Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 6 เครื่องป้องกันอันตราย เครื่องหมายและสัญลักษณ์ความปลอดภัย

หน่วยที่ 6 เครื่องป้องกันอันตราย เครื่องหมายและสัญลักษณ์ความปลอดภัย

Published by ปองพล สามชูศรี, 2021-09-07 10:16:50

Description: หน่วยที่ 6 เครื่องป้องกันอันตราย เครื่องหมายและสัญลักษณ์ความปลอดภัย

Search

Read the Text Version

หวั ขอเรื่อง (Topics) 6.1. อปุ กรณปองกนั อันตรายส#วนบุคคล 6.2 อปุ กรณปองกนั อันตรายจากเครื่องจกั ร 6.3 เคร่ืองหมายและสัญลักษณความปลอดภยั 6.4 ประเภทของเครอ่ื งหมายเพ่อื ความปลอดภยั

แบบทดสอบก่อนเรียน 1. หมวกนิรภยั แบ่งตามรูปทรงไดก้ ีลกั ษณะ ก. 2 ข. 3 ค. 4 ง. 5 2. ระยะเวลาการทาํ งาน 7-8 ชวั โมงต่อวนั ระดบั เสียงทีสมั ผสั ไดไ้ ม่เกินเท่าใด ก. 80 dB (A) ข. 85 dB (A) ค. 90 dB (A) ง. 140 dB (A) 3. ในการบาํ รุงรักษาปลกั4 อุดหูทาํ การฆ่าเช7ือโรคดว้ ยการชุบ Alcohol เช็ด อุปกรณ์ดงั กล่าว Alcohol กีเปอร์เซ็นต์ ก. Alcohol 50% ข. Alcohol 70% ค. Alcohol 80% ง. Alcohol 100% 4. หนา้ กากป้องกนั ใบหนา้ แบ่งออกเป็นกีแบบ ก. 2 ข. 3 ค. 4 ง. 5 5. หนา้ กากเชือมแบ่งตามลกั ษณะการใชง้ านไดเ้ ป็นกีชนิด ก. 2 ข. 3 ค. 4 ง. 5

แบบทดสอบก่อนเรียน 6. งานเชือมทองเหลืองบดั กรี จะตอ้ งใชข้ นาดของเลนส์ Shade Number เท่าใด ก. 2 ข. 3 – 4 ค. 4 – 5 ง. 5 - 6 7. ตวั เขม็ ขดั นิรภยั มีความกวา้ งไม่ตาํ กวา่ เท่าใด ก. 40 มม. ข. 42 มม. ค. 43 มม. ง. 45 มม. 8. หมวกนิรภยั ควรได.รบั การทําความสะอาดอย6างน.อยเทา6 ใด ก. วนั ละคร้งั ข. สัปดาห<ละครั้ง ค. เดือนละครั้ง ง. ปล> ะครง้ั 9. ป@จจยั ที่จะทําให.อายกุ ารใชง. านของหมวกนริ ภยั ลดลงคอื ข.อใด ก. นาํ หมวกไปตากทงิ้ ไวก. ลางแดด ข. นาํ หมวกไปลา. งนาํ้ ค. นําหมวกไปเก็บในท่ีเย็น ง. นาํ หมวกไปวางไม6เปIนระเบียบ 10. อุปกรณ<ปอK งกนั หน.าและดวงตาแบ6งออกเปIนก่แี บบใหญๆ6 ก. 2 ข. 3 ค. 4 ง. 5

6.1. อุปกรณปองกนั อันตรายส#วนบคุ คล อปุ กรณป์ อ้ งกนั อนั ตรายสว่ นบคุ คล (Personal Protection Equipment) หรอื เรยี กวา่ พี พี อี (PPE) หมายถึง อุปกรณท์ 1ีสวมใส่ปกคลมุ ส่วนใดส่วนหน1ึงของร่างกาย เพ1ือป้องกนั อนั ตรายท1ีอาจจะ เกิดขนึ8 เน1ืองจากสภาพและส1ิงแวดลอ้ มในขณะปฏิบตั ิงาน 6.1.1 การเลอื กใช้อุปกรณป์ ้องกันอนั ตรายส่วนบุคคล 1. เลอื กซือ8 ใหเ้ หมาะสมกบั ลกั ษณะส1ิงท1ีทาํ ใหเ้ กิดอนั ตรายท1ีพบจากการปฏิบตั ิงาน 2. อปุ กรณท์ 1ีเลอื กไดร้ บั การตรวจสอบ และการรบั รองตามมาตรฐานกาํ หนด 3. มีประสทิ ธิภาพสงู ในการปอ้ งกนั อนั ตราย และมีความทนทาน 4. มีนา8ํ หนกั เบา สวมใสส่ บาย มีขนาดเหมาะสมกบั ผใู้ ชง้ าน 5. การบาํ รุงรกั ษาง่าย มีอะไหลห่ าซือ8 งา่ ยราคาไม่แพง 6. ใหค้ วามรูก้ บั ผใู้ ชใ้ นเร1อื งประโยชนข์ องอปุ กรณป์ อ้ งกนั อนั ตราย วธิ ีการเลอื กใช้ 7. การชกั จงู การใช้ การปรบั ตวั ในการใชร้ ะยะแรก และสง่ เสรมิ การใช้

6.1.2 ประโยชนก์ ารใช้อุปกรณป์ ้องกันอันตรายส่วนบคุ คลในสถานประกอบการ 1. เพ1ือเป็นการปอ้ งกนั อนั ตรายท1ีจะเกิดขนึ8 กบั อวยั วะสว่ นตา่ ง ๆ ของรา่ งกาย 2. เพ1ือเป็นการชว่ ยลดตน้ ทนุ การผลติ สินคา้ 3. เพ1ือเป็นการเพ1ิมประสิทธิภาพในการปฏิบตั ิงานของพนกั งาน 4. เพ1ือช่วยในการประหยดั เวลาท1ีใชใ้ นการผลิตสินคา้ เพ1ิมปริมาณการผลิตสินคา้ ใหม้ าก ขนึ8 5. เพ1ือใหพ้ นกั งานทกุ คนเกิดความรูส้ กึ วา่ การปฏิบตั ิงานนนั8 มีความปลอดภยั ตลอดเวลา 6.1.3 ประเภทของอุปกรณป์ ้องกันอันตรายส่วนบุคคล สามารถแบ่งออกได้ 8 ประเภท ดงั นี8 1. อุปกรณป์ ้องกันศีรษะ (Head Protection Devices) สวมใสเ่ พ1ือปอ้ งกนั ศีรษะ จาก การถูกชนหรือกระแทก หรือวัตถุตกจากท1ีสูง มากระทบกับศีรษะน1ันคือ หมวกนิรภัย แบ่งออกได้ 2 แบบ คือ แบบท1ีมีขอบหมวกโดยรอบ และแบบท1ีมีเฉพาะกระบงั ดา้ นหนา้

ส่วน ประกอ บขอ งหม วกนิ รภยั ประเภทของหมวกนิรภยั สามารถแบ่งตามคณุ สมบตั ิการใชง้ าน 4 ประเภท ดงั นี8 - ประเภท A เหมาะสาํ หรบั การใชง้ านท1วั ไป ไดแ้ ก่ งานก่อสรา้ ง งานอ1ืนเพ1ือป้องกนั วตั ถุ หรอื ของแข็งหลน่ กระแทกศีรษะ วสั ดทุ 1ีใชท้ าํ หมวก คือ พลาสติก หรอื ไฟเบอรก์ ลาส - ประเภท B เหมาะสาํ หรบั การใชง้ านท1ีเก1ียวขอ้ งกบั สายไฟฟ้าแรงสงู วสั ดทุ 1ีใชท้ าํ หมวก คือ วสั ดสุ งั เคราะหป์ ระเภทพลาสติก และไฟเบอรก์ ลาส

- ประเภท C เหมาะสาํ หรบั งานท1ีตอ้ งทาํ ในบรเิ วณท1ีมีอากาศรอ้ น วสั ดทุ าํ มาจากโลหะ ไมเ่ หมาะใชก้ บั งานเก1ียวขอ้ งกบั กระแสไฟฟา้ - ประเภท D เหมาะสาํ หรบั งานดบั เพลิง วสั ดุท1ีใชท้ าํ หมวก คือ อปุ กรณว์ สั ดุสงั เคราะห์ ประเภทพลาสติกและไฟเบอรก์ ลาส 2. อุปกรณป์ ้องกันใบหน้าและตา(Eye and face protection devices) ช่วยการ ป้องกนั อันตรายท1ีอาจจะเกิดขึน8 จากวตั ถุ สารเคมีกระเด็นเขา้ ตา ใบหนา้ หรือป้องกันรงั สีท1ีจะทาํ ลาย ดวงตา แบง่ ได้ ดงั นี8 (1) แวน่ ตานิรภยั แบ่งเป็น 2 แบบ ดงั นี8 (ก) แบบไม่มีกระบังข้าง เหมาะสาํ หรับใช้งานท1ีมีเศษโลหะหรือวัตถุ กระเดน็ มาเฉพาะทางดา้ นหนา้ (ข) แบบมีกระบังขา้ ง เหมาะสาํ หรบั การใช้งานท1ีมีเศษโลหะ หรือวัตถุ กระเด็นมา ดา้ นขา้ ง

(2) แวน่ ครอบตา (Goggles) คือ อปุ กรณป์ อ้ งกนั ตา ท1ีปิดครอบตาไว้ มีหลายชนิด ไดแ้ ก่ (ก) แว่นครอบตาป้องกันวัตถุกระแทก เหมาะสําหรับงานสกัด งาน เจียระไน (ข) แว่นครอบตาป้องกนั สารเคมี เลนสข์ องแว่นตาชนิดนีจ8 ะตา้ นทานต่อ แรงกระแทกและสารเคมี (ค) แว่นครอบตาสาํ หรบั งานเช1ือมป้องกันแสงจา้ รงั สี ความรอ้ น และ สะเก็ดไฟจากงานเช1ือโลหะ หรอื ตดั โลหะ แว่นครอบตา

(3) กระบงั ปอ้ งกนั ใบหนา้ (Face shield) คือ วัสดุโค้งครอบใบหน้า เพ1ือ ปอ้ งกนั อนั ตราย ต่อใบหนา้ และลาํ คอ จากการกระเดน็ กระแทกของวตั ถุ หรอื สารเคมี กระบงั ป้องกันหน้า (4) หนา้ กากเช1ือม คือ อุปกรณป์ ้องกันใบหนา้ และดวงตา ใชใ้ นงานเช1ือม เพ1ือป้องกัน การกระเดน็ ของโลหะ ความรอ้ น แสงจา้ และรงั สจี ากการเช1ือม

หน้ากากเชDือม (5) ครอบป้องกนั หนา้ คือ อปุ กรณส์ วมปกคลมุ ศีรษะ ใบหนา้ และคอ ลงมาถึงไหล่และ หนา้ อก เพ1ือปอ้ งกนั สารเคมี ฝ่นุ ท1ีเป็นอนั ตราย

3. อุปกรณป์ ้องกันหู (Ear protection devices) คือ อปุ กรณท์ 1ีสวมใสเ่ พ1ือปิดกนั8 ความ ดงั ของเสยี งท1ีจะมากระทบตอ่ แกว้ หู กระดกู หู เพ1ือปอ้ งกนั อนั ตรายท1ีมีตอ่ ระบบการไดย้ ิน (1) ชนิดสอดเขา้ ไปในรูหู (Ear plugs) มีหลายแบบ อปุ กรณป์ อ้ งกันหชู นิดนีน8 ิยมใชก้ นั มาก เน1ืองจากราคาไม่แพง สะดวกในการเก็บและการทาํ ความสะอาด สามารถลดเสียงลงไดป้ ระมาณ 15-20 เดซเิ บล อุปกรณป์ ้องกันหชู นิดสอดเข้าไปในรูห (2) ชนิดครอบหู (Ear Muffs) คือ อปุ กรณป์ ้องกนั หทู 1ีครอบปิดหสู ว่ นนอก ทาํ ใหส้ ามารถ ปิดกัน8 เสียงไดม้ ากกว่าชนิดสอดเขา้ ไปในรูหู ประสิทธิภาพในการกัน8 เสียงของอุปกรณช์ นิดนีข8 ึน8 อยู่กับ ขนาด รูปรา่ ง วสั ดกุ นั เสียงร1วั รอบ ๆ ท1ีครอบหู

อุปกรณป์ ้องกันหชู นิดครอบหู 4. อุปกรณป์ ้องกันการหายใจ (Respiratory protection devices) เป็นอปุ กรณท์ 1ี ชว่ ยปอ้ งกนั อนั ตรายจากมลพิษเขา้ สรู่ า่ งกายโดยผา่ นทาง ปอด เกิดจากการหายใจเอามลพษิ ไดแ้ ก่ อนภุ าค ก๊าซ และไอระเหยท1ีมีการปนเปื8อนอย่ใู นอากาศ

อุปกรณป์ ้องกันการหายใจ 5. อุปกรณป์ ้องกันลาํ ตัว คือ อุปกรณ์ ท1ี สวมใส่ เพ1ือป้องกนั อนั ตรายจากการกระเด็น กรดของสารเคมี การปฏิบตั ิงานในท1ีมีความรอ้ นสงู หรอื มีสะเก็ดไฟ เป็นตน้ (1) ชดุ ปอ้ งกนั สารเคมี ทาํ มาจากวสั ดทุ 1ีทนตอ่ สารเคมี (2) ชดุ ป้องกนั ความรอ้ น ทาํ มาจากวสั ดุท1ีสามารถทนความรอ้ น โดยใชง้ านท1ีมีอุณหภูมิ สงู ถึง 2000oF (3) ชดุ ปอ้ งกนั การติดไฟ จากประกายไฟ เปลวไฟ ลกู ไฟ วสั ดจุ ากฝา้ ย ชบุ ดว้ ยสารป้องกนั การติดไฟ (4) เสื8อคลุมตะก1ัว คือ คลุมท1ีมีชั8นตะก1ัวฉาบผิว วัสดุทําจากผ้าใยแก้วฉาบตะก1ัว หรอื พลาสติกฉาบตะก1วั

6. อุปกรณป์ ้องกันมือ สวมใส่เพ1ือลดการบาดเจ็บของอวยั วะส่วนนิว8 มือและแขน อนั เน1ือง มาจากการปฏิบตั ิงาน อปุ กรณป์ อ้ งกนั ถงุ มือมีหลายแบบ (1) ถงุ มือปอ้ งกนั ความรอ้ น (2) ถงุ มือปอ้ งกนั สารเคมี (3) ถงุ มือปอ้ งกนั ไฟฟา้ (4) ถงุ มือปอ้ งกนั การขีดขว่ นของมีคมและรงั สี อุปกรณป์ ้องกันมือ

7. อุปกรณป์ ้องกันเทา้ สวมใสเ่ พ1ือป้องกนั สว่ นของเทา้ นิว8 เทา้ หนา้ แขง้ ไม่ใหส้ มั ผสั กบั อนั ตรายจากการปฏิบตั ิงาน สามารถแยกออกได้ ดงั นี8 (1) รองเทา้ นิรภยั ชนิดหวั รองเทา้ เป็นโลหะ เหมาะสาํ หรบั ใชใ้ นงานก่อสรา้ ง (2) รองเทา้ ปอ้ งกนั อนั ตรายจากไฟฟา้ วสั ดทุ 1ีใชท้ าํ จะไดม้ าจากยางธรรมชาติ (3) รองเทา้ ปอ้ งกนั สารเคมี ทาํ มาจากวสั ดทุ 1ีทนต่อการกดั กรอ่ นของสารเคมี อุปกรณป์ ้องกันเทา้

8. อุปกรณป์ ้องกันการตกจากทสDี ูง การปฏิบตั ิงานในท1ีสงู อย่างเช่น งานก่อสรา้ ง งาน ไฟฟา้ งานทาํ ความสะอาด จาํ เป็นจะตอ้ งใชอ้ ปุ กรณป์ อ้ งกนั การตกจากท1ีสงู ดงั นี8 (1) เขม็ ขดั นิรภยั ประกอบดว้ ยตวั เขม็ ขดั และเชือกนิรภยั (2) สายรดั ตวั นิรภยั หรอื สายพยงุ ตวั คือ อปุ กรณท์ 1ีใชส้ าํ หรบั งานท1ีเส1ียงภยั ปฏิบตั ิงานในท1ี สงู (3) สายชว่ ยชีวิต คือ เชือกท1ีผกู หรอื ยดึ ติดกบั โครงสรา้ งของอาคารหรอื สว่ นท1ีม1นั คง เขม็ ขดั นิรภยั

6.2 อปุ กรณปองกนั อนั ตรายจากเครือ่ งจกั ร อปุ กรณป์ อ้ งกนั อนั ตรายจากเคร1อื งจกั ร (Safety Guards) คื อ ส่วนประกอบหรืออปุ กรณ์ ท1ีออกแบบ และติดตงั8 ไวบ้ รเิ วณท1ีมีอนั ตรายของเคร1ืองจกั ร เพ1ือป้องกนั อนั ตรายพนกั งานท1ีควบคมุ และพนกั งานท1ีอยใู่ นบรเิ วณนนั8 1. ปอ้ งกนั คนสมั ผสั กบั สว่ นท1ีเคล1ือนไหวของเคร1อื งจกั ร 2. ปอ้ งกนั คนสมั ผสั กบั ส1ิงแวดลอ้ มท1ีมีอนั ตราย 3. ปอ้ งกนั อนั ตรายท1ีเกิดจากเคร1อื งจกั รชาํ รุด 4. ปอ้ งกนั อนั ตรายท1ีเกิดจากความบกพรอ่ งของพนกั งาน

6.3 เคร่อื งหมายและสญั ลักษณความปลอดภัย เคร1อื งหมายเพ1ือความปลอดภยั (Safety sign) หมายถึง เคร1ืองหมายท1ี ต้องการใช้ส1ือความหมาย โดยใช้ รูป สี หรือข้อความท1ีเจาะจงถึงผูท้ 1ีอาจได้รับอันตรายในสถานท1ี ปฏิบตั ิงาน โดยแบ่งประเภทเคร1อื งหมายเพ1ือความปลอดภยั ออกเป็น 6 ประเภท ดงั นี8 1. เคร1อื งหมายหา้ ม (Prohibition sign) 2. เคร1อื งหมายบงั คบั (Mandatory sign) 3. เคร1อื งหมายเตือน (Warning sign) 4. เคร1อื งหมายแสดงภาวะปลอดภยั (No danger sign) 5. เคร1อื งหมายแสดงอปุ กรณท์ 1ีเก1ียวขอ้ งกบั อคั คีภยั (Fire protection equipment sign) 6. เคร1อื งหมายขอ้ มลู ท1วั ไป (General Information sign)

6.3.1 สีเพอืD ความปลอดภยั สีเพ1ือความปลอดภัย คือ สีท1ีกําหนดในการบอกความหมายเพ1ือความปลอดภัย กาํ หนดใหใ้ ช้ สเี พ1ือความปลอดภยั สาํ หรบั สีตดั และและสีของสญั ลกั ษณ์

6.3.2 รูปทรงเรขาคณิต รูปทรงเรขาคณิต ของเคร1ืองหมายเพ1ือความปลอดภัย เป็ นการแบ่งประเภทของ เคร1อื งหมาย เพ1ือความปลอดภยั เพ1ือใหง้ ่ายตอ่ ความเขา้ ใจโดยใชส้ ีตดั และและสีของสญั ลกั ษณ์

6.3.3 เครืDองหมายเสริม เคร1อื งหมายเสรมิ หมายถงึ เครอ1ื งหมายท1ีใชส้ 1ือความหมายท1ีเก1ียวขอ้ งกบั ความปลอดภยั โดยมีสี รูปแบบ และขอ้ ความ เพ1ือใชร้ ว่ มกบั เคร1อื งหมายเพ1ือความปลอดภยั ในกรณีท1ีจาํ เป็น ดงั นี8 1. เคร1อื งหมายเสรมิ เป็นส1ีเหล1ียมผืนผา้ หรอื ส1ีเหล1ียมจตั รุ สั 2. สพี ืน8 ใหใ้ ชส้ เี ดียวกบั สเี พ1ือความปลอดภยั และสขี องขอ้ ความใหใ้ ชส้ ีตดั หรือสีพืน8 ใหใ้ ชส้ ี ขาว 3. ตวั อกั ษรท1ีใชใ้ นขอ้ ความ (1) ชอ่ งไฟระหวา่ งตวั อกั ษรตอ้ งไมแ่ ตกตา่ งกนั มากกวา่ รอ้ ยละ 10 (2) ลกั ษณะของตวั อกั ษรตอ้ งดเู รยี บงา่ ย ไมเ่ ขียนแรเงาหรอื ลวดลาย 4. แสดงเคร1อื งหมายเสรมิ ไวใ้ ตเ้ คร1อื งหมายเพ1ือความปลอดภยั

การแสดงเครืDองหมายเสริมเพอืD ความปลอดภยั

6.3.4 ขนาดของเครืDองหมาย ขนาดของเคร1ืองหมายเพ1ือความปลอดภัย หมายถึง ขนาดของเคร1ืองหมายเพ1ือความ ปลอดภยั และตวั อกั ษรท1ีใชใ้ นเครอ1ื งหมายเสรมิ ซง1ึ ควรจะมีความชดั เจนและมีขอ้ มลู เพียงพอ ขนาดของเครืDองหมายและตวั อกั ษร

6.3.5 เครืDองหมายเพอืD ความปลอดภยั และความหมาย ตารางทีD 6.1 ตวั อย่างเคร1อื งหมายเพ1ือความปลอดภยั และความหมาย

6.3.6 ข้อแนะนาํ การเลือกและการใช้เครืDองหมายเพอDื ความปลอดภยั 1. การใช้เคร1ืองหมายเพ1ือความปลอดภัยร่วมกับเคร1ืองหมายเสริม กรณีท1ีไม่มี เคร1อื งหมาย ท1ีใชส้ ญั ลกั ษณภ์ าพ หากตอ้ งการจะแสดงเคร1อื งหมายตามท1ีตอ้ งการใหป้ ฏิบตั ิ ดงั นี8 (1) ใชส้ ญั ลกั ษณภ์ าพท1ีเหมาะสมท1ีดแู ลว้ เขา้ ใจงา่ ยท1ีสดุ (2) ใชเ้ คร1อื งหมายท1วั ไปสาํ หรบั เคร1อื งหมายเพ1ือความปลอดภยั ในแตล่ ะประเภท เครืDองหมายเพอืD ความปลอดภยั

2. การใชเ้ ครอ1ื งหมายเพ1ือความปลอดภยั เพ1ือจดุ ประสงคข์ องการส1ือความหมายมากกวา่ 1 ความหมาย (1) ไม่ควรส1ือความหมายโดยการใชเ้ คร1ืองหมายเพ1ือความปลอดภยั รว่ มกบั เคร1ืองหมาย เสรมิ (2) ไม่ควรใชเ้ คร1ืองหมายเพ1ือความปลอดภยั ประเภทเดียวกันท1ีแสดง 2 ความหมาย อยู่ ในเคร1อื งหมายเดียวกนั (3) การใชเ้ คร1อื งหมายเพ1ือความปลอดภยั สาํ หรบั เง1ือนไขท1ีแตกต่างกนั 6.4 ประเภทของเครอ่ื งหมายเพอ่ื ความปลอดภยั เคร1ืองหมายท1ีนาํ มาใช้ในการปฏิบัติงาน เพ1ือการเสริมสรา้ งความปลอดภัยในสถาน ประกอบการ สามารถแบ่งออกเป็น 6 ประเภท ดงั นี8

6.4.1 เครืDองหมายหา้ ม ตัวอยา่ งเครืDองหมายหา้ ม

6.4.2 เครืDองหมายบงั คับ ตัวอยา่ งเครืDองหมายบงั คบั

6.4.3 เครืDองหมายเตอื น เครืDองหมายเตอื น

6.4.4 เครืDองหมายแสดงภาวะปลอดภยั เครืDองหมายแสดงภาวะปลอดภยั

6.4.5 เครDืองหมายแสดงอุปกรณท์ เีD กีDยวขอ้ งกับอคั คภี ยั ป้องกันอัคคภี ยั

6.4.6 เครืDองหมายข้อมูลทDวั ไป 1. งานจราจร เคร1อื งหมายจราจรเป็นเร1ืองท1ีถือวา่ ใกลต้ วั เรามากท1ีสดุ อีกเร1ืองหน1ึง ดงั นนั8 การศกึ ษาเร1อื งเคร1อื งหมายจราจรทางบกจงึ เป็นเร1อื งท1ีควรเรยี นรู้ ป้ายบังคับ ได้แก่ ป้ายจราจรท1ีมีความหมายเป็ นการบังคับให้ผู้ใช้ทางปฏิบัติตาม ความหมายของเคร1ืองหมายจราจรท1ีปรากฏอยู่ในป้ายนนั8 โดยการกาํ หนดใหผ้ ูใ้ ชท้ างถนนตอ้ งกระทาํ สามารถแบง่ ตามลกั ษณะการใชง้ านออกเป็น 4 ประเภท ดงั นี8 (1) ปา้ ยบงั คบั ประเภทกาํ หนดสทิ ธิf (2) ปา้ ยบงั คบั ประเภทหา้ มหรอื จาํ กดั สทิ ธิf (3) ปา้ ยบงั คบั ประเภทคาํ ส1งั (4) ปา้ ยอ1ืน ๆ

ตารางทีD 6.2 เครอ1ื งหมายจราจรประเภทปา้ ยหา้ ม

ตารางทีD 6.3 เครอ1ื งหมายจราจรประเภทปา้ ยบงั คบั

เครอ1ื งหมายจราจรประเภทเตือน สามารถแบ่งออกเป็น 3 ประเภท ดงั นี8 (1) ปา้ ยเตือนตามรูปแบบและลกั ษณะท1ีกาํ หนด (2) ปา้ ยเตือนท1ีแสดงดว้ ยขอ้ ความ และ/หรอื สญั ลกั ษณ์ (3) ปา้ ยเตือนในงานก่อสรา้ งตา่ งๆ ตารางทีD 6.4 เครอ1ื งหมายจราจรประเภทเตือน

ตารางทีD 6.5 เคร1อื งหมายจราจรประเภทเครอ1ื งหมายบนพืน8 ทาง

สัญญาณไฟจราจร สญั ญาณไฟจราจร (1) สญั ญาณไฟสแี ดง หมายถึง ใหห้ ยดุ รถ (2) สญั ญาณไฟสีเหลอื ง หมายถงึ ใหเ้ ตรยี มหยดุ รถ (3) สญั ญาณไฟสีเขียว หมายถึง อนญุ าตใหข้ บั รถผา่ นไปได้

สัญญาณไฟจราจรอนDื ๆ (1) สญั ญาณไฟสีแดงท1ีมีเคร1ืองหมายรูปกากบาท หมายถึง หา้ มไม่ใหข้ บั รถผ่านในช่อง เดินรถนนั8 (2) สญั ญาณไฟกะพริบสีแดง หมายถึง ตอ้ งหยุดรถหลงั เสน้ ใหร้ ถหยุด และเม1ือเห็นว่า ปลอดภยั หรอื ไมเ่ ป็นการกีดขวางการจราจรจงึ ใหข้ บั รถตอ่ ไปดว้ ยความระมดั ระวงั (3) สญั ญาณไฟกะพริบสีเหลือง หมายถึง ลดความเร็วของรถลงและขบั ผ่านทางเดินรถ นนั8 ไปดว้ ยความระมดั ระวงั

2. งานก่อสร้าง ป้ายเตือนในงานก่อสรา้ ง ใชส้ าํ หรบั เตือนผูข้ ับข1ียานพาหนะใหท้ ราบถึงสภาพทางจาก อนั ตราย หรอื การดาํ เนินการใด ๆ ท1ีผิดแปลกไปจากปกติ ตารางทีD 6.6 ปา้ ยเตือนงานก่อสรา้ ง

แบบทดสอบหลงั เรียน 1. หมวกนิรภยั แบ่งตามรูปทรงไดก้ ีลกั ษณะ ก. 2 ข. 3 ค. 4 ง. 5 2. ระยะเวลาการทาํ งาน 7-8 ชวั โมงต่อวนั ระดบั เสียงทีสมั ผสั ไดไ้ ม่เกินเท่าใด ก. 80 dB (A) ข. 85 dB (A) ค. 90 dB (A) ง. 140 dB (A) 3. ในการบาํ รุงรักษาปลกั4 อุดหูทาํ การฆ่าเช7ือโรคดว้ ยการชุบ Alcohol เช็ด อุปกรณ์ดงั กล่าว Alcohol กีเปอร์เซ็นต์ ก. Alcohol 50% ข. Alcohol 70% ค. Alcohol 80% ง. Alcohol 100% 4. หนา้ กากป้องกนั ใบหนา้ แบ่งออกเป็นกีแบบ ก. 2 ข. 3 ค. 4 ง. 5 5. หนา้ กากเชือมแบ่งตามลกั ษณะการใชง้ านไดเ้ ป็นกีชนิด ก. 2 ข. 3 ค. 4 ง. 5

แบบทดสอบหลงั เรียน 6. งานเชือมทองเหลืองบดั กรี จะตอ้ งใชข้ นาดของเลนส์ Shade Number เท่าใด ก. 2 ข. 3 – 4 ค. 4 – 5 ง. 5 - 6 7. ตวั เขม็ ขดั นิรภยั มีความกวา้ งไม่ตาํ กวา่ เท่าใด ก. 40 มม. ข. 42 มม. ค. 43 มม. ง. 45 มม. 8. หมวกนิรภยั ควรได.รบั การทาํ ความสะอาดอย6างนอ. ยเทา6 ใด ก. วันละคร้งั ข. สัปดาหล< ะครงั้ ค. เดอื นละครง้ั ง. ป>ละครงั้ 9. ปจ@ จยั ท่จี ะทาํ ใหอ. ายกุ ารใชง. านของหมวกนริ ภยั ลดลงคอื ขอ. ใด ก. นําหมวกไปตากทิ้งไวก. ลางแดด ข. นําหมวกไปลา. งนํ้า ค. นาํ หมวกไปเก็บในที่เย็น ง. นาํ หมวกไปวางไมเ6 ปนI ระเบียบ 10. อุปกรณ<ปKองกนั หนา. และดวงตาแบง6 ออกเปนI กี่แบบใหญ6ๆ ก. 2 ข. 3 ค. 4 ง. 5