Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การวิจัยคุณภาพ

การวิจัยคุณภาพ

Published by naruedee2513, 2019-07-31 00:23:18

Description: ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ

Keywords: Research,Qualitative Research

Search

Read the Text Version

การวิจยั เชิงคุณภาพ (Qualitative Research) การวจิ ัยคืออะไร “การวจิ ัย” หรอื Research เป็นกระบวนการค้นหาและพฒั นาความรขู้ องมนษุ ยใ์ ห้ก้าวหน้าอยา่ งเปน็ ระบบ” จะ เหน็ วา่ คาจากัดความนกี้ ็อาจคล้ายกับนักวชิ าการคนอืน่ ๆ กล่าวไว้นนั่ คือ ต้องการอยากรแู้ ต่สง่ิ ทไ่ี ดร้ ูม้ นั เปน็ สิง่ ถกู ตอ้ งหรอื ไม่ อยา่ งไร เม่อื ไดผ้ ่านการบวนการทาการวิจัยดว้ ยตนเองแลว้ เราจะค่อยๆ พฒั นาความเขา้ ใจวา่ การวจิ ยั ทจี่ รงิ แลว้ หมายถงึ อะไร โดยการอา่ นและโต้เถยี งความถูกตอ้ งเทีย่ งตรงของคาจากัดความจากหนงั สอื ตารา ตา่ งๆ แม้แต่โดยเพียงแคอ่ า่ นบทความการวจิ ยั ในไม่ชา้ เราจะพัฒนาความเขา้ ในเก่ียวกบั การวจิ ยั ได้ และสามารถที่ จะสรา้ งคาจากดั ความทช่ี ดั เจนไม่คลมุ เครือด้วยตนเองได้ ความเขา้ ใจเชน่ นีแ้ ละความสนใจในการวจิ ยั เปน็ สว่ นตวั น่นั แหละมีความสาคญั แก่นกั วจิ ัยมากกวา่ ข้ันตอนการวจิ ัย โดยท่วั ไปการวจิ ัยจะมขี นั้ ตอนดงั น้ี 1. ขนั้ ก่อนรวบรวมขอ้ มลู ใน ข้อตอนนี้นักวิจยั ตัดสินใจเก่ยี วกับคาถามการวิจยั เป้าหมายของการวิจัย วตั ถปุ ระสงคข์ องการวิจยั และกรอบแนวคิดเชิงทฤษฏีซ่ึงเปน็ รากฐานของการวจิ ยั 2. ขน้ั ออกแบบวธิ เี กบ็ ขอ้ มลู เพือ่ จะตอบคาถามหรือขั้นการออกแบบการวิจัย 3. ขัน้ เกบ็ รวบรวมขอ้ มูลจริง ในขน้ั นีม้ กี ารเก็บรวบรวมข้อมลู โดยวธิ กี ารวิจยั อย่างใดอยา่ งหนึง่ 4. ขน้ั วิเคราะหข์ อ้ มูล โดยการอ้างองิ กรอบแนวคดิ เชิงทฤษฏที ใ่ี ช้เพือ่ ตอบคาถาม 5. ข้นั สรปุ ผลและรายงานผลการวจิ ัย เพอื่ จะเผยแพรข่ ้อคน้ พบไปยังผอู้ นื่ ทงั้ หมดนีเ้ รยี กว่าเปน็ กระบวนการวิจัย กระบวนการวิจยั หมายถงึ สว่ นต่างๆ ทง้ั หมดทใี่ ชว้ ิธีการทาง วิทยาศาสตร์เข้ามาใช้ใหม้ ีระบบการตรวจสอบความถกู ต้องผดิ พลาดไดใ้ นแตล่ ะขั้นตอน ธรรมชาติของความรู้ มแี นวทางศกึ ษาธรรมชาตขิ องความรู้แบบกวา้ งๆ 2 ประการ คือ 1. ปฏิฐานนยิ ม (Positivism) 2. นยั นิยม (Interpretivism) แต่ ละแนวทางมีสมมติฐานดา้ นญาณวทิ ยาและดา้ นภววทิ ยาทแ่ี ตกต่างกนั และแตล่ ะแนวทาง มีนัยท่ตี ่างกนั สาหรบั วิธวี ิทยาการวจิ ยั ที่นักวิจยั นามาใช้ ข้อมลู ท่ีถกู เกบ็ รวบรวมและการแปลความหมายขอ้ มลู เหล่าน้นั การวจิ ยั เชงิ ปริมาณและการวจิ ยั เชิงคุณภาพ ความ แตกต่างระหว่างการวิจยั เชงิ ปริมาณและเชงิ คณุ ภาพ โดยรวมๆแล้วหมายถึง คุณลักษณะของขอ้ มูล ที่นักวิจัยรวบรวมมาใชใ้ นการศกึ ษาวิจัย มขี ้อสงั เกตว่าเราสามารถตัง้ สมมตฐิ านต่างๆ กัน ในเรอื่ งธรรมชาติของ ความรู้ สมมติฐานทแ่ี ตกต่างกันนี้ไดถ้ กู แปลงไปเปน็ การใช้ประเภทขอ้ มลู ทีต่ า่ งกัน นักวจิ ัยกลมุ่ ปฏฐิ านนิยม

ตง้ั สมมตฐิ านวา่ เราสามารถสังเกตพฤตกิ รรมต่างๆ ได้ ทง้ั ยงั สามารถวัดและวิเคราะหเ์ ปน็ ตัวเลขและในเชิงวตั ถุวสิ ยั ได้ การใชก้ ารวดั และวิเคราะห์เปน็ ตัวเลข เรยี กกันวา่ เป็นแนวทางศึกษาเชงิ ปริมาณ ซง่ึ ได้แก่การวจิ ยั ทเ่ี กี่ยวกับปรมิ าณ ทีส่ ามารถวดั ได้ ฉะน้ัน เราอาจจะสนใจในความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งการลงทนุ ทางเศรษฐกจิ ในการกีฬากบั ความสาเรจ็ ใน เวลาต่อมา เราอาจจะศกึ ษาเร่อื งนโ้ี ดยการวัดว่า เราไดใ้ ชจ้ ่ายเงนิ ลงทุนไปมากน้อยเท่าใดในกฬี าชนดิ หนึง่ (เช่น กฬี า ฟุตบอล) และวดั ผลการแข่งขนั ในกีฬาประเภทน้ันไดแ้ ง่ของการนบั เหรยี ญรางวลั ในการแข่งขนั คร้ังสาคัญๆ เช่น กฬี า โอลกิ ปิก เป็นตน้ วิธีนจี้ ะทาใหเ้ ราไดข้ ้อมูลเป็นตวั เลขมาจานวนหนง่ึ ซึ่งจากน้นั จะนามาวิเคราะหท์ างสถิตเิ พื่อท่จี ะ กาหนดว่า ระหว่างตวั แปรทงั้ สองนน้ั มีความสัมพนั ธก์ นั หรอื ไม่ วิธนี ี้ คอื การวจิ ยั เชงิ ปรมิ าณ ตวั แปรน้ันสามารถวัดได้ โดยตรงและแปลงไปใชใ้ นรูปของตัวเลขไดง้ า่ ย ซง่ึ จากนน้ั กท็ าการวเิ คราะหด์ ว้ ยสถติ ิ (ฉะนนั้ จึงเกย่ี วข้องอย่างใกล้ชิด กับกระบวนทศั น์แบบปฏิฐานนิยม) สว่ นการวจิ ัยเชงิ คุณภาพ มีเป้าหมายที่จะศึกษาในเชงิ คุณภาพซ่ึงเป็นสง่ิ ท่ไี ม่สามารถจะวดั ไดค้ ือ ไม่ สามารถลดทอนลงเปน็ ตัวเลขได้เช่น ความรสู้ กึ ความคิด ประสบการณ์ เป็นต้น ซึ่งไดแ้ ก่ มโนทศั นท์ ัง้ หลายท่ี เกีย่ วขอ้ งกบั แนวทางศกึ ษาความร้แู บบนยั นิยม การวจิ ยั เชงิ คณุ ภาพใชข้ อ้ มูลและการวเิ คราะห์ที่ไมใ่ ชต่ วั เลข เพื่อทจ่ี ะ บรรยายและเขา้ ใจมโนทศั นเ์ หลา่ นนั้ เพราะฉะนั้น นกั วจิ ยั อาจจะใชแ้ นวทางศกึ ษาทางเลอื ก เพื่อใหเ้ ข้าใจเจตนาของ ผ้ทู ี่เขา้ ไปชมการแขง่ ขันตา่ งๆ โดยถามพวกเขาให้บอกเหตุผลวา่ เพราะเหตุใดพวกเขาจะไมเ่ ข้าชมการแขง่ ขันใน อนาคต ความคิดดงั กลา่ วเปน็ สงิ่ ทย่ี ากจะแปลงเป็นตัวเลขได้อย่างมคี วามหมาย และดว้ ยเหตุน้ันข้อมลู ในรปู ของ ถ้อยคาทนี่ ักวิจัยนามาใช้แปลเป็นตวั เลขได้ อย่างมคี วามหมาย และดว้ ยเหตุนัน้ ข้อมูลในรปู ของถ้อยคาท่นี กั วิจยั นามาใช้แผลความหมายมคี วามเหมาะสมในการวจิ ยั เชงิ คณุ ภาพ ซง่ึ ไมเ่ หมือนกบั เชงิ ปรมิ าณ ประเดน็ เร่ือง “จานวน เทา่ ไหร่” อาจจะไมใ่ ชป่ ระเดน็ ท่ีเก่ยี วขอ้ ง ข้อมูลเชิงปริมาณหรอื คุณภาพ การตัดสินใจที่จะเกบ็ รวบรวมข้อมลู เชิงปรมิ าณ (Quantitative data) หรือเชิงคณุ ภาพ(Quantitative data) ขนึ้ อยู่กบั ธรรมชาตหิ รอื ลกั ษณะของคาถามการวจิ ยั และวัตถุประสงคข์ องการวจิ ัยของ แตล่ ะคน เหน็ ได้ชัดว่า ถา้ เราสนใจในการวดั ปรากฏการณบ์ างอยา่ ง ถา้ อย่างนนั้ เราจาเป็นตอ้ งเก็บขอ้ มูลเชงิ ปริมาณ ถา้ เราสนใจในความคดิ หรอื ความรสู้ ึกของคนมากกว่า ถา้ อยา่ งน้ันส่ิงเหล่านีก้ ย็ ากท่จี ะทาใหเ้ ป็นเชิงปริมาณและข้อมูลเชงิ คุณภาพ จะมคี วาม เหมาะสมมากกว่า ไมม่ ีแนวทางศึกษาใดดกี วา่ วธิ ีอื่น แตว่ ่าแนวทางการศึกษาควรถูกกาหนดโดยคาถามการวจิ ยั มากกว่า ตัวอย่างเชน่ อย่าตัดสนิ ใจทจ่ี ะเกบ็ ข้อมลู เชิงคณุ ภาพเพียงเพราะว่าเราไมส่ บายใจกบั การวิเคราะห์ด้วย วธิ กี ารทางสถิติ จงแนใ่ นเสมอวา่ แนวทางการศกึ ษาของเรามคี วามเหมาะสมกบั คาถามวจิ ยั มากกวา่ ทกั ษะหรอื ความ พอใจส่วนตวั การผสมผสานขอ้ มลู เชิงปริมาณและเชงิ คุณภาพ เราอาจตดั สนิ ใจท่จี ะใช้ขอ้ มลู ผสมกนั ระหว่างขอ้ มูลเชิงปรมิ าณกบั ข้อมลู เชิงคณุ ภาพ แต่ในเรือ่ งนีม้ คี วามเหน็ แตกต่างกนั นักวิชาการบางคนกล่าวว่าทัง้ สองแบบเขา้ กันไม่ไดเ้ น่อื งจากมันใชส้ มมตฐิ านทางญาณวิทยาที่แตกตา่ ง กัน นกั วิชาการท่านอ่ืนกล่าวว่าเนื่องจากปญั หาขอ้ จากดั ดา้ นเวลาความจาเปน็ ที่จะจากดั ขอบเขตของการศกึ ษาและ ความยงุ่ ยากของการตีพมิ พผ์ ลการศึกษาเหลา่ นัน้ นบั เปน็ ปจั จัยที่เปน็ อปุ สรรคต่อการวจิ ัยที่ใช้ข้อมูลผสมผสานกันทั้ง ข้อมลู เชงิ ปริมาณและเชงิ คุณภาพ การผสานกนั ระหว่างวธิ ีการวจิ ยั เชิงคุณภาพและเชงิ ปริมาณอาจทาให้ได้ผลผลิต สดุ ท้ายทสี่ ามารถแสดงให้เหน็ คณุ ประโยชนอ์ ย่างสาคญั ของวิธกี ารวิจยั ทง้ั สองแบบ อยา่ งเด่นชัด

อย่างไรก็ดีสงิ่ สาคัญก็คอื ว่า แนวทางศกึ ษาของเราจะตอ้ งเหมาะสมกับคาถามการวจิ ยั มากกวา่ ความพอใจ สว่ นตวั ของเราเอง เราสามารถใช้วิธีผสมระหวา่ งการวจิ ยั เชงิ ประมาณกับเชงิ คุณภาพไดใ้ นลกั ษณะต่อไปน้ี 1. วิธกี ารหนึ่งชว่ ยสนับสนุนอกี วธิ กี ารหนึ่ง ฉะนัน้ งานวจิ ัยเชิงปริมาณส่วนหนึ่งอาจชใ้ี ห้เหน็ ว่ามเี หตกุ ารณ์ บางอยา่ งเกิดข้ึน ซงึ่ จากนั้นจะสามารถอธิบายได้โดยการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ 2. วิธที งั้ สองศกึ ษาปัญหาเดยี วกนั เราอาจใช้วธิ กี ารเชิงปริมาณเก็บรวบรวมขอ้ มูลคอ่ นข้างไมซ่ ับซ้อน (Simple) หรอื ข้อมูลตัวเลขจากกลุ่มตัวอย่างขนาดใหญ่ ในขณะทวี่ ธิ กี ารเชงิ คณุ ภาพอาจจะเก็บรวบรวมข้อมลู ท่ี ละเอยี ดลึกจากกลมุ่ ตัวอยา่ งขนาดท่เี ลก็ กว่า สิง่ หนึง่ ทคี่ วรจะตอ้ งพจิ ารณาตงั้ แต่เรม่ิ แรกกค็ ือวา่ เรามเี วลาและทรพั ยากรท่จี ะดาเนนิ การวจิ ยั แบบพหุ วิธี (MultiMethods)คือ การใชว้ ธิ ีวิจยั ต่างๆ เพื่อศกึ ษาคาถามการวิจยั ต่างๆ ทีเ่ ก่ยี วกับปรากฏการณอ์ ยา่ งเดียวกนั ) หรือแบบวธิ ผี สม (Mixed Methods)คือ ซงึ่ ใช้สองวธิ ีวิจัยศึกษา คาถามการวิจยั อยา่ งเดียวกนั ) บ่อยคร้ังทีว่ ิธี การศกึ ษาเชน่ นน้ั ตอ้ งใช้เวลาและเงนิ มากกว่า และเรอื่ งนเี้ ปน็ ส่ิงท่ีจะต้องพิจารณาอยา่ งสาคญั โดยเฉพาะอย่างย่ิงถ้า เรามขี อ้ จากดั เก่ียวกบั เวลาและทรพั ยากร การออกแบบการวจิ ยั เชงิ คุณภาพ ในการวิจยั เชิงคณุ ภาพ การออกแบบเป็นกระบวนการยอ้ นกลับไปมา (Interactive Process) ซง่ึ เก่ยี วขอ้ งกับการเปล่ยี นไปเปล่ียนมาระหวา่ งองคป์ ระกอบต่างๆ ของการออกแบบ โดยประเมนิ ความนยั ของ จุดประสงค์ ทฤษฎี คาถามการวจิ ยั วธิ ีการ ปัญหาความเทย่ี งตรงทม่ี ีตอ่ กนั และกนั โมเดลปฏิกิริยาสมั พนั ธน์ ้เี ขา้ กนั ได้ กบั คาจากัดความของการออกแบบทว่ี า่ การออกแบบเปน็ การจดั แจงองค์ประกอบตา่ งๆ ทค่ี วบคมุ การทาหน้าทขี่ อง การศึกษาวิจยั มากกว่าท่ีจะเปน็ แผนการท่กี าหนดไว้กอ่ นแล้วสาหรับท่ีจะทาการศกึ ษา หรอื วา่ เปน็ เพยี งลาดับ ขนั้ ตอนในการดาเนนิ การศึกษาวจิ ยั นั้น เพราะฉะนนั้ โมเดลนจ้ี งึ มีแนวคดิ พ้ืนฐานอยทู่ ีก่ ารใหม้ โนทศั น์การออกแบบ การวิจยั ว่า ได้แก่ โครงสรา้ งสาคัญและความเช่ือมโยงสัมพนั ธก์ นั ขององค์ประกอบต่างๆ ของการศกึ ษาวิจยั และ ความนัยของแต่ละองค์ประกอบทีม่ ตี ่อองค์ประกอบอ่นื ๆ การออกแบบมี 5 องค์ประกอบ องค์ประกอบเหล่าน้ีมลี กั ษณะเป็นไปตามประเด็นท่ีแตล่ ะสว่ นตอ้ งการ พจิ ารณา คือ 1. วตั ถุประสงค์ (Purposes) มีประเด็นทีค่ วรพจิ ารณาดงั นี้ - เป้าหมายสาคญั ที่สุดของการศึกษาวิจยั ครงั้ นี้ คืออะไร - การศึกษาครั้งนต้ี ้องการทีจ่ ะอธิบายให้ ในประเดน็ ใดบ้าง และมนั จะมอี ิทธิพลตอ่ การปฏบิ ัติอะไรบ้าง - เพราะเหตใุ ดจงึ ต้องการที่จะทาการศกึ ษาวิจยั นี้ และเพราะเหตุใดจงึ มคี วามสนใจทีจ่ ะทราบผลของ การศึกษาท่ีออกมา - เพราะอะไร การศึกษาวจิ ัยนจ้ี ึงค้มุ คา่ ท่จี ะทา 2. กรอบแนวคิดของเนือ้ หา (Conceptual context) มีประเดน็ ที่ควรพจิ ารณาดังน้ี - เกดิ อะไรขนึ้ กบั ปรากฏการณ์ทก่ี าลังวางแผนจะศึกษา - มีทฤษฎอี ะไร ขอ้ คน้ พบใดบา้ งและกรอบแนวคดิ ใดทเ่ี ก่ยี วข้องกับปรากฎการณ์เหลา่ น้นั ทจี่ ะชนี้ าหรือให้ ข้อมลู ความรู้แก่การวจิ ยั น้นั ได้ - วรรณกรรมใดบา้ ง การวิจัยเบ้ืองตน้ และประสบการณ์ส่วนตวั ใดบา้ ง ท่ีจะนามาให้ใช้

- องค์ประกอบนีม้ ที ฤษฎีทีม่ ีอยแู่ ลว้ หรือนักวิจัยกาลังสรา้ งทฤษฎีเก่ียวกับบรบิ ทหรอื ประเดน็ ท่กี าลัง ศกึ ษา - สาหรับทฤษฎมี แี หล่งสาคัญหลักอยู่ 4 ประการ คือ (1) ประสบการณ์ของนกั วิจัยเอง (2) ทฤษฎแี ละการวิจยั ท่มี อี ยู่เดิม (3) ผลของการีศึกษานาร่อง หรอื การวิจยั เบือ้ งตน้ ท่ีนักวิจยั ไดท้ าไว้แล้ว (4) การทดลองความคิด (Thought Experiments) 3. คาถามการวิจัย (Research questions) มปี ระเดน็ ท่ีควรพจิ ารณาดังน้ี - ในการศกึ ษาครงั้ นี้ นักวจิ ัยต้องการทจ่ี ะเขา้ ใจสงิ่ ใดเป็นการเฉพาะ - นกั วจิ ันยังไม่รู้อะไรบ้างในสว่ นท่เี กี่ยวกับปรากฏการณ์ทกี่ าลงั ศึกษาซงึ่ ต้องการจะเรียนรู้ 4. วธิ กี ารศึกษา (Methods) มีประเดน็ ท่คี วรพจิ ารณาดังนี้ - องค์ประกอบของการออกแบบข้อนี้ ประกอบดว้ ย 4 ส่วนสาคญั คือ (1) ความสัมพนั ธ์ของการวิจยั กบั ประชาชนที่ศึกษา (2) การเลือกสถานท่ศี กึ ษาและการเลอื กตวั อย่าง (3) วิธกี ารเก็บข้อมูล และ (4) เทคนคิ การวเิ คราะหข์ ้อมูลท่ีจะใช้ 5. ความเท่ียงตรง (Validity) มปี ระเดน็ ที่ควรพจิ ารณาดังนี้ - ผวู้ ิจยั จะทาผดิ พลาดไดอ้ ย่างไร - อะไรคือคาอธบิ ายการเลือกทนี่ า่ จะเปน็ ความจริง และอะไรคือปัจจยั คกุ คามต่อความเทย่ี งตรงทมี่ ตี ่อ ข้อสรปุ ในการศกึ ษาและผู้ วิจัยจะจัดการกบั สิง่ เหลา่ นนี้อย่างไร - ข้อมลู ทม่ี ีจะสามารถเก็บรวบรวมมาได้ จะสนบั สนนุ หรอื จะท้าทายความคิดเกีย่ วกบั ส่งิ ที่กาลังเกดิ ขนึ้ อย่างไร องคป์ ระกอบเหลา่ นีไ้ ม่ได้แตกตา่ งจากท่ีมกี ารวจิ ัยเชงิ ปรมิ าณแตอ่ ยา่ งใด ส่ิงทีเ่ ป็นนวตั กรรมกค็ อื ความสัมพนั ธ์ระหว่างองคป์ ระกอบต่างๆในโมเดลน้นั ส่วนต่างๆประกอบกนั ขน้ึ มีลักษณะเป็นบูรณาการและมี ปฏกิ ริ ยิ าสมั พันธก์ นั ท้งั หมด โดยท่ีแตล่ ะสว่ นเชอ่ื มโยงสัมพันธก์ บั ส่วนอืน่ ๆ อกี หลายสว่ นมากกว่าทจ่ี ะถูกเชื่อมโยง เป็นแบบลาดบั ข้นั ตอนเป็นเส้นตรงหรือเปน็ วงกลม ความสมั พนั ธห์ ลกั ๆ ขององค์ประกอบเหล่าน้ีนามาแสดงไวใ้ นรปู ตอ่ ไปน้ี วัตถุประสงค์ บริบทมโนทัศน์ วิธีการวจิ ยั ความเทย่ี งตรง คาถามการวจิ ยั การออกแบบการวจิ ยั แบบปฏกิ ริ ยิ าสมั พนั ธ์

การเลอื กกลุม่ ตวั อย่าง (Building a Sample) มกั จะใชก้ ารส่มุ ตวั อยา่ งแบบมีวัตถุประสงค์ มีกลวิธหี ลายประการและการเลอื กกลวธิ กี ารสมุ่ ตัวอย่างขนึ้ อยู่ กบั จุดสนใจของการศกึ ษาและการตัดสินใจของนักวจิ ัยว่าแนวทางไหนจะให้เกิดความเข้าใจ ปรากฏการณ์ที่จะศึกษา ได้อยา่ งชดั เจนทส่ี ดุ เชน่ 1. เลือกตัวอยา่ งท่เี ป็นตวั แทน (Typical Cases) 2. เลือกตวั อย่างที่หลากหลาย (Maximum Variation Sampling) 3. การเลือกตวั อยา่ งท่ีชดั เจน (Extremely Cases) 4. เลือกตวั อยา่ งแบบลูกโซ่ (Snowball Sampling) 5. เลือกตัวอยา่ งเฉพาะทีใ่ หป้ ระเด็นสาคัญ (Key Informant) การรวบรวมข้อมลู เชิงคณุ ภาพ การวิจยั เชิงคณุ ภาพเปน็ การศกึ ษาปัจจัยทีเ่ นน้ การเขา้ ใจปรากฏการณก์ ารตคี วามหมาย ของโลกหรือสิง่ ที่ ตอ้ งการศึกษาด้วยวธิ กี ารศึกษาและเครื่องมือในการเก็บข้อมลู ท่ีหลากหลาย โดยมเี คร่ืองมือทีส่ าคัญ คอื ผ้วู จิ ัยการ วิจัยนี้มกี ารออกแบบที่ยืดหยุ่น การวเิ คราะหข์ ้อมูลและการเกบ็ ข้อมูลเปน็ กระบวนการที่สามารถดาเนินไปพร้อมกัน ในภาคสนาม การวิเคราะห์เริม่ จากการพจิ ารณาขอ้ มูลเชิงประจักษจ์ นมองเห็นมโนทัศน์หรอื แนว คิดทีม่ ีความหมาย จากขอ้ มลู และเห็นความเชือ่ มโยงของขอ้ มลู จนสามารถสรุปเป็นคา อธิบาย แนวคิด หรือทฤษฎเี พื่อทาความเขา้ ใจ ความหมายตามปรากฏการณ์ในทศั นะของผู้ทถี่ กู ศกึ ษา โดยมจี ุดยืนอยู่บนบรบิ ทของปรากฏการณห์ รอื ของผูท้ ่ถี กู ศกึ ษาเหลา่ นนั้ แต่อยา่ งไรก็ดี ขั้นตอนทีส่ าคัญท่สี ดุ ขนั้ ตอนหนึง่ ในการวิจัยเชิงคุณภาพคอื การเกบ็ ข้อมลู ใหไ้ ด้ ครอบคลุมส่งิ ท่ีตอ้ งการศึกษามากทส่ี ดุ และน่าเชื่อถือมาก ทส่ี ุด ซงึ่ มหี ลายวธิ กี าร ในที่นีไ้ ด้นาเสนอเทคนคิ วธิ กี ารเกบ็ ข้อมูลท่ีมีการใชอ้ ยา่ งกว้างขวางและมี ประสิทธภิ าพ คือ การสงั เกต การสังเกตแบบแบบมีส่วนร่วม (Participant Observation) การสมั ภาษณ์เชิงลกึ (In-depth Interview) และการสนทนากล่มุ (Focus Group Discussion) ไวพ้ อสงั เขปดังน้ี การสงั เกตแบบมสี ว่ นรว่ ม (Participant Observation) การ สังเกตแบบมสี ว่ นร่วม หมายถึง การใช้ประสาทสมั ผสั อยา่ งใดอย่างหน่ึงหรอื หลายอยา่ งพรอ้ มกนั ในการ รวบรวม ข้อมูลโดยต้องเขา้ ไปอยู่และปฏบิ ตั ติ นให้เป็นส่วนหนงึ่ ของชมุ ชนท่ตี ้องการ ศึกษาการสังเกตต้องแยกท่ี สังเกตกบั สิง่ ท่ีเปน็ ประสบการณ์ในอดตี เฉพาะความคุ้นเคยทาใหม้ องเหน็ ภาพ แมจ้ ะไม่ต้องไปศกึ ษาจรงิ ๆ แต่ ความคุ้นเคย ทาให้เราละเลยข้อมูลสาคัญบางประการไป บางคร้งั จะเกิดความลาเอยี ง และเอาส่ิงท่ีรบั รู้จาก ประสบการณ์มาเขียนไม่ได้เกดิ จากการสงั เกตจรงิ ๆ การสมั ภาษณเ์ ชิงลึก (In-depth Interview) การ วจิ ยั เชิงคุณภาพนัน้ มนษุ ยเ์ ปน็ เครอ่ื งมอื ในการเก็บรวบรวมข้อมูลที่สาคญั ท่ี สุดซ่งึ นกั วจิ ยั ใชภ้ าษาในการ สอื่ สาร พูดคยุ หรือทเี่ รยี กเปน็ ทางการว่าการสัมภาษณ์ โดยในการเก็บข้อมลู ไมว่ ่าจะเป็นข้อมลู ดา้ นข้อเท็จจริง ข้อมลู ความคิดเหน็ และเจตคติ รปู แบบการสัมภาษณน์ น้ั มีต้งั แต่การสมั ภาษณท์ เี่ ป็นทางการ มีคาถามทัง้ ท่ีมี โครงสร้างและกง่ึ โครงสรา้ งและการพดู คยุ อยา่ งเปน็ กนั เองเพอ่ื คน้ หาความหมาย ความจริงจากผูใ้ หส้ ัมภาษณ์หรอื ท่ี เรยี กวา่ “การสัมภาษณเ์ ชิงลกึ ”

การสัมภาษณเ์ ชิงลกึ เปน็ วิธกี ารเก็บรวบรวมขอ้ มลู เชิงคณุ ภาพที่มีชือ่ เรียกทแ่ี ตกตา่ งกนั ออกไป เช่น การ สัมภาษณเ์ จาะลกึ การสมั ภาษณล์ ่มุ ลึก การสมั ภาษณ์แนวลกึ เปน็ ต้น ซง่ึ เป็นวิธีการรวบรวมขอ้ มูลโดยไม่ใช้ แบบสอบถาม จะมีแนวของข้อคาถามให้ผสู้ ัมภาษณ์เปน็ ผู้สอบถามผ้ใู หส้ มั ภาษณใ์ นลกั ษณะการ เจาะลึก และตอ้ ง อาศยั ความสามารถพเิ ศษของผูส้ ัมภาษณใ์ นการคน้ หารายละเอยี ดในประเด็น ที่ศกึ ษาอยา่ งลึกซงึ้ ซ่ึงการสัมภาษณ์ เชงิ ลึกมกั จะศึกษาในประชากรกลมุ่ เล็กๆ เชน่ ผ้บู ริหาร นักการเมอื ง ผู้นาทางวิชาการ ผู้นาทอ้ งถิ่น ปราชญช์ าวบา้ น เป็นต้น โดยที่การสัมภาษณ์เชงิ ลกึ นน้ั มไิ ด้มุ่งหวังวา่ จะให้ถกู สัมภาษณ์เลอื กคาตอบ ทีน่ กั วจิ ยั คดิ ไว้ก่อนหรอื สัมภาษณ์ เพยี งคร้ังเดียวแต่ตอ้ งการใหผ้ ้ถู กู สัมภาษณ์เลอื กคาตอบทีน่ กั วจิ ยั คดิ ไวก้ อ่ นหรอื สมั ภาษณเ์ พียงคร้ังเดียวแต่ ตอ้ งการ ให้ผู้ถูกสัมภาษณ์แสดงความคดิ เหน็ ใหค้ าอธิบายรายละเอียดเก่ียวกบั ความสาคญั ของเร่ืองและสถานการณ์ ตลอดจนความเช่อื ความหมายตา่ งๆ อยา่ งลึกซง้ึ ในแง่มมุ ต่างๆ การสนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion) การสนทนากลุ่ม หมายถึง การรวบรวมขอ้ มลู จากการสนทนากับกลมุ่ ผู้ใหข้ อ้ มลู ในประเดน็ ทีเ่ ฉพาะเจาะจง โดยมผี ดู้ าเนินการสนทนา (Moderator) เป็น ผคู้ อยจุดประเดน็ ในการสนทนาเพอื่ ชกั จูงใหก้ ล่มุ เกิดแนวคิดและ แสดงประเดน็ หรือแนวทางการสนทนาอย่างกว้างขวางละเอียดลกึ ซ้ึง โดยมีผูเ้ ขา้ รว่ มการสนทนาในแตล่ ะกลุ่ม ประมาณ 6-10 คน ซง่ึ มาจากประชากรเปา้ หมายที่กาหนดไว้ มีวธิ กี ารเดียวกนั แตม่ ีวัตถุประสงคต์ ่างกนั อีก เชน่ การระดมสมอง (Brian Stoning) การทา Delphi Technique การสัมภาษณ์กลมุ่ (Group interview) การ ประชุมกลุม่ (Group Meeting) ฯลฯ การวเิ คราะหข์ อ้ มลู เชิงคุณภาพ 1. การวเิ คราะห์ขอ้ มลู เชิงคุณภาพ ได้แก่ การจัดระบบส่งิ ทีผ่ ้วู จิ ยั ได้เหน็ ได้ยนิ และได้อ่าน เพอื่ ใหเ้ ข้าใจ ความหมายในสิง่ ที่ได้เรียนรู้ ในการจัดการกับขอ้ มลู นกั วิจยั ใช้วธิ บี รรยาย อธิบายตงั้ สมมติฐาน สร้างทฤษฎี และ เชือ่ มโยงสง่ิ ที่ศกึ ษาไปยังเร่อื งอ่นื ๆ ในการท่ีจะทาเช่นนัน้ ไดน้ กั วิจยั จะต้องจัดประเภท สังเคราะห์ ค้นหาแบบแผน และตีความขอ้ มูลที่รวบรวมมา 2. การวเิ คราะหข์ ้อมลู ไมใ่ ชข่ ้นั สุดทา้ ยของกระบวนการวิจัย และไม่ไดเ้ ปน็ ขัน้ ตอนหนง่ึ ทแี่ ยกออกมาจาก ขน้ั ตอนอน่ื ๆ ในกระบวนการวจิ ัยเชงิ คณุ ภาพนักวจิ ัยจงึ ต้องวิเคราะห์ขอ้ มลู ตลอดทกุ ข้นั ตอน ของการวจิ ยั และตอ้ ง วเิ คราะห์ยอ้ นกลบั ไปกลบั มาหลายคร้ังจนกวา่ จะได้สิง่ ท่ตี อ้ งการศึกษา ครบถ้วน จนสามารถนาเสนอผลการวจิ ัยได้ 3. ข้ันตอนในการวเิ คราะห์ข้อมูลทีน่ าเสนอในบทนแ้ี มจ้ ะแบ่งเปน็ ตอนๆ แต่ไมไ่ ด้หมายความวา่ จะเปน็ ใน ลกั ษณะทีเ่ ป็นลาดับตายตวั หรอื มีลกั ษณะเป็นเสน้ ตรง คือ เริ่มจากขอ้ 1 ไปถงึ ขอ้ สดุ ทา้ ย แล้วนบั เป็นสน้ิ สุด กระบวนการวิเคราะห์ แตอ่ าจจะเร่มิ ทาพร้อมกนั หลายจุด หรอื ย้อนกลับไปมาได้ ฉะนัน้ ลาดับที่ใหไ้ วจ้ งึ อาจยดื หย่นุ ได้ ตามความเหมาะสมหรอื ความจาเป็นท่นี ักวิจัยแต่ละคนจะเลือกใช้ การเขยี นรายงานการวิจยั เชิงคณุ ภาพ เมอ่ื เตรยี มข้อมูลทไ่ี ด้จากการวจิ ยั เพือ่ จะนามาเขยี นรายงาน นักวจิ ัยควรจะเริ่มต้นดว้ ยการคานึงถงึ วตั ถุประสงค์ของการศกึ ษา ถา้ หากตอ้ งการจะสรา้ งความกา้ วหนา้ ในเชิงทฤษฎีและทาใหม้ โนทัศนม์ ีความชดั เจน ใน เร่อื งพฤตกิ รรมมนุษย์ นี่กค็ ือเป้าหมายทั่วๆ ไปทีน่ ักวจิ ัยมักจะตง้ั ไว้ แตถ่ ้าตงั้ วตั ถปุ ระสงคว์ ่าจะปรับปรงุ องค์ประกอบ ของการทางานในสาขาวิชาใด วชิ าหน่งึ เช่น วชิ าพยาบาล นักวจิ ัยอาจตง้ั วัตถปุ ระสงคท์ ีแ่ ตกตา่ งออกไปบ้าง นักวิจยั อาจจะมุง่ สนใจประเดน็ ทางนโยบาย ในทานองเดียวกันกับท่ีเราเหน็ ในเอกสารวจิ ัยสาขาอาชญาวิทยา การแกไ้ ข ความประพฤติวงการยุติธรรมและหน่วยงานทางการปกครองอื่นๆ

การกาหนดวัตถุประสงคต์ อ้ งควบคูไ่ ปกบั การเข้าใจผูอ้ า่ น ในเรื่องการเผยแพร่ขอ้ มลู การวจิ ยั ด้วยข้อเขยี น ลักษณะของผู้อา่ นมคี วามสาคญั แก่ผูเ้ ขียนเหมือนๆ กบั ลกั ษณะของผูฟ้ งั ทม่ี ีความสาคัญแก่ผนู้ าเสนอด้วยคาพดู ถ้า นักวจิ ยั ตอ้ งการที่เขา้ ถึงผูอ้ า่ นท่ตี ้งั ใจไว้ รายงานวจิ ยั จะต้องพูดในประเด็นทเี่ กี่ยวข้องกับกลมุ่ นั้นๆ หรือถ้าต้องการจะ เขา้ ถึงกลมุ่ ทัว่ ๆ ไปที่กวา้ งกว่าเดมิ นกั วิจยั กจ็ ะต้องม่งุ ใหเ้ ข้าถึงความสนใจของกลมุ่ คนเหล่านั้น กล่าวโดยท่วั ๆ ไป รายงานอาจแบง่ ไดเ้ ปน็ หลายสว่ น แตล่ ะสว่ นบอกอะไรบางอยา่ งทีส่ าคัญแก่ผอู้ ่าน ทงั้ นี้ เพือ่ ให้ผอู้ ่านเขา้ ใจส่งิ ทน่ี กั วจิ ัยได้กล่าวไวอ้ ย่างเตม็ ท่ี โดยหลกั การแล้วส่วนประกอบเหล่าน้ีประกอบกนั ข้ึนเป็นโครง รา่ งหรือโครงสรา้ ง สนับสนุนรายงาน โครงสรา้ งสนบั สนุนในท่นี ี้ หมายถึง จานวนหวั ขอ้ หลักๆ (Major headings) ที่แสดงลาดบั ของรายงานการวจิ ยั หวั ขอ้ ในรายงานการวจิ ัยประกอบกันเปน็ เคา้ โครง ซง่ึ เปน็ ปา้ ยบอก สัญญาณแกผ่ ู้อา่ น หวั ขอ้ ในรายงานอาจแบง่ ตามเรือ่ งทเ่ี กิดขน้ึ ในระดบั ต่างๆ ซึง่ แสดงให้เหน็ ระดับของความสาคัญ รายงานการวิจยั ทุกประเภทจาเปน็ ต้องมีหลายๆ ตอนแตไ่ ม่จาเปน็ ว่าจะต้องตั้งชื่อเฉพาะวา่ อะไร โดยทว่ั ไป รายงานการวจิ ยั ประกอบด้วยหวั ข้อใหญๆ่ หรอื ตอนสาคญั ๆ ซงึ่ ไดแ้ ก่ 1. ชื่อเรอ่ื ง (Title) โดยปกติจะอยทู่ ห่ี น้าปก (พร้อมด้วยชือ่ ของผู้เขยี น) และอยู่ทีด่ ้านบนของหนา้ บทคดั ยอ่ 2. บทคัดยอ่ การบรรยายรายงานทั้งหมดโดยย่อ 3. บทนา ไดแ้ ก่ คาถามหลักการวจิ ยั คาศพั ทส์ าคัญ และเป้าหมายของการวิจยั (Research focus) 4. การทบทวนวรรณกรรม ไดแ้ ก่ การตรวจสอบเอกสารวิจยั ท่ีมอี ยู่ ซ่งึ เก่ยี วขอ้ งกับหัวข้อของรายงานอย่าง ละเอยี ด 5. วธิ วี ิทยาการวิจัย บรรยายวธิ ีการท่นี กั วจิ ัยเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมลู อยา่ งละเอยี ด 6. ขอ้ ค้นพบหรือผลการศึกษา การเสนอข้อมลู ทไี่ ดค้ ้นพบในระหวา่ งกระบวนการวิจัย 7. อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ ไดแ้ ก่ การตรวจสอบขอ้ ค้นพบเหลา่ นัน้ และการพจิ ารณาว่ามนั สง่ ผลตอ่ กลมุ่ ต่อชมุ ชน หรือหน่วยงานต่างๆ อย่างไร 8. การอา้ งอิง หมายเหตุ และ/หรอื ภาคผนวก ได้แก่ ตอนซึ่งใหห้ ลักฐานที่สนับสนุนรายงานการวิจยั ณรงค์ศกั ดิ์ บณุ ยมาลกิ สรปุ จากหนงั สือการวจิ ัยเชงิ คณุ ภาพเบอ้ื งต้น ของ ดร. สธญ ภคู่ ง และ ผศ.ดร. อ้อมเดือน สดมณี อาจารย์ สถาบันวจิ ัยพฤตกิ รรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศรนี ครินทรวิโรฒ ทม่ี า : http://www.thaiblogonline.com/sodpichai.blog?PostID=42607


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook