 ปี) 18 9.50 13.20 1,191.30 25.460 3.069 1.629 30.158 9.586 0.318 19 10.90 15.65 1,859.38 35.842 3.099 1.906 40.847 11.915 0.292 20 13.90 14.85 2,869.17 51.741 9.416 4.361 65.518 18.693 0.285 21 2.20 4.18 20.23 0.597 0.080 0.260 0.937 0.254 0.271 ยคู าลปิ ตสั 22 3.60 6.52 84.50 1.958 0.132 0.254 2.344 0.618 0.264 คามาล 3X1.5 23 5.10 7.17 186.49 3.635 0.514 0.755 4.904 1.762 0.359 ข้อมูลยังไม่ได้ ดเู ลนซสิ 24 6.50 8.47 357.86 7.409 1.025 1.959 10.393 2.872 0.276 เผยแพร่ (อายุ 2 ปี) 25 8.40 8.90 627.98 11.226 2.379 2.963 16.568 6.109 0.369 26 11.00 11.69 1,414.49 26.364 4.859 6.599 37.822 10.880 0.288 35
เมื่อนาข้อมูลภาคสนามดังกล่าวมาหาสมการแอลโลเมตริกของรากรวมทุกชนิด โดยให้ ค่า DBH2. Ht เป็นตัวแปรอิสระและให้ค่ามวลชีวภาพของราก (Wr) เป็นตัวแปรตาม พบว่ามีค่า ความสัมพันธ์สูงดังแสดงในภาพท่ี 18-1 และเม่ือใช้ค่ามวลชีวภาพเหนือพ้ืนดินทั้งหมด (AGB) เป็นตัวแปรอิสระและให้ Wr เป็นตัวแปรตาม พบว่ามีค่าความสัมพันธ์สูงกว่าใช้ค่า DBH2. Ht เป็น ตวั แปรอสิ ระ ดงั แสดงในภาพที่ 18-2 ภาพที่ 18 สมการแอลโลเมตริกเพ่ือใช้ประมาณมวลชีวภาพของราก จากข้อมูลรวมของไม้สัก ไมก้ ระถนิ เทพา และไม้ยคู าลิปตัส คามาลดูเลนซสิ ทุกชน้ั อายุ 1) การใชค้ ่า DBH2. Ht เป็นตัวแปรอิสระ และ 2) การใช้มวลชวี ภาพเหนือพืน้ ดินทงั้ หมด (AGB) เปน็ ตวั แปรอสิ ระ 36
เนอื่ งจากการศกึ ษาสมการแอลโลเมตริกของราก ต้องใช้เวลา งบประมาณ และกาลังคน เป็นจานวนมาก ทาได้ยากกว่าการศึกษาสมการแอลโลเมตริกของมวลชีวภาพเหนือพื้นดิน ดงั นั้นการประมาณมวลชีวภาพของราก จึงมักนิยมใช้ข้อมูลของมวลชีวภาพที่อยู่เหนือพ้ืนดินเพื่อ ประเมินมวลชีวภาพของราก โดย IPPC (2006) ได้กาหนดสัดส่วนระหว่างมวลชีวภาพของราก กบั มวลชวี ภาพเหนือพ้ืนดิน กาหนดเป็นค่า Default คือ ในพ้ืนท่ีป่าฝนเขตร้อน มวลชีวภาพของ รากจะมีค่าเป็น 0.37 ของมวลชีวภาพเหนือพื้นดิน อีกนัยหนึ่ง คือ เม่ือต้นไม้มีมวลชีวภาพเหนือ พื้นดนิ 10 kg จะมีมวลชวี ภาพของรากอยทู่ ี่ 3.7 kg ดังแสดงในตารางท่ี 9 ตารางท่ี 9 ค่า Default ของ IPCC (2006) ที่กาหนดสัดส่วนของ มวลชีวภาพของรากต่อมวล ชวี ภาพเหนือพืน้ ดิน ในระบบนิเวศปา่ ไมแ้ บบต่างๆ เมื่อนาเอาค่าสัดส่วนของมวลชีวภาพของรากกับมวลชีวภาพเหนือพื้นดิน ที่แสดงใน ตารางที่ 8 มาคานวณ จะพบว่ามีค่าเฉลี่ย 0.249 ± 0.060 มีค่าต่าสุด 0.134 และสูงสุด 0.369 ซ่ึงค่าเฉล่ีย 0.249 นี้ จะสอดคล้องกับค่า Default ของ IPCC (2006) ในป่าแบบ Tropical moist deciduous forest ที่มีมวลชีวภาพเหนือพื้นดินมากกว่า 125 t/ha จะมีค่า 0.24 ในขณะที่ การศกึ ษามวลชีวภาพในป่าดิบเขา อุทยานแหง่ ชาตดิ อยอินทนนท์ จังหวัดเชียงใหม่ โดยใช้สมการ แอลโลเมตรกิ ของ Tsutsumi et al. (1983) พบว่ามวลชวี ภาพเหนือพืน้ ดินเฉพาะของต้นไม้ มีค่า 512.005 t/ha และมีมวลชีวภาพของราก 61.628 t/ha (ชิงชัย และคณะ, 2560 a.) เมื่อนาค่าท่ีได้ มาหาสดั สว่ นของมวลชวี ภาพของรากกบั มวลชีวภาพเหนือพ้ืนดิน จะมคี ่าเพยี ง 0.120 การที่ได้ค่า สดั สว่ นทน่ี อ้ ยกวา่ เท่าตัวเม่ือเทียบกับค่า Default ของ IPCC (2006) สืบเนื่องมาจาก จานวนของไม้ ตวั อย่างทีใ่ ช้ศึกษามวลชวี ภาพของรากมีเพียง 6 ต้น อยู่ในสมการ และอาจมีการเก็บรวบรวมราก ทอ่ี ยูใ่ ต้พ้นื ดนิ ออกมาไมห่ มด เนอื่ งจากสภาพของหมู่ไม้และขนาดของไม้ตัวอย่างท่ีกีดขวางในการ เก็บข้อมูล จึงทาให้สมการที่ได้ให้ผลการคานวณท่ีน้อยกว่าความเป็นจริงได้ ดังนั้นการคานวณ มวลชีวภาพของรากกับมวลชีวภาพเหนือพ้ืนดิน ในเบื้องต้นจะใช้สัดส่วนท่ีมาจากข้อมูลในตารางที่ 8 คอื มวลชีวภาพของรากจะมคี ่า “0.249” ของมวลชีวภาพเหนอื พ้ืนดิน 37
การศึกษามวลชีวภาพของตน้ ไมใ้ นปา่ ธรรมชาติ การศึกษามวลชีวภาพของต้นไม้ในป่าธรรมชาติ จะใช้หลักเกณฑ์และวิธีการคล้ายกับ การศึกษามวลชีวภาพของต้นไม้ในสวนป่า แต่อาจจะแตกต่างกันตรงจานวนและขนาดของต้นไม้ ท่ีต้องมีจานวนมากให้ครอบคลุมชนิดพันธ์ุท่ีมีในป่าแต่ละประเภท จึงจะได้สมการแอลโลเมตริกที่ดี เพื่อนาไปใช้ประมาณมวลชวี ภาพของต้นไม้ในป่าแต่ละประเภท ต่อไป ในอดีตมีทีมนักวิจัยชาวญ่ีปุ่นหลายชุด ได้เข้ามาศึกษาวิจัยเร่ืองมวลชีวภาพของต้นไม้ ในป่าธรรมชาตปิ ระเภทต่าง ๆ และมีผลงานตีพมิ พเ์ ป็นเอกสารทใี่ ช้อา้ งอิงจนถึงปัจจบุ ัน เชน่ 1. เอกสาร “Comparative ecological studies on three main types of forest vegetation in Thailand” ที่ตีพิมพ์ใน Nature and Life in Southeast Asia Volume 4 ในปี ค.ศ. 1965 เร่ืองท่ี II. Plant Biomass. หน้าท่ี 49-80 โดย Husato OGAWA, Kyoji YODA, Kazuhiko OGINO and Tatuo KIRA เป็นเอกสารทีร่ ู้จกั กันดีในวงการป่าไม้ไทย ในนามของ Ogawa et al. (1965) ซ่ึงเป็น คณะวิจัยชาวญีป่ นุ่ ทีเ่ ขา้ มาศึกษาวจิ ัยในประเทศไทยเมือ่ ปี พ.ศ. 2504 ได้วางแปลงตัวอย่างขนาด 40X40 m2 ในพ้ืนทปี่ า่ ธรรมชาติบรเิ วณตาบลปิงโคง้ อาเภอเชยี งดาว จังหวัดเชียงใหม่ จานวน 3 แปลง และบริเวณเขาชอ่ ง จังหวัดตรัง จานวน 2 แปลง รวมเป็นแปลงตัวอย่างทั้งหมด 5 แปลง โดยทุกแปลง อยู่ในสภาพท่เี ป็น Climax ถกู รบกวนนอ้ ย โดยมีรายละเอียดของแปลงตวั อย่าง ดังน้ี แปลงท่ี 1 เป็น Dry monsoon forest น่าจะเปน็ ปา่ เบญจพรรณช้นื สูง เน่อื งจากมพี ันธไ์ุ ม้ เช่น แดง ประดู่ ตะแบก เหียง รัง ก่อหนุน ก่อใบเลื่อม และเหมือดคน เป็นต้น และมีไม้ไผ่ขึ้นอยู่ แปลงน้ีมี ความสงู ของตน้ ไม้ถงึ 35.5 m ทาการตดั ต้นไม้เพอ่ื ศึกษามวลชวี ภาพจานวน 16 ตน้ จาก 11 ชนิดพันธ์ุ แปลงท่ี 2 เป็น Savanna forest-monsoon forest ecotone น่าจะเป็นป่าเบญจพรรณ คาบเก่ียวกับป่าเต็งรัง เพราะมีพันธ์ุไม้ เช่น เต็ง รัง แดง ตะแบก และพลวง เป็นต้น แปลงน้ีมีความสูง ของต้นไม้เด่นระหวา่ ง 18-29 m ทาการตดั ต้นไมเ้ พ่อื ศึกษามวลชีวภาพจานวน 21 ต้น จาก 13 ชนิดพันธุ์ 38
แปลงที่ 3 เป็น Dipterocarp savanna forest ในท่ีน้ีเป็นป่าเต็งรัง ที่มีชนิดพันธุ์ไม้ ใกล้เคยี งกบั แปลงท่ี 2 โดยมีไม้เด่น คือ เต็ง รัง และเหียง เป็นต้น แปลงนี้มีความสูงของต้นไม้เด่น ระหว่าง 10-19 m ทาการตดั ตน้ ไมเ้ พอ่ื ศึกษามวลชวี ภาพจานวน 8 ตน้ จาก 6 ชนิดพันธ์ุ แปลงที่ 1, 2 และ 3 อยู่ในบรเิ วณตาบลปิงโค้ง อาเภอเชยี งดาว จังหวัดเชียงใหม่ แปลงท่ี 4 และ แปลงท่ี 5 เป็น Tropical rain forest ในท่ีนี้เป็นป่าดิบชื้น อยู่ใน บริเวณเขาช่อง จังหวัดตรัง (ไม่สามารถระบุพื้นที่อาเภอได้เนื่องจากครอบคลุมพ้ืนท่ีกว้างมาก) แปลงน้ีมีความสูงของต้นไม้เด่นระหว่าง 26-36 m ทาการตัดต้นไม้เพื่อศึกษามวลชีวภาพเฉพาะใน แปลงท่ี 4 โดยตดั ต้นไมท้ ุกตน้ แบบ Clear cut ในพน้ื ท่ี 10X40 m2 มีจานวนต้นไม้ 74 ต้น จาก 50 ชนดิ พันธุ์ และศกึ ษามวลชวี ภาพของราก (Root Biomass) จานวน 3 ตน้ ผลการศกึ ษาดงั กลา่ วขา้ งตน้ แยกสมการแอลโลเมตริกในการคานวณหามวลชีวภาพของ ป่าธรรมชาติ ออกเป็น 2 ชุด คือ 1) ป่าผลัดใบ (ป่าเต็งรัง และป่าเบญจพรรณ) และ 2) ป่าไม่ ผลัดใบ (ป่าดิบช้ืน) โดยรูปแบบของสมการใช้ตัวแปรอิสระเป็น D2H โดยมี ตัวแปรตามคือ Ws Wb Wl และ Wr ซึ่งตัวสมการ Ws จะใช้รูปสมการเดียวกันทั้งของป่าผลัดใบและไม่ผลัดใบ เน่ืองจากไม่มคี วามแตกต่างกนั ทางสถิติ ส่วน Wb และ Wl จะใช้สมการแยกกันในแต่ละป่า ส่วน ของคา่ D น่ันคือคา่ DBH หรือตาแหน่งทวี่ ัดเหนอื พูพอนของตน้ ไม้ เน่ืองจากเอกสารน้ีเป็นภาษาอังกฤษ ทาให้เราสามารถติดตามสถานที่ วิธีการ และ รูปแบบสมการได้ แต่มีข้อด้อยท่ีว่าไม่มีข้อมูลดิบรายต้น และไม่ได้นาเสนอค่าสัมประสิทธิ์แสดง การตัดสินใจ (Coefficient of Determination, R2 ) ของสมการ และต้นไม้ท่ีมีขนาดใหญ่ที่สุด ท่ีอยู่ในสมการในส่วนของ Ws มีขนาด DBH ประมาณ 90 cm (โดยวัดจากกราฟ ในภาพที่ 8 หน้าที่ 65 ของเอกสาร) เพ่อื ใชเ้ ป็นข้อมลู ในการตดั สนิ ใจในการเลือกใชส้ มการ ตอ่ ไป 39
2. เอกสาร “The primary production of tropical forests in Thailand” ทตี่ ีพมิ พ์ใน Southeast Asian Studies 5 (เปน็ ภาษาญีป่ นุ่ ) ในปี ค.ศ. 1967 หน้าที่ 121-154 โดย Kazuhiko OGINO. Duongkeo RATANAWONG, Toshio TSUTSUMI and Tsunahide SHIDEI เป็นเอกสารท่ีใช้อ้างอิงในนามของ ในแปลงป่าเต็งรัง จานวน 2 แปลง โดยมี 1 แปลง Ogino et al. (1967) เนื่องจากเป็นหนังสือฉบับ จะเปน็ แปลงตัวอย่างถาวรเพื่อเก็บข้อมูลความ ภาษาญี่ปุ่น ผู้เขียนได้รับความอนุเคราะห์จาก เจริญเติบโต และอีก 1 แปลง จะเป็นแปลงท่ี ผูเ้ ชย่ี วชาญชาวญ่ปี นุ่ Dr. Reiji Yoneda ไดก้ รุณา ใช้ตัดศึกษามวลชีวภาพของต้นไม้ ใช้จานวนต้นไม้ แปลต้นฉบับให้ใช้ประโยชน์ ผู้เขียนขอขอบคุณ 25 ต้น มีขนาด DBH ระหว่าง 2 - 23 cm และ ไว้ ณ โอกาสน้ี การศึกษาของ Ogino ได้ทาการ ความสูงของไม้ตัวอย่างอยู่ระหว่าง 2.5 - 14.5 m ศึกษามวลชีวภาพในป่าธรรมชาติท้องท่ีอาเภอ ในแปลงป่าดิบแล้งได้วางแปลงตัวอย่างจานวน ปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา ในพื้นท่ีป่าเต็งรัง 2 แปลงเช่นเดียวกัน โดยแปลงที่ใช้ตัดศึกษา (Deciduous Dipterocarp Forest) และป่าดบิ แล้ง มวลชีวภาพของต้นไม้ มีจานวนต้นไม้ 37 ต้น (Dry Evergreen Forest) ได้ทาการวางแปลง มีขนาด DBH ระหว่าง 3.8 - 33.5 cm และ ตวั อยา่ งขนาด 10X50 m2 จานวนท้ังหมด 4 แปลง ความสูงของไมต้ วั อยา่ ง ระหวา่ ง 4.2 - 22.1 m เอกสารฉบับน้ีนับว่ามีคุณค่ามาก ถือว่าต้นไม้มีขนาดเล็กเม่ือเทียบกับสมการของ เน่ืองจากมีการแสดงข้อมูลดิบของ DBH กับ Ogawa et al. (1965) และตัวสมการในเอกสาร ความสูง และมวลชีวภาพของลาต้น กิ่ง และใบ ใช้ค่า D2H มีหน่วยเป็น m3 ซ่ึงสมการแอล ของต้นไม้ตวั อย่าง จงึ สามารถนาข้อมูลเหล่านี้ โลเมตริกของ Ogawa et al. (1965) และ ไปศึกษาต่อยอดงานวจิ ยั ไดใ้ นอนาคต แต่ต้นไม้ Tsutsumi et al. (1983) ใช้หน่วยเป็น cm2.m ทใี่ ช้ในสมการมีขนาด DBH มากทีส่ ุด ในปา่ เต็งรัง ผู้เขยี นจึงขออนุญาตแปลงหน่วยในสมการจาก มีค่า 23 cm และในป่าดบิ แลง้ มีค่า 33.5 cm ข้อมูลดิบให้เป็นหนว่ ยเดยี วกนั 40
3. เอกสาร “Forest : Felling, Burning and Regeneration. In Shifting cultivation. An experiment at Nam Phrom, Thailand and its implications for upland farming in the monsoon Tropics. Edited by K. kyuma and C. Pairintra” ในปี ค.ศ. 1983 หน้า 13-62 โดย Toshio TSUTSUMI, Kyoji YODA, Pongsak SAHUNALU, Pricha DHANMANONDA and Buared PRACHAIYO เป็นเอกสารที่ใช้อ้างอิงในนาม Tsutsumi et al. (1983) เป็นเอกสารท่ีทาการศึกษาวิจัย ในพ้ืนที่ป่าดิบแล้งบริเวณเขื่อนน้าพรม จังหวัดชัยภูมิ ได้ทาการตัดต้นไม้เพ่ือทาสมการแอลโลเมตริก จานวน 60 ต้น มคี า่ DBH มากท่ีสดุ ประมาณ 60 cm (โดยวดั จากกราฟ ในภาพท่ี 3-5 หน้าที่ 25 ของเอกสาร) และทาการศกึ ษามวลชีวภาพของราก จานวน 6 ตน้ จากเอกสารท้ังหมด ท่ีกล่าวมาข้างต้น นักวิจัยในรุ่นหลังๆ มักจะเลือกใช้และอ้างอิง สมการแอลโลเมตริก เหล่านน้ั ต่อๆ กนั มา บางครง้ั ก็คัดลอกมาผิดจากต้นฉบับ บางครั้งก็เลือกใช้ ผดิ ประเภทป่า เป็นต้น ซ่งึ สมการเหล่าน้นั ใชไ้ ดด้ กี บั ตน้ ไมท้ ี่มีขนาด DBH มากกว่าหรือเท่ากับ 4.5 cm ขึ้นไป ท่ีถือว่าเป็นไม้ใหญ่ แต่ต้นไม้ที่มีขนาดน้อยกว่า 4.5 cm และมีความสูงมากกว่า 1.30 m ท่ีเป็นไม้หนมุ่ (Sapling) ถ้านักวิจัยมีความสามารถและมีศกั ยภาพเพยี งพอ ก็สามารถศกึ ษามวลชวี ภาพ ในพ้ืนท่ีน้ันๆ แล้วสร้างสมการแอลโลเมตริกเองได้ เน่ืองจากต้นไม้มีขนาดเล็ก ไม่ส่งผลกระทบ กับพ้ืนท่ีมากเหมือนต้นไม้ใหญ่ อย่างไรก็ดี สมการท่ีใช้คานวณไม้หนุ่มของ ธิติ และชลธิดา (2547) ที่ไดศ้ ึกษาในปา่ ดบิ แล้ง บริเวณสถานวี จิ ัยและฝกึ อบรมการปลูกสร้างสวนป่า (สะแกราช) อาเภอวังน้าเขียว จังหวัดนครราชสีมา ก็สามารถนามาประเมินไม้หนุ่มในป่าดิบแล้งทั่วประเทศ หรือป่าประเภทอ่นื ๆ ได้ ถ้าไมม่ สี มการทเ่ี หมาะสมกว่านี้ 41
เนื่องจากในปา่ ธรรมชาติ คาร์บอนไม่ได้สะสมอยู่เฉพาะต้นไม้ใหญ่และไม้หนุ่มเท่านั้น ยังมี สะสมอยู่ในเถาวัลย์ หวาย ไผ่ ปาล์ม กล้วยป่า และอ่ืนๆ หลากหลายชนิด การประเมินคาร์บอน ในป่าไม่ควรละเลยพันธุ์ไม้เหล่านี้ด้วย ในกรณีเถาวัลย์ท่ีมีเนื้อไม้ (Woody liana) ชิงชัย และคณะ (2554) ได้ทาการศึกษามวลชีวภาพเหนือพ้ืนดินของเถาวัลย์ท่ีมีเน้ือไม้ จานวน 26 ต้น มีขนาด DBH ระหวา่ ง 0.39 - 18.1 cm ในพน้ื ท่ีป่าดบิ แลง้ อุทยานแหง่ ชาตแิ ก่งกระจาน อาเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี จากการศึกษาพบว่า เถาวัลย์ที่มี DBH ≥ 2 cm จะมีมวลชีวภาพใกล้เคียงกับต้นไม้ ทมี่ ีขนาด 4.5 cm ดังนน้ั การคานวณคาร์บอนในกลุ่มของไม้ใหญ่ควรคานึงถึงเถาวัลย์ขนาดนี้ด้วย และสอดคลอ้ งกับการเกบ็ ข้อมูลภาคสนาม ของ Xiao et al. (2009) ท่ศี กึ ษามวลชีวภาพเถาวัลย์ ทแี่ คว้นสบิ สองปนั นา ในประเทศจนี ที่เก็บข้อมลู ของเถาวัลย์ทม่ี ี DBH ≥ 2 cm ดว้ ย การประมาณมวลชีวภาพของกล้วยป่า ชงิ ชัย และคณะ (2560 b.) ได้ทาการศึกษามวล ชีวภาพเหนือพ้ืนดินของกล้วยป่า (Musa acumilata) ในพื้นท่ีป่าดิบแล้ง สถานีวิจัยลุ่มน้าแม่กลอง ตาบลลนิ่ ถ่นิ อาเภอทองผาภูมิ จงั หวัดกาญจนบรุ ี จานวน 15 ต้น มขี นาด DBH ระหวา่ ง 4.5 - 20.2 cm มวลชีวภาพของไม้ต๋าว (Arenga pinnata) ทาการศึกษาโดย วินัย และคณะ (2560) ในพน้ื ท่โี ครงการศนู ยภ์ ฟู ้าพฒั นา ตาบลบ่อเกลอื จังหวัดนา่ น เนอ่ื งจากไม้ต๋าว จะมีลักษณะลาต้น ที่มีกาบใบแห้งตายและยังห้มุ รอบๆ ลาต้น อย่เู ปน็ จานวนมาก การวัดขนาด DBH ทาได้ค่อนข้างยาก เพราะติดกาบและก้านใบท่ีปูดบวมออกมา ดังน้ันมิติของความสูงของต้นไม้ต๋าว จากพื้นดินถึง บริเวณง่ามยอดอ่อนของก้านใบ (Rachis) ที่แยกจากกาบใบ (Petiole) ของคู่บนสุด หรือ HRP ถูกนามาใช้เพื่อหาสมการแอลโลเมตริกของมวลชีวภาพเหนือพื้นดินท้ังหมด โดยทาการตัดไม้ต๋าว จานวน 6 ตน้ มีความสูงของก้านใบทแ่ี ยกจากกาบใบ ระหวา่ ง 1.10 - 6.82 m 42
มวลชีวภาพของป่าสนธรรมชาติ สุนันทา (2531) ได้ศึกษามวลชีวภาพของไม้สนสองใบ และไม้สนสามใบที่ข้ึนอยู่ในป่าสนธรรมชาติบริเวณโครงการหลวงบ้านวัดจันทร์ อาเภอแม่แจ่ม จังหวดั เชยี งใหม่ โดยใช้ไม้สนสองใบ จานวน 10 ต้น ท่ีมีขนาด DBH ระหว่าง 13.2 - 69.2 cm และ ไม้สนสามใบ จานวน 10 ต้น ท่ีมีขนาด DBH ระหว่าง 20.0 - 68.9 cm เพ่ือทาสมการแอลโลเมตริก สมการแอลโลเมตริกของไม้ไผ่ชนิดต่างๆ ในประเทศไทย ที่ได้ทาการศึกษามาแล้ว มีดังต่อไปนี้ วิสุทธ์ิ และคณะ (2526) ศึกษาไผ่รวก (Thyrsostachys siamensis) ในท้องท่ีอาเภอ บ่อพลอย จังหวัดกาญจนบุรี Kutintara et al. (1995) ศึกษา ไมไ้ ผ่ จานวน 4 ชนิด ในพ้นื ท่ี สถานวี จิ ัยลุ่มน้าแม่กลอง อาเภอ ทองผาภูมิ จงั หวัดกาญจนบุรี คือ ไผ่บงดา (Bambusa tulda) ไผไ่ ร่ (Gigantochloa albociliata) ไผ่ผาก (G. hasskarliana) และไผ่ข้าวหลาม (Cephalostachyum pergracile) ขณะท่ี ชิงชัย และคณะ (2560 b.) ได้ศึกษาไผ่ผาก (G. hasskarliana) ในพ้ืนท่ีบ้านกุยเลอตอ ตาบลแม่จัน อาเภออุ้มผาง จังหวัดตาก พบว่า ค่ามวลชีวภาพต่อต้นที่คานวณจากสมการแอลโลเมตริกมี ค่าใกล้เคียงกับการศึกษาของ Kutintara et al. (1995) ขณะที่ สาพิศ (2533) ศึกษาไม้ไผ่ จานวน 4 ชนิด คือ ไผ่รวก ไผ่บงดา ไผ่ป่า (B. arundinacea) และไผ่ซาง (Dendrocalamus strictus) บรเิ วณสถานีเกษตรหลวงอ่างขาง อาเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ และ อิทธิพงศ์ และคณะ (2558) ศึกษาไผ่บงป่า (B. longispatha) ไผ่บงใหญ่ (D. brandisi) ไผ่หก (D. hamiltoni) และไผ่หวานอ่างขาง (D. latiflorus) บรเิ วณสถานีเกษตรหลวงอา่ งขาง อาเภอฝาง จังหวัด เชียงใหม่ ส่วนเอกสารของ Chan et al. (2013) ศึกษาไม้ไผ่บริเวณ หมบู่ า้ นกระเหรย่ี ง ใน Bago Mountains ประเทศเมียนมาร์ คือ ไผ่หอม (B. polymorpha) ไผ่ซาง ไผ่ไล่ลอ (G. nigrociliata) และไผ่บงดา 43
การประเมินปริมาณคาร์บอนในระบบนิเวศป่าไม้ มีความจาเป็นท่ีจะต้องคัดเลือก สมการที่เหมาะสม สอดคล้องกับชนิดป่า และชนิดพันธ์ุไม้ท่ีพบในแปลงตัวอย่างถาวรท่ีทาการศึกษา โดยเฉพาะขนาดของ DBH ที่ใหญ่ท่ีสุด ท่ีใช้ในการทาสมการน้ันๆ จะมีผลอย่างมากต่อการคานวณ มวลชวี ภาพ เพราะถ้าสมการทใี่ ช้มีขนาด DBH นอ้ ย เช่น มีค่า 23 cm แต่ต้นไม้ในแปลงมีขนาด DBH อยรู่ ะหว่าง 60-90 cm จานวนหลายต้น สมการน้กี ไ็ ม่เหมาะสมท่ีจะนามาคานวณ เพราะจะทาให้ คา่ ทไ่ี ด้มีความคลาดเคลื่อนอยา่ งมาก ดังนัน้ ในปัจจุบนั การนาเสนอสมการแอลโลเมตรกิ จาเป็นตอ้ ง ระบุชนดิ ไมห้ รือชนิดปา่ ค่า R2 จานวนของไมต้ ัวอยา่ ง และขนาดของ DBH ท่ีใช้ในการทาสมการ เพื่อประกอบการตัดสินใจในการเลือกใช้สมการน้ันๆ ตัวอย่างของสมการแอลโลเมตริกที่ใช้ใน การคานวณมวลชีวภาพในป่าธรรมชาติ และพันธไุ์ มบ้ างชนดิ แสดงในตารางท่ี 10 ภายหลังจากคานวณมวลชีวภาพของต้นไม้ในรูปน้าหนักแห้ง (oven dry weight) แล้ว ในการประเมินคาร์บอนจะใช้ข้อมูลมวลชีวภาพเหนือพ้ืนดิน คูณกับ Default value ของ IPCC (2006) คือค่า 0.47 เพื่อคานวณเป็นธาตุคาร์บอน ส่วนมวลชีวภาพของราก จากสมการในป่าดิบช้ืนท่ี ศึกษาโดย Ogawa et al. (1965) ยังไมเ่ หมาะสม เน่อื งจากจานวนตัวอย่างคอ่ นข้างน้อยมีแค่ 3 ต้น รวมถึงการศึกษาของ Tsutsumi et al. (1983) ท่ีศึกษามวลชีวภาพของรากในพ้ืนท่ีป่าดิบแล้ง จานวน 6 ตน้ ขณะที่อตั ราสว่ นมวลชวี ภาพเหนือพนื้ ดนิ ต่อมวลชีวภาพของราก IPCC (2006) ได้ กาหนดค่า Default value ในพ้ืนที่ป่าฝนเขตร้อนมีค่า 0.37 ถือว่ามีค่าสูงมาก และในพ้ืนที่ป่า แบบ Tropical moist deciduous forest หรือป่าฝนพลัดใบความชื้นสูง ท่ีมีมวลชีวภาพเหนือ พ้ืนดินมากกว่า 125 t/ha จะมีค่า 0.24 ซึ่งใกล้เคียงกับการศึกษามวลชีวภาพของรากในพื้นที่ สวนป่าของประเทศไทย ที่มีค่า 0.249 จึงขอใช้ค่าน้ีเพ่ือคานวณมวลชีวภาพของรากในพ้ืนท่ีป่า ธรรมชาตโิ ดยนาคา่ น้ีไปคณู กับมวลชวี ภาพเหนือพ้ืนดินในป่าธรรมชาติที่คานวณจากสมการต่างๆ ท่ีเหมาะสม เป็นท่ีน่าสังเกตว่าสมการแอลโลเมตริกที่ใช้ในการคานวณมวลชีวภาพของป่าธรรมชาติ ในปัจจุบัน มีหลากหลายสมการ ประกอบกับมีหลายหน่วยงานท่ีต้องใช้สมการแอลโลเมตริก เหล่านี้ในการศกึ ษาวจิ ยั จงึ ควรมีการประชุมเชิงปฏบิ ตั ิการเพอื่ กาหนดสมการแอลโลเมตรกิ ทเ่ี หมาะสม ของป่าแต่ละประเภท พื้นที่ และชนิดพันธุ์ไม้ต่างๆ ให้มีมาตรฐานเดียวกัน เพื่อสะดวกต่อการ เปรยี บเทยี บ ตรวจสอบ และประเมินผลของข้อมลู ที่ได้ 44
ตารางท่ี 10 สมการแอลโลเมตรกิ ประเภทต่างๆ ทีใ่ ชใ้ นการคานวณมวลชวี ภาพของป่าธรรมชาติ และพันธุ์ไม้ชนิดตา่ งๆ ของประเทศไทย ชนิดป่า/ชนิดไม้ สมการ R2 จาตน้นวน ขDนBาHด เอกสารอ้างองิ ป่าเต็งรัง* Ws = 0.0396 (D2H) 0.9326 - 119 ≈ 90 cm Ogawa et al. (1965) และ Wb = 0.003487 (D2H) 1.027 - 45 - ปา่ เบญจพรรณ* Wl = (28.0/Wtc + 0.025) -1 - 45 - ป่าดบิ ชื้น* Ws = 0.0396 (D2H) 0.9326 - 119 ≈ 90 cm Ogawa et al. (1965) Wb = 0.006002 (D2H) 1.027 - 74 - Wl = (18.0/Wtc + 0.025) -1 - 74 - Wr = 0.0264 (D2H) 0.775 -3 - ปา่ เต็งรงั AGB = 0.0569 (D2H) 0.9071 0.9833 25 2.0 - 23.0 ดดั แปลงข้อมูลจาก ปา่ ดิบแล้ง AGB = 0.0888 (D2H) 0.8513 0.9456 37 3.8 - 33.5 Ogino et al. (1967) ป่าดิบแลง้ * Ws = 0.0509 (D2H) 0.919 0.978 60 ≈ 60 cm Tsutsumi et al. (1983) Wb = 0.00893 (D2H) 0.977 0.890 60 - Wl = 0.0140 (D2H) 0.669 0.714 60 - Wr = 0.0313 (D2H) 0.805 0.981 6 - ไม้หนมุ่ Ws = 0.0702 (D2H) 0.8737 0.9625 - 4.5 cm ธติ ิ และชลธิดา (2547) ในปา่ ดบิ แลง้ ** Wb = 0.0093 (D2H) 0.9403 0.8850 - - Wl = 0.0244 (D2H) 1.0517 0.8981 - - ไผ่รวก* Wc = 0.15780 (D) 2.4859 0.9773 100 - วิสุทธ์ิ และคณะ (2526) Wb = 0.02892 (D) 1.9180 0.7149 100 - Wl = 0.01244 (D) 1.7046 0.6718 77 - AGB = 0.22187 (D) 2.2749 0.9550 100 - ไผไ่ ร่** Wc = 0.14266 (D2) 1.1939 0.9281 16 - Kutintara et al. (1995) AGB = 0.24255 (D2) 1.0951 0.9343 16 - ไผบ่ งดา* Wc = 0.20811 (D2) 1.0596 0.9665 10 - AGB = 0.49522 (D2) 0.8726 0.9682 10 - ไผ่ขา้ วหลาม** Wc = 0.09458 (D2) 1.1556 0.9968 10 - AGB = 0.17446 (D2) 1.0487 0.9908 10 - ไผ่ผาก Wc = 0.11151 (D2) 1.1257 0.9835 10 - AGB = 0.22574 (D2) 1.0214 0.9726 10 - 45
ตารางท่ี 10 (ตอ่ ) ชนิดปา่ /ชนดิ ไม้ สมการ R2 จาตนน้ วน ขDนBาHด เอกสารอา้ งอิง ไผร่ วก Wc = 0.3121 (D) 1.6116 0.8379 10 - สาพศิ (2533) - Wb = 0.0480 (D) 2.1613 0.6164 10 - อทิ ธิพงศ์ และคณะ (2558) - Wl = 0.0457 (D) 1.3303 0.4603 10 - - AGB = 0.4174 (D) 1.6645 0.8250 10 - - ไผ่บงดา Wc = 0.3845 (D) 1.8644 0.8901 10 - - Wb = 0.0070 (D) 2.2825 0.5163 10 - - Wl = 0.0082 (D) 2.0603 0.6932 10 - - AGB = 0.3243 (D) 2.1167 0.9590 10 - - ไผ่ป่า** Wc = 0.3044 (D) 1.7526 0.8886 10 - - Wb = 0.0795 (D) 2.0827 0.8369 10 - - Wl = 0.0088 (D) 1.1385 0.2347 10 - - AGB = 0.3939 (D) 1.8325 0.8948 10 - - ไผซ่ าง Wc = 0.3121 (D) 1.6116 0.8632 10 - - Wb = 0.0480 (D) 2.1613 0.8290 10 - - Wl = 0.0457 (D) 1.3303 0.5249 10 AGB = 0.4174 (D) 1.6645 0.8801 10 ไผ่บงป่า** Wc = 0.0867 (D2H) 0.7822 0.9281 40 Wb = 0.1384 (D2H) 0.7232 – Wc 0.8980 40 Wl = 0.0940 (D2H) 0.7748 – Wc 0.9278 40 AGB = 0.1466 (D2H) 0.7187 0.8962 40 ไผบ่ งใหญ*่ * Wc = 0.0136 (D2H) 0.9548 0.8695 40 Wb = 0.0184 (D2H) 0.9293 – Wc 0.8547 40 Wl = 0.0174 (D2H) 0.9313 – Wc 0.8562 40 AGB = 0.0222 (D2H) 0.9098 0.8413 40 ไผห่ ก** Wc = 0.0834 (D2H) 0.7650 0.8280 40 Wb = 0.1671 (D2H) 0.6832 – Wc 0.7510 40 Wl = 0.1107 (D2H) 0.7358 – Wc 0.8297 40 AGB = 0.2061 (D2H) 0.6627 0.7492 40 46
ตารางท่ี 10 (ตอ่ ) ชนดิ ปา่ /ชนิดไม้ สมการ R2 จาตน้นวน ขDนBาHด เอกสารอา้ งองิ ไผห่ วานอ่างขาง** Wc = 0.0324 (D2H) 0.8340 0.8118 40 - Wb = 0.0476 (D2H) 0.7947 - Wc 0.7868 40 - 40 - Wl = 0.0446 (D2H) 0.7962 - Wc 0.8046 40 - 94 - Chan et al. (2013) AGB = 0.0627 (D2H) 0.7630 0.7761 ไผ่หอม** Wc = 0.111 (D) 2.147 0.897 ไผ่ซาง* Wb = 0.028 (D) 1.551 0.697 94 - Wl = 0.038 (D) 1.452 0.598 94 - AGB = 0.189 (D) 1.956 0.877 94 - Wc = 0.021 (D) 1.875 0.970 8 - Wb = 0.076 (D) 1.455 0.886 8 - Wl = 0.034 (D) 1.364 0.671 8 - AGB = 0.308 (D) 1.767 0.963 8 - ไผ่ไล่ลอ** AGB = 0.0001 (H) 4.228 0.817 5 - ไผ่บงดา Wc = 0.114 (D) 2.380 0.899 31 - Wb = 0.017 (D) 1.960 0.576 31 - AGB = 0.131 (D) 2.351 0.910 31 - เถาวลั ยท์ ีม่ เี นอ้ื ไม้** AGB = 0.8622 (D) 2.0210 0.9533 26 0.39 - 18.1 ชงิ ชัย และคณะ (2554) ไผผ่ าก* AGB = 0.2413 (D) 2.0193 0.9304 15 3.1 - 13.6 ชงิ ชัย และคณะ (2560 b) กล้วยป่า** AGB = 0.0098 (D) 2.2750 0.9643 15 4.5 - 20.2 ชงิ ชยั และคณะ (2560 b) ต๋าว** AGB = 12.0478 (HRP) 1.6869 0.9732 6 HRP = วนิ ัย และคณะ (2560) 1.1-6.82 m ป่าสนสองใบ** Ws = 0.00408 (D2H) 1.1449 0.9940 10 13.2 - 69.2 สนุ นั ทา (2531) (เฉพาะไมส้ นสองใบ) Wb = 0.00005 (D2H) 1.3479 0.9960 10 - Wl = 0.01142 (D2H) 0.6534 0.7890 10 - ป่าสนสามใบ** Ws = 0.02141 (D2H) 0.9814 0.9950 10 20.0 - 68.9 (เฉพาะไม้สนสามใบ) Wb = 0.00002 (D2H) 1.4561 0.9290 10 - Wl = 0.00030 (D2H) 1.0138 0.9370 10 - โดยท่ี D = ขนาดเส้นผา่ ศูนย์กลางทรี่ ะดับอก (cm) H = ความสูงของต้นไมถ้ งึ ปลายยอด (m) HRP = ความสงู จากพ้ืนดนิ ถึงก้านใบท่ีแยกจากกาบใบของคู่บนสดุ (m) AGB = นา้ หนักแหง้ ส่วนท่ีอยู่เหนอื พ้นื ดนิ (kg ) Ws = นา้ หนกั แหง้ ของลาตน้ (kg) Wc = น้าหนกั แห้งของลาไมไ้ ผ่ (kg) Wl = น้าหนักแหง้ ของใบ (kg) Wb = น้าหนกั แห้งของกงิ่ (kg) Wr = น้าหนกั แห้งของราก (kg) Wtc = Ws+Wb (kg) หมายเหตุ * ปา่ ชนดิ เดียวกันหรือพันธุไ์ มช้ นดิ เดยี วกันควรใช้สมการนใี้ นการคานวณหามวลชีวภาพเนอื่ งจากมคี วามเหมาะสมและมคี วามคลาดเคล่ือนนอ้ ยกวา่ ** เปน็ สมการท่ีจาเปน็ ต้องใช้เนอ่ื งจากไมม่ ีการศกึ ษาเปรยี บเทยี บ 4477
การคานวณมวลชวี ภาพจากแปลงตวั อย่างถาวร หลังจากการวางแปลงตัวอย่างถาวรและ กลางๆ แตถ่ า้ เปน็ แปลงที่มีขนาดเล็กจะมีค่าสูง วัดข้อมูล DBH และ Ht ตาม “คู่มือการวางแปลง ห รื อ ต่ า ก ว่ า ค่ า ท่ี ม า จ า ก แ ป ล ง ข น า ด ใ ห ญ่ ตัวอย่างถาวร และการเก็บข้อมูลภาคสนาม” ยกตัวอย่างการศึกษามวลชีวภาพของป่าดิบเขา จะนาข้อมูล DBH และ Ht ท่ีได้มาคานวณหา ในพื้นท่ีขนาด 100X100 m2 (1 ha) ณ อุทยาน ความสัมพันธ์ของ D-H Relation เพ่ือใช้ประเมิน แห่งชาติดอยอินทนนท์ อาเภอจอมทอง จังหวัด ความสูงของต้นไม้เพ่ือลดความคลาดเคลื่อนที่ เชยี งใหม่ ของ ชิงชยั และคณะ (2560 a.) (ภาพที่ 19) อาจจะเกิดจากการวดั ความสูงของต้นไม้ เม่ือเสร็จ เมื่อคานวณมวลชวี ภาพเหนอื พ้ืนดนิ โดยใช้สมการ เรียบร้อยแล้ว จะเลือกใช้สมการแอลโลเมตริกท่ี ป่าดิบแลง้ ของ Tsutsumi et al. (1983) สมการ เหมาะสมเพื่อคานวณเป็นมวลชีวภาพรายต้น เถาวลั ยข์ อง ชิงชัย และคณะ (2554) และกล้วยป่า จากน้ันจึงคานวณมวลชีวภาพต่อหน่วยพ้ืนท่ี ของชงิ ชัย และคณะ (2560 b.) กับข้อมูลภาคสนาม ซ่ึงข้อมูลมวลชีวภาพที่คานวณเป็นต่อหน่วย ในปี พ.ศ. 2557 พบว่า มวลชีวภาพเหนือพ้ืนดินมีค่า พ้ืนท่ีนี้ ขนาดของแปลงตัวอย่างที่ใช้ในการเก็บ 515.484 t/ha โดยแยกเป็นมวลชีวภาพของต้นไม้ ข้อมูลจะมีผลอย่างมากต่อการศึกษา เพราะแปลง เถาวัลย์ และกลว้ ยปา่ มคี า่ 512.005 3.461 และ ตัวอย่างที่ขนาดใหญ่จะมีค่ามวลชีวภาพเป็นแบบ 0.018 t/ha ตามลาดบั ภาพท่ี 19 ลักษณะสภาพพ้ืนท่ีและตาแหน่งของ ต้นไม้ในแปลงตัวอย่างถาวรขนาด 100X100 m2 ในพืน้ ที่ป่าดิบเขาณ อทุ ยานแหง่ ชาติ ดอยอนิ ทนนท์ จังหวัดเชียงใหม่ พบว่ามวลชีวภาพเหนือพื้นดิน มีค่า 515.484 t/ha โดยแยกเป็นมวลชีวภาพของ ต้นไม้ เถาวัลย์ และกล้วยป่า มีค่า 512.005 3.461 และ 0.018 t/ha ตามลาดบั เม่อื ใช้ขอ้ มลู ชุดเดียวกันน้ีแบ่งพื้นท่ีออกเป็นแปลงย่อยขนาด 40X40 m2 ออกเป็นจานวน 4 แปลง แสดงในภาพท่ี 20-1 แยกเป็นรายแปลง พบว่า แปลงย่อยทั้ง 4 แปลง มีปริมาณของ มวลชีวภาพเหนอื พนื้ ดนิ ของไม้ทกุ ชนิดมีค่าระหว่าง 417.198 ถึง 603.428 t/ha และมีค่าเฉล่ีย 503.872 t/ha โดยมีค่าน้อยกว่าข้อมูลในแปลง 100X100 m2 อยู่ 11.612 t/ha (ภาพที่ 20-2) ในทานองเดยี วกันเม่อื แบ่งพื้นท่ีออกเป็นแปลงย่อยขนาด 50X50 m2 จานวน 4 แปลง แสดงในภาพท่ี 21-1 48
ภาพท่ี 20 การคานวณมวลชวี ภาพเหนอื พื้นดินของตน้ ไม้ เถาวัลย์ และกลว้ ยป่า โดยจัดแบ่ง เป็นแปลงตัวอยา่ งขนาด 40X40 m2 จานวน 4 แปลง 1) รูปแบบการแบ่งแปลงย่อยจานวน 4 แปลง และ 2) การเปรียบเทยี บข้อมลู มวลชีวภาพเหนือพืน้ ดนิ ตอ่ หน่วยพ้ืนที่ ท่ีมีขนาดและตาแหน่งของ แปลงทแ่ี ตกต่างกัน เมื่อนาข้อมูลต้นไม้ที่ขึ้นอยู่ในแต่ละแปลงย่อยมาคานวณหามวลชีวภาพเหนือพ้ืนดิน แยกเป็น รายแปลง พบว่า แปลงย่อยทั้ง 4 แปลง มีปริมาณของมวลชีวภาพเหนือพ้ืนดินของไม้ทุกชนิดมี ค่าระหว่าง 412.675 ถึง 681.752 t/ha และมีค่าเฉลี่ย 512.464 t/ha โดยมีค่าน้อยกว่าข้อมูล ในแปลง 100X100 m2 อยู่ 3.020 t/ha (ภาพท่ี 21-2) ภาพที่ 21 การคานวณมวลชวี ภาพเหนอื พืน้ ดนิ ของต้นไม้ เถาวลั ย์ และกล้วยป่า โดยจัดแบ่ง เป็นแปลงตวั อย่างขนาด 50X50 m2 จานวน 4 แปลง 1) รูปแบบการแบ่งแปลงย่อยจานวน 4 แปลง และ 2) การเปรียบเทยี บข้อมลู มวลชวี ภาพเหนอื พน้ื ดนิ ตอ่ หน่วยพ้ืนท่ี ท่ีมีขนาดและตาแหน่งของ แปลงที่แตกต่างกัน จะเห็นได้ว่าข้อมูลในชุดเดียวกันเม่ือมีการจัดแบ่งออกเป็นแปลงย่อยที่มีขนาดและตาแหน่ง ของแปลงท่ีแตกต่างกัน จะให้ค่ามวลชีวภาพเหนือพื้นดินต่อหน่วยพ้ืนที่แตกต่างกันค่อนข้างมาก ขึ้นอยู่กับขนาดและตาแหน่งของแปลงท่ีวางลงในหมู่ไม้นั้นๆ เนื่องจากสภาพของพ้ืนที่ป่าจะมีลักษณะ เป็นโมเสค (Mosaic) ที่อยู่รวมกันเป็นกลุ่มๆ มีขนาดของพ้ืนที่เล็กบ้าง ใหญ่บ้าง มีชนิดพรรณไม้ท่ี 49
แตกต่างกันหรือเหมือนกัน อยู่เป็นกลุ่มๆ แล้วประกอบกันเป็นพื้นที่ของป่าประเภทน้ันๆ ซ่ึงจะเป็น เอกลักษณ์เฉพาะของแต่ละหมู่ไม้นั้นๆ เหมือนภาพท่ีเป็นโมเสคท่ีแสดงในภาพที่ 22 เมื่อทาการขยาย บริเวณจมูกของรูปภาพออกมาจะมีองค์ประกอบของภาพขนาดเล็กที่แตกต่างกันจานวนมากแต่เมื่อ รวมเข้าด้วยกันกจ็ ะมองออกมาเป็นภาพจมกู ของรปู น้ัน ภาพท่ี 22 รูปภาพท่ีเป็นโมเสค จะประกอบด้วยรูปขนาดเล็กๆ จานวน มาก เมื่อนามารวมกลุ่มและจัดลงใน ตาแหน่งต่างๆ ของภาพ เม่ือมองไกล ออกมากจ็ ะเหน็ ภาพนน้ั ๆ ได้แจม่ ชัดขน้ึ ดังนน้ั ในแปลงตัวอย่างถาวรขนาด 100X100 m2 เม่ือนาภาพถ่ายดาวเทียม Landsat ที่ถ่ายเมื่อ วนั ที่ 19 มนี าคม 2559 โดยมีความละเอียดของภาพ 1 pixel จะมีระยะ 30X30 m2 เมื่อทาการจาแนก พ้นื ทด่ี ้วย NDMI (Normalized Difference Moisture Index) จะพบวา่ แปลงตัวอยา่ งถาวรจะครอบคลุม ประมาณ 15 pixel เม่ือนาเอาข้อมูลมวลชีวภาพเหนือพื้นดินจากแปลงขนาด 40X40 m2 มาลงซ้อนทับ กับ pixel ที่มี Digital Number ปรากฏอยู่ (ภาพที่ 23-1) และแปลงขนาด 50X50 m2 (ภาพที่ 23-2) จะพบวา่ แปลงทีม่ ีขนาดเลก็ จะจาแนก Digital Number ได้งา่ ยกว่าแปลงที่มขี นาดใหญ่ เพราะครอบคลุม พื้นท่ีของ pixel น้อยกว่า แต่ขนาดของแปลงตัวอย่างดังกล่าวจะต้องเหมาะสมกับขนาดของต้นไม้ใน แปลงด้วยเพือ่ ลดความคลาดเคลอ่ื นของมวลชีวภาพท่จี ะใช้เปน็ ตัวแทนของ pixel น้ัน ศึกษารายละเอียด ในเรอ่ื งน้ีได้ใน “คมู่ ือการใช้ Google Earth Pro สาหรบั การวางแปลงตัวอยา่ งถาวร” ภาพที่ 23 เปรียบเทียบขนาดของแปลงตัวอย่างท่ีซ้อนทับกับข้อมูลดาวเทียม Landsat วันท่ี 19 มีนาคม 2559 โดยใช้ค่า NDMI (Normalized Difference Moisture Index) ในการ เปรียบเทียบ 1) แปลงขนาด 40X40 m2 และ 2) แปลงขนาด 50X50 m2 50
ขนาดแปลงตวั อยา่ งเพ่ือศกึ ษาการสะสมคาร์บอน การศึกษาการสะสมคาร์บอนในพื้นที่ป่า แปลงตวั อย่างถาวร และการเกบ็ ข้อมลู ภาคสนาม” ธรรมชาติภายใต้ “กิจกรรมสารวจ ศึกษา และ ส่วนการคัดเลือกพื้นที่ในการวางแปลงตัวอย่างได้ ประเมินการเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศและการ ดาเนินการตาม “คู่มือการใช้ Google Earth Pro กักเก็บคาร์บอนในพื้นที่ป่าไม้” ของกรมอุทยาน สาหรับการวางแปลงตัวอย่างถาวร” ภายหลังการ แห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์ุพืช ปีงบประมาณ จัดทาแปลงตัวอย่างท้ัง 2 แบบ และมีการแบ่ง 2557-2561 ได้กาหนดขนาดของแปลงตัวอย่าง แปลงย่อยออกเป็น 10X10 m2 เพ่ือทาการเก็บ ถาวรไวท้ ่ขี นาด 40X40 m2 ยกเว้นต้นไม้ในแปลง ข้อมูลของกลุ่มไม้ใหญ่เรียบร้อยแล้ว ยังทาการ ตัวอย่างน้ันมีความสูงของต้นไม้มากกว่า 40 m เก็บข้อมูลเพ่ิมเติมภายในแปลงตัวอย่างถาวร จะทาการวางแปลงขนาด 50X50 m2 ตามเหตุผล ดังกล่าว เช่น มวลชีวภาพของไม้หนุ่ม พลวัตของ ท่ีกล่าวมาแล้วข้างต้น และตาม “คู่มือการวาง กลา้ ไม้ และปริมาณซากพืชทีร่ ่วงหล่น เปน็ ต้น โดยการวางผังการศึกษามวลชีวภาพของ แปลงใหญ่ การท่ีไม่ใช้ตาแหน่งหมุดร่วมของ ไม้หนุ่ม จะทาการเก็บข้อมูลในแปลงย่อยขนาด 10X10 m2 เพราะจะเป็นบริเวณที่กล้าไม้ได้รับ 4X4 m2 โดยมีตาแหน่งของแปลง เร่ิมจากมุม ผลกระทบอย่างมากจากขั้นตอนการวางแปลง แปลงด้านล่างซ้ายของแปลงใหญ่ทแยงขึ้นไปยัง และอาจถูกเหยียบย่าจากการทาแนวขอบแปลง มุมแปลงด้านบนขวาของแปลงใหญ่ ในแปลง ส่วนกลุ่มที่สอง จะทาการวางแปลงเพ่ิมอีก 4 แปลง ไมห้ นุม่ น้มี ุมแปลงด้านซ้ายล่างทกุ แปลงจะใชห้ มุด โดยเน้นบริเวณท่ีมีกล้าไม้มากและถูกรบกวนน้อย ร่วมกันกับหมุดที่ใช้แบ่งแปลง 10X10 m2 ท่ีสุด โดยกาหนดให้อยู่เหนือและใต้แนวทแยง โดยแปลงใหญ่ขนาด 40X40 m2 และ 50X50 m2 ด้านละ 2 แปลง ส่วนตาแหน่งการเก็บข้อมูลการ จะมีจานวนแปลงไม้หนุ่ม จานวน 4 และ 5 แปลง รว่ งหล่นของซากพืช จะวางตะแกรงรองรับซากพืช ตามลาดับ ส่วนการเก็บข้อมูลพลวัตของกล้าไม้ ขนาด 1X1 m2 จานวน 5 ตะแกรง ดังแสดงใน จะทาการเก็บข้อมูลในแปลงย่อยขนาด 1X1 m2 ภาพท่ี 24 ในการกาหนดจานวนของแปลง โดยมีตาแหน่งของแปลงกล้าไม้แบ่งออกเป็น ตัวอย่างเพื่อเก็บข้อมูลไม้หนุ่ม กล้าไม้ และ 2 กลุ่ม โดยกลุ่มแรกจะวางแปลงย่อยในแปลง ตะแกรง ดังกล่าว สามารถเพ่ิมจานวนของแปลง ขนาด 4X4 m2 โดยใช้หมุดแปลงร่วมของแปลง และตะแกรงได้ตามความเหมาะสม แต่ไม่ควรมี 4X4 m2 ทางมุมบนด้านขวาตามแนวสดมภ์ของ จานวนน้อยกว่าท่กี ล่าวมาขา้ งตน้ 51
ภาพท่ี 24 ลักษณะการวางผังแปลงย่อยเพ่ือเก็บข้อมูลมวลชีวภาพของไม้หนุ่ม พลวัต ของกล้าไม้ และปริมาณซากพืชท่ีร่วงหล่น 1) ในพื้นท่ีแปลงตัวอย่างถาวรขนาด 40X40 m2 และ 2) ในพนื้ ทแ่ี ปลงตวั อย่างถาวรขนาด 50X50 m2 การเก็บขอ้ มลู ไมห้ นุ่ม การเก็บข้อมูลไม้หนุ่มจะทาการวัด Vernier Caliper ในการวัดข้อมูลของ DBH ท่ี DBH และ Ht เหมอื นกบั วัดไม้ใหญ่ทุกประการ ค่าน้อยกว่า 2.5 cm ลงมา เพราะจะสะดวก แต่แตกต่างกันท่ีขนาด DBH ที่มีค่าน้อยกว่า รวดเร็วและถูกต้องมากกว่าการใช้เทปวัดข้อมูล โดยวัดข้อมูลต้นไม้ท่ีมีขนาด DBH น้อยกว่า ดังแสดงในภาพท่ี 25 การให้เลขเรียงประจาต้น 4.5 cm เถาวัลย์และไผ่ ท่ีมีขนาด DBH นอ้ ยกว่า จะไม่สามารถใช้เบอร์อะลูมิเนียมตอกตะปูได้ 2 cm และพนั ธ์ไุ มท้ กุ ชนิดดังกล่าวต้องมีความสูง เหมือนกับไม้ใหญ่ เพราะต้นไม้จะมีขนาดเล็ก มากกว่า 1.30 m ส่วนพันธุ์ไม้ท่ีมีความสูงน้อย จะเกิดอันตรายได้ จึงให้เลขเรียงด้วยเคร่ืองป๊ัม กว่า 1.30 m จะถูกจัดอยู่ในกลุ่มของกล้าไม้ ตัวอักษร DYMO คล้องด้วยลวดทองแดงอย่าง เม่อื ทาการวดั DBH แล้ว ใหท้ าการทาสีตาแหน่ง หลวมๆ ทลี่ าตน้ หรือกิ่งที่มีความแข็งแรง ไม่ควร ท่วี ดั เพอ่ื การติดตามข้อมูลในคร้งั ตอ่ ไป เนื่องจาก รัดลวดทองแดงแน่นกับลาต้น เม่ือต้นไม้โตจะทา ไม้หนุ่มจานวนมากจะมีขนาด DBH ขนาดเล็ก อันตรายกับต้นไม้ได้ เพราะลวดทองแดงจะรัด ไมส่ ามารถใชเ้ ทปวดั ได้สะดวก จาเปน็ ต้องใช้ เข้าไปในเน้ือไมต้ อ้ งมคี วามระมัดระวัง 52
ภาพที่ 25 การเก็บข้อมูลไม้หนุ่มภาคสนาม 1) ให้เลขด้วยเคร่ืองป๊ัมตัวอักษร DYMO 2) การตัดเทปท่ีพิมพ์เลข 3) การหมายตาแหน่งที่วัด DBH 4) การวัด DBH 5) การวัดความสูง และ 6) ต้นไม้หลังเกบ็ ข้อมลู 53
การเกบ็ ขอ้ มลู กล้าไม้ ข้อมูลกล้าไม้ ส่วนมากจะใช้ศึกษา เป็นช่วงท่ีกล้าไม้กาลังพัฒนาของระบบราก ทางด้านพลวัตของกล้าไม้ชนิดต่างๆ ในพื้นที่ป่า เพ่ือรอวนั ท่ีเรือนยอดด้านบนเปิดกว้างข้ึน จะได้ เพ่ือดูว่ามีการสืบต่อพันธุ์ตามธรรมชาติเป็น เจริญเติบโตในโอกาสต่อไป (ภาพ 26-1) ขณะท่ี อย่างไร มีพัฒนาการเป็นอย่างไรภายใต้ร่มเงา กล้าของก่อปลายจัก (Quercus rex) ในพื้นท่ีป่า ภายใต้สภาวการณ์การเปล่ียนแปลงของสภาพ ดิบเขา อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ จังหวัด ภูมอิ ากาศในปจั จุบนั และจะส่งผลกระทบอย่างไร เชียงใหม่ พบว่ามีความเจริญเติบโตรวดเร็วมาก ต่อกลา้ ไม้ การศึกษาพัฒนาการของกล้าไม้เหล่านี้ ในช่วงฤดฝู น ในชว่ งเวลาไม่ถึง 3 เดือน กล้าท่ีงอก จึงเป็นจุดเริ่มต้นของการศึกษาการปรับตัวของ ออกมาจากเมล็ดจะมีความสูงมากถึง 32 cm ต้นไม้และของหมู่ไม้ในอนาคต ตัวอย่างของการ (ภาพที่ 26-2) เม่ือทาการติดตามข้อมูลต่อเน่ือง ติดตามข้อมูลกล้าไม้อย่างต่อเนื่อง พบว่า กล้าไม้ พบว่า หลังจากนั้นกล้าไม้จะงันอยู่อย่างน้ัน เคี่ยมคะนอง (Shorea henryana) ในพ้ืนที่ป่า ตามกล้ารุ่นพ่ีๆ ท่ีสูงเพิ่มข้ึนไม่กี่มิลลิเมตร ในช่วง ดบิ แลง้ อุทยานแห่งชาติปางสีดา จังหวัดสระแก้ว 2 ปี เน่ืองจากปริมาณแสงไม่เพียงพอ ไม้ชนิดนี้ ที่ทาการเกบ็ ขอ้ มลู ระหวา่ ง วนั ที่ 10 เมษายน 2551 สามารถพัฒนาเป็นไม้ที่มีขนาดใหญ่ได้ เพราะพบ ถึง วันท่ี 1 กรกฎาคม 2553 ระยะเวลาประมาณ ต้นก่อปลายจักในแปลงมีจานวน 15 ต้น/ha มี 2 ปี 2 เดือน รวมจานวน 8 คร้งั คอื 10 เม.ย. 51, ขนาด DBH ระหว่าง 4.5 - 52.0 cm ต้นที่ใหญ่ 15 ก.ค. 51, 17 พ.ย. 51, 13 มี.ค. 52, 18 ก.ค. 52, ท่ีสุดจะมีความสูง 42.5 m คาถามที่ตามมา คือ 26 ก.ย 52, 24 มี.ค. 53 และ 1 ก.ค. 53 มีค่า จะจัดการกล้าไม้ชนิดนี้อย่างไร เมื่อช่วงแรกกล้าไม้ ความสูง 12.0, 12.0, 15.0, 12.0, 17.0, 15.0, จะมอี ตั ราการเจริญเติบโตท่ีดีมาก และจะสามารถ 15.2 และ 20.1 cm จากข้อมูลน้ีจะพบว่าไม้ ย้ายชากล้าจากพื้นป่านาใส่ถุงเพ่ือไปปลูกที่อ่ืน เคี่ยมคะนองต้นน้ี มีพัฒนาการที่ช้ามากแต่ ได้หรือไม่ องค์ความรู้ต่างๆ เหล่าน้ีย่อมเกิด ลักษณะใบและลาต้นมีลักษณะที่แข็งแรง จากการเฝ้าสังเกตการณ์ความเปลี่ยนแปลง สมบูรณ์ดี คาถามท่ีตามมา คือ จะถือได้ไหมว่า ของกล้าไม้ ดังกลา่ ว 54
ภาพท่ี 26 การติดตามข้อมูลของกลา้ ไม้ในแปลงตัวอย่างขนาด 1X1 m2 1) กล้าเคี่ยมคะนอง ในพื้นที่ป่าดิบแล้ง อุทยานแห่งชาติปางสดี า จงั หวดั สระแกว้ และ 2) กล้ากอ่ ปลายจัก ในพ้ืนที่ป่าดิบเขา อุทยานแหง่ ชาตดิ อยอินทนนท์ จังหวัดเชยี งใหม่ การศึกษาข้อมูลกล้าไม้ จะกาหนดให้ พบว่าบ่อยครั้งเม่ือวัดด้วย Vernier Caliper ตน้ ไมท้ ่มี ีความสูงน้อยกว่า 1.30 m จัดอยู่ในกลุ่มน้ี จะทาอนั ตรายต่อกล้าไม้ท่ีมีขนาดเล็กทาให้กล้าไม้ แปลงตัวอย่างที่ใช้จะมีขนาด 1X1 m2 เน่ืองจาก ตายได้ภายหลังการวัด และเสียเวลามากในการ เป็นขนาดท่ีเหมาะสมต่อการเก็บข้อมูลท่ีจะ เก็บข้อมูล จึงไม่ขอแนะนา การวัดความสูงของ ไม่ส่งผลกระทบกับกล้าไม้ขณะท่ีเก็บข้อมูล กล้าไม้จะสะดวกกว่า และส่งผลกระทบต่อกล้าไม้ ทอ่ี ยบู่ รเิ วณกลางๆ แปลง แตเ่ มอื่ กาหนดแปลง น้อยกว่า สามารถวัดกล้าไม้ตั้งแต่เริ่มงอกออกมา ตัวอย่างให้ใหญ่ข้ึนเป็น 2X2 m2 การเก็บข้อมูล จากเมล็ด ในกรณีความสูงของกล้าเถาวัลย์อาจทา กล้าไมก้ ลางๆ แปลง จะทาได้ลาบากและก่อความ การวัดไม่ได้ ให้ทาการบันทึกข้อมูลว่า “ความสูง เสียหายต่อกล้าไม้ที่อยู่ริมขอบแปลงได้ รวมถึง วัดไม่ได้” ส่วนกรณีจาพวกของหญ้าทาการนับ จ ะ มี ก ล้ า ไ ม้ ที่ ห ล ง จ า ก ก า ร เ ก็ บ ข้ อ มู ล เ ป็ น จานวนต้นหรือกอแทน แปลงท่ีทาการเก็บข้อมูล จานวนมาก เน่ืองจากการเข้าถึงกลางแปลง กล้าไม้ ควรมีการล้อมเชือกฟางด้านบนของหมุด ลาบาก ดังนั้นเม่ือต้องการขนาดของแปลงใหญ่ หลักแปลง เพ่ือป้องกันการเหยียบย่ากล้าไม้ใน ขึ้นควรกาหนดรูปแปลงเป็นส่ีเหลี่ยมผืนผ้าที่มี แปลง (ภาพท่ี 27) การวดั กลา้ ไมไ้ มค่ วรนาเศษซาก ด้านกว้าง 1 m เช่น 1X2, 1X3 และ 1X4 m2 ใบไม้ออกไปนอกแปลง เพราะจะทาให้สภาพ จะทาให้การเก็บข้อมูลกล้าไม้สะดวกและง่ายขึ้น พ้ืนท่ีผดิ ไปจากธรรมชาติ ส่งผลกระทบกับกลา้ ไม้ มิติการเก็บข้อมูลกล้าไม้มักนิยมนับจานวนของ เดิมและกล้าไม้ท่ีจะเกิดข้ึนใหม่ได้ ในการเก็บ กล้าไม้ และความสูงของกล้าไม้เป็นด้านหลัก ข้อมูลคร้ังแรก แต่ละแปลงย่อยให้เร่ิมเลขเรียง แต่การวัดขนาด Ø ท่ีระดับคอราก D0หรือ ท่ีระดับ ที่ 1 ใหมท่ กุ แปลง เพอื่ สะดวกต่อการให้เลขเรียง 10 หรอื 20 cm เหนือพื้นดิน ทาไดค้ ่อนขา้ งยาก ตอ่ เน่ืองกับกล้าไม้ใหมท่ ี่เกิดขนึ้ ในภายหลัง 55
ภาพที่ 27 การเก็บข้อมูลกล้าไม้ภาคสนาม 1) ให้เลขด้วยเครื่องปั๊มตัวอักษร DYMO 2) ทาการติดหมายเลขกล้าไม้ 3) หมายเลขท่ตี ิดตอ้ งไมร่ ดั แน่น และ 4) ทาการวัดความสงู ของกลา้ ไม้ ค่าความหลากชนดิ และคา่ ความสาคญั จากลักษณะการวางแปลงตวั อย่างทง้ั 2 แบบ ดงั กลา่ ว นอกจากการเก็บข้อมูลด้าน DBH และ Ht ของตน้ ไมท้ ุกชนดิ เพ่ือการคานวณการสะสมคาร์บอนในกลุ่มของมวลชีวภาพที่มีชีวิตแล้ว ถ้าสามารถจาแนกชนิดพันธ์ุของต้นไม้ทุกต้นในแปลงได้ถูกต้อง จะสามารถนาข้อมูลชุดนี้ไป คานวณความหลากลายทางชีวภาพ และค่าความสาคัญของต้นไม้ที่ขึ้นอยู่ในแปลงตัวอย่างถาวร นน้ั ๆ ได้ เพ่ือใช้ในการติดตามการปรับตวั ของต้นไมอ้ นั สืบเน่ืองมาจากการเปล่ียนแปลงของสภาพ ภมู อิ ากาศ วา่ มีพันธุไ์ ม้ชนิดใดไดร้ บั ผลกระทบ หรอื สามารถปรบั ตัวไดด้ ีมากนอ้ ยเพยี งใด ความหลากชนดิ หรือความแผกผนั ของชนดิ การท่ีสังคมพืชแห่งหนึ่งท่ีมีพรรณพืชมากมายหลายชนิด (Species diversity) ย่อมเป็นการ สะท้อนให้เห็นว่าพ้ืนท่ีนั้นมีส่ิงแวดล้อมทางกายภาพหลายประเภทด้วยกัน ซ่ึงปกติแล้วเมื่อมีความผันแปร ในเรื่องของสิ่งแวดล้อมมาก สิ่งมีชีวิตที่พบก็จะมีมากชนิดด้วย และเมื่อมีส่ิงมีชีวิตหลายชนิดอาศัยอยู่ ลักษณะโครงสร้างของสงั คมก็จะสลับซับซ้อนตามไปด้วย Kreb (1972) กล่าวว่า ความหลากชนิดหรือความ แผกผันของชนิด หมายถึง ความมากน้อยของส่ิงมีชีวิตซ่ึงอาศัยอยู่ในระบบนิเวศหน่ึง ความหลากชนิดหรือ ความแผกผันของชนิดพรรณพืชจะเพ่ิมมากขึ้นไปตามยุคของการทดแทนของพรรณพืช กล่าวคือ ในยุคต้นๆ จะพบพรรณพืชเพียงไม่ก่ีชนิด แต่การเพ่ิมของชนิดพรรณพืชนี้จะมีขึ้นเรื่อยๆ จนถึงจุดๆ หนึ่ง เม่ือถึงยุค 56
สุดท้ายที่ค่อนข้างเสถียรภาพ (Stability) หรือไม่เปล่ียนแปลงแล้ว ก็จะปรากฏว่ามีพรรณพืชเพียง ไม่กี่ชนิดท่ีเป็นพืชเด่น เม่ือมีพืชเด่นเกิดขึ้นจานวนชนิดของพืชรองก็จะลดลง นั่นคือ เม่ือมีพืชเด่น เกิดข้ึนมากความหลากชนิดหรือความแผกผันก็จะลดลง ดังนั้นความหลากชนิดหรือความแผกผันนี้ จะเป็นตัวชี้ให้เห็นถึงเสถียรภาพของสังคมพืช ขณะที่ Ogawa et al. (1961) พบว่าความหลากชนิดจะ ลดลงไปตามการเพ่ิมขึ้นขององศาของเส้นรุ้งและระดับความสูงของพื้นที่ ส่วน Siccama et al. (1970) ช้ีให้เห็นว่าความหลากชนิดในทิศทางด้านลาดซ่ึงหันไปทางตะวันออกจะมากกว่าทางตะวันตก นอกจากนี้ความหลากชนิดจะเพิ่มมากขึ้นตามสภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสมของพ้ืนที่นั้น (Westman and Whittaker, 1975) สาหรบั การวัดความหลากชนิดหรอื ความแผกผนั ของชนดิ พนั ธพ์ุ ชื ภายในสงั คมน้ัน มีวิธีการวัดอยู่หลายอย่าง เช่น Fisher’s index (Fisher et al., 1943), Shannon-Wiener index (Shannon and Weaver, 1949) และ Simpson’s index (Simpson, 1949) ความหนาแน่นของพรรณพืช จานวนต้นไม้แต่ละต้นของแต่ละชนิด ไม่สามารถ ทาได้อย่างถูกต้องแน่นอนในแปลงตัวอย่างขนาด ความหนาแน่น (Density) ของพรรณพืช ใหญ่ๆ และการตัดสินใจของแต่ละบุคคลก็มีส่วน Kershaw (1964) และ Phillips (1959) ได้ให้ เกี่ยวข้องกันกับการกาหนดขนาดแปลงตัวอย่างท่ี ความหมายไว้ว่า เป็นจานวนต้นของพืชชนิดนั้น ใช้ในการนับจานวนต้นไม้ เพ่ือคานวณค่าความ ต่อหน่วยเนือ้ ทีห่ รือต่อแปลงควอแดรท (Quadrat) หนาแนน่ ของตน้ ไมใ้ นสงั คมพชื น้ันๆ ซ่งึ ขนาดของ ซึ่งความหนาแน่นน้ีจะทาการนับในแปลงตัวอย่าง แปลงตวั อย่างที่เหมาะสมสาหรับต้นไม้ คือ ขนาด ขนาดเล็ก และการนับจานวนต้นไม้นี้บางครั้งถือ 10X10 m2 ส่วนขนาด 4X4 m2 สาหรบั ไม้พ้นื ล่าง ว่าเป็นการวิเคราะห์ในเชิงปริมาณที่ง่ายท่ีสุด ท่ีมีความสูงจนถึง 3 m และขนาด 1X1 m2 ที่สามารถเข้าใจได้ แต่ก็เป็นการยากที่จะนาไป สาหรับพืชล้มลุก Oosting (1956) และ Clapham ใช้ประโยชน์ เพราะในการนับจานวนต้นไม้นั้น (1932) ได้กล่าวสรุปว่ารูปร่างของแปลงตัวอย่าง เป็นการนับจานวนต้นจริงๆ และมีพืชบางชนิด ท่ีใช้หาค่าความหนาแน่นของต้นไม้จะมีผลต่อ อาจนับจานวนต้นได้ยาก เช่น พืชท่ีมี Stolon ความถูกตอ้ ง ในการนับจานวนตน้ ไมน้ ้ัน แปลง หรือ Rhizome หรอื ไม้เล้ือยบางชนิด (Mueller- ตัวอย่างท่ีเป็นรูปส่ีเหล่ียมจะมีประสิทธิภาพ Dombois and Ellenberg, 1974) ในการนับ และมีความถูกต้องแน่นอนมากกว่าแปลงตัวอย่าง จานวนต้นไม้นี้โดยท่ัวไปแล้ว จะนับในแปลง ที่เป็นรูปกลมหรืออ่ืนๆ เพราะโดยท่ัวไปแล้ว ตัวอย่างขนาด 1 m2 หรือ 1 ha (10,000 m2) พรรณพชื มักจะขึ้นอยู่รวมกันเป็นกลุ่มหรือเป็นหมู่ หรือ 1 เอเคอร์ (4,046.85 m2) ซ่ึงขนาดแปลง (Greig-Smith, 1964) ตัวอย่างนี้จะมีความสัมพันธ์กับขนาดและ ชว่ งระยะหา่ งของตน้ ไม้แต่ละต้น เพราะการนับ 57
ความถี่ของพรรณพชื การปกคลุม (Cover) (Mueller-Dombois and Ellenberg, 1974) ซึ่งโดยท่ัวไปแล้วค่าความถ่ีน้ีจะ ความถ่ี (Frequency) ของพรรณพืช แสดงไว้ในรูปของเปอร์เซ็นต์ความถี่ (Frequency เป็นค่าท่ีชี้การกระจายของพรรณพืชแต่ละชนิด percentage) (Gleason, 1920) พืชที่มีการกระจาย ซึ่งมักจะบอกค่าของความถ่ีนี้เป็นร้อยละหรือ ท่ัวเน้ือท่ี โอกาสที่จะปรากฏอยู่ในแปลงควอแดรท เปอร์เซ็นต์ (สมศักดิ์, 2520) ค่าความถ่ีของ ท่ีศึกษาทุกแปลงก็จะมีมาก ค่าความถ่ีก็จะมี พรรณพืชแต่ละชนิดอาจหาได้จากการสุ่ม ค่าสูงเกือบ 100 เปอร์เซ็นต์ (สมศักด์ิ, 2520) ตัวอย่างพรรณพืช โดยใช้แปลงตัวอย่างหรือ ส่วนพืชที่กระจายอยู่เพียงบริเวณพ้ืนท่ีใดพ้ืนท่ี แปลงควอแดรทแล้วบันทึกชนิดพืชต่างๆ ที่ หนึ่งของป่า ถึงแม้จะมีจานวนมากแต่กระจาย ขึน้ อยใู่ นแปลงแต่ละแปลงควอแดรท ความถ่ีมี ไมท่ ่ัวพ้ืนท่ี แสดงวา่ ความถ่ีของพืชชนิดน้ันจะมี ความสัมพันธ์กับจานวนคร้ังท่ีพบชนิดพืชใน ค่าต่า ด้วยเหตุนี้พืชชนิดใดมีค่าความถี่สูงจะ แปลงตัวอย่าง ซ่ึงคา่ ความถี่นี้เป็นการวิเคราะห์ เปน็ พชื ท่มี กี ารกระจายสม่าเสมอท่ัวพนื้ ที่ ในเชิงปริมาณท่ีดาเนินการได้อย่างรวดเร็ว มากกวา่ การนบั จานวนต้นไมแ้ ตล่ ะต้นหรอื การวัด ความเด่นของพรรณพชื ความเด่น (Dominance) ของพรรณพืช ซึ่งความเด่นของพรรณพืชน้ีสามารถบอกได้ใน เป็นคาท่ชี ้ีใหเ้ ห็นวา่ พรรณพืชชนิดนั้นมีอิทธิพล รูปของการปกคลุม หมายถึง เนื้อท่ีของพ้ืนดิน ต่อสังคมพืช ที่มันข้ึนอยู่มากน้อยเพียงใด พรรณพืช ท่ีถูกปกคลุมโดยเรือนยอดหรือส่วนท่ีอยู่เหนือ ท่ีมีความเด่นมากเป็นพรรณพืชที่มีอิทธิพลต่อ พ้ืนดินของพืช มักจะบอกเป็นเปอร์เซ็นต์ของ พื้นที่นั้นมาก กล่าวคือมีอิทธิพลในการบดบัง เนื้อที่ของแปลงควอแดรทและการวัดหรือ แสงสว่างท่ีส่องลงไปถึงพ้ืนดิน มีอิทธิพลต่อ ประมาณการปกคลุมนี้อาจจะวัดโดยตรง สมบัติของดิน เป็นต้น ซึ่ง Shimwell (1971) กล่าวคือทาการบันทึกเน้ือท่ีท่ีปกคลุมลงบน กลา่ ววา่ ความอุดมสมบูรณ์ (Abundance) นั้น กระดาษกราฟแล้วหาเน้ือที่โดยใช้ Planimeter สัมพันธ์กับองค์ประกอบของชนิดพันธุ์พืชและ หรืออาจประมาณการปกคลุมโดยใช้สเกลของ เป็นค่าประมาณจานวนต้นของพืชชนิดหน่ึงๆ Braun-Blanquet หรืออาจจะใช้วิธีการแบบ ต่อแปลงควอแดรทที่มีพืชชนิดนั้นปรากฏอยู่ Line intercept กไ็ ด้พืน้ ทห่ี นา้ ตดั (Basal area) 58
เป็นค่าชี้ถึงความเด่นของพรรณพืชได้ เพราะ มากท่ีสุด และในสภาพซึ่งพันธ์ุไม้ชนิดหนึ่ง พื้นที่หน้าตัดย่อมสัมพันธ์กับขนาดเรือนยอด จากดั การขนึ้ อยู่ของพันธุ์ไม้ชนิดอื่นๆ ด้วยมวล กล่าวคือพรรณพืชท่ีมีพื้นที่หน้าตัดมากก็จะมี ชีวภาพอันมากกว่า และด้วยความสามารถใน ความเด่นมาก ซึ่งการวัดพื้นท่ีหน้าตัดของ การแก่งแย่งที่เหนือกว่าชนิดอื่นๆ เช่นน้ีจัดว่า ตน้ ไมจ้ ะวัดท่ีความสูงเพียงอก ส่วนพวกหญ้าที่ เป็นความเด่นในทางนิเวศวิทยาและสรีรวิทยา เป็นกอจะวัดตรงจุดสูง 2.5 cm จากพ้ืนดิน สาหรบั ความเด่นของพรรณพืชนี้สามารถบอกได้ นอกจากน้ีแล้ว ค่าปริมาตร และน้าหนักแห้ง ในรูปของ Relative dominance ซึ่งเป็น หรือมวลชีวภาพ ของพืชก็เป็นตัวที่ชี้ความเด่น อัตราส่วนระหว่างความเด่นของพรรณพืช ของพรรณพืชได้เช่นกัน (Shimwell, 1971) ชนิดนั้นกับผลรวมของความเด่นของพรรณพืช พรรณพืชเด่น ก็คือพรรณพืชท่ีมีมวลชีวภาพ ทุกชนิดท่ปี รากฏอยู่ ค่าความสาคญั (Importance value, IV) ค่ าความส าคั ญของชนิ ดพรรณไม้ (Curtis, 1959) ซึง่ เปน็ ค่าท่ีใช้แสดงถึงความสาเร็จ (Importance value, IV) เป็นค่าท่ีใช้แสดงถึง ทางนเิ วศวทิ ยาของชนดิ พรรณในการครอบครอง ความสาเรจ็ ทางนิเวศวทิ ยาของพรรณไม้ในการ พ้ืนท่ีนน้ั ๆ พรรณไมช้ นิดใดที่มีค่าความสาคัญสูง ครอบครองพ้ืนท่ีน้ันๆ เป็นการนาเอาลักษณะ แสดงว่าพรรณไม้ชนิดนั้น เป็นไม้เด่นและมีความ เชิงปริมาณของตัวเลข มาบรรยายลักษณะของ สาคัญในพ้ืนท่ีนั้น (สมศักดิ์, 2520; สรายุทธ, 2530; สังคมพืชนั้นๆ ลักษณะเชิงปริมาณ ได้แก่ ความ ดอกรัก, 2538; อุทิศ, 2542; รุ่งสุริยา, 2545; หนาแนน่ (Density) ความบ่อยคร้ังของโอกาส สคาร และพงษ์ศักดิ์, 2546) หรือใช้เปรียบเทียบ ที่จะพบ (Frequency) ความเด่นในสังคมในรูป ระหว่างหมู่ไม้หรือระหว่างสังคมพืช นอกจากน้ี ของพื้นท่ีปกคลุม (Cover dominance) และ ความหนาแน่นและพ้นื ท่ีหนา้ ตัดยังสามารถบ่งบอก ความมากมายของชนิดพรรณ (Abundance) ถึงลักษณะโครงสร้างของสังคมพืชได้เป็นอย่างดี (อุทิศ, 2542) เพ่ือให้เห็นความสาคัญทาง (Marod et al., 1999 ; Boncina, 2000) ดังนั้น นิเวศวิทยาของพรรณไม้แต่ละชนิดในสังคม การศึกษาลักษณะโครงสร้างของสังคมพืชใน จึงรวมลกั ษณะเชงิ ปรมิ าณอย่างน้อยสองลักษณะ เชิงปริมาณจึงจัดได้ว่าเป็นวิธีท่ีดีท่ีสุดวิธีหนึ่ง ของพรรณไม้แต่ละชนิดเข้าด้วยกัน และเพื่อ ในการเปรียบเทียบลักษณะของสังคมพืช เปรียบเทียบความสาคัญของพรรณไม้ในสังคม โดยสามารถเปรียบเทียบได้ทั้งระหว่างชนิดพันธุ์ โดยทาการแปลงลักษณะเชิงปริมาณเป็นค่า และยังสามารถหาความสัมพันธ์ของหมู่ไม้ สัมพัทธ์ (Relative) เช่น ความถี่สัมพัทธ์ กบั ปัจจยั แวดลอ้ มไดอ้ ีกด้วย (Greig–Smith, 1964) (Relative frequency) ความหนาแน่นสัมพัทธ์ การวิเคราะห์ในเชิงปริมาณขององค์ประกอบของ (Relative density) และความเด่นสัมพัทธ์ พรรณไม้ในสังคมพืช ซ่ึงรวมค่าความหนาแน่น (Relative dominance) ผลรวมของค่าทงั้ สามน้ี สัมพัทธ์ ความถี่สัมพัทธ์ และความเด่นสัมพัทธ์ ซ่ึง คือ ค่าความสาคัญ (Importance value, IV) คา่ ความสาคัญของพืชชนิดหนึ่งจะมีค่าตั้งแต่ 0-300 59
การคานวณคา่ ความหลากชนดิ และค่าความสาคัญ 1) การคานวณคา่ ความหลากชนิด มีสตู รในการคานวณดงั น้ี - Simpson’s index D= S ni (ni - 1) N (N – 1) ∑ i=1 โดยที่ D = Simpson’s index ni = จานวนตน้ ของพันธไ์ุ มแ้ ตล่ ะชนดิ N = จานวนต้นไมท้ ้ังหมดในแปลง S = จานวนชนิดพันธท์ุ ้งั หมดในแปลงท่ีศกึ ษา - Shannon-Wiener index S H = - ∑ (Pi log2 Pi) i=1 โดยท่ี H = Shannon-Wiener index Pi = สัดสว่ นระหวา่ งจานวนตน้ ของพันธไ์ุ มช้ นิดหนึ่งต่อจานวนต้นของไม้ท้ังหมด S = จานวนชนิดพนั ธท์ุ ั้งหมดในแปลงทศี่ กึ ษา - Fisher’s index α= S ln (1 + N/α) โดยที่ α = Fisher’s index S = จานวนชนดิ พันธ์ทุ ัง้ หมดในแปลงทศ่ี ึกษา N = จานวนตน้ ไมท้ ง้ั หมดในแปลง 2) การคานวณคา่ ความสาคัญ ค่าความสาคัญ (IV) คือ ผลรวมของค่าความหนาแน่นสัมพัทธ์ (Relative density) ความถี่สัมพัทธ์ (Relative frequency) และความเดน่ สัมพทั ธ์ (Relative dominance) ซึง่ ค่าความสาคัญของพืชชนิดหนึ่งๆ จะมีค่าต้ังแต่ 0-300 โดยมีการคานวณในแตล่ ะสว่ น ดังน้ี ความหนาแน่น เป็นจานวนต้นของพืชชนิดนั้นต่อหน่วยเนื้อที่หรือต่อแปลงย่อย ใช้ในกรณีท่ีทา การนับจานวนต้นจริงๆ ค่าความหนาแน่นท่ีใช้ศึกษา ในที่น้ีเป็นค่าความหนาแน่นสัมพัทธ์ ซ่ึงเป็น อตั ราสว่ นระหว่างจานวนตน้ ของพืชชนดิ นั้นต่อจานวนต้นของพืชทุกชนิดรวมกนั 60
จานวนต้นของพืชชนิดนัน้ ทง้ั หมด Relative density (%) = จานวนตน้ ของพชื ทกุ ชนดิ รวมกนั X 100 ความถี่ เป็นค่าที่ช้ีถึงการกระจายของพืชแต่ละชนิดในเนื้อท่ีนั้น ค่าความถ่ีท่ีใช้ศึกษา ในที่นี้ เป็นค่าความถ่ีสัมพัทธ์ ซ่ึงเป็นอัตราส่วนของค่าความถี่ของพืชชนิดนั้นเม่ือเทียบกับผลรวมของ ค่าความถ่ขี องพชื ทุกชนดิ ทมี่ อี ยู่ ค่าความถ่ีของพืชชนดิ นนั้ X 100 Relative frequency (%) = ผลรวมของค่าความถี่ของพชื ทุกชนิด ความเด่นของพืช เป็นค่าที่ชี้ให้เป็นว่าพืชชนิดนั้นมีอิทธิพลต่อสังคมพืชท่ีมันข้ึนอยู่มากน้อย เพียงใด พืชที่มีความเด่นมากเป็นพืชท่ีมีอิทธิพลต่อที่นั้นมาก ความเด่นของพืช ในท่ีนี้ใช้ค่าความเด่น สมั พัทธ์ ซ่ึงเป็นอัตราส่วนความเดน่ ของพืชชนดิ นน้ั เม่อื เทียบกับพืชทกุ ชนดิ ท่ีมอี ยู่ ผลรวมของพืน้ ทห่ี นา้ ตัดของพชื ชนิดนั้น Relative dominance (%) = ผลรวมของพื้นท่หี น้าตดั ของพืชทกุ ชนิด X 100 ค่าความหลากชนิดและค่าความสาคัญดังกล่าว สามารถคานวณได้จากโปรแกรม ecopack2 ที่พัฒนาโดย สมบูรณ์ (2557) จงึ สามารถคานวณคา่ ตา่ งๆ ได้อยา่ งสะดวกและรวดเร็ว การเกบ็ ขอ้ มลู ภมู อิ ากาศ การเก็บข้อมูลภูมิอากาศในพ้ืนที่แปลงตัวอย่างถาวรมีความสาคัญที่ควรทาควบคู่กับการศึกษา เร่ืองการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ปกติข้อมูลภูมิอากาศท่ีทาการศึกษาจะเน้นข้อมูลปริมาณน้าฝน จานวนวันท่ีฝนตก อุณหภูมิอากาศ และความช้ืนสัมพัทธ์ของอากาศ ที่สามารถทาการศึกษาในพ้ืนท่ีได้ ไมย่ ุง่ ยากมากนัก การตดิ ต้งั สถานเี กบ็ ข้อมูลภมู ิอากาศแบบชั่วคราว จะมีอุปกรณ์ประกอบด้วย ตู้สกรีนที่ภายใน ติดตั้งเทอร์โมมิเตอร์วัดอุณหภูมิอากาศแบบสูงสุด-ต่าสุด (Max-Min Thermometer) เคร่ืองมือ วดั ความชื้นอากาศ (Dry-Wet Bulb Psychrometer) และเคร่ืองบนั ทกึ ขอ้ มูลอุณหภูมิและความชื้น สมั พัทธแ์ บบอตั โนมัติ (Data Logger) รุ่น i Button DS1923 # F5 ท่ีบันทึกข้อมูลทุก 30 นาที และถังวัด ปริมาณน้าฝนตามมาตรฐานของกรมอุตุนิยมวิทยา ท่ีมีปากรองรับน้าฝนขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 8 น้ิว ตาแหน่งท่ีต้ังถังวัดน้าฝน ควรคัดเลือกพ้ืนที่ที่ค่อนข้างโล่ง ไม่มีต้นไม้บดบัง ถ้าหลีกเลี่ยงไม่ได้ อนุญาตให้ติดต้ังได้ในบริเวณที่มีต้นไม้ขนาดเล็กที่มีมุมของเรือนยอดของต้นไม้น้อยกว่า 45 องศา 61
เมื่อวัดจากปากของถังวัดปริมาณน้าฝน เพ่ือป้องกันความคลาดเคล่ือนในการเก็บข้อมูลปริมาณ น้าฝน (ภาพที่ 28) เนื่องจากเวลาฝนตกจะมีแรงลมปะทะทาให้น้าฝนท่ีตกลงมาเอียงทามุมจาก แนวดิง่ ถ้ามีตน้ ไมอ้ ย่ใู กลถ้ งั วัดน้าฝนจะมกี ารบดบงั ทาใหน้ ้าฝนปะทะกับเรือนยอดต้นไม้ก่อนตก ลงมาสู่ถังวัดน้าฝน จะทาใหไ้ ดข้ อ้ มลู ที่คลาดเคลอ่ื น ภาพท่ี 28 การติดตั้งสถานี เก็บข้อมูลภูมิอากาศแบบชั่วคราว แสดงตาแหน่งท่ีตั้งตู้สกรีน และถัง ตรวจวดั น้าฝน ตสู้ กรนี มไี ว้เพื่อเก็บเคร่ืองมือวัดอุณหภูมิ ความช้ืนสัมพัทธ์ Data Logger รวมถึงอุปกรณ์ ตวงวดั น้าฝน จะมีลักษณะเป็นตู้ที่ค่อนข้างโปร่ง มีอากาศถ่ายเทได้สะดวก ไม่ร้อนอบอ้าว เพราะ จะทาให้การเก็บข้อมูลอุณหภูมิและความช้ืนสัมพัทธ์มีข้อผิดพลาดได้ ส่วนมากจะทาสีขาวเพราะ เปน็ สีทไ่ี ม่อมความรอ้ น ขนาดของตสู้ กรีนมดี า้ น กวา้ ง X ยาว X สงู เท่ากันคือ 50 cm ไม้กรอบตู้ มขี นาด 1.5X1.5 นิ้ว ไม้บานเกล็ดขนาด 1.5 น้ิว หนา 1 cm ยาว 42 cm ไม้อัดกันความร้อนใต้ โครงหลังคาขนาด 60X60 cm หลังคากระเบ้ืองลอนคู่หนา 4 mm กว้าง 50 cm ยาว 120 cm จานวน 2 แผน่ ฐานที่ตั้งตทู้ าจากเหลก็ ฉากขนาด 1.5 น้ิว หนา 3 mm ยาว 1.50 m ดังแสดงในภาพท่ี 29 ภาพที่ 29 การติดตั้งตู้สกรีนเพื่อใช้ในการเก็บเครื่องมือวัดอุณหภูมิ ความช้ืนสัมพัทธ์ Data Logger รวมถึงอุปกรณ์ตวงวดั น้าฝน 62
ถังวดั น้าฝนจะทาด้วยอะลูมเิ นยี มหรือสังกะสีก็ได้ ขึ้นอยู่กับงบประมาณที่มี โดยมีขนาด ความสูงจากฐานถึงปากรองรับน้าฝน 60 cm (ภาพที่ 30) ประกอบด้วย 3 ส่วนสาคัญ คือ A) ฐานรองจะมีขนาดสูงรวม 40 cm แต่จะมีส่วนคอดเพื่อใช้สวมปากรองรับน้าฝนอยู่ประมาณ 5 cm ลักษณะของฐานรองจะต้องมีขอบเพ่ือใช้ในการยึดกับแท่นปูนได้ รูปทรงของฐานจะเป็น แบบฐานบานออก หรอื แบบตรงๆ ก็ได้ B) ปากรองรบั น้าฝนมีความยาว 25 cm มี Ø ขนาด 8 น้ิว ด้านในทาเป็นกรวยที่มีก้านยาวประมาณ 30 cm กรวยนี้จะติดตั้งต่าจากปากรองรับน้าฝน ประมาณ 20 cm และ C) ถังรับน้าฝนทซี่ ้อนอยูใ่ น A เพอื่ นาเอานา้ ฝนทอ่ี ยใู่ นถังออกมาตวงวัด เนื่องจากปริมาณน้าฝนจะใช้ถังวัดน้าฝนขนาดปากกว้าง 8 นิ้ว ตามมาตรฐานของ กรมอุตุนิยมวิทยา แต่กระบอกตวงปริมาณน้าฝนท่ีอ่านเปน็ มลิ ลิเมตร (mm) มีราคาแพงและทาด้วย แก้วทาให้การดูแลรักษาลาบาก จึงใช้กระบอกตวงปริมาตรแบบพลาสติกขนาด 250 มิลลิลิตร (ml) ในการตรวจวดั แทน โดยค่าท่อี ่านไดจ้ ะคานวณกลับมาเป็นมิลลิเมตรโดยการใช้ ค่า 32.442 หารคา่ ทีอ่ า่ นได้ โดยมที มี่ าดงั นี้ ขนาดความกว้างของปากถงั นา้ ฝน 8 น้ิว = 8 X 2.54 = 20.32 cm คดิ เปน็ พ้ืนทหี่ นา้ ตดั = (D/2)2 = (22/7) X (20.32/2)2 ฝนตกสูง 1 mm มปี รมิ าตร เน่อื งจาก 1 cm3 = 324.42 cm2 ดงั นัน้ ฝนตกสงู 1 mm จะมปี ริมาตร = 324.42 X 0.1 = 32.442 cm3 = 1 cc = 1 ml = 32.442 ml C BA ภาพที่ 30 ถังวัดน้าฝนที่ใช้ในการเก็บข้อมูล 1) ถังวัดน้าฝนรูปแบบฐานบานออก 2) ถังวัดน้าฝนรูปแบบฐานตรง และ 3) ถังวัดน้าฝนจะประกอบด้วย 3 ส่วนสาคัญ คือ (A) ส่วนของฐานรอง (B) ส่วนของปากรองรับนา้ ฝน (C) ส่วนของถังรองรับน้าฝนภายใน 63
การเก็บข้อมูลน้าฝนในแปลงตัวอย่าง จะไม่เหมาะสมเพราะตาแหน่งท่ีต้ังของสถานี ถาวรจะดาเนินการได้ยาก เน่ืองจากจะถูกบดบัง ส่วนมากจะอยู่ในตัวเมืองซึ่งมีสภาพพ้ืนท่ีและ โดยเรือนยอดของต้นไม้ และจาเป็นต้องบันทึก ส่ิงแวดล้อมแตกต่างกันกับพื้นที่ในป่าธรรมชาติ ขอ้ มลู ทกุ วนั ดังนั้นการตั้งสถานีวัดน้าฝนจะทาใน จากการศึกษาลักษณะของภูมิอากาศในกลุ่มป่า พน้ื ท่โี ล่งของหนว่ ยพิทักษ์ปา่ หรือจดุ สกดั หรือใน แก่งกระจาน ของชิงชัย และวิโรจน์ (2561) หมู่บ้าน ที่อยู่ไม่ไกลจากแปลงตัวอย่างมากนัก จากสถานีเก็บข้อมูลภูมิอากาศแบบชั่วคราว และมีเจ้าหน้าที่อยู่เป็นประจาที่สามารถบันทึก จานวน 20 สถานี จะพบว่าปริมาณน้าฝนท่ีตก ข้อมูลได้ การใช้ข้อมูลภูมิอากาศของสถานี ในพื้นที่ป่าที่อยู่บนภูเขาจะมีปริมาณน้าฝนสูง ตรวจวัดอากาศของกรมอุตนุ ยิ มวทิ ยา ในบางพื้นที่ มากกว่าในพน้ื ทต่ี า่ ดงั แสดงในภาพที่ 31 ภาพที่ 31 แผนท่ีแสดง การกระจายของปริมาณน้าฝนเฉล่ีย ต่อปี เปรียบเทียบกับสภาพภูมิประเทศ ในพ้ื นที่ กลุ่ มป่ าภู เขี ยว -น้ าหนา ว ท้องที่จงั หวัดชยั ภมู ิ และเพชรบูรณ์ (ทมี่ า : ของชิงชัย และวิโรจน์, 2561) เคร่ืองบันทึกข้อมูลอุณหภูมิและ ครุภัณฑ์ เม่ือเครื่องชารุดจะมีปัญหาในการ ความชื้นแบบอัตโนมัติ (Data Logger) ถือว่า เปลี่ยนเครื่องใหม่ แต่แบบที่ 3 จะมีราคาเพียง เป็นเคร่ืองมือท่ีมีความจาเป็นต่อการศึกษา 3,000 กว่าบาท จัดเป็นหมวดพัสดุ เม่ือเครื่อง ทางด้านอุณหภูมิอากาศ และความช้ืนสัมพัทธ์ ชารุดสามารถจัดซ้ือเครื่องใหม่ได้ตามระเบียบ ในพ้ืนที่ป่าธรรมชาติ ซ่ึงในอดีตจะมีราคาแพง ราชการ แต่อย่างไรก็ดี Data Logger ท้ัง 3 แบบ อายุการใช้งานสั้น และไม่สามารถกันน้าได้ ไมส่ ามารถกันนา้ ได้ ตอ้ งตดิ ต้งั ในต้สู กรีนเท่านั้น Data Logger รุ่นแรกๆ ที่ผู้เขียนใช้ศึกษาจะเป็น เม่ือทาการสอบเทียบเคร่ืองมือ (Calibrate) พร้อม เครื่องยี่ห้อ OAKTON RH/TempLog เม่ือปี กันหลายๆ เครื่อง จะพบว่ามีค่าคลาดเคล่ือน พ.ศ. 2547 แสดงในภาพท่ี 32-1 ต่อมาในปี พ.ศ. ในแต่ละเคร่ืองสูงมาก ดังแสดงในภาพท่ี 33 2548 ได้ใช้ยี่ห้อ MicroLog RH/Temp EC650 โดยเฉพาะอย่างยิ่ง Data Logger ท้ัง 3 แบบ (ภาพท่ี 32-2) และในปี พ.ศ. 2550 ใช้เคร่ือง T.RH% จะใช้ถ่ายชนิด Lithium แบบ 3.6 V มีขนาด LOGGER 8835 (ภาพที่ 32-3) Data Logger ของก้อนถ่านเป็นคร่ึงหนึ่งของถ่าน AA ซ่ึงเป็น ใน 2 แบบแรก จะมาพรอ้ มสายดาวนโ์ หลดข้อมูล ถา่ นขนาดพเิ ศษ หาซ้ือยากในร้านสะดวกซื้อทั่วไป มีราคาสูงชุดละหม่ืนกว่าบาท จัดอยู่ในหมวด มขี ายเฉพาะในตัวจังหวัดเท่าน้นั และมรี าคาแพง 64
มีราคาไม่ต่ากว่า 300 บาท ต่อก้อน จึงเป็นข้อจากัดในการเก็บข้อมูลต่อเนื่องเม่ือเกิดกรณีถ่านหมด ดังน้ัน Data Logger ท้ัง 3 แบบ ดังกล่าวจึงไม่เหมาะสมที่นามาใช้ในพื้นที่ป่าธรรมชาติ ส่วน Data Logger แบบที่ 4 เปน็ แบบกระดมุ รนุ่ i Button DS1923 # F5 ไดใ้ ช้ในปี พ.ศ. 2551 (ภาพที่ 32-4) Data Logger แบบนม้ี ีลกั ษณะกลมแบนคลา้ ยถา่ นกระดุมของนาฬิกาหรือเครื่องคอมพิวเตอร์ มีพลังงาน ในตัวขึ้นอยู่กับจานวนคร้ังที่ทาการบันทึกข้อมูล เมื่อพลังงานหมดจะไม่สามารถบันทึกข้อมูลได้ ตอ้ งจาหน่ายท้งิ จากการบนั ทึกข้อมลู ทุก 30 นาที เครือ่ งสามารถบนั ทกึ ขอ้ มูลได้ถึง 3-4 ปี เคร่ืองมี หน่วยความจาสามารถบันทกึ ขอ้ มูลตอ่ เนอื่ งได้ 80 วัน เมือ่ บันทึกข้อมลู ทุก 30 นาที จากน้นั ขอ้ มูลใหม่ จะไปทับข้อมลู เก่า (Roll Over) ถ้าบันทึกขอ้ มลู ทุก 15 นาที จานวนวนั จะลดลงเหลอื 40 วัน ราคาของ เคร่ืองกระดุมประมาณ 4,000 บาท (เมื่อปี 2553) จึงเป็นครุภัณฑ์ต่ากว่าเกณฑ์ ทาให้การจัดซ้ือได้ ง่ายกว่า ส่วนสายดาวน์โหลด Data Logger ตวั แปลงสญั ญาณ USB และพลาสติกรองรับเคร่ืองกระดุม เป็นอุปกรณ์เสริมท่ีต้องซื้อต่างหาก Data Logger แบบนี้จะสามารถกันน้าได้ จึงสามารถนาไป แขวนกบั ตน้ ไมใ้ นแปลงตัวอยา่ งถาวรได้ จงึ เปน็ เคร่อื งมอื ท่ีเหมาะสมนามาใชใ้ นภาคสนาม ภาพท่ี 32 ตัวอย่างของเครื่องบันทึกข้อมูลอัตโนมัติ (Data Logger) ของอุณหภูมิและ ความช้ืนสัมพัทธ์ที่รวมอยู่ในเคร่ืองเดียวกัน 1) OAKTON RH/TempLog 2) MicroLog RH/Temp EC650 3) T.RH% LOGGER 8835 และ 4) i Button DS1923 # F5 พร้อม อปุ กรณส์ ายดาวนโ์ หลด Data Logger ตัวแปลงสัญญาณ USB และพลาสติกรองรับเคร่ืองกระดมุ ภาพท่ี 33 กราฟเส้นการ ทดสอบ Data Logger ของ MicroLog RH/Temp EC650 จานวน 2 เครื่อง ท่ีบันทึกข้อมลู ทกุ 30 นาที ระหว่างวันท่ี 18 ธันวาคม 2549 เวลา 14.30 น. ถึง วันท่ี 20 ธันวาคม 2549 เวลา 12.30 น. 1) ข้อมูลอุณหภูมิอากาศ และ 2) ข้อมูล ความชื้นสัมพทั ธข์ องอากาศ 65
ในการสอบเทียบ (Calibrate) เคร่ือง Data Logger ของ รุ่น i Button DS1923 # F5 ที่ส่ังซื้อมาใหม่จานวน 60 เคร่ือง ร่วมกับรุ่นเก่าท่ีผ่านการใช้งานแล้ว 17 เคร่ือง ระหว่างวันที่ 6 พฤศจิกายน 2557 เวลา 18.00 น. ถึงวันที่ 10 พฤศจิกายน 2557 เวลา 13.00 น. โดยต้ังเวลา การบันทกึ ทุกๆ 30 นาที แสดงในภาพที่ 34 ภาพท่ี 34 การสอบเทียบ Data Logger รุ่น i Button DS1923 # F5 ระหว่าง วันที่ 6 พฤศจิกายน 2557 เวลา 18.00 น. ถึง วนั ท่ี 10 พฤศจกิ ายน 2557 เวลา 13.00 น. เมื่อทาการดาวน์โหลดข้อมูลอุณหภูมิและความช้ืนสัมพัทธ์ ของ Data Logger ชุดใหม่ จานวน 60 เคร่ือง แล้วนามาเขียนกราฟเส้น พบว่าข้อมูลอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธ์ (ภาพท่ี 35) มีแนวโนม้ การเกาะกลุ่มข้ึนและลงอยู่ในกลุ่มเดียวกัน ไม่พบว่ามีเครื่องใดมีค่าแตกต่างกันอย่างเด่นชัด จงึ สามารถนา Data Logger ชดุ ใหม่เหล่านไี้ ปใชบ้ ันทึกข้อมูลในพนื้ ทแี่ ปลงตัวอย่างถาวรตอ่ ไป ภาพที่ 35 กราฟเส้นการ ทดสอบ Data Logger ของ I Button DS1923 # F5 จานวน 60 เคร่ือง ท่ีบันทึกข้อมูลทุก 30 นาที ระหว่าง วนั ที่ 6 พฤศจิกายน 2557 เวลา 18.00 น. ถึงวันท่ี 10 พฤศจิกายน 2557 เวลา 13.00 น. 1) ข้อมูลอุณหภูมิอากาศ และ 2) ขอ้ มูลความช้นื สมั พทั ธข์ องอากาศ ในการติดตั้ง Data Logger รุ่นน้ีในภาคสนาม จะใช้ตะปูขนาด 3 นิ้ว ตอกติดกับต้นไม้ สูงจากพื้นดิน ประมาณ 2 m แล้วใช้ลวดทองแดงผูกกับ Data Logger แขวนกับตะปูท่ีตอก แล้วใช้ ขวดนา้ ดื่มตดั กน้ ใช้เป็นเป็นหลังคาบัง Data Logger ไม่ให้เคร่ืองถูกน้าฝนโดยตรง (ภาพท่ี 36-1) ในประเทศอินโดนีเซีย มีการใช้ Data Logger รุ่นนี้ ในการเก็บข้อมูลภูมิอากาศและความช้ืนสัมพัทธ์ เชน่ เดียวกัน แต่การติดต้ังจะไม่ใช้พลาสติกรองรับเคร่ืองกระดุม แต่จะนากระดุมใส่ลงในที่กรองใบชา แลว้ ตดิ ต้ังกับตน้ ไม้ (ภาพท่ี 36-2) เม่อื ถึงเวลาเกบ็ ข้อมูลจะนากระดุมต่อกบั อปุ กรณ์สายดาวน์โหลดข้อมูล (ภาพท่ี 36-3) แล้วเสยี บตอ่ กับ Notebook Computer เพ่ือทาการดาวน์โหลดข้อมลู ตอ่ ไป (ภาพท่ี 36-4) 66
จากการศึกษาท่ีผ่านมาพบว่า Data มีปัญหาน้อย แต่ในการจัดซื้อในคร้ังท่ี 4 จานวน Logger รุ่นน้ใี นชว่ งต้นๆ ของงานวจิ ยั ในปี 2551 60 เครือ่ ง พบว่าเกือบ 50 % มีอายุการใช้งาน แบบวา่ มีประสิทธภิ าพสงู ในการเก็บขอ้ มูล มอี ายุ ที่สั้นกว่าปกติ คือประมาณ 1-2 ปี เคร่ืองจะชารุด การใช้งานค่อนข้างนานเมื่อเก็บข้อมูลทุกๆ 30 ใช้งานไม่ได้ เมื่อปรึกษากับบริษัทที่ส่ังซ้ือ ทราบว่า นาที สามารถใชง้ านได้ 3-4 ปี จะเหมาะสมและ Data Logger มาจากแหลง่ ผลิตท่ีแตกต่างกันกบั สอดคล้องกับระยะเวลาวิจยั ของโครงการต่างๆ คร้ังแรกๆ จึงแจ้งให้เป็นข้อมูลเพ่ือประกอบการ สามารถเข้าพ้ืนทีด่ าวน์โหลดขอ้ มูลเดอื นเว้นเดอื น พิจารณาในการเลือกใช้ Data Logger ต่อไป แตแ่ นะนาใหด้ าวนโ์ หลดขอ้ มูลทุกเดือน เพื่อป้องกัน แตป่ จั จุบนั Data logger รุน่ นไี้ ดม้ ีการปรับราคา ความผิดพลาดท่ีเกิดข้ึน ข้อมูลจะได้ไม่สูญหาย สูงข้ึนมากกว่า 5,000 บาท จึงจะกลายเป็น เป็นช่วงเวลานานๆ จากนั้นได้ทาการส่ังซื้อ เครื่องมอื ครภุ ัณฑ์ ท่ีต้องทาการต้ังงบประมาณ Data Logger รุ่นนเ้ี พิม่ เติมอีก 3 คร้งั การใชง้ าน ทาใหก้ ารสง่ั ซื้อคอ่ นขา้ งยากกวา่ ในอดีต ภาพที่ 36 การติดตั้งและการดาวน์โหลดข้อมูล ของ Data Logger รุ่น i Button DS1923 # F5 1) การติดตั้ง Data Logger ในพ้ืนท่ีป่าเต็งรัง บ้านนาหว้า จังหวัดอุบลราชธานี 2) การติดตั้ง Data Logger ในประเทศอินโดนีเซีย 3) การนา Data Logger มาติดตั้งกับอุปกรณ์ดาวน์โหลด ข้อมลู และ 4) การใช้ Notebook Computer ทาการดาวน์โหลดข้อมลู ในภาคสนาม 67
การสะสมคารบ์ อนในกลมุ่ ของเศษซากพชื ท่ีตาย (Dead Organic Matter) ก า ร ศึ ก ษ า แ ห ล่ ง ส ะ ส ม ค า ร์ บ อ น คาร์บอนจากแหล่งต่างๆ เช่น ต้นไม้ท้ังขนาดใหญ่ (Carbon Pool) ในกลุ่มของเศษซากพืชที่ตาย กลาง เล็ก ส่วนที่เป็นไม้พื้นล่าง และซากพืช (Dead Organic Matter) จะประกอบด้วย ต้นไม้ (understorey and litter) และส่วนของต้นไม้ ตายรวมถึงไม้ล้มขอนนอนไพร (Dead wood) โค่นล้มลงตามธรรมชาติหรอื โดนไฟไหม้แล้วลม้ ลง และซากพชื ที่รว่ งหลน่ (Litter) ในการประเมิน เป็นวิธีการที่น่าสนใจและทาได้ง่าย โดยกาหนด การสะสมคาร์บอนของแหล่งดังกล่าว มีวิธีการ แปลงตัวอย่างขนาด 20X100 m2 (ภาพที่ 37) ปฏิบัติที่ค่อนข้างหลากหลายในแต่ละประเทศ วัดต้นไม้ทุกต้นที่มีขนาด DBH มากกว่า 30 cm ซ่ึงมีท้ังข้อดีและข้อด้อยท่ีแตกต่างกันไป เช่น และภายในแปลงตัวอย่าง 20X100 m2 ทาการวาง ประเทศอินโดนีเซีย นิยมวางแปลงโดยใช้ แปลงขนาด 5X40 m2เพื่อวัดต้นไม้ที่มีขนาด DBH วิธีการของ Hairiah et al. (2001) ซึ่งวาง ระหว่าง 5-30 cm และวางแปลงย่อยขนาด 1X1 m2 แปลงตัวอย่างแบบ Nested Plot Design ในแปลงขนาด 5X40 m2 จานวน 6 แปลงย่อย เพื่อ เพ่ือใช้ในการสุ่มตัวอย่างในการประมาณธาตุ ศึกษาไมพ้ นื้ ล่างและซากพืชท่ีร่วงหล่นตามพื้นดิน ภาพท่ี 37 แปลงตัวอย่างแบบ Nested Plot Design ในการวัดต้นไม้เพื่อการคานวณ การสะสมธาตคุ าร์บอนในปา่ ธรรมชาติ (ท่มี า: Hairiah et al., 2001) 68
ส่วนในแปลงขนาด 1X1 m2 นี้จะทา ท่ีเป็นพืชสดให้ใช้มีดหรือกรรไกรตัดให้ชิดดิน การแบง่ คร่ึงออกเปน็ 4 สว่ น ขนาด 0.5X0.5 m2 ในกรณีไม้พื้นล่างเป็นพืชล้มลุกเป็นส่วนใหญ่ (ภาพท่ี 38) ซ่ึงในบางพ้ืนท่ีไม้พ้ืนล่างค่อนข้าง เราจะชง่ั นา้ หนักสดท้งั หมดโดยไมแ่ ยกเป็นส่วน หนาแนน่ อาจใชไ้ มไ้ ผท่ ่มี ีขนาดเล็กๆ ยาวประมาณ ของลาต้น ก่ิง และใบ แต่ในบางกรณีมีลูกไม้ 1 m จานวน 6 อัน โดย 4 อันแรก สอดไปตาม จากต้นไม้ใหญ่จานวนมากอาจจาเป็นต้องแยก พื้นดนิ เพื่อทาเป็นกรอบ และสอดไม้ไผ่อีก 2 อัน ออกเป็นส่วนต่างๆ แล้วชั่งน้าหนักสดส่วนต่างๆ เพ่ือแบ่งคร่ึงด้านละ 0.5 m ให้ต้ังฉากกัน ก็จะ จากนั้นจึงสุ่มตัวอย่าง เพ่ือนาไปหาน้าหนัก สะดวกต่อการเก็บตัวอย่าง โดยทาการเก็บ อบแห้งต่อไป ส่วนที่เป็นเศษซากพืชแห้ง ข้อมูลแปลงย่อยท่ีอยู่ตรงข้ามตามแนวทะแยง (Litter) ให้เก็บแยกออกมาชงั่ นา้ หนกั รวม และ คือแปลงย่อยท่ี I และ IV ยกเวน้ II และ III โดยแยก นาตัวอย่างไปอบแห้งเช่นเดียวกัน จากน้ันจึง เกบ็ ตัวอยา่ งเปน็ สองส่วนคือ ส่วนท่ีเป็นไม้พ้ืนล่าง นาไปคานวณต่อหนว่ ยพืน้ ทต่ี ่อไป 0.5 m III IV 0.5 m 0.5 m I II 0.5 m ภาพท่ี 38 แปลงขนาด 1X1 m2 ท่ีแบ่งเป็น 4 แปลงย่อย เพ่ือใช้ในการเก็บข้อมูล ไมพ้ นื้ ลา่ งและซากพชื ทีร่ ่วงหล่นบนพืน้ ดิน (ท่ีมา: Hairiah et al., 2001) ในกรณที ่มี ีต้นไม้ใหญ่ท่ีโค่นล้มลงตามธรรมชาติ หรือโดนไฟไหม้แล้วล้มลงท่ีพบในแปลง ขนาด 5X40 m2 โดยมีขนาดความโตมากกว่า 5 cm และยาวมากกว่า 0.5 m ทาการ วัดขนาด ความโตของต้นไม้ที่อยู่ริมขอบแปลงท้ังสองข้างและวัดความยาว ดังแสดงในภาพท่ี 39 ส่วน มวลชวี ภาพใหค้ านวณจากสูตรนี้ Ws = D2 * L * / 40 ----------------- Hairiah et al. (2001) โดยที่ Ws = มวลชวี ภาพของลาต้น (kg) D = ขนาดความโตเฉล่ียด้านโคนและปลาย (cm) L = ความยาวของลาตน้ ที่อยใู่ นแปลงตัวอย่าง (m) = ความหนาแน่นของเนอ้ื ไม้ (Basic Wood Density) (g/cm3) 69
ภาพที่ 39 การวัดต้นไม้ใหญ่ ที่โค่นล้มลงตามธรรมชาติ หรือถูก ไฟไหม้แล้วล้มลงท่ีพบในแปลงขนาด 5X40 m2 (ท่ีมา: Hairiah et al., 2001) IPCC (2006) ได้ให้คาจากัดความของ ความหนาแน่นของเน้ือไม้ (Basic Wood Density) คือ สัดส่วนระหว่าง มวลชีวภาพอบแห้ง และ ปริมาตรสดของลาต้นไม่รวมเปลือก มีหน่วยเป็น g/cm3 หรือ t/m3 มีรูปสมการ ดงั น้ี ρ = M/V โดยที่ ρ = ความหนาแนน่ ของเนือ้ ไม้ (Basic Wood Density) (g/cm3) M = มวลชวี ภาพของลาตน้ (g) V = ปริมาตรสดของลาต้นไม่รวมเปลอื ก (cm3) หลกั การของอารค์ ิมดิ สี อาร์คิมิดีส (Archimedes) เป็นชาวกรีก มีชีวิตอยู่ในช่วง 287-212 ปี ก่อนคริสตกาล หลังยุคของ เธลีส และปิทากอรัส เป็นนักคณิตศาสตร์ นักดาราศาสตร์ นักปรัชญา นักฟิสิกส์ และวิศวกร เขาก็ได้รับการยกย่องว่าเป็นหนึ่งในบรรดานักวิทยาศาสตร์ช้ันนาในสมัยคลาสสิก ความก้าวหน้าในงานด้านฟิสิกส์ของเขาเป็นรากฐานให้แก่วิชาสถิตยศาสตร์ของไหล , สถิตยศาสตร์ และการอธิบายหลักการเกี่ยวกับคาน เขาได้ช่ือว่าเป็นผู้คิดค้นนวัตกรรม เครือ่ งจกั รกลหลายชน้ิ ซึง่ รวมไปถึงปัม๊ เกลียว (screw pump) ซึ่งได้ตั้งชื่อตามชอื่ ของเขาด้วย เรื่องเล่าที่รู้จักกันแพร่หลายที่สุดเก่ียวกับอาร์คิมิดีส คือการท่ีเขาค้นพบกลวิธีในการหา ปริมาตรของวัตถุซงึ่ มรี ูปรา่ งแปลกๆ ตามบันทึกของวิทรเู วียส เลา่ ว่า วดั แห่งหน่ึงสร้างมงกุฎถวาย แด่พระเจ้าเฮียโรท่ี 2 โดยพระองค์ทรงจัดหาทองคาบริสุทธิ์ให้ อาร์คิมิดีสถูกร้องขอให้ช่วย ตรวจสอบว่ามีการฉ้อโกงโดยผสมเงินลงไปด้วยหรือไม่ การตรวจสอบจะต้องไม่ทาให้มงกุฎ เสยี หาย ดังน้ันเขาจะหลอมมันให้เป็นรูปทรงปกติเพ่ือคานวณหาค่าความหนาแน่นไม่ได้ วันหนึ่ง ขณะอาบนา้ เขาสงั เกตวา่ ระดับน้าในอ่างเพิ่มสงู ข้ึนขณะเขากา้ วลงไป จงึ คิดไดว้ ่าวธิ ีการนี้สามารถ ใช้ในการหาปริมาตรของมงกุฎได้ เพราะตามปกติแล้ว น้าไม่สามารถถูกบีบอัดได้ ดังนั้นมงกุฎท่ี 70
จุ่มลงไปในน้าย่อมต้องแทนที่ด้วยปริมาตรของน้าที่เท่ากับปริมาตรของมงกุฎนั่นเอง เมื่อนา ปริมาตรมาหารด้วยมวลของมงกุฎ ก็สามารถหาค่าความหนาแน่นของมงกุฎได้ ถ้ามีการผสม โลหะราคาถูกอ่นื เข้าไป ค่าความหนาแน่นนี้จะต่ากว่าค่าความหนาแน่นของทองคา อาร์คิมิดีสวิ่ง ออกไปยังท้องถนนทั้งท่ียังแก้ผ้า ด้วยความตื่นเต้นจากการค้นพบครั้งน้ีจนลืมแต่งตัว แล้วร้อง ตะโกนว่า \"ยเู รกา้ !\" (แปลวา่ ฉันพบแล้ว) การทดสอบจัดทาข้ึนอย่างประสบผลสาเร็จ และพิสูจน์ ได้วา่ มีการผสมเงนิ เข้าไปในมงกุฎจรงิ ๆ เร่ืองของมงกุฎทองคาไม่ปรากฏอยู่ใน เปรียบเทียบความหนาแน่นของมงกุฎทองคา ผลงานของอาร์คิมิดีสที่รู้จักกัน ย่ิงกว่าน้ัน กับทองคาแท่ง โดยการถ่วงมงกุฎทองคากับ กลวิธีที่บรรยายเอาไว้ยังทาให้เกิดความสงสัย ทองคาที่ใช้อ้างอิง จากนั้นจุ่มอุปกรณ์ท้ังหมด เกี่ยวกับความแม่นยาอย่างย่ิงยวดในการ ลงในน้า ถ้ามงกุฎมีความหนาแน่นน้อยกว่า ตรวจวัดค่าของการแทนที่ของน้า บางที ทองคาแท่ง มงกุฎจะแทนที่น้าด้วยปริมาตรท่ี อ า ร์ คิ มิ ดี ส อ า จ จ ะ ค้ น ห า วิ ธี ก า ร ป ร ะ ยุ ก ต์ มากกว่า ทาให้มีแรงลอยตัวมากกว่าทองคา หลักการท่ีรู้จักกันในสถิตยศาสตร์ของไหล อ้างอิง แรงลอยตัวท่แี ตกตา่ งกนั จะทาให้เคร่ือง ว่าด้วยเร่ืองหลักการของอาร์คิมิดีส ซ่ึงเขา ถ่วงไม่สมดุล ดังแสดงในภาพที่ 40 กาลิเลโอ บรรยายไว้ในตาราเรื่อง On Floating Bodies เห็นว่าวิธีการน้ี อาจเป็นวิธีการเดียวกันกับท่ี หลักการน้ีบอกว่า วัตถุท่ีจุ่มลงในของไหลจะมี อาร์คิมิดีสใช้ เนื่องจากมีความแม่นยาสูง จึง แรงลอยตัวเท่ากับน้าหนักของของไหลที่มัน อาจเปน็ วิธที ดลองท่อี ารค์ ิมิดีสค้นพบด้วยตนเอง เข้าไปแทนท่ี ด้วยหลักการน้ี จึงเป็นไปได้ที่จะ (ท่ีมา : https://th.wikipedia.org/อารค์ ิมิดีส) จากหลักการของอารค์ มิ ดิ สี ดังกล่าว จึงนามาประยุกตใ์ ช้กับการคานวณมวลชีวภาพของ ไมต้ ายด้วยวิธี การคานวณความหนาแนน่ ของเนื้อไม้ (Basic Wood Density) โดยวิธีการแทนท่นี ้า ภาพที่ 40 แสดงการใช้ หลกั การของอาร์คิมิดีส เพ่ือเปรียบเทียบ ความหนาแน่นของมงกุฎทองคากับ ทองคาแท่ง โดยการถ่วงมงกุฎทองคา กับทองคาที่ใช้อ้างอิง จากน้ันจุ่มอุปกรณ์ ทั้งหมดลงในน้า ถ้ามงกุฎมีความหนาแน่น น้อยกว่าทองคาแท่ง มงกุฎจะแทนท่ี นา้ ด้วยปริมาตรที่มากกว่า ทาให้มีแรง ลอยตัวมากกว่าทองคาอ้างองิ 71
การศกึ ษาไม้ลม้ ขอนนอนไพร จากรูปแบบการวางแปลงเพ่ือศึกษาการ ตน้ ไม้มากกว่า 40 m จะทาการวางแปลงขนาด ส ะส มคาร์ บอน ใน พ้ื น ท่ี ป่ าธ ร ร ม ช าติ ภ าย ใ ต้ 50X50 m2 เพือ่ ให้สอดคลอ้ งกบั หลกั การทางดา้ น “กิจกรรมสารวจ ศึกษา และประเมินการ ระบบนิเวศป่าไม้ เพราะในสังคมพืชจะมีการ เปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศและการกักเก็บ แก่งแย่งกันเองภายในหมู่ไม้ การกาหนดขนาด คาร์บอนในพื้นที่ป่าไม้” ของกรมอุทยานแห่งชาติ แปลงที่แตกต่างกันโดยใช้ความสูงของต้นไม้ สัตว์ป่า และพันธ์ุพืช ปีงบประมาณ 2557-2561 เปน็ เกณฑ์ มีเปา้ หมายเพ่อื ลดคา่ ความคลาดเคลื่อน ได้กาหนดรูปแบบเป็น Stratified Sampling ในพน้ื ที่ ดังน้ันการศึกษา Carbon Pool ในกลุ่ม โดยมขี นาดของแปลงตัวอย่างถาวร 40X40 m2 เศษซากพืชท่ีตาย จึงดาเนินการภายในแปลง ยกเว้นต้นไม้ในแปลงตัวอย่างน้ันมีความสูงของ ตัวอย่างถาวร ดังกล่าว ในแหล่งของไมล้ ม้ ขอนนอนไพร จะรวมถึงตอไมต้ าย และไม้ยืนต้นตายในแปลงตัวอย่างถาวรด้วย การประเมนิ คาร์บอนของไม้ลม้ ขอนนอนไพรและตอไม้ จะใชว้ ธิ ีการเดยี วกนั คือทาการวัดปริมาตร แล้วเก็บช้ินไม้ตัวอย่างเพ่ือหาค่าความหนาแน่นของเนื้อไม้ จากนั้นจึงนาไปคานวณเป็นมวลชีวภาพ ส่วนไม้ยืนต้นตายจะมีการเก็บข้อมูลแตกต่างกัน โดยไม้ยืนต้นตายจะคานวณมวลชีวภาพจาก สมการแอลโลเมตริก แล้วทาการปรับลดปรมิ าณของส่วนต่างๆ ให้มีความเหมาะสมตามสภาพท่พี บเหน็ 72
การจัดเตรียมเครือ่ งมือและอุปกรณ์ในการศกึ ษาไมล้ ้มขอนนอนไพร การศึกษาไม้ล้มขอนนอนไพร จาเป็นต้องใช้เคร่ืองมือและอุปกรณ์ต่างๆ จานวนมาก บางอปุ กรณ์ก็ใช้ร่วมกับชุดเครื่องมือการวางแปลง การวัดต้นไม้ และการศึกษามวลชีวภาพ แต่มี บางอุปกรณ์ท่ีจาเปน็ ต้องใชเ้ ปน็ การเฉพาะ ดงั แสดงในตารางที่ 11 ตารางท่ี 11 รายการเครื่องมอื และอุปกรณท์ ่มี ีความจาเปน็ ตอ้ งใช้ในการปฏิบตั งิ านเก็บข้อมลู ไมต้ าย อันดบั รายการ จานวน 1 เคร่อื งชัง่ Digital 500 g พรอ้ มถา่ นไฟฉาย 1 ชดุ 2 Vertex 1 ชุด 3 Diameter Tape 1 เส้น 4 Caliper 1 อัน 5 Measuring Tape 1 เส้น 6 เลอื่ ยคันธนู 1 อัน 7 ขวาน 2 เล่ม 8 ส่ิวตอกไม้ ขนาด 1 นวิ้ หรือ 1.5 น้วิ 1 อัน 9 ค้อนใหญส่ าหรบั ตอกสิว่ 1 อนั 10 มดี ดาบคมๆ สาหรับปรับแตง่ ตวั อย่างชนิ้ ไม้ 2 เล่ม 11 ถงุ พลาสตกิ ใสขนาด 5X8 นว้ิ 1 แพ็ค 12 หนงั ยางวงสาหรบั รัดถงุ พลาสตกิ 1 หอ่ 13 เข็มขนาดยาว 3 น้วิ สาหรับกดช้นิ ไมต้ ัวอย่าง 2 เล่ม 14 ลงั พลาสตกิ สาหรบั ใส่ถุงตวั อย่าง 1 ลงั 15 กระดาษหนงั สือพมิ พห์ อ่ ตัวอยา่ ง 1 ปกึ 16 ทเ่ี ยบ็ กระดาษพร้อมลกู 1 ชุด 17 ปากกาเคมี 2 ดา้ ม 18 กระดาษบันทึกขอ้ มลู 1 ชุด 19 กระดานรองเขียน 1 อัน 20 ชดุ เครอ่ื งเขียน 1 ชุด 73
การเก็บข้อมูลไมล้ ม้ ขอนนอนไพร ในการเก็บข้อมูลไม้ล้มขอนนอนไพร กว่าความเป็นจริง ตาแหน่งของไม้ล้มขอน รวมถึงตอไมข้ นาดใหญ่ มีเป้าหมายเพ่ือคานวณหา นอนไพรและตอไม้ขนาดใหญ่ ที่ทาการเก็บ ปริมาตรของลาต้นและเก็บช้ินไม้ตัวอย่างเพื่อ ข้อมูล จะอยู่ภายในแปลงตัวอย่าง 40X40 นาไปคานวณหาความหนาแน่นของเนื้อไม้ ดังน้ัน หรือ 50X50 m2 เท่านั้น ส่วนท่ีอยู่นอกแปลง การวัดปริมาตรลาต้นของไม้ล้มขอนนอนไพร ตัวอย่างจะไม่ทาการเก็บข้อมูลไม่ว่าโคนต้นจะ จะวัดขนาด Ø ที่โคนและปลาย พร้อมกับวัด อยู่ในหรือนอกแปลง ถ้าต้นล้มแล้วอยู่ภายใน ความยาวของท่อนไม้ กรณีต้นไม้ท่ีล้ม มีลาต้นตรง แนวแปลงตัวอย่าง ต้องทาการเก็บข้อมูล การวัดความยาวจะง่าย ส่วนลาต้นท่ีคดงอจะทา โดยเลือกเฉพาะไม้ล้มท่ีปลายท่อนมีขนาด Ø การวัดความยาวไปตามลาต้นที่คดงอ ไม่ควรดึง มากกว่า 10 cm (IPCC, 2006) และมีความ เทปหัวและท้ายให้ตึงเพราะจะได้ความยาวน้อย ยาวมากกวา่ 1 m (ภาพท่ี 41) ภาพที่ 41 ภาพจาลองการเก็บข้อมูลไม้ล้มขอนนอนไพรและตอไม้ขนาดใหญ่ 1) ท่อนไม้ ขนาดใหญ่ท่ีอยู่ในแปลงทาการวัด Ø หัว-ท้าย และความยาว 2) เศษไม้ก่ิงไม้ท่ีมีขนาด Ø < 10 cm ไม่เก็บข้อมูล 3) เศษไม้ขนาดใหญ่แต่มีความยาว < 1 m ไม่เก็บข้อมูล 4) ต้นไม้ล้มออกนอกแปลง ทาการวัด Ø ท่ีโคนต้นและส่วนปลายท่ีพาดกับแนวขอบแปลง พร้อมวัดความยาว ส่วนที่อยู่นอกแปลง ไม่เก็บข้อมลู 5) ตน้ ไม้นอกแปลงลม้ เขา้ มาในแปลง เกบ็ ข้อมลู เฉพาะสว่ นท่ี Ø > 10 cm พร้อมวัดความยาว 6) ต้นไม้ล้มอยู่ในแปลงประกอบด้วยลาต้นขนาดใหญ่และแตกกิ่งขนาดที่เล็กกว่า ต้องแบ่งการวัด ออกเป็น 2 แบบ คอื แบบ A คอื สว่ นของลาต้นขนาดใหญ่และตรงวัดแบบเดียวกับ (1) และแบบ B ส่วน ของกิ่งท่ีมีขนาดเล็กและโค้งงอ จะวัด Ø > 10 cm และความยาววัดโค้งไปตามแนวลาต้นหรือ กง่ิ ขนาดใหญ่ 7) ตอไมข้ นาดใหญม่ คี วามสูงของตอไม่มากจะทาการวัด Ø ตรง ½ ของความสูงของตอ และ 8) ตอไมใ้ หญ่ทม่ี คี วามสงู มากใหท้ าการวดั ทตี่ าแหนง่ DBH พร้อมความสงู 74
ไม้ล้มขอนนอนไพรในพ้ืนที่ป่าธรรมชาติบางพ้ืนท่ีจะมีเป็นจานวนมากและมีขนาดใหญ่ บางพนื้ ที่ก็มจี านวนน้อย หรือมีชาวบ้านนาเอาเศษไม้เหล่าน้ันไปใช้ประโยชน์ การวัด Ø ของไม้ล้มขอน นอนไพรบางต้นสามารถใช้เทปวดั ในการเก็บข้อมูลได้ บางต้นไม่สามารถสอดเทปวัดได้เน่ืองจาก ลาตน้ จมดนิ และมีน้าหนกั มาก การวดั ดว้ ย Caliper จะมีความสะดวกและรวดเรว็ มากกวา่ (ภาพท่ี 42) ภาพท่ี 42 การวัดขนาด Ø และความยาวของไม้ล้มขอนนอนไพร เพื่อใช้คานวณการ สะสมคาร์บอนในกลุ่มไม้ตาย 1) การวัดลาต้นด้วยเทปวัด 2) ไม้ล้มขนาดใหญ่ที่จมดินการใช้เทปวัด จะไม่สะดวก 3) การวัดลาตน้ ดว้ ย Caliper และ 4) การวดั ความยาวไปตามลาตน้ ท่โี คง้ งอ ในกรณีที่เป็นตอไม้ตายขนาดใหญ่และมีความสูงตอน้อยกว่า 1.30 m จะวัดความสูงของตอ และขนาด Ø ท่ีตาแหน่งประมาณ ½ ของความสูงของตอน้ัน ส่วนความสูงของตอประมาณ 3-4 m จะวัดท่ีตาแหน่ง DBH และความสูงของตอน้ัน ตามปกติข้อมูลของตอไม้ตายเหล่าน้ีจะถูกเก็บข้อมูล ด้านตาแหนง่ ความสูง และ ขนาด Ø ไปพร้อมกับการเก็บขอ้ มลู ตน้ ไม้อน่ื ๆ ในกรณีท่ีไม้ล้มขอนนอนไพร ท่ีมีลักษณะผุพัง และเปื่อยยุ่ยมาก จะไม่เก็บข้อมูลต้นนั้น ส่วนในกรณีมีโพรงขนาดใหญ่แต่ยังมีเน้ือไม้ แข็งอยู่รอบๆ ภายนอก จาเป็นต้องคานวณปริมาตรของลาต้นทั้งหมดและหักส่วนของปริมาตรของ ชอ่ งวา่ งออกไป ดงั แสดงในภาพที่ 43 75
ภาพที่ 43 ไม้ล้มขอนนอนไพรของไม้ยางนา ณ วนอุทยานนครไชยบวร ตาบลท่าเสา อาเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร 1) ลักษณะของไม้ยางนาที่มีลักษณะผุพัง และเป่ือยยุ่ยมาก และ 2) ลกั ษณะของไมย้ างนาที่เป็นโพรง การเก็บชน้ิ ไมต้ วั อยา่ งของไมล้ ม้ ขอนนอนไพร การเก็บชิ้นไม้ตัวอย่างของไม้ล้มขอนนอนไพร รวมถึงตอไม้ เพ่ือนามาหาความหนาแน่นของ เนื้อไม้นั้น บางครั้งจะพบต้นไม้ท่ีล้มลงมา มีการแตกหักเป็นท่อนๆ แต่ละท่อนอาจมีความหนาแน่นท่ี ไมเ่ ท่ากัน เปน็ ผลมาจาก อัตราการผพุ งั ของแตล่ ะท่อนท่ีได้รับจากสภาพส่ิงแวดล้อมที่แตกต่างกัน การมีขนาดท่ีแตกต่างกัน รวมถึงระยะเวลาท่ีต้นไม้ล้มมีความแตกต่างกัน ดังนั้นการเก็บตัวอย่าง ของชิ้นไม้ในแต่ละท่อนควรเก็บมาไม่น้อยกว่า 3 ชิ้น/ท่อน โดยเลือกตรงบริเวณโคน กลาง และปลาย ยกเว้นท่อนท่ีมีความผุพังและเป่ือยยุ่ยมากจะไม่ทาการเก็บข้อมูล เพราะคานวณปริมาตรและ ความหนาแน่นของเน้อื ไมย้ ากลาบากหรือทาไม่ได้ ขน้ั ตอนการเก็บชน้ิ ไมต้ วั อยา่ งมีดังนี้ 1. เลือกตาแหน่งท่ีจะเก็บช้ินไม้ตัวอย่าง จากน้ันทาความสะอาดบริเวณนั้น โดยใช้มีดฟันใน สว่ นของเปลือกและลาต้นภายนอกที่ถกู ไฟไหม้หรือผุพังออกใหล้ กึ ถึงเน้ือไมแ้ ข็ง 2. ใชเ้ ลือ่ ยคันธนเู ลอ่ื ยแนวแรกใหล้ ึกเข้าไปในเน้ือไมล้ ึกประมาณ 3-5 cm จากน้ันเล่ือยแนวท่ีสองให้ ขนานกบั แนวแรกและใหม้ รี ะยะหา่ งประมาณ 3-5 cm ความลึกเท่ากบั แนวแรก หลังจากนน้ั ใช้ส่วิ ตอกเอาชน้ิ เนือ้ ไม้ออกมา ในกรณที ่ีมีเนื้อไม้แข็งมากจาเป็นต้องใช้ขวานทบุ ดงั แสดงในภาพที่ 44 3. เม่ือได้ช้ินไม้ตัวอย่างจากแปลงตัวอย่างถาวรแล้ว ให้นาใส่ถุงพลาสติกพร้อมลงหมายเลข ประจาต้น และตาแหนง่ ของโคน กลาง ปลาย ทเ่ี กบ็ ข้อมูล 4. นาชิ้นไม้ตัวอย่างมาปรับแต่งด้วยมีดให้เป็นรูปเหล่ียมตามความเหมาะสม ไม่ควรใหญ่หรือเล็ก เกนิ ไป เพราะถ้าใหญเ่ กินไปการนาไปอบจะแห้งช้า รวมถึงน้าหนักช้ินไม้เม่ือรวมกับน้าหนักของ น้าอาจจะเกินเครอื่ งช่ังน้าหนักได้ และถ้าเล็กเกินไปการการช่ังน้าหนักจะมีความคลาดเคล่ือนสูง ดังนั้นรูปทรงท่ีเหมาะสมควรประมาณใกล้เคียงกับถ่านก้อนเหล่ียมขนาด 9 V ดังแสดงในภาพที่ 45 76
ภาพที่ 44 การเก็บช้ินไม้ตัวอย่างจากต้นไม้ตาย ในพ้ืนท่ีป่าเต็งรัง อุทยานแห่งชาติ ดอยอินทนนท์ อาเภอจอมทอง จังหวัดเชยี งใหม่ ภาพที่ 45 การปรับแต่งช้ินไม้ตัวอย่างของไม้ล้มขอนนอนไพรให้มีขนาดท่ีเหมาะสม เพื่อนาไปหาค่าความหนาแน่นของเนื้อไม้ 77
การหาความหนาแน่นของเนอ้ื ไม้จากชิ้นไม้ตัวอยา่ ง การหาความหนาแนน่ ของเนอ้ื ไม้จากชิ้นไมต้ ัวอย่าง ท่ีเก็บรวบรวมมาจากแปลงตวั อย่างถาวร จะใช้วิธีการหาปริมาตรของช้ินไม้ตัวอย่าง ด้วยวิธีการแทนท่ีน้าของช้ินไม้ตัวอย่างตามหลักการ ของอาร์คมิ ิดีส มวี ธิ ีการดังน้ี 1. ให้นาชิ้นไม้ตัวอย่างท่ีเตรียมไว้มาพรมด้วยน้า ให้น้าซึมลงในช้ินไม้ หรือจุ่มลงในน้า ให้เปียกประมาณ 20-30 นาที เพื่อให้น้าแทรกเข้าไปในช่องว่างของชิ้นไม้อย่างทั่วถึง ก่อนทา การชั่งนา้ หนกั โดยวิธีการแทนที่น้า ทาการซับน้าส่วนเกินของช้ินไม้ออกไปด้วยผ้าหรือสาลี หรือ วางลงกระดาษหนังสือพิมพ์ ดังแสดงในภาพท่ี 46 ไม่ควรใช้กระดาษทิชชู่แบบยุ่ยง่ายซับเพราะ อาจมีขุ่ยกระดาษติดกับชิ้นไม้ได้ ไม่ควรนาชิ้นไม้ท่ีแห้งนาลงแทนที่ในน้าทันทีเพราะจะได้ข้อมูล ผิดพลาด เนอ่ื งจากนา้ ในถ้วยที่อยูบ่ นเครือ่ งชง่ั จะสูญหายเข้าไปในชนิ้ ไม้ที่แห้ง ภาพที่ 46 การทาชิ้นไม้ ตัวอย่างให้เปียก แล้วซับน้าส่วนเกิน ออกไป ก่อนนาช้ินไม้ไปหาปริมาตร ดว้ ยวธิ กี ารแทนท่นี ้า 2. ใช้เคร่ืองชั่งท่ีสามารถต้ังค่าเป็นศูนย์ได้ จากน้ันนาถ้วยบีกเกอร์หรือถ้วยพลาสติกท่ีใส่ น้าประมาณ ¾ ถว้ ย แล้วนาไปวางบนเครื่องชั่งแล้วต้ังค่าเป็นศูนย์ จากน้ันใช้เข็มเล่มยาวประมาณ 3 นวิ้ เสียบกับชิ้นไม้ท่เี ตรยี มจากข้อ 1 แล้วนาไปกดลงในถ้วยพลาสติกที่บรรจุน้า ให้ชิ้นไม้จมลึก ลงใต้น้า ไม่ให้ส่วนใดของชิ้นไม้โผล่พ้นเหนือน้า และไม่ให้ช้ินไม้สัมผัสกับส่วนใดส่วนหน่ึงของ ถว้ ยพลาสตกิ ดงั แสดงในภาพท่ี 47 แล้วจดน้าหนักที่อ่านได้ลงในตารางบันทึกข้อมูล ดังแสดงใน ตารางที่ 12 จากนั้นทาการชั่งช้ินไม้นั้นใหม่รวมทั้งหมด 3 ครั้ง ทุกคร้ัง ต้องนาชิ้นไม้ตัวอย่าง ออกมาซับน้าสว่ นเกนิ ออกก่อนเสมอ พรอ้ มกับตง้ั ค่าเคร่ืองชั่งเป็นศนู ย์ใหม่ทกุ คร้งั 78
79 ตารางที่ 12 ตวั อย่างตารางเก็บขอ้ มลู ไม้ลม้ ขอนนอนไพรและตอไม้ ในแปลงตัวอยา่ งถาวรของพ้นื ทปี่ า่ เต็งรัง บ้านนาหว้า อาเภอโพธิ์ไทร จังหวัดอุบลราชธานี แสดงการบนั ทึกขอ้ มลู การชง่ั ชนิ้ ไม้ตัวอยา่ งในน้า การชง่ั นา้ หนักแห้ง ขนาดของเส้นผ่านศูนย์กลาง และความยาวของท่อนไม้ล้มขอนนอนไพร เพื่อคานวณหา มวลชีวภาพ หมายเหตุ : ชอ่ งทไ่ี มม่ แี ถบสี เปน็ ช่องที่ต้องใส่ข้อมูลภาคสนามลงไป โดยกาหนดให้ไม้แต่ละท่อนจะเก็บช้ินไม้ตัวอย่างจานวน 3 ช้ิน แต่ละชิ้นจะทาการหาปริมาตร ด้วยวิธกี ารแทนทนี่ ้า จานวน 3 ครง้ั ต่อช้นิ ในกรณีของ ตน้ ที่ 38 จะมี 2 ท่อน โดย 38/1 จะเป็นส่วนของตอเก็บตัวอย่าง 1 ช้ิน ส่วนของ 38/2 เป็นส่วนของท่อนไม้ เก็บตวั อยา่ ง 2 ช้ิน
ภาพท่ี 47 การหาปริมาตร ของช้ินไม้ตัวอย่าง ด้วยวิธีการแทนที่น้า โดยอ่านค่าน้าหนักที่เพิ่มข้ึนภายหลัง การกดช้ินไมต้ ัวอย่างให้จมน้ามิด 3. นาช้นิ ไม้ตัวอยา่ ง จากขอ้ 2 ใสถ่ ุงกระดาษ แลว้ นาไปอบในตู้อบท่อี ุณหภูมิ 105O C เป็นเวลา 48 ชั่วโมง หรือจนกว่าน้าหนักจะคงที่ จากน้ันจึงนาช้ินไม้ตัวอย่าง ดังกล่าวมาชั่งหาน้าหนักแห้ง ดงั แสดงในภาพที่ 48 พรอ้ มกบั บนั ทกึ คา่ ท่ีได้ ภาพท่ี 48 การชง่ั นา้ หนกั ชน้ิ ไม้ตัวอย่างที่ผ่านการอบแห้งเป็นท่ีเรียบร้อยแล้ว เพ่ือนาไป คานวณหาความหนาแน่นของเนอื้ ไมจ้ ากปริมาตรทชี่ ่งั ได้จากวิธกี ารแทนที่น้า 4. หลักการในการคานวณความหนาแน่น (Basic Wood Density ) คือ อัตราส่วนของ มวลต่อปริมาตร เมื่อปริมาตรของน้าบริสุทธิ์ 1 cm3 หรือ 1 cc หรือ 1 ml ท่ีอุณหภูมิ 4O C จะมนี ้าหนัก 1 g ดงั น้ันเม่อื นาชน้ิ ไม้เข้ามาแทนท่ีของน้า น้าหนักที่เพ่ิมขึ้นและอ่านได้ในตาช่ังจะ เป็นค่าของปริมาตรของชิ้นไม้ (Volume) มีหน่วยเป็น cm3 และชิ้นไม้เดียวกันหลังจากอบแห้ง แล้วนาไปช่ังก็จะได้มวล (Mass) มีหน่วยเป็น g ดังนั้นความหนาแน่น (Density) จึงมีหน่วยเป็น g/cm3 หรือ t/m3 เมื่อเราทราบค่าของความหนาแน่นเฉลี่ยของช้ินไม้น้ัน เมื่อนามาคูณกับ ปริมาตรของต้นไม้ตายที่อยู่ในแปลงโดยวัด Ø โคน-ปลาย ที่มีหน่วยเป็น cm และความยาวที่มี หน่วยเป็น m เม่ือนาไปคานวณหามวลชีวภาพของลาต้นตามสูตรของ Hairiah et al. (2001) เราก็จะได้มวลชีวภาพของท่อนน้ันๆ มีหน่วยเป็น kg (ตารางที่ 12) เมื่อนามาคานวณต่อหน่วย พ้นื ที่ กจ็ ะได้ Carbon pool ในสว่ นของไม้ล้มขอนนอนไพรและตอไมข้ นาดใหญ่ 80
การศกึ ษาไม้ยนื ต้นตาย ในการประเมินคาร์บอนของต้นไม้ที่ยืนต้นตาย จะคานวณจากมวลชีวภาพท่ีใช้สมการ แอลโลเมตริกในการคานวณ แล้วทาการปรับลดปริมาณในส่วนของใบ ก่ิง และลาต้น ลงตาม ความเหมาะสม เนื่องจากต้นไม้ท่ียืนต้นตายในป่าธรรมชาติมีหลากหลายรูปแบบ จาเป็นต้องมี ความรู้ความชานาญจึงจะสามารถประเมินคาร์บอนของไม้ในกลุ่มน้ีให้มีความคลาดเคล่ือนน้อย การกาหนดรปู แบบของต้นไมต้ ายสามารถจาแนกออกเปน็ 4 กลุ่มใหญ่ๆ คล้ายการศึกษาการตายของ ไมย้ างนา ณ วนอทุ ยานนครไชยบวร อาเภอโพทะเล จงั หวัดพจิ ิตร (ชงิ ชัย และคณะ, 2559) ดงั ตอ่ ไปนี้ กลุ่มท่ี 1 เปน็ กลมุ่ ของต้นไมท้ ่ยี ืนตน้ ตายยังไม่นาน พบว่ามีกิ่งก้านขนาดเล็กใหญ่อยู่ครบ เป็นจานวนมาก ไมม่ ใี บเป็นต้นไม้ท่ีตายมาแล้วประมาณ 1-4 ปี ข้ึนอยู่กับชนิด ของต้นไม้ บางตน้ บางชนดิ พบวา่ เปลือกไม้ยังติดอยู่กบั ลาต้น ต้นไม้ที่อยู่ในกลุ่มน้ี มักจะเป็นตน้ ไมท้ ีต่ ายหลงั จากการเก็บขอ้ มูลครั้งแรก ดังแสดงในภาพที่ 49-1 กล่มุ ที่ 2 เปน็ กลุ่มของตน้ ไมท้ ่ตี ายมานานกวา่ 3 ปี เป็นตน้ ไมท้ ่ีกิ่งขนาดเล็กได้หักหลุด ร่วงมาเป็นจานวนมากจะเหลือก่ิงขนาดใหญ่จานวนน้อยติดกับลาต้น ดังแสดงในภาพท่ี 49-2 กลุ่มที่ 3 เปน็ กลมุ่ ของตน้ ไม้ที่ตายมานานกวา่ 4 ปี เปน็ ต้นไมท้ ี่เหลอื เฉพาะสว่ นของลาต้น แตม่ ขี นาดของความสงู ของลาต้นมากกว่า 15-20 m ดงั แสดงในภาพท่ี 49-3 กลุ่มที่ 4 เป็นกลุ่มของต้นไม้ท่ีตายมานานกว่า 4-10 ปี หรือเป็นต้นไม้ที่ถูกต้นไม้ใหญ่ ท่ีอยูข่ ้างเคียงล้มทับทาให้ลาต้นหัก (ภาพท่ี 49-4) ไม้ตายในกลุ่มน้ีใกล้เคียง กับการเก็บข้อมูลในกลุ่มของไม้ล้มขอนนอนไพรและตอไม้ขนาดใหญ่ที่มี ความสงู มากกว่า 1.30 m แต่ถ้าตอไม้นนั้ มคี วามสูงมากกว่า 10 m สามารถ จัดอยูใ่ นกลุม่ ไมย้ นื ต้นตายกลมุ่ นี้ได้ โดยไม่ต้องทาการเกบ็ ช้นิ ไมต้ วั อย่าง 81
ภาพที่ 49 การแบง่ กลมุ่ ของต้นไมย้ นื ต้นตาย เพอื่ คานวณมวลชวี ภาพจากสมการแอลโลเมตรกิ โดยอาศัยมิติทางด้าน DBH และความสูงในการประเมิน โดยไม่ต้องทาการเก็บชิ้นไม้ไปวิเคราะห์ความ หนาแน่นของเนื้อไม้ 1) กลุ่มของต้นไม้ที่มีก่ิงก้านขนาดเล็กใหญ่อยู่ครบเป็นจานวนมาก 2) กลุ่มของ ต้นไม้ท่ีกิ่งขนาดเล็กได้หักหลุดร่วงมาเป็นจานวนมากจะเหลือกิ่งขนาดใหญ่จานวนน้อยติดกับลาต้น 3) กลมุ่ ของต้นไม้ทเี่ หลือเฉพาะสว่ นของลาต้นแต่มีขนาดของความสูงของลาต้นมากกว่า 15-20 m และ 4) กลมุ่ ของตน้ ไมท้ ่ีมีตอสงู กวา่ 10 m การคานวณมวลชวี ภาพของไมย้ นื ต้นตาย ในการคานวณมวลชีวภาพของไม้ยืนต้นตายจะใช้สมการเดียวกันกับการคานวณมวลชีวภาพ ของต้นไมท้ ม่ี ีชีวิต โดยใช้มิติทางด้าน DBH และความสูงในการคานวณเช่นเดียวกัน ต่อจากน้ันจะทาการ ตัดค่ามวลชีวภาพของใบออกท้ังหมด แล้วพิจารณาปรับลดในส่วนของกิ่งและลาต้น ตามกลุ่มท่ีได้ ทาการจดั แบง่ แลว้ ตวั อยา่ งในการคานวณมวลชวี ภาพ แสดงในแบบจาลองของภาพท่ี 50 82
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154