Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เปราะบาง

เปราะบาง

Published by ระพีพัฒน์ พรหมคุณ, 2022-05-26 04:35:47

Description: 22

Search

Read the Text Version

หนา้ | 1

หนา้ | 2

หนา้ | 3

หนา้ | 4

บทสรปุ ผู้บริหาร กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ (พม.) มีพันธกิจในการพัฒนาคนและสังคม ให้มีคุณภาพ เต็มศักยภาพการสร้างเสริมเครือข่ายจากทุกภาคส่วนในการมีส่วนร่วมพัฒนาสังคมจัดระบบสวัสดิการที่เหมาะสม กับบรบิ ทของประเทศไทย ผ่านการขับเคลื่อนของสำนักงานพัฒนาสังคมและความมน่ั คงของมนุษยจ์ งั หวัด และหน่วยงาน ในสังกัดกระทรวง พม. ระดับจังหวัด หรือทีม พม. จังหวัด (One Home) ร่วมกันขับเคลื่อนงาน เพื่อให้ประชาชน มีหลักประกันและมีความมั่นคงในชีวิต โดยเฉพาะอย่างยิ่งครัวเรือนเปราะบางท่ีอาศัยอยู่ในพื้นที่ จึงได้จัดทำ “โครงการ บูรณาการเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบางรายครัวเรือนจังหวัดปทุมธานี (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๖๘)” ขึ้น โดยเน้น การดำเนินการแบบบูรณาการกับหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม และประชาชนที่เกี่ยวข้องในระดับ จงั หวัด อำเภอตำบล และภาคีเครือข่ายในพ้ืนที่ เพื่อให้ความช่วยเหลือกลุ่มเปราะบาง ลดความเหลื่อมล้ำ และพัฒนาคน ทุกช่วงวัย ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงอันจะทำให้ประชาชนสามารถดำรงชีวิต และสามารถพ่ึงพาตนเองได้ โดยไม่ท้ิงใครไว้ข้างหลัง ต่อไป ประกอบกับในปัจจุบันสถานการณ์ ปัญหาสังคมที่มีความซับซ้อนมากขึ้น รวมทั้งวิกฤต เศรษฐกิจ ปัญหาการเข้าถึงบริการภาครัฐ และสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิค – 19 ทวีความรุนแรงส่งผลกระทบต่อคนทุกช่วงวัยทุกกลุ่มอาชีพ โดยเฉพาะกลุ่มเปราะบาง อาทิ ครอบครวั ยากจนทีม่ เี ด็กเล็กครอบครัวแมเ่ ลยี้ งเด่ยี ว ผู้สูงอายุ คนพกิ าร ผูป้ ่วยตดิ เตียง ผูท้ ีอ่ ยใู่ นภาวะยากลำบาก สํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนษุ ยจ์ งั หวัดปทุมธานี ร่วมกับทีม พม. จังหวัด (One Home) ดำเนิน โครงการบูรณาการเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบางรายครัวเรือนจังหวัดปทุมธานี โดยใช้ข้อมูลสถิติครัวเรือน เปราะบางของสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติจากระบบบริหารจัดการข้อมูลการพัฒนาคน แบบช้ีเป้า (Thai people Map and Analytics Platform : TPMAP) พบว่าจังหวัดปทุมธานี มีคนเปราะบาง จำนวน 126,859 คน อยู่ในครัวเรือนเปราะบางจำนวน 55,067 ครัวเรือน (สถิติครัวเรือนเปราะบางจากระบบ TPMAP ข้อมลู ณ มกราคม ๒๕๖๔) ดงั น้ัน จากขอ้ มูลและสถานการณ์ดังกล่าว ทำใหม้ คี วามจำเป็นทีต่ อ้ งมกี ารขบั เคลอ่ื นเพอ่ื แก้ไข ปัญหาความยากจนและพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนทุกช่วงวัย อย่างบูรณาการและต่อเนื่อง เพื่อแก้ไขปัญหา อยา่ งเปน็ องค์รวม และครอบคลุมในทุกมิติ โดยแบง่ พน้ื ทร่ี บั ผดิ ชอบร่วมกับ ทีม พม. จังหวดั (One Home) ดงั น้ี 1) อำเภอคลองหลวง สถานคมุ้ ครองคนไร้ทพี่ ่ึงหญิงธญั บรุ ี 2) อำเภอธญั บรุ ี สถานสงเคราะห์เด็กออ่ นรังสติ 3) อำเภอเมือง สถานคมุ้ ครองและพฒั นาคณุ ภาพคนพิการบ้านก่ึงวถิ ี (ชาย) จงั หวดั ปทุมธานี 4) อำเภอลาดหลมุ แก้ว บา้ นพกั เด็กและครอบครัวจังหวดั ปทุมธานี 5) อำเภอลำลูกกา สำนกั งานสง่ เสรมิ และสนบั สนุนวิชาการ 1 6) อำเภอสามโคก สถานสงเคราะหเ์ ยาวชนมลู นธิ มิ หาราช 7) อำเภอหนองเสอื สำนักงานพัฒนาสังคมและความมน่ั คงของมนุษยจ์ ังหวัดปทุมธานี สถานคมุ้ ครองสวสั ดิภาพผู้เสียหายจากการคา้ มนุษยจ์ ังหวดั ปทมุ ธานี ศูนย์พัฒนาการจดั สวสั ดกิ ารสงั คมผู้สูงอายุจังหวัดปทุมธานี สถานคุ้มครองคนไร้ทพี่ ง่ึ ชายธญั บรุ ี สถานแรกรับเดก็ หญงิ บ้านธัญญพร ศนู ย์คมุ้ ครองคนไรท้ ่พี ง่ึ จงั หวดั ปทมุ ธานี สถานคุ้มครองและพฒั นาคุณภาพคนพกิ ารบา้ นกงึ่ วิถี (หญงิ ) จังหวดั ปทุมธานี หน้า | 5

โดยมีกระบวนการดําเนินงาน 7 ขน้ั ตอน ดงั น้ี 1) การเตรยี มความพร้อมในการขบั เคล่อื น ๑.๑) มอบหมายเจ้าหน้าท่ีและอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (อพม.) เพื่อดำเนินการ ขบั เคล่ือนงานโครงการบูรณาการเพอื่ พฒั นาคุณภาพชวี ิตกลุ่มเปราะบางรายครัวเรอื น ๑.๒) การประสานงานและบูรณาการความร่วมมือระหว่างหน่วยงานสังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุษย์ หรือทีม พม. จังหวัด (One Home) ร่วมกับภาคีเครือข่ายทั้งหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม และประชาชนในการช่วยเหลือกลุ่มเปราะบางให้ครอบคลุมในทุกมิติแบบองค์รวม ได้แก่ ๑) มิติด้าน สุขภาพ ๒) มิติด้านความเป็นอยู่ ๓) มิติด้านการศึกษา ๔) มิติด้านรายได้ และ ๕) มิติด้านการเข้าถึงบริการภาครัฐ เพื่อให้กลุ่มเปราะบางสามารถเข้าถึงสิทธิและสวัสดิการรวมทั้งพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบางและให้ครอบครัวมั่นคง มีความสขุ สามารถพ่ึงพาตนเองไดอ้ ยา่ งยั่งยืน ๑.๓) การขับเคลื่อนโครงการฯ โดยใช้ข้อมูลจากระบบบริหารจัดการข้อมูลการพัฒนาคนแบบชี้เป้า (Thai People Map and Analytics Platform : TPMAP) เป็นข้อมลู หลกั ในการดำเนนิ โครงการฯ หมายเหตุ : หน่วยงานภาครัฐในการบูรณาการขับเคล่ือนโครงการฯ ครอบคลุมหน่วยงานที่เกี่ยวข้องตามบันทึกข้อตกลง ความร่วมมือโครงการเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบางรายครัวเรือน ซ่ึงจัดทำข้ึนเม่ือวันท่ี ๓ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๔ ณ ตึกภักดีบดินทร์ ทำเนียบรัฐบาล ระหว่าง ๑๒ กระทรวง ประกอบด้วย สำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวงมหาดไทย กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงกลาโหม กระทรวงการท่องเท่ียว และกีฬา กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงแรงงาน กระทรวงวฒั นธรรม กระทรวงสาธารณสขุ ๒) การกรองขอ้ มูล เพือ่ ค้นหากลมุ่ เปราะบางซ่ึงเป็นกลุ่มเป้าหมายของโครงการฯ โดยใช้ข้อมูลจากระบบบริหาร จดั การข้อมูลการพฒั นาคนแบบชเี้ ป้า (Thai People Map and Analytics Platform : TPMAP) ๓) การเย่ียมบ้าน เพื่อสอบข้อเท็จจรงิ เป็นการจัดทีมร่วมกันระหว่างเจ้าหนา้ ท่ีสังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคม และความม่ันคงของมนุษย์ อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ สภาเด็กและเยาวชน และภาคี เครือขาย เย่ียมบ้านในระดับครัวเรือน เพื่อสอบถาม รับฟัง สร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้ลงเยี่ยมและผู้ถูกเยี่ยม มีการนำข้อมูลมาบันทึกในสมุดพกครอบครัวในรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic File)โดยมีเจ้าหน้าท่ี สังกัดกระทรวงการพฒั นาสังคมและความมั่นคงของมนษุ ย์ อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนษุ ย์ ร่วมจัดทำ ข้อมลู ครอบครัวเพ่อื บนั ทกึ ในสมดุ พกครอบครัว ๔) การวิเคราะห์ร่วมรายครัวเรือน เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลท่ีได้จากการเย่ียมบ้านกลุ่มเปราะบางรายครัวเรือน เพ่ือนำข้อมูลมาใช้ในการคืนข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์สู่ครอบครัวและชุมชนซ่ึงมีการดำเนินการในระดับตำบล หมู่บ้าน และชุมชน ดำเนินการโดยเจ้าหน้าท่ีสังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ อาสาสมัครพัฒนาสังคม และความมัน่ คงของมนษุ ย์ และภาคเี ครอื ขา่ ย สำหรบั ข้อมลู ท่คี ืนสคู่ รอบครวั และชุมชน ประกอบดว้ ย ๔.๑) ประเภทกลุ่มความเปราะบาง ๔.๒) สาเหตทุ ่ีทำใหเ้ กิดความเปราะบาง ๔.๓) ความช่วยเหลอื ทีจ่ ำเปน็ ตอ่ ครวั เรอื น ๔.๔) แนวทางพัฒนาคุณภาพชีวิตครัวเรือน ๕) การจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพชีวิตรายครอบครัว เป็นการจัดประเภทของการพัฒนาครอบครัวตามลำดับ ความเรง่ ด่วนของกลมุ่ เปราะบางท่ีต้องชว่ ยเหลือ โดยการจดั ทำแผนพฒั นาคุณภาพชวี ิตรายครอบครวั เป็น ๓ ระยะ ไดแ้ ก่ ๕.๑) แผนพัฒนาคุณภาพชีวิตรายครอบครัวระยะเร่งด่วน (ระยะส้ัน) เช่น การช่วยเหลือทางด้าน เคร่ืองอปุ โภคบรโิ ภค เงินสงเคราะห์ (เงนิ อุดหนนุ ) การดูแลสขุ ภาพ และการเขา้ ถึงสิทธใิ นท้งั ๕ มิติ เปน็ ต้น ๕.๒) แผนพัฒนาคุณภาพชีวิตรายครอบครัวระยะกลาง เช่น การให้ความรู้ การฝึกอาชีพ การเข้าถึงโอกาส การเขา้ รว่ มกจิ กรรมกล่มุ ของชมุ ชน การเขา้ ถงึ ระบบ IT และการปรบั สภาพแวดล้อม เปน็ ตน้ ๕.๓) แผนพัฒนาคุณภาพชีวิตรายครอบครัวระยะยาว เช่น การปรับปรุง/ซ่อมแซมท่ีอยู่อาศัย การมีท่ีดิน ทำกิน การเป็นชุมชนสีเขียว (ปลอดภัย ไม่มีการขโมย) การมีพื้นท่ีสาธารณะ และการบรรจุแผนการพัฒนาคุณภาพชีวิต รายครอบครวั ในแผนขององค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ เป็นต้น หนา้ | 6

๖) การตดิ ตามประเมินผล เพื่อนำขอ้ มลู ทไี่ ดม้ าใชใ้ นการวางแผนการดำเนินงานในระยะต่อไป ๗) การจัดเวทีสรุปบทเรียน เป็นการถอดบทเรียนที่ได้จากการดำเนินโครงการ เพ่ือนำไปจัดทำคู่มือการ ดำเนินงานทส่ี มบรู ณแ์ บบ และการจดั การองค์ความรู้ (KM) เพ่อื เผยแพรป่ ระชาสมั พันธ์ และศกึ ษาต่อไป การดำเนินโครงการฯ เจ้าหน้าท่ีผู้รับผิดชอบต้องมีทักษะในการปฏิบัติงานหรือมีความรู้ความสามารถในการขับเคล่ือน โครงการบูรณาการเพือ่ พฒั นาคุณภาพชีวติ กลมุ่ เปราะบางรายคครวั เรอื น ดังนี้ 1. ความร้เู กย่ี วข้องกบั นโยบายของรฐั บาล ดา้ นการแกไ้ ขปัญหาความยากจน ลดความเหล่ือมลำ้ ของประชาชน 2. แนวคิดการพฒั นาคุณภาพชวี ติ กลุม่ เปราะบางรายครวั เรือนและคนทกุ ช่วงวัยตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3. ความหมายครัวเรือนเปราะบาง 4. การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ เพื่อการนำข้อมลู การพฒั นาคนแบบชีเ้ ป้า TPMAP มาใช้ประโยชน์ 5. กระบวนการทางสังคมสงเคราะห์ ในการลงเย่ียมบ้านกลุ่มเป้าหมาย การสัมภาษณ์ การสังเกตุ การวิเคราะห์ ข้อมูลและจัดทำแผนพัฒนาคณุ ภาพชีวติ รายครัวเรอื น 6. สทิ ธิของประชาชนทุกช่วงวยั ในแต่ละประเภทสวสั ดิการ 7. ระเบียบการช่วยเหลือกลุม่ เปา้ หมาย ตามภารกจิ ของกระทรวง พม. 8. กระบวนการบรหิ ารจัดการรายกรณี (Case Management) และทกั ษะการเป็นผจู้ ดั การรายกรณี (Case Manager) 9. ทักษะการประสานงาน และบูรณาการความร่วมมือระหว่างหน่วยงานสังกัดกระทรวง พม. จังหวัด (One Home) ร่วมกับภาคีเครือข่ายทั้งหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม และประชาชนในการช่วยเหลือกลุ่มเปราะบาง ให้ครอบคลุมในทุกมิติแบบองค์รวม ได้แก่ ๑) มิติด้านสุขภาพ ๒) มิติด้านความเป็นอยู่ ๓) มิติด้านการศึกษา ๔) มิติด้านรายได้ และ ๕) มิติด้านการเข้าถึงบริการภาครัฐ เพื่อให้กลุ่มเปราะบางสามารถเข้าถึงสิทธิและสวัสดิการ รวมท้ังพัฒนาคุณภาพ ชวี ิตกลุม่ เปราะบางและให้ครอบครวั มั่นคงมีความสขุ สามารถพ่ึงพาตนเองไดอ้ ย่างยง่ั ยนื 10. ทกั ษะการส่ือสาร 11. ทักษะการใชค้ อมพิวเตอร์ 12. การรักษาความลบั จากการดำเนินโครงการบูรณาการเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบางรายครัวเรือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2564 ถึง เดือนเมษายน 2565 สำนักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัดปทุมธานี และทีม One Home ร่วมกันระดมความคิดเห็นและค้นหาแนวทางการแก้ไขปัญหา อุปสรรค ในการดำเนินโครงการบูรณาการเพื่อพัฒนา คุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบางครัวเรือน โดยมีวิธีการแก้ไขปัญหา ที่อำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ปฏิบัติงาน และสามารถ ขบั เคล่อื นโครงการฯ ให้บรรลเุ ปา้ หมายและวัตถปุ ระสงคข์ องโครงการฯ ดงั นี้ ลำดับ ปญั หา/อุปสรรค การแกไ้ ขปัญหา 1 การถ่ายทอดนโยบายจากระดับกระทรวง สู่การ จัดประชุมหน่วยงานในสังกัดกระทรวง พม. เพ่ือทำความ ปฏิบัติงานในระดับจังหวัดมีการปรับเปลี่ยนแนว เข้าใจ และชี้แจงให้แก่เจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบของแต่ละ ทางการขับเคล่ือนโครงการฯ การจัดเก็บข้อมูลตาม หน่วยงาน เพ่ือให้เกิดความเข้าใจในแนวทาง การขับเคลื่อน เปา้ หมาย และแผนงาน ตลอดเวลา โครงการฯ และเป้าหมายของปีงบประมาณ 2565 เป็นประจำ ทุกเดือน เดือนละ 1 ครง้ั 2 การปรับเปล่ียนแบบฟอร์มในการปฏิบัติงาน เช่น - จดั ประชุมหนว่ ยงานในสังกดั กระทรวง พม. เพอื่ ทำความเขา้ ใจ แบบฟอร์มรายได้ รายะเอียดในสมุดพกครอบครัว และช้ีแจงให้แก่เจ้าหน้าท่ีที่รับผิดชอบของแต่ละหน่วยงาน และระบบสมุดพกอิเลก็ ทรอนิกส์ MSO – LOGBOOK เพ่ือให้เกิดความเข้าใจในแนวทาง การขับเคลื่อนโครงการฯ ส่งผลให้การรายงานผลการดำเนินงานมคี วามคลาดเคล่อื น และเป้าหมายของปีงบประมาณ 2565 เป็นประจำทุกเดือน เดอื นละ 1 คร้ัง หนา้ | 7

ลำดับ ปญั หา/อุปสรรค การแกไ้ ขปัญหา - มีช่องทางการประสาน ในระดับผู้ปฏิบตั งิ าน คือ กลมุ่ ไลน์ “โครงการเปราะบางจังหวดั ปทุมธานี” และ นำรูปแบบการ ส่งต่อข้อมูล Google drive / google form เพ่ือให้การบันทึก ข้อมูล /จัดเก็บข้อมูล มีความสอดคล้องกับแบบรายงาน ของกระทรวง พม. (ส่วนกลาง) - เจ้าหน้าที่ สนง.พมจ. ผู้รับผิดชอบโครงการฯ ศึกษา รูปแบบ และพัฒนาแบบฟอร์มรายงานให้มีความครบถ้วน ตามแบบรายงานของส่วนกลาง เป็นประจำและตอ่ เนอ่ื ง 3 การบริหารจัดการเครือข่ายในการร่วมขับเคลื่อน จัดโครงการถอดบทเรียนฯ ในพื้นท่ี ทั้ง 7 อำเภ อ โครงการบูรณาการเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่ม โดยมีเจ้าหน้าทที่ ่ีรับผิดชอบหน่วยงาน / อาสาสมัครพัฒนา เปราะบางรายครัวเรือน ประกอบด้วย ทีม One สังคมและความม่ันคงของมนุษย์ (อพม.) และหน่วยงานที่ Home อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคง เกี่ยวข้อง เพื่อสะท้อนปัญหา อุปสรรค และร่วมกันหา ของมนุษย์ (อพม.) หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน แนวทางในการแกไ้ ขปญั หา ท่ีเกี่ยวข้องในระดับพ้ืนท่ี มีความสับสนยุ่งยาก เน่ืองจากความรู้ความเข้าใจในแนวทางการ ขับเคลอ่ื นโครงการฯ ไม่เปน็ ไปในทศิ ทางเดียวกัน 4 การใช้ “สมุดพกครอบครัว” มีข้อคำถาม ที่ต้อง คิดค้นนวัตกรรม “แผน่ พบั ครอบครวั ” ขนาด 1 แผน่ A4 ดำเนินการจัดเก็บข้อมูลจำนวนมาก ซึ่งไม่อำนวย แบง่ เป็น 4 หน้า โดยจัดทำเป็นรปู แบบของแผ่นพับ ความสะดวกให้แก่เจ้าหน้าท่ี และ ครัวเรือนที่ จำนวน 1 แผน่ เพ่ืออำนวยความสะดวกใหแ้ ก่ เจ้าหนา้ ท่ี ต้องจัดเก้บข้อมูล เน่ืองจากระยะเวลาที่จำกัด / และ เครอื ข่าย อพม. ในการจัดเก็บข้อมูล ได้อยา่ งรวดเร็ว ความห่างไกลของพ้ืนที่และชุมชน ทำให้ต้องมี และกระชับ แบบฟอรม์ ทก่ี ระชบั และรัดกุม ปัจจยั ความสำเรจ็ การพัฒนาคุณภาพชีวิตของครัวเรือนเรือนเปราะบาง ให้สามารถช่วยเหลือตนเองได้อย่างย่ังยืน มีกลไกที่สำคัญ ในการทำงาน คือ ระบบการทำงานอย่างมีส่วนร่วม ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาชน ภาคธุรกิจ เครือข่ายอพม. ในพ้ืนท่ี และ ประชาชน เนื่องจากโครงการบูรณาการเพอ่ื พฒั นาคุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบางรายครัวเรอื น เป็นการพฒั นา คุณภาพชีวิตครัวเรือนเปราะบางแบบบูรณาการในทุกมิติ โดยยกระดับการให้ความช่วยเหลือจากรายบุคคล เป็นการให้ ความช่วยเหลือระดับครัวเรือน รวมท้ังมีแนวทางและโอกาสพัฒนาคุณภาพชีวิตของครัวเรือนเปราะบาง 3 ระดับ ประกอบด้วย ระยะเร่งด่วน ระยะกลาง และระยะยาว ซึ่งการขับเคล่ือนโครงการฯ ท่ีผ่านมา พบว่า การขับเคลื่อน โครงการบูรณาการเพอ่ื พัฒนาคณุ ภาพชีวติ กลุม่ เปราะบางรายครวั เรอื นจงั หวัดปทมุ ธานี มีปัจจยั ความสำเร็จ ดังนี้ หนา้ | 8

1. ระดบั การบรหิ าร 1.1 วิสัยทัศน์ ของผู้บรหิ ารจังหวัด องค์กรปกครองท้องถิ่นและหน่วยงาน เห็นถึงความสำคัญของนโยบาย/โครงการฯ และผลักดนั ให้เกดิ การขับเคลื่อนโครงการฯ เร่มิ จากการสรา้ งการรับรู้ ส่กู ารนำไปปฏบิ ตั อิ ย่างตอ่ เนือ่ ง ใหเ้ กิดเปน็ รูปธรรม 1.2 มีการกำหนดทิศทางการขับเคลื่อนโครงการฯ ในระดับพ้ืนที่ บรรจุไว้ในแผนปฏิบัติการ/แผนพัฒนาท้องถิ่น เพือ่ ใหเ้ กดิ การรับรใู้ นระดบั ผู้นำชมุ ชน / ประชาชนในชุมชน 1.3 สนับสนนุ ทรัพยากร ในการขับเคลื่อนโครงการฯ ท้งั ทรพั ยากรบุคคล ยานพาหนะ วัสดุอุปกรณแ์ ละงบประมาณ 1.4 มีแผนพัฒนาคุณภาพชีวิต /ระบบการส่งต่อ/การประสานหน่วยงาน MOU เพ่ือสนับนุนให้การช่วยเหลือ ทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ (ครวั เรือนสามารถอยู่รอด พอเพียง ยงั่ ยืน /ระยะเรง่ ด่วน ระยะกลาง ระยะยาว) 1.5 การบูรณาการระบบฐานข้อมูล Big Data ของทุกกระทรวง ที่ครบถ้วน ถูกต้อง เป็นข้อเท็จจริงและมีความเป็น ปัจจุบนั สามารถนำมาวเิ คราะห์ขอ้ มูล เพ่ือให้ความชว่ ยเหลือกลมุ่ เป้าหมาย ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. ระดับการปฏบิ ตั ิ 2.1 เจา้ หนา้ ที่ /เครอื ขา่ ย อพม. มีความเข้าใจ ในวัตถุประสงค์ เปา้ หมาย แนวทาง ของการดำเนินโครงการฯ ในทิศทางเดียวกนั 2.2 ทีม One Home จังหวัด และ อาสาสมัครฯ (อพม.) มีส่วนร่วมในการให้ความช่วยเหลือ/พัฒนากลุ่มเป้าหมาย โดยมีเครื่องมือ (แผนการพัฒนาคุณภาพชีวิตทั้ง 3 ระยะ / ทรัพยากรของหน่วยงาน และ พ้ืนที่ / สมุดพกครอบครัว) ทคี่ รบถ้วนในการขบั เคลื่อนโครงการฯ 3. ระดบั ประชาชนผ้มู ีส่วนได้ส่วนเสีย 3.1 ประชาชนมีส่วนร่วม สะท้อนสภาพปัญหาของครัวเรือน ความต้องการ และการกำหนดเป้าหมาย/วางแผน การพฒั นาคุณภาพชวี ติ ของครัวเรือนตนเอง 3.2 ชุมชนมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวัง และดูแลสมาชิกของชุมชน เพ่ือให้เกิดความตระหนัก/จิตสำนึก ในการดูแล ชุมชน/สมาชิกในชุมชนรว่ มกัน หน้า | 9

หนา้ | 10

ขอ้ มลู ท่ัวไปของจงั หวดั ปทุมธานี ตราสญั ลักษณจ์ ังหวดั วัดปทุมธานี คือ รูปวงกลมมสี ัญลักษณด์ อกบวั หลวงสีชมพูอยู่ตรงกลาง และรวงข้าวสีทองอยู่ ๒ ข้าง ดอกบวั และตน้ ขา้ ว หมายถึง ความสมบูรณ์ดว้ ย พชื พันธุธ์ ัญญาหาร จังหวัดปทุมธานี ใช้อกั ษรย่อว่า \"ปท\" คำขวญั ของจังหวัดปทุมธานี “ถน่ิ บวั หลวง เมอื งรวงขา้ ว เช้ือชาวมอญ นครธรรมะ พระตำหนักรวมใจ สดใสเจ้าพระยา กา้ วหนา้ ” ลักษณะทางกายภาพ (1) ทีต่ ง้ั และอาณาเขตของจงั หวัดปทุมธานี ภาพที่ 1 แผนทจ่ี งั หวดั ปทุมธานี จังหวัดปทุมธานีตั้งอยู่ในภาคกลางประมาณ เส้นรุ้งท่ี ๑๔ องศาเหนือ และเส้นแวงที่ ๑๐๐ องศา ตะวันออก อยู่เหนือระดับน้ำทะเลปานกลาง ๒.๓๐ เมตร มีเนื้อที่ประมาณ ๑ ,๕๒๕.๘๕๖ ตาราง กิ โ ล เม ต ร ห รื อ ป ระม าณ ๙ ๕ ๓ ,๖ ๖ ๐ ไร่ ห่ างจ าก ก รุ งเท พ ม ห าน ค รไป ท างทิ ศ เห นื อ ตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๑ (ถนนพหลโยธิน) เป็นระยะทางประมาณ ๒๗.๘ กิโลเมตร มีอาณาเขต ตดิ ตอ่ กับจังหวัดใกลเ้ คยี ง คือ - ทิ ศ เห นื อ ติ ด ต่ อกั บ อ ำเภ อ บ างไท ร อำเภอบางปะอนิ และอำเภอวงั น้อย จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา อำเภอหนองแค และอำเภอวหิ ารแดง จังหวัดสระบรุ ี - ทศิ ตะวนั ออก ตดิ ต่อกับอำเภอองครักษ์ จงั หวดั นครนายก และอำเภอบางน้ำเปรี้ยว จงั หวัดฉะเชงิ เทรา - ทิศตะวันตก ตดิ ต่อกบั อำเภอลาดบวั หลวง จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา อำเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม และอำเภอไทรนอ้ ย จงั หวดั นนทบรุ ี - ทิศใต้ ติดต่อกับเขตหนองจอก เขตคลองสามวา เขตสายไหม เขตบางเขน เขตดอนเมือง กรุงเทพมหานคร และอำเภอปากเกร็ด อำเภอบางบวั ทอง จังหวัดนนทบรุ ี หนา้ | 11

(2) ลกั ษณะภูมิประเทศ พน้ื ที่ส่วนใหญ่ของจังหวดั เป็นทร่ี าบลมุ่ รมิ สองฝ่งั แม่น้ำโดยมีแมน่ ้ำเจ้าพระยาไหลผา่ นใจกลางจังหวัดในเขตอำเภอเมอื ง ปทุมธานีและอำเภอสามโคกเป็นระยะทาง 27 กิโลเมตร ทำให้พื้นที่ของจังหวัดปทุมธานีถูกแบ่งออกเป็น ๒ ส่วน คือ ฝ่ังตะวันตกของจังหวัดหรือบนฝั่งขวาของแม่น้ำเจ้าพระยาได้แก่ พ้ืนที่ในเขตอำเภอลาดหลุมแก้วกับพ้ืนท่ีบางส่วน ของอำเภอเมือง และอำเภอสามโคกกับฝั่งตะวันออกของจังหวัด หรือบนฝ่ังซ้ายของแม่น้ำเจ้าพระยา ได้แก่ พื้นที่อำเภอ เมืองบางส่วน อำเภอธัญบุรี อำเภอคลองหลวง อำเภอหนองเสือ อำเภอลำลูกกา และบางส่วนของอำเภอสามโคกโดย ปกติระดับน้ำในแมน่ ้ำเจา้ พระยาในฤดูฝน จะเพ่ิมสูงขนึ้ เฉลยี่ ประมาณ ๕๐ เซนติเมตร ซึ่งทำให้เกิดภาวะนำ้ ทว่ มในบริเวณ พน้ื ที่ราบรมิ ฝ่ังแม่นำ้ เจา้ พระยาเป็นบรเิ วณกว้าง และก่อให้เกิดปัญหาอุทกภัย ในพืน้ ที่ฝั่งขวาของแม่นำ้ เจ้าพระยา สำหรับ พื้นที่ทางฝ่ังซ้ายของแม่น้ำเจ้าพระยานั้น เน่ืองจากประกอบด้วยคลองซอยเป็นคลองชลประทานจำนวนมาก สามารถ ควบคมุ จำนวนปริมาณน้ำได้ ทำใหป้ ญั หาเกี่ยวกบั อทุ กภยั มนี ้อยกว่า ข้อมลู การปกครอง/ประชากร (1) การปกครอง จังหวัดปทุมธานีแบ่งการปกครองส่วนภูมิภาคออกเป็น ๗ อำเภอ ประกอบไปด้วย อำเภอเมืองปทุมธานี อำเภอธัญบุรี อำเภอคลองหลวง อำเภอลำลูกกา อำเภอลาดหลุมแก้ว อำเภอสามโคก และอำเภอหนองเสือ มีจำนวนตำบล ๖๐ ตำบล หมู่บา้ น นอกเขตเทศบาลจำนวน 345 หมู่บ้าน มีองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ๖5 แห่ง ประกอบไปด้วย องค์การบริหารส่วนจังหวัด ๑ แห่ง เทศบาลนคร 1 แหง่ เทศบาลเมือง 9 แหง่ เทศบาลตำบล 17 แห่ง และองคก์ ารบริการสว่ นตำบล ๓๗ แห่ง ตารางที่ 1 จำนวนเขตการปกครอง เนอ้ื ที่ และระยะทางจากอำเภอถึงจังหวดั จำแนกเป็นรายอำเภอ พ.ศ. 2561 เขตการปกครอง เน้ือท่ี ระยะทางจาก เทศบาล เทศบาล เทศบาล องคก์ าร ตำบล หม่บู ้าน อำเภอ (ตร.กม.) อำเภอถึงจงั หวดั นคร เมือง ตำบล บรหิ ารสว่ น (นอกเขต (กม.) ตำบล เทศบาล) จังหวัดปทุมธานี 1,525.857 164 1 9 17 37 60 345 เมอื งปทมุ ธานี 120.151 - - 28 5 14 27 คลองหลวง 299.152 22 - 2 - 5 7 71 ธัญบุรี 112.125 18 1 2 1 -6 - หนองเสอื 413.632 58 - - 1 7 7 66 ลาดหลมุ แกว้ 188.120 18 - - 3 5 7 46 ลำลกู กา 297.710 40 - 3 2 6 8 89 สามโคก 94.967 8 - -2 9 11 46 ท่มี า: ทท่ี ำการปกครองจงั หวดั ปทุมธานี (2) ประชากรแฝง นอกจากจำนวนประชากรตามทะเบียนราษฎรแล้ว ปทุมธานียังมีประชากรแฝงสูงเป็นลำดับต้นๆของประเทศ รองจากกรุงเทพมหานคร สมุทรปราการ และนนทบุรี ข้อมูลจากโครงการสำรวจการย้ายถ่ินของประชากรของสำนักงาน สถิติแห่งชาติพบว่าในปี พ.ศ. 2562 จงั หวัดปทุมธานี มีจำนวนประชากรแฝงประมาณ 516,000 คน ซึง่ เป็นประชากร แฝงกลางคืน หมายถึงมาพักอาศัยในจังหวัดปทุมธานี โดยไม่มีช่ือในทะเบียนบ้านจำนวน 369,000 คน และประชากร แฝงกลางวัน หมายถึงผู้ท่ีพักอาศัยอยู่ในจังหวัดอื่นและเข้ามาใช้ชีวิตในจังหวัดปทุมธานีในเวลากลางวันอีกประมาณ 147,000 คน ในจำนวนน้ีเป็นผเู้ ขา้ มาทำงาน 138,000 คนและเขา้ มาเรียนหนังสือในเวลากลางวัน จำนวน 9,000 คน หน้า | 12

ตารางท่ี 2 ประชากรแฝงจำแนกตามประเภท พ.ศ. 2558 – 2562 ประชากรแฝง 2558 2559 2560 2561 2562 538,404 505,086 516,000 รวม 495,494 567,464 342,996 315,298 369,000 195,408 189,788 147,000 ประชากรแฝงกลางคนื 375,123 405,180 179,127 173,369 138,000 ประชากรแฝงกลางวัน 120,371 162,284 16,281 16,419 9,000 - เข้ามาทำงาน 105,260 142,771 - เข้ามาเรยี นหนังสือ 15,111 19,513 ทม่ี า: โครงการสำรวจการยา้ ยถ่นิ ของประชากร สำนกั งานสถิติแห่งชาติ ภาพที่ 2 ความหนาแน่นของประชากร พ.ศ. 2562 ทม่ี า: สำนักบรหิ ารการทะเบียน กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย (3) ภาวะค่าครองชีพ ครัวเรือนของจังหวัดปทุมธานี ซึ่งมีขนาดครัวเรือนเฉล่ียประมาณ 2.9 คนต่อครัวเรือนมีค่าใช้จ่ายเฉลี่ยเดือนละ 33,824 บาท จำแนกเป็นค่าใช้จ่ายเพ่ือการอุปโภคบริโภค 28,941 บาท (ร้อยละ 85.6) และเป็นค่าใช้จ่ายท่ีไม่เก่ียวกับ การอปุ โภคบริโภคเฉลี่ยเดือนละ 4,883 บาท (รอ้ ยละ 14.4) ภาระค่าใช้จา่ ยท่ีเก่ียวกับการอุปโภคบริโภค เม่ือเทียบกับ ค่าใช้จ่ายรวมแล้วส่วนใหญ่จะเป็นค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับอาหารและเครื่องด่ืม (ไม่มีแอลกอฮอล์) (ร้อยละ 32.5) รองลงมาเป็นการเดินทางและการสื่อสาร (ร้อยละ 29.4) ค่าใช้จ่ายเก่ียวกับท่ีอยู่อาศัย เครื่องแต่งบ้าน และเครื่องใช้ตา่ งๆ (ร้อยละ 24.2)และอื่น ๆ ในอตั ราสว่ นไม่ถึงร้อยละ 10 ของค่าใช้จ่ายทงั้ สิน้ ต่อเดือน เมือ่ เปรียบเทียบ กับข้อมูลของปีท่ีผ่านมาพบว่าค่าใช้จ่ายของครัวเรือนในจังหวัดลดลงเฉล่ียร้อยละ 8.79 ต่อปี จากท่ีเคยอยู่ท่ีประมาณ เดอื นละ 37,086 บาทในปี 2562โดยมคี ่าใช้จา่ ยลดลงเกือบทุกประเภทคา่ ใช้จ่าย ลกั ษณะทางสงั คม จังหวัดปทุมธานี เป็นจังหวัดท่ีมีการเจริญเติบโตทางด้านเศรษฐกิจอย่างรวดเร็ว ทำให้มีการเปล่ียนแปลงสภาพ ทางสังคม จากเดิมท่ีเป็นสังคมชนบทกลายเป็นสังคมเมืองและมีการเปลี่ยนแปลงการผลิตจากภาคเกษตรกรรมเป็นการ ผลิตในภาคอุตสาหกรรม สถานการณ์ดังกล่าว ทำให้จังหวัดปทุมธานี เป็นแหล่งรองรับการเข้ามาหางานทำจากคนในทุก ภูมิภาคของประเทศ รวมท้ังแรงงานต่างด้าวที่เข้ามาหางานทำ นอกจากนี้การที่จังหวดั ปทุมธานีเป็นท่ีต้ังของสถานศึกษา ทั้งในระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษาหลายแห่งทำให้มีเยาวชนเข้ามาศึกษาในจังหวัดปทุมธานีเป็นจำนวนมาก ดังนั้น หนา้ | 13

จังหวัดปทุมธานี จึงเป็นแหล่งรองรับปัญหาท่ีเกิดข้ึนจากปัจจัยดังกล่าว อาทิเช่น ปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติด ปัญหาอาชญากรรม ปัญหาส่ิงแวดล้อมและมลพิษที่เกิดจากโรงงานอุตสาหกรรมและชุมชนท่ีมีการขยายตัวอย่างรวดเร็ว และการท่ีจังหวัดปทุมธานีเป็นจังหวัดในปริมณฑลซึ่งอย่ใู กล้ความเจริญจึงทำให้เกิดการเรียกร้องต้องการในการรับบรกิ ารและ แกไ้ ขปญั หาความเดือดร้อนจากส่วนราชการและองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ินสงู การศกึ ษา จังหวัดปทุมธานี มีจำนวนโรงเรียนท่ีจัดการเรียนการสอนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน (อนุบาลถึงมัธยมศึกษา ตอนปลาย) จำนวนทั้งสิ้น 311 โรงเรียน อยู่ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (สพฐ) จำนวน 192 โรงเรียน สำนักบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชนจำนวน 87 แห่ง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจำนวน 32 แห่ง โรงเรียนมีห้องเรียนจำนวน 6,342 ห้อง ครู 9,724 คน นักเรียนรวม 170,879 คน อยู่ในระดับก่อนประถมศึกษา จำนวน 31,254 (ร้อยละ 18.29) ระดับประถมศึกษามีจำนวนมากที่สุด 77,748 คน (ร้อยละ 45.50) ระดับ มธั ยมศึกษาตอนตน้ จำนวน 38,274 คน (ร้อยละ 22.38) และมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 23,603 คน (รอ้ ยละ 13.81) ตารางที่ 3 จำนวนโรงเรียน หอ้ งเรยี น ครูและนกั เรียน จำแนกตามเพศ และสังกัด ปีการศกึ ษา 2563 โรงเรยี น/ห้องเรียน/คร/ู นกั เรียน รวม สพฐ สังกัด สถ. สช โรงเรยี น 311 192 87 32 ห้องเรียน 6,342 3,713 1,807 822 ครู 9,724 6,401 2,472 851 นกั เรียนรวม 170,879 107,522 44,674 18,683 ก่อนประถมศึกษา 31,254 11,283 13,800 6,171 ประถมศึกษา 77,748 46,193 25,411 6,144 มธั ยมต้น 38,274 30,589 3,687 3,998 มัธยมปลาย 23,603 19,457 1,776 2,370 ทม่ี า: สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาปทุมธานเี ขต 1,2 สำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 4 ปทุมธานี และสำนักงานท้องถน่ิ จังหวัดปทุมธานี การศึกษาในระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา จังหวัดปทุมธานีมีสถานศึกษาทั้งสิ้น 17 แห่งนักศึกษารวม 145,220 คน อาจารย์ จำนวน 6,589 คน มีสถานศึกษาในระดับอาชีวศึกษาที่เป็นของรัฐ 3 แห่ง นักศึกษา จำนวน 6,683 คน อาจารย์จำนวน 243 คนของเอกชน 4 แห่ง นักศึกษาจำนวน 4,114 คน อาจารย์จำนวน 153 คน สถานศึกษา ในระดับอุดมศึกษาท่ีเป็นของรัฐท้ังสิ้น 3 แห่ง ได้แก่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี และมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถมั ภ์ มีนักศึกษารวม 70,237 คน อาจารย์ จำนวน 3,678 คน สถาบนั อุดมศึกษาของเอกชนอีกจำนวน 7 แห่ง นักศกึ ษารวม 63,256 คน อาจารย์จำนวน 2,515 คน การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดปทุมธานีมีสถานศึกษาในสังกัดของสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จงั หวดั ปทมุ ธานี 7 แห่ง และหอ้ งสมุดประชาชน 7 แห่ง ได้แก่ (1.1) ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอเมืองปทุมธานี (1.2) ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอสามโคก (1.3) ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอลาดหลุมแกว้ (1.4) ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอลำลูกกา (1.5) ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอคลองหลวง (1.6) ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอธัญบุรี (1.7) ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอหนองเสือ (1.8) ห้องสมดุ ประชาชนจังหวัดปทุมธานี (1.9) ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” อำเภอลาดหลมุ แกว้ (1.10) หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” อำเภอธัญบรุ ี หนา้ | 14

(1.11) หอ้ งสมุดประชาชนอำเภอสามโคก (1.12) ห้องสมดุ ประชาชนอำเภอคลองหลวง (1.13) หอ้ งสมุดประชาชนอำเภอลำลูกกา (1.14) ห้องสมดุ ประชาชนอำเภอหนองเสอื ศาสนา จากข้อมูลจากสำมะโนประชากรและเคหะ สำนักงานสถิติแห่งชาติระบุว่าจังหวัดปทุมานีมีประชากรประมาณ ร้อยละ 97.2 ที่นับถือศาสนาพุทธ รองลงมานับถือศาสนาอิสลาม (ร้อยละ 1.7) ศาสนาศริสต์ (ร้อยละ 1.2) ในปี 2563 จังหวัดปทุมธานีมีจำนวนศาสนสถาน ประกอบด้วยวดั จำนวน 195 แห่ง สำนกั สงฆ์ 2 แห่ง โบสถ์ครสิ ต์ 39 แห่งมัสยิด ๓๐ แห่ง พระภิกษุ 3,163 รูป และสามเณร 332 รูป จังหวัดปทุมธานีไม่มีความขัดแย้งเรื่องความแตกต่าง ดา้ นเช้ือชาติหรอื ศาสนาแต่อยา่ งใด ตารางที่ 4 วดั สำนกั สงฆ์ โบสถ์ครสิ ต์ มสั ยดิ พระภกิ ษุ และสามเณร จำแนกเปน็ รายอำเภอ พ.ศ. 2563 อำเภอ วดั สำนกั สงฆ์ โบสถค์ รสิ ต์ มัสยดิ พระภิกษุ สามเณร รวมยอด 195 2 39 30 3,163 332 เมืองปทมุ ธานี 43 - 5 3 451 17 คลองหลวง 25 1 10 4 1,351 234 ธัญบุรี 10 - 12 1 275 8 หนองเสอื 22 - 1 3 160 1 ลาดหลุมแก้ว 19 - 2 6 214 51 ลำลกู กา 34 - 8 11 473 14 สามโคก 42 1 1 2 239 7 ทมี่ า: สำนักงานพระพทุ ธศาสนาจงั หวัดปทุมธานี สาธารณสขุ สถานบริการสาธารณสุขภาครัฐ / เอกชน ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 จังหวัดปทมุ ธานีมีจำนวนสถานพยาบาลจำนวน 764 แห่งจำแนกเป็นโรงพยาบาล ของรัฐ 8 แห่ง โรงพยาบาลเอกชน 12 แหง่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 78 แหง่ และคลินิกทุกประเภท 666 แหง่ แรงงาน (1) โครงสร้างกำลังแรงงาน ผลการสำรวจภาวะการทำงานของประชากร ไตรมาสที่ 1 พ.ศ. 2564 ของสำนักงานสถิติจังหวัดปทุมธานี ซ่งึ พบว่าจังหวัดปทุมธานี มีจำนวนประชากรอายุ 15 ปีข้ึนไป รวมท้ังส้ิน 1,381,184 คน ซึง่ อยู่ในกำลังแรงงาน 976,810 คน คิดเป็นร้อยละ 70.7 และเป็นผู้ที่ไม่อยู่ในกำลังแรงงาน 404,374 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 29.3% สำหรับกลุ่มผู้ที่อยู่ ในกำลังแรงงาน จำนวน 976,810 คน นั้นแยกได้เป็นผู้มีงานทำจำนวน 946,385 คน คิดเป็นร้อยละ 68.5 ของผู้อยู่ ในกำลังแรงงานและผู้ว่างงาน หมายถึง ผู้ไม่มีงานทำและพร้อมที่จะทำงานมีจำนวน 30,425 คน หรือคิดเป็นอัตราการ วา่ งงาน ร้อยละ 2.2 (2) การจา้ งงานและการคมุ้ ครองแรงงาน ข้อมูลของกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน ระบุว่าในปีพ.ศ. 2563 จังหวัดปทุมธานี มีสถานประกอบการ และลูกจ้างซ่ึงภาครัฐจะต้องดูแลให้เกิดความเป็นธรรมในการจ้างงานและเป็นไปตามกฎหมายการ คุ้มครองแรงงานท้ังส้ิน 11,308 แห่ง และจำนวนลูกจ้างทั้งส้ิน 419,335 คนเพ่ิมขึ้นจากปี พ.ศ. 2562 ร้อยละ 1 ในขณะท่ีสถานประกอบการคงท่ีจากปี พ.ศ. 2562 โดยส่วนใหญ่เป็นการเพ่ิมของสถานประกอบการขนาดเล็กหรือ SMEs ที่มีจำนวนลูกจา้ งไมถ่ ึง 50 คน หน้า | 15

(3) แรงงานต่างด้าว นอกจากลูกจ้างผู้ใช้แรงงานคนไทยท่ีมีอยู่เป็นจำนวนมาก จังหวัดปทุมธานีมีจำนวนผู้ใช้แรงงานซ่ึงเป็นชาวต่างด้าว อยู่เป็นจำนวนมากเช่นกัน โดยปัจจุบันมีคนงานต่างด้าวและผู้ติดตามท่ีขึ้นทะเบียนกับสำนักงานจัดหางานจังหวัดท้ังส้ิน 132,824 คน เป็นผู้เข้าเมืองโดยถูกกฎหมาย 131,601 คน และผู้ท่ีเข้าเมืองโดยผิดกฎหมาย 1,223 คน โดยจำนวน แรงงานต่างด้าวได้ลดลงเนื่องจากต้ังแต่ปี 2562 มีการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด - 19) ต่อเน่ืองมาจน ปัจจบุ ัน ปัญหาแรงงานต่างด้าวส่งผลให้เกิดปัญหาด้านสังคมการสาธารณสุข สวัสดิการสังคมและความปลอดภัยในชีวติ และ ทรัพย์สิน รวมทั้งปัญหาความมั่นคงและการค้ามนุษย์ตามมาอีกมากมาย จังหวัดปทุมธานีได้จัดต้ังศูนย์บริการร่วมเพ่ือ รวบรวมข้อมูลของแรงงานต่างด้าว ณ ตลาดไท โดยมีการบูรณาการการแก้ไขปัญหาดังกล่าวระหว่างผู้ประกอบการท่ีมี การใช้แรงงานต่างดา้ วกับหนว่ ยงานภาครัฐทกุ หน่วยท่ีเก่ยี วข้อง เพื่อใหม้ ีขอ้ มูลในการติดตามแก้ไขปัญหาท่ีเกิดขึ้นไดอ้ ยา่ ง ทันท่วงที และเพ่ือให้การดำเนินงานของศูนย์ดังกล่าวเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพยิ่งข้ึนจะต้องพัฒนาระบบเทคโนโลยี สารสนเทศและการบรหิ ารจดั การตอ่ ไป ตารางท่ี 5 จำนวนคนต่างดา้ วที่ทำงานในจงั หวัดปทุมธานี จำแนกตามลกั ษณะการเขา้ เมอื งปพี .ศ. 2558 - 2563 ลักษณะการเข้าเมือง 2559 2560 2561 2562 2563 132,824 รวมทั้งสิน้ 165,299 212,727 97,067 160,591 131,601 เขา้ เมืองถูกกฎหมาย 164,955 211,519 95,668 159,715 1,223 เข้าเมืองผิดกฎหมาย 344 1,208 1,345 876 ที่มา : สำนกั บรหิ ารแรงงานตา่ งด้าว กรมการจดั หางาน กระทรวงแรงงาน หน้า | 16



หนา้ | 17



หนา้ | 18

หนา้ | 19

2.1 ที่มาและความสำคัญ รัฐบาลมีนโยบายแก้ไขปัญหาความยากจน ลดความเหล่ือมล้ำของประชาชน มุ่งการพัฒนาคนทุกช่วงวัยอย่าง ย่ังยืนโดยไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง ซึ่งปัญหาความยากจนจะไม่หมดไปหากยังมีคนงานจำนวนมากที่ยังคงเปราะบางอยู่ การยกระดับคุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบางให้หลุดพ้นความเปราะบางจำเป็นต้องอาศัยการบูรณาการจากทุกภาคส่วน ร่วมกันขับเคล่ือนการแก้ไขปัญหาเป็นรายครัวเรือนและพัฒนาคุณภาพชีวิตในทุกมิติไปพร้อมกัน ทั้งมิติสังคม เศรษฐกิจ สุขภาพ และสภาพแวดล้อมตลอดจนเป็นการยกระดับการทำงานของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์ จากการดูแลช่วยเหลือรายบุคคลเป็นการพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบางรายครัวเรือนท่ีเป็นการแก้ไข ปญั หาอย่างย่ังยืน ต้องมีกระบวนการวิเคราะห์ให้เห็นถงึ สาเหตุ ที่มาของปัญหา โดยสาเหตขุ องปัญหาอาจไม่ได้มาจากมิติ ทางสังคมเพยี งอย่างเดียว กระทรวง พม.จึงใหค้ วามสำคญั กับการบูรณาการการแก้ไขปัญหาและความร่วมมือจากทุกภาค ส่วนเพ่ือให้การพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบาง เกิดความย่ังยืนโดยมองภาพการแก้ไขปัญหาในระดับรายครัวเรือน และชุมชน จึงไดจ้ ัดทำโครงการบูรณาการเพอ่ื พัฒนาคณุ ภาพชีวิตกลมุ่ เปราะบางรายครวั เรอื นเพ่ือการพัฒนาคุณภาพชีวิต กลุ่มเปราะบางให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีข้ึน บรรเทาภาระของความเปราะบาง แก้ปัญหา และสร้างความมั่นคงให้กับครัวเรือน ได้สามารถดำรงชีวติ ดว้ ยตนเองไดอ้ ยา่ งยั่งยืน 2.2 วัตถุประสงค์ 1. เพ่ือยกระดบั การพัฒนาคุณภาพชวี ติ กกล่มุ เปราะบางจากรายบคุ คลเป็นระดบั ครัวเรือน 2. เพ่ือเปน็ แนวทางในการดำเนินการ เพื่อการพัฒนาคุณภาพชวี ิต กลุ่มเปราะบางรายครวั เรือนให้มคี ุณภาพชวี ิตท่ีดีขึ้น สามารถเข้าถงึ สิทธิและสวัสดิการ โดยคำนึงถึงการพัฒนาคุณภาพชีวิตในทุกมิติ คือ มิติรายได้ มิติความเป็นอยู่ มิติการเข้าถึง บรกิ ารภาครัฐ มิติสขุ ภาพ และ มติ กิ ารศกึ ษา 3. เพ่ือบูรณาการความรวมมือเพ่ือชวยเหลือและพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุมเปราะบางใหครอบคลุมในทุกมิติ แบบองครวม สามารถพงึ่ พาตนเองได้อยา่ งยงั่ ยืน 4. มีฐานขอมลู กลุมเปราะบางรายครัวเรือนของจังหวดั 2.3 กลุ่มเป้าหมาย ครัวเรือนเปราะบางในระบบบริหารจัดการ ขอ้ มูลการพัฒนาคนแบบช้ีเปา้ (Thai people Map and Analytics Platform : TPMAP) จำนวน 55,067 ครัวเรือน โดยกระทรวง พม. กำหนดคำนิยาม ครัวเรือนเปราะบาง หมายถึง ครัวเรือนท่ีมีรายได้น้อยและมีบุคคลท่ีอยู่ในภาวะพ่ึงพิงท่ีต้องการได้รับความช่วยเหลือ จากคนอ่ืน เช่น ครอบครัวที่มีเด็ก เล็ก แม่/พ่อเลี้ยงเดี่ยว ผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ป่วยติดเตียง มีปัญหาที่อยู่อาศัย จำเป็นต้องร่วมกันพัฒนาคุณภาพชีวิ ต กลุ่มดงั กล่าวอย่างเร่งดว่ น จรงิ จัง และตอ่ เนอ่ื ง โดยแบง่ ระดบั ของความเปราะบางครัวเรอื น 4 ระดบั คอื ระดบั 0 ครัวเรือนทีไ่ ม่ตกมิติด้านรายได้ และมีบุคคลที่อยู่ในภาวะพึง่ พิง ระดับ 1 ครัวเรอื นท่ีมีรายไดน้ ้อย และ ประสบปัญหาดา้ นท่ีอยอู่ าศัย ระดบั 2 ครัวเรือนท่ีมรี ายไดน้ ้อย และ มีบุคคลที่อยใู่ นภาวพง่ึ พิง 1 – 2 คน ระดบั 3 ครัวเรือนที่มีรายไดน้ ้อย และ มีบุคคลที่อยใู่ นภาวพึ่งพิง มากกวา่ 2 คน 2.4 ข้นั ตอนและกระบวนการปฏบิ ัตงิ าน 1. ชี้แจงสร้างความเข้าใจ กระบวนการดำเนินโครงการฯ แกผ่ ู้ที่เก่ียวข้อง ได้แก่ ผวู้ า่ ราชการจังหวัด หัวหน้าสว่ น ราชการ เจ้าหน้าท่ีผู้ปฏิบัติงาน One Home อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ สภาเด็กและเยาวชน และองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่น เป็นตน้ หน้า | 20

2. การกรองข้อมูล เพ่ือค้นหาครัวเรือนเปราะบาง ซึ่งเป็นกลุ่มเป้าหมายของโครงการบูรณาการเพื่อพัฒนา คุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบางรายครัวเรือน โดยใช้ข้อมูลจากระบบบริหารจัดการข้อมูลการพัฒนาคนแบบช้ีเป้า (Thai People Map and Analytics Platform : TPMAP) ร่วมกับข้อมูลในระบบของกระทรวง พม. เช่น ผู้ประสบ ปัญหาทางสังคม Social Map ศูนย์ช่วยเหลือสังคม 1300 ผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของ โรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 บัตรสวสั ดกิ ารแหง่ รัฐ เบ้ียยังชพี ผสู้ งู อายุ และเบี้ยยังชพี คนพิการ เป็นตน้ 3. การลงเยี่ยมบ้าน เพ่ือจัดทำข้อมูลครอบครัว นำมาบันทึกในสมุดพกครอบครัว ในรูปแบบ Electronic File โดยทีมร่วมกันดำเนินการ ระหว่างเจ้าหน้าที่ พม. อพม. และภาคีเครือข่าย เยี่ยมบ้านในระดับครัวเรือน เพ่ือนำข้อมูลมา ร่วมกันวิเคราะห์ ค้นหาสภาพปัญหา ระดับความเปราะบาง ความต้องการ สาเหตุ และแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิต กลุ่มเปราะบางแตล่ ะครัวเรือน 4. การจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพชวี ิตรายครอบครัว โดยทีมรว่ มกันดำเนนิ การ ระหว่างเจา้ หน้าที่ พม. อพม. และ ภาคีเครือข่ายในพื้นที่ ร่วมวิเคราะห์สภาพปัญหา ความต้องการ สาเหตุ จัดลำดับความเร่งด่วนของครอบครัวในการ ช่วยเหลือ และออกแบบแผนพฒั นาคุณภาพชวี ติ รายครอบครัว ตามลำดับความเรง่ ดว่ น แบ่งเปน็ 3 ระยะ ได้แก่ - ระยะเรง่ ด่วน ให้การช่วยเหลือด้วยเคร่ืองอปุ โภค - บรโิ ภค เงินสงเคราะห์ และการเข้าถงึ สิทธิ - ระยะกลาง ใหค้ วามรู้ ฝกึ อาชีพ การสง่ เสริมเขา้ รว่ มกิจกรรมกลุ่มของชุมชน การเข้าถงึ โอกาส และการปรับสภาพแวดล้อมทีอ่ ย่อู าศยั - ระยะยาว การปรับปรงุ /ซ่อมแซมทีอ่ ยอู่ าศัย ที่ดนิ ทำกนิ การใชพ้ ้นื ที่ สาธารณะ และการผลกั ดนั ให้บรรจแุ ผนการพฒั นาคณุ ภาพชีวติ รายครัวเรือนในแผนระดบั ท้องถนิ่ /จังหวดั 5. การบูรณาการการพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบางรายครัวเรือนร่วมกับภาคีเครอื ข่าย ทั้งหน่วยงานภาครัฐ องค์กรภาคธุรกิจ ภาคประชาสังคม ในระดับพ้ืนท่ี เพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบางรายครัวเรือน ตามแผนพัฒนา คุณภาพชีวติ ในทุกมติ ิ (สงั คม เศรษฐกจิ สขุ ภาพ สภาพแวดล้อม) 6. การตดิ ตามประเมินผล เพื่อนำขอ้ มลู ไปใช้ในการวางแผนและปรับปรงุ ในระยะต่อไป หน้า | 21

2.5 ลกั ษณะของการดำเนินงานและขอบเขต 1. การคัดกรองข้อมูลเบ้ืองต้นจากฐานข้อมูลท่ีเก่ียวข้อง เช่น ข้อมูลในระบบของกระทรวง พม. ข้อมูล Social Map ศูนย์ช่วยเหลือสังคมสายด่วน 1300 ข้อมลู บัตรสวัสดิการแห่งรัฐ ข้อมูลเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ และเบี้ยยังชีพคนพิการ และข้อมูลระบบบริหารจัดการ ข้อมูลการพัฒนาคนแบบช้ีเป้า (Thai people Map and Analytics Platform : TPMAP) 2. ลงพ้ืนท่ีเย่ียมครอบครัวและวิเคราะห์ข้อมูลร่วม โดยบันทึกข้อมูล ลงในสมุดพกครอบครัวหรือระบบสมุดพก ครอบครัวอิเล็กทรอนิกส์ (MSO – LOGBOOK) 3. ให้การชว่ ยเหลอื กรณเี รง่ ดว่ น และลงพน้ื ทเ่ี ยีย่ มครอบครวั และวิเคราะห์ข้อมูลร่วม 4. จดั ทำแผนพัฒนาคุณภาพชีวติ รายครวั เรอื น แบบมีส่วนรว่ ม 5. บรู ณาการภาคีเครือข่ายเพอื่ การช่วยเหลือและพัฒนารายครัวเรือน 6. ติดตาม ประเมนิ ผล และสรปุ บทเรยี นรว่ มกนั 2.6 นยิ ามคําศพั ท์ 1. TPMAP Thai People Map and Analytics Platform : TPMAP หมายถึง ระบบบริหารจัดการข้อมูล การพัฒนาคนแบบช้ีเป้า (Thai People Map and Analytics Platform) ซึ่งได้รับการพัฒนาต่อยอดจากระบบบริหาร จัดการข้อมูลคนจนแบบช้ีเป้า (Thai Poverty Map and Analytics Platform) ให้สามารถครอบคลุมปัญหาท่ีกว้างขึ้น เช่น เด็กแรกเกิด การศึกษา ผู้สูงอายุ การพฒั นาสภาพทีอ่ ย่อู าศัย โดยยังคงความสามารถของระบบเดิมในการชเี้ ปา้ ความ ยากจนไว้ด้วย TPMAP จึงสามารถใช้ระบุปัญหาความยากจนในระดับบุคคล ครัวเรือน ชุมชน ท้องถ่ิน/ท้องท่ี จังหวัด ประเทศ หรือปัญหาความยากจนรายประเด็น ซ่ึงทําให้การแก้ปัญหาตรงกับกลุ่มเป้าหมายมากขึ้นและสามารถออกแบบ นโยบาย โครงการในการแก้ปัญหาให้ตรงกับความต้องการหรือสภาพปัญหาได้ TPMAP เป็นการทํางานร่วมกันระหว่าง สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ (สศช.) และ ศนู ย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ แหง่ ชาติ (เนคเทค-สวทช.) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป้าหมายของระบบ TPMAP คือ การบรรเทาความยากจนอย่างแม่นยําและปรบั ปรงุ คุณภาพชีวิตของประชาชน โดยใช้ตอบคําถามสามข้อต่อไปน้ี คนจนอยู่ทไี่ หน ความตอ้ งการพ้ืนฐานของพวกเขาคืออะไร และจะบรรเทาความยากจน ได้อย่างไร คนยากจนอยู่ที่ไหน เพ่ือตอบคําถามว่าคนจนอยู่ท่ีไหน TPMAP มีฟังก์ชันเจาะลึกแบบลําดับชั้นซ่ึงช่วยให้ผู้ใช้ สามารถประเมินข้อมูลความยากจน (เช่น จํานวนคนจนและความยากจน) จากระดับประเทศ ไปจนถึงข้อมูลโดยละเอียด ทีเ่ นน้ เฉพาะจังหวัด อําเภอ (อําเภอ) หรอื ตาํ บล อําเภอ (ตําบล). อะไรคือความตอ้ งการพื้นฐานของคนจน? เพ่ือตอบความ ต้องการพ้ืนฐานของคนจน TPMAP ใช้ข้อมูลความต้องการขั้นต่ำขั้นพ้ืนฐานโดยละเอียดที่กรมพัฒนาชุมชนรวบรวมเป็น ประจาํ ทุกปี ซง่ึ ตัวชีว้ ดั ความยากจนท่ีใช้โดย TPMAP มี ดงั น้ี ตวั ชี้วัด ดา้ นสขุ ภาพ ด้านความเปน็ อยู่ • เด็กแรกเกดิ มีน้ำหนกั 2,500 กรัมข้ึนไป • ครัวเรือนมีความมั่นคงในท่ีอยอู่ าศยั และบ้านมีสภาพคงทนถาวร • ครวั เรือนกนิ อาหารถูกสขุ ลักษณะ ปลอดภยั และไดม้ าตรฐาน • ครัวเรือนมีน้ำสะอาดสาํ หรบั ด่มื และบริโภคเพียงพอตลอดปี • ครัวเรือนมีการใช้ยาเพื่อบําบัด บรรเทาอาการเจ็บป่วยเบื้องต้นอย่าง อยา่ งน้อยคนละ 5 ลิตรต่อวนั เหมาะสม • ครัวเรือนมีน้ำใช้เพยี งพอตลอดปี อยา่ งนอ้ ยคนละ 45 ลติ ร • คนอายุ 6 ปีขึ้นไป ออกกําลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน วันละ ต่อวนั 30 นาที • ครัวเรือนมีการจัดการบ้านเรือนเป็นระเบียบเรียบร้อย สะอาด และถูกสุขลักษณะ หน้า | 22

ตัวชวี้ ัด ด้านการศึกษา ด้านรายได้ • เด็กอายุ 3-5 ปี ไดร้ ับบรกิ ารเล้ยี งดูเตรยี มความพรอ้ มก่อนวัยเรยี น • คนอายุ 15-59 ปี มีอาชพี และรายได้ • เด็กอายุ 6-14 ปี ได้รบั การศกึ ษาภาคบงั คบั 9 ปี • คนอายุ 60 ปขี นึ้ ไป มอี าชพี และรายได้ • เด็กจบช้ัน ม.3 ไดเ้ รียนตอ่ ช้นั ม.4 หรอื เทียบเทา่ • รายได้เฉลี่ยของคนในครวั เรอื นต่อปี • คนอายุ 15-59 ปี อ่าน เขยี นภาษาไทย และคดิ เลขอยา่ งงา่ ยได้ ดา้ นการเข้าถงึ บรกิ ารรัฐ • ผู้สงู อายุ ได้รับการดูแลจากครอบครวั ชุมชน ภาครฐั หรือภาคเอกชน • ผูพ้ กิ าร ได้รับการดแู ลจากครอบครัว ชมุ ชน ภาครฐั หรือภาคเอกชน 2. ครัวเรือนเปราะบาง หมายถึง ครัวเรือนท่ีมีรายได้น้อยท่ีมีบุคคลที่อยู่ในภาวะพึ่งพิงที่ต้องการได้รับความ ช่วยเหลอื จากคนอ่นื เชน่ ครอบครัวยากจนที่มเี ดก็ เล็ก แม่เลยี้ งเดี่ยว ผู้สงู อายุ คนพกิ าร ผปู้ ่วยตดิ เตียง มปี ัญหาท่อี ยู่อาศัย จำเปน็ ตอ้ งร่วมกันพฒั นาคณุ ภาพชีวิตกลมุ่ ดงั กล่าวอยา่ งเร่งดว่ น จริงจัง และตอ่ เน่ือง 3. การช่วยเหลือ หมายถึง การช่วยเหลือและแก้ไขปัญหาเพ่ือพัฒนาให้ครัวเรือนเป้าหมายมีคุณภาพชีวิตท่ีดีขึ้น โดยมีการบูรณาการของหน่วยงานที่เก่ียวข้องในพ้ืนท่ี เพ่ือให้ครัวเรือนเปราะบางสามารถดำรงชีวติ อยู่ได้ตามความจำเป็น ขน้ั พ้ืนฐานและสามารถพงึ่ พาตนเองได้ในท้งั ๕ มติ ิ ได้แก่ ๑) มิตดิ า้ นสุขภาพ ๒) มติ ิด้านความเป็นอยู่ ๓) มิตดิ า้ นการศึกษา ๔) มิติด้านรายได้ ๕) มิติดา้ นการเข้าถงึ บรกิ ารภาครฐั 4. ฐานข้อมูลครัวเรือนเปราะบาง หมายถึง ฐานข้อมูลครัวเรือนเปราะบางที่มาจากการกรองข้อมูลจากแหล่ง ต่าง ๆ ทเ่ี ก่ยี วข้อง ประกอบดว้ ย ๑) ฐานข้อมูลในระบบบริหารจัดการข้อมูลการพัฒนาคนแบบชี้เป้า (Thai People Map and Analytics Platform : TPMAP) ๒) ฐานข้อมูลของกระทรวงการพฒั นาสังคมและความมนั่ คงของมนษุ ย์ ได้แก่ - ขอ้ มูลการให้ความช่วยเหลอื ผ้ปู ระสบปัญหาทางสังคม (เงนิ อดุ หนนุ กระทรวง พม.) - ขอ้ มลู เงินอดุ หนุนเพือ่ การเลย้ี งดูเด็กแรกเกิด - ขอ้ มลู การสำรวจผ้ปู ระสบปญั หาทางสงั คมรายครัวเรอื น (Social Map) - ขอ้ มูลรบั เรื่องราวรอ้ งทุกข์ (๑๓๐๐) - ข้อมูลผู้ได้รับสิทธิโครงการเพ่ือช่วยเหลือ เยียวยา และชดเชยให้แก่ประชาชนซึ่งได้รับผลกระทบ จากการระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 ของกระทรวง พม.) ๓) ฐานขอ้ มลู ผไู้ ด้รบั บตั รสวัสดิการแหง่ รัฐ ๔) เบ้ยี ยังชีพผ้สู ูงอายุ และเบ้ยี ยังชพี คนพิการ 5. ระดบั ความเปราะบาง ระดับ 0 ครวั เรอื นทไ่ี ม่ตกมติ ิดา้ นรายได้ ไมม่ ีบคุ คลท่ีอยใู่ นภาวะพึง่ พิง ครัวเรือนไมต่ กมิตริ ายได้ แต่มีบคุ คลในภาวะพ่งึ พิง ระดบั 1 ครวั เรอื นทต่ี กมิติด้านรายได้/มรี ายไดน้ ้อย และ ประสบปัญหาด้านทอ่ี ยอู่ าศัย ระดบั 2 ครวั เรอื นทต่ี กมิติด้านรายได้/มรี ายไดน้ ้อย และ มีบคุ คลทอ่ี ยใู่ นภาวพึง่ พิง 1 – 2 คน ระดับ 3 ครัวเรือนท่ตี กมติ ดิ า้ นรายได้/มรี ายไดน้ อ้ ย และ มีบคุ คลทอ่ี ยใู่ นภาวพง่ึ พงิ มากกวา่ 2 คน หมายเหตุ : ครวั เรอื นท่ีตกมติ ิรายได้/มรี ายไดน้ อ้ ย หมายถงึ ครัวเรือนทีม่ รี ายได้เฉล่ยี ต่อคนต่อปี ไม่เกิน 100,000 บาท หน้า | 23

หนา้ | 24

3.1 เปา้ หมายโครงการบรู ณาการเพื่อพัฒนาคณุ ภาพชีวิตกลมุ่ เปราะบางรายครวั เรอื น จากฐานข้อมูลในระบบบริหารจัดการข้อมูลการพัฒนาคนแบบช้ีเป้า (Thai People Map and Analytics Platform : TPMAP พบว่า ครัวเรือนเปราะบางท้ังประเทศ 4.1 ล้านครัวเรือน โดยในจังหวัดปทุมธานี มีครัวเรือน เปราะบาง จำนวนท้ังส้ิน 55,067 ครัวเรือน ตกเกณฑ์มิติความยากจน 5 มิติ ได้แก่ ด้านการศึกษา ด้านสุขภาพ ด้านความเป็นอยู่ด้านการเข้าถึงบริการรัฐและด้านรายได้ จำนวน 1,999 ครัวเรือน (ประกอบด้วยตัวชี้วัดย่อย 17 ตัว ท่มี าจากการจัดทำดชั นี MPI โดยใชข้ ้อมลู ความจำาเป็นพน้ื ฐาน (จปฐ.) จากกรมการพฒั นาชุมชน กระทรวงมหาดไทย) เกณฑ์ครวั เรือนเปราะบาง และนิยามภาระ โดยกรมการพัฒนาชุมชน เกณฑ์การคัดเลอื กครัวเรอื นเปราะบาง 1. เปน็ ครัวเรอื นทอี่ าชพี เกษตรกรจากข้อมลู จปฐ. และไมไ่ ด้ลงทะเบยี นเกษตรกร (หัวหน้าครวั เรือนแจง้ ว่าเป็นเกษตรกรและในครวั เรือนไมม่ ผี ูใ้ ดขนึ้ ทะเบยี นเกษตรกร ฯ) หรอื 2. รายไดต้ ำ่ กวา่ 100,000 บาท และไม่ได้รับเงนิ สวสั ดกิ ารผมู้ รี ายได้นอ้ ย (รายไดเ้ ฉล่ียต่อคนตอ่ ปี นอ้ ยกวา่ 100,000 บาท และไม่มีใครในบ้าน ได้รับบัตรสวัสดกิ ารรัฐ) นิยามภาระในครัวเรอื นเปราะบาง 1. ไม่มีความมั่นคงในทีอ่ ยอู่ าศัย (ตกตัวชีว้ ัดที่ 8 ตามเกณฑ์ จปฐ) 2. มเี ด็กยากจนตามเกณฑ์ ศธ. (ตามฐานข้อมูล ศธ.) 3. มเี ด็ก (อายุระหวา่ ง 3 – 14 ปี) 4. มีผสู้ งู อายุ และไมไ่ ด้รับเบี้ยยังชพี (เบีย้ ตามฐานขอ้ มูล สถ. 62) 5. มีผู้พกิ าร และไมไ่ ด้รับเบ้ยี ยงั ชพี (เบีย้ ตามฐานขอ้ มูล สถ. 62) 6. มผี ู้ป่วยเร้ือรงั ทีช่ ่วยเหลอื ตวั เองไม่ได้ โดยครัวเรือนเปราะบางจังหวัดปทุมธานี มีครัวเรือนเปราะบาง จำนวนท้ังสิ้น 55,067 ครัวเรือน ตกเกณฑ์มิติ ความยากจน 5 มิติ รายละเอียด ดังน้ี ครัวเรอื นเปราะบางจังหวดั ปทุมธานี พน้ื ที่ ครัวเรือน ด้าน ด้านความ ด้าน ด้าน ด้านการเขา้ ถึง จำนวนรวม เปราะบาง สขุ ภาพ เปน็ อยู่ การศกึ ษา รายได้ บริการภาครฐั (ตกมิติแต่ละ คลองหลวง ธญั บุรี 18,289 - - - 16 - อำเภอ) เมอื ง - 16 ลาดหลุมแก้ว 2,605 46 16 15 185 - 262 ลำลูกกา - 371 สามโคก 4,646 113 126 3 129 - 166 หนองเสอื - จำนวนรวม 15,643 61 12 7 86 - 1,055 (แต่ละมติ ิ) 102 6,247 312 28 44 671 27 3,727 7 - 4 91 3,910 3 5 2 17 55,067 542 187 75 1,195 - 1,999 ข้อมลู ครัวเรอื นเปราะบาง TPMAP ปี 2562 เป้าหมายการดำเนินโครงการบูรณาการเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบางรายครัวเรือน จังหวัดปทุมธานี ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 จำนวน 8,261 ครวั เรอื น (15 % ของครัวเรอื นเปราะบาง TPMAP 55,067 ครวั เรอื น) หนา้ | 25

3.2 กระบวนการขับเคล่อื นโครงการบูรณาการเพื่อพัฒนาคณุ ภาพชีวิตกล่มุ เปราะบางรายครวั เรอื น วธิ กี ารปฏิบัติงาน 1. พัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัดปทุมธานี ช้ีแจงเพ่ือสร้างความเข้าใจกระบวนการการ ดำเนินการบูรณาการร่วมกันกับผู้ที่เก่ียวข้องในการประชุมกรมการจังหวัด โดยมีผู้ว่าราชการจังหวัดและหัวหน้าส่วน ราชการ ทั้งในระดบั ภูมภิ าคและในระดบั พืน้ ท่เี ขา้ ร่วมรับฟัง 2. พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดปทุมธานี ช้ีแจงเพื่อสร้างความเข้าใจในแนวทางการขับเคล่ือน งานกับทีม พม. จังหวัด (ทีม One Home) และอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ (อพม.) เพื่อร่วมกัน ขับเคล่ือนโดยมีการมอบหมายหน่วยงานในสังกัดกระทรวง พม. จังหวัด รับผิดชอบลงพื้นท่ีค้นหากลุ่มเพราะบางในพ้ืนท่ี แต่ละพื้นที่(อำเภอ) และมกี ารจบั คู่ความรับผดิ ชอบดแู ลครัวเรอื นเปราะบาง ในแต่ละพืน้ ท่ีร่วมกับ อพม. ตามแนวทางของ กระทรวง พม. (ข้าราชการ 1 คน ตอ่ อพม. 25 คน / อพม. 1 คน ดูแลครัวเรอื นเปราะบาง 10 ครวั เรอื น) จงั หวดั ปทมุ ธานี มีพนื้ ท่ี 7 อำเภอ มอบหมายใหห้ น่วยงานในสังกดั กระทรวง พม. จงั หวัดรับผิดชอบพน้ื ท่ี 1 อำเภอ ดังนี้ 1) อำเภอคลองหลวง สถานคุม้ ครองคนไรท้ พ่ี ึง่ หญงิ ธัญบุรี สถานสงเคราะห์เดก็ อ่อนรังสิต 2) อำเภอธญั บรุ ี สถานคมุ้ ครองและพัฒนาคุณภาพคนพกิ ารบ้านกึง่ วิถี (ชาย) จังหวดั ปทมุ ธานี บา้ นพักเดก็ และครอบครัวจงั หวัดปทุมธานี 3) อำเภอเมือง สำนักงานสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ วชิ าการ 1 สถานสงเคราะหเ์ ยาวชนมูลนธิ ิมหาราช 4) อำเภอลาดหลุมแก้ว สำนักงานพฒั นาสังคมและความมนั่ คงของมนษุ ยจ์ งั หวัดปทุมธานี 5) อำเภอลำลกู กา สถานคุ้มครองสวัสดิภาพผ้เู สยี หายจากการค้ามนุษยจ์ ังหวดั ปทุมธานี ศนู ย์พัฒนาการจดั สวัสดิการสังคมผสู้ ูงอายุจงั หวดั ปทมุ ธานี 6) อำเภอสามโคก สถานคมุ้ ครองคนไร้ทพี่ ่ึงชายธัญบุรี สถานแรกรับเด็กหญิงบ้านธญั ญพร 7) อำเภอหนองเสือ ศนู ยค์ มุ้ ครองคนไรท้ ี่พ่ึงจังหวดั ปทุมธานี สถานคุ้มครองและพฒั นาคณุ ภาพคนพกิ ารบา้ นกงึ่ วิถี (หญิง) จงั หวดั ปทุมธานี หน้า | 26

3. เจ้าหน้าที่กลุ่มนโยบายและวิชาการ ผูร้ บั ผดิ ชอบการขบั เคล่ือนโครงการฯ ดำเนินการคดั กรองขอ้ มูลจากระบบ (Thai people Map and Analytics Platform : TPMAP) และคัดแยกเป็นพ้ืนท่ีอำเภอจัดส่งให้หน่วยงาน พม.จังหวัด และอพม. ในแต่ละพื้นท่ี เพ่อื ใชเ้ ป็นขอ้ มูลในการลงเยีย่ มบา้ น 4. ข้อมูล TPMAP ของจังหวัดปทุมธานีมีครัวเรือนเปราะบาง จำนวน 55,067 ครัวเรือน และมีครัวเรือน เป ร า ะ บ า ง ท่ี ค้ น พ บ จ า ก ก าร ป ฏิ บั ติ ง า น ข อ งส ำ นั ก งา น พั ฒ น า สั ง ค ม แ ล ะ ค ว า ม มั่ น ค ง ข อ ง ม นุ ษ ย์ จั ง ห วั ด ป ทุ ม ธ า นี จำนวน 3,591 ครัวเรือน โดยจัดทำเป็นเอกสารส่งให้หน่วยงานในสังกัดกระทรวง พม. จังหวัดปทุมธานี (ทีม One Home) และ อพม. ลงเยี่ยมบ้านและคัดกรองข้อมูลตามระดับความเปราะบาง คือ ระดับ 0 1 2 และ 3 พร้อมบันทึกข้อมูล ลงในสมุดพกครวั เรอื น และระบบสมดุ พกครอบครัวอิเลก็ ทรอนิกส์ (MSO – LOGBOOK) 5. จัดทำแผนการขับเคล่ือนโครงการฯ ปี 2565 ให้สอดคล้องกับตัวชี้วัดคำรับรองการปฏิบัติราชการ ของสำนักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัด โดยคัดเลือกกลุ่มเป้าหมายร้อยละ 15 ของครัวเรือนเปราะบาง ท้ังหมดของจังหวัด (ครัวเรือนเปราะบาง TPMAP 55,067 ครัวเรือน) เพ่ือดำเนินการลงพ้ืนที่เยี่ยมบ้านบันทึกข้อมูล วิเคราะห์ร่วมรายครัวเรือนจัดทำแผนการพัฒนารายครัวเรือน และให้ความช่วยเหลือโดยเรียงลำดับความเดือดร้อน/เร่งด่วน ตามระดับความเปาะบางเพือ่ ให้ความช่วยเหลอื จากระดบั ความเปราะบาง ระดบั 3 2 1 และ 0 ตามลำดับ 6. มกี ารบรู ณาการให้ความช่วยเหลือจากการวิเคราะหร์ ่วมและจดั ทำแผนการพัฒนารายครัวเรือน เป็นแผนระยะ เรง่ ดว่ น ระยะกลาง และระยะยาว โดยจำแนกการให้ความช่วยเหลือหลายครวั เรอื นตามแผน 3 ระดับ ดังน้ี 6.1 ระยะเร่งด่วน เช่น เครื่องอุปโภคบริโภค เงินสงเคราะห์ช่วยเหลือ การบริการให้เข้าถึงสิทธิสวัสดิการ ทีเ่ ก่ียวขอ้ ง และการใหค้ ำปรึกษาแนะนำสิทธิของประชาชน เปน็ ต้น 6.2 ระยะกลาง เช่น แนะนำช่องทางการเข้าถึงสิทธิการมีงานทำของหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง แนะนำช่องทาง การเข้าถึงสทิ ธเิ งินก้ยู ืมเพื่อประกอบอาชพี สำหรบั คนพิการและผู้สงู อายุ ประสานส่งต่อองคก์ รภาคเอกชนท่รี ่วมขับเคลื่อน งานดา้ น CSR เพอื่ ให้การชว่ ยเหลอื ด้านอาชพี และรายได้ เป็นต้น 6.3 ระยะยาว เช่น การซ่อมแซมปรับปรุงที่อยูอ่ าศัยตามโครงการปรับสภาพแวดล้อมสำหรับผู้สูงอายุและคน พกิ ารและการซอ่ มแซมทอี่ ยู่อาศยั สำหรบั ผ้มู รี ายได้น้อยตามโครงการบา้ นพอเพยี ง เปน็ ต้น ข้นั ตอนการดำเนินงานของทมี One Home จงั หวดั ปทุมธานี หนา้ | 27

3.3 ทักษะในการปฏบิ ตั งิ าน / ความรคู้ วามสามารถ การขับเคล่ือนโครงการบูรณาการเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มเปาะบางรายคครัวเรือน เจ้าหน้าที่ ทีม พม. จังหวัดและอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (อพม.) บูรณาการการปฎิบัตงิ านร่วมกัน โดยต้องมีความรู้ ความสามารถและทกั ษะในการปฏิบัตงิ าน ดงั นี้ 1. ความร้เู ก่ยี วข้องกบั นโยบายของรฐั บาล ดา้ นการแกไ้ ขปญั หาความยากจน ลดความเหล่อื มล้ำของประชาชน 2. แนวคิดการพฒั นาคุณภาพชีวติ กลุม่ เปราะบางรายครัวเรอื นและคนทุกชว่ งวยั ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3. ความหมายครวั เรือนเปราะบาง 4. การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ เพอ่ื การนำขอ้ มูลการพัฒนาคนแบบชี้เป้า TPMAP มาใช้ประโยชน์ 5. กระบวนการทางสังคมสงเคราะห์ ในการลงเยี่ยมบ้านกลุ่มเป้าหมาย การสัมภาษณ์ การสังเกตุ การวิเคราะห์ ข้อมลู และจดั ทำแผนพฒั นาคณุ ภาพชวี ิตรายครวั เรือน 6. สิทธขิ องประชาชนทุกช่วงวยั ในแต่ละประเภทสวัสดิการ 7. ระเบียบการชว่ ยเหลือกล่มุ เป้าหมาย ตามภารกิจ ของกระทรวง พม. 8. กระบวนการบรหิ ารจัดการรายกรณี (Case Management) และทกั ษะการเป็นผ้จู ัดการรายกรณี (Case Manager) 9. ทักษะการประสานงาน และบูรณาการความร่วมมือระหว่างหน่วยงานสังกัดกระทรวง พม. จังหวัด (One Home) ร่วมกับภาคีเครอื ข่ายทั้งหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม และประชาชนในการชว่ ยเหลอื กล่มุ เปราะบางให้ ครอบคลุมในทุกมิติแบบองค์รวม ได้แก่ ๑) มิติด้านสุขภาพ ๒) มิติด้านความเป็นอยู่ ๓) มิติด้านการศึกษา ๔) มิติด้าน รายได้ และ ๕) มิติด้านการเข้าถึงบริการภาครัฐ เพ่ือให้กลุ่มเปราะบางสามารถเข้าถึงสิทธิและสวัสดิการ รวมทั้งพัฒนา คุณภาพชีวิตกล่มุ เปราะบางและให้ครอบครัวมน่ั คงมีความสุข สามารถพงึ่ พาตนเองไดอ้ ย่างยง่ั ยนื 10. ทกั ษะการส่อื สาร 11. ทักษะการใชค้ อมพิวเตอร์ 12. การรกั ษาความลับ หนา้ | 28

หนา้ | 29

4.1 ปญั หา อุปสรรคการปฏบิ ตั งิ าน จากการดำเนินโครงการบูรณาการเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบางรายครัวเรือน ของทีม One Home จังหวัดปทุมธานี ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2564 - เดือนเมษายน 2565 ร่วมกับเครือข่ายอาสาสมัครพัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุษย์ (อพม.) และองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน (อปท.) พบว่า มีปัญหาอุปสรรคในการขับเคล่ือน โครงการฯ ที่ได้รับการสะท้อนจาก เวทีถอดบทเรียนโครงการบูรณาการเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบางราย ครัวเรือน ในพืน้ ที่ 7 อำเภอ ของจงั หวัดปทมุ ธานี ดังน้ี 1. การถ่ายทอดนโยบายจากระดับกระทรวง สู่การปฏิบัติงานในระดับจังหวัดมีการปรับเปล่ียนแนวทางการขับเคลื่อน โครงการฯ การจัดเก็บข้อมูลตามเปา้ หมาย และแผนงาน ตลอดเวลา 2. การปรับเปลี่ยนแบบฟอร์มในการปฏิบัติงาน เช่น แบบฟอร์มรายได้ รายะเอียดในสมุดพกครอบครัว และระบบสมดุ พกอเิ ล็กทรอนิกส์ MSO – LOGBOOK ส่งผลใหก้ ารรายงานผลการดำเนนิ งานมีความคลาดเคลอื่ น 3. การบริหารจัดการเครือข่ายในการร่วมขับเคลื่อนโครงการบูรณาการเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบาง รายครัวเรือน ประกอบด้วย ทีม One Home อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (อพม.) หน่วยงาน ภาครัฐ ภาคเอกชน ท่ีเกี่ยวข้องในระดับพ้ืนที่ มีความสับสนยุ่งยาก เน่ืองจากความรู้ความเข้าใจในแนวทางการขับเคลื่อน โครงการฯ ไม่เปน็ ไปในทิศทางเดียวกนั 4. การใช้ “สมุดพกครอบครัว” มีข้อคำถาม ที่ต้องดำเนินการจัดเก็บข้อมูลจำนวนมาก ซ่ึงไม่เอื้ออำนวยความ สะดวกให้แก่เจ้าหน้าท่ี และ ครัวเรือนท่ีต้องจัดเก็บข้อมูล เนื่องจากระยะเวลาที่จำกัด /ความห่างไกลของพน้ื ที่และชุมชน ทำใหต้ อ้ งมแี บบฟอร์มทก่ี ระชับ และรดั กุม 4.2 การแก้ไขปญั หา แลกเปลีย่ นแนวทางการปฏิบตั ิงาน / คดิ ค้นนวตั กรรม สำนักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัดปทุมธานี และทีม One Home ร่วมกันระดมความ คิดเห็นและค้นหาแนวทางการแก้ไขปัญหา อุปสรรค ในการดำเนินโครงการบูรณาการเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่ม เปราะบางครัวเรือน โดยมีวิธีการแก้ไขปัญหา ท่ีอำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ปฏิบัติงาน และสามารถขับเคล่ือนโครงการฯ ใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายและวัตถปุ ระสงค์ของโครงการฯ ดงั น้ี ลำดบั ปญั หา/อุปสรรค การแก้ไขปัญหา 1 การถ่ายทอดนโยบายจากระดับกระทรวง สู่การปฏบิ ตั ิงานใน จัดประชุมหน่วยงานในสังกัดกระทรวง พม. เพื่อทำ ระดับจังหวัดมีการปรับเปล่ียนแนวทางการขับเคล่ือน ความเข้าใจ และชี้แจงให้แก่เจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบ โครงการฯ การจัดเก็บข้อมูลตามเป้าหมาย และแผนงาน ของแต่ละหน่วยงาน เพ่ือ ให้เกิดความเข้าใจ ตลอดเวลา ในแนวทางการขับเคลื่อนโครงการฯ และเป้าหมายของ ปีงบประมาณ 2565 เป็นประจำทุกเดือน เดือนละ 1 ครั้ง 2 การปรับเปลี่ยนแบบฟอร์มในการปฏิบัติงาน เช่น - จัดประชุมหน่วยงานในสังกัดกระทรวง พม. แบบฟอร์มรายได้ รายะเอียดในสมุดพกครอบครัวและ เพ่ือทำความเข้าใจ และชี้แจงให้แก่เจ้าหน้าท่ีท่ี ระบบสมุดพกอิเล็กทรอนิกส์ MSO – LOGBOOK ส่งผล รับผิดชอบของแต่ละหน่วยงาน เพื่อให้เกิดความ ให้การรายงานผลการดำเนินงานมีความคลาดเคลือ่ น เข้ า ใจ ใน แ น ว ท า ง การขั บ เคลื่ อนโครงการฯ และเป้าหมายของปีงบประมาณ 2565 เป็นประจำทุก เดือน เดือนละ 1 คร้ัง - มีช่องทางการประสาน ในระดับผู้ปฏิบัติงาน คือ กลุ่มไลน์ “โครงการเปราะบางจังหวัดปทุมธานี” และ นำรูปแบบการส่งต่อข้อมูล Google drive / หน้า | 30

ลำดบั ปญั หา/อุปสรรค การแก้ไขปัญหา google form เพ่ือให้การบันทึกข้อมูล /จัดเก็บ ข้อมูล มีความสอดคล้องกับแบบรายงานของ กระทรวง พม. (สว่ นกลาง) - เจ้าหน้าที่ สนง.พมจ. ผู้รับผิดชอบโครงการฯ ศึกษารูปแบบ และพัฒนาแบบฟอร์มรายงานให้มี ความครบถ้วน ตามแบบรายงานของส่วนกลาง เป็น ประจำและตอ่ เนอ่ื ง 3 การบริหารจัดการเครือข่ายในการร่วมขับเคล่ือน จัดโครงการถอดบทเรียนฯ ในพื้นท่ี ท้ัง 7 อำเภอ โครงการบูรณ าการเพ่ือพัฒ นาคุณ ภาพชีวิตกลุ่ม โดยมีเจ้าหน้าท่ีท่ีรับผิดชอบหน่วยงาน / อาสาสมัคร เปราะบางรายครัวเรือน ประกอบด้วย ทีม One Home พัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนุษย์ (อพม.) และ อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ (อพ หน่วยงานที่เก่ียวข้อง เพ่ือสะท้อนปัญหา อุปสรรค ม.) หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ท่ีเกี่ยวข้องในระดับ และรว่ มกันหาแนวทางในการแกไ้ ขปญั หา พ้ืนที่ มีความสับสนยุ่งยาก เน่ืองจากความรู้ความเข้าใจ ในแนวทางการขบั เคลื่อนโครงการฯ ไม่เป็นไปในทิศทาง เดยี วกนั 4 การใช้ “สมุดพกครอบครัว” มีข้อคำถาม ท่ีต้อง คดิ ค้นนวัตกรรม “แผ่นพบั ครอบครัว” ขนาด 1 ดำเนินการจัดเก็บข้อมูลจำนวนมาก ซ่ึงไม่อำนวยความ แผ่น A4 แบ่งเป็น 4 หนา้ โดยจดั ทำเป็นรปู แบบ สะดวกให้แก่เจ้าหน้าท่ี และ ครัวเรือนท่ีต้องจัดเก้บข้อ ของแผน่ พบั จำนวน 1 แผน่ เพือ่ อำนวยความ มลู เนื่องจากระยะเวลาที่จำกดั /ความห่างไกลของพื้นที่ สะดวกให้แก่ เจ้าหนา้ ที่ และ เครอื ข่าย อพม. ใน และชมุ ชน ทำใหต้ อ้ งมแี บบฟอร์มทกี่ ระชบั และรัดกมุ การจดั เก็บข้อมลู ไดอ้ ย่างรวดเร็ว และกระชบั 4.3 ปจั จยั ความสำเร็จ การพัฒนาคุณภาพชีวิตของครัวเรือนเรือนเปราะบาง ให้สามารถช่วยเหลือตนเองได้อย่างย่ังยืน มีกลไกที่สำคัญ ในการทำงาน คือ ระบบการทำงานอย่างมีส่วนร่วม ท้ังภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาชน ภาคธุรกิจ เครือข่ายอพม. ในพื้นท่ี และ ประชาชน เน่ืองจากโครงการบูรณาการเพื่อพัฒนาคณุ ภาพชีวิตกลุ่มเปราะบางรายครัวเรอื น เป็นการพัฒนา คุณภาพชีวิตครัวเรือนเปราะบางแบบบูรณาการในทุกมิติ โดยยกระดับการให้ความช่วยเหลือจากรายบุคคล เป็นการให้ ความช่วยเหลือระดับครัวเรือน รวมท้ังมีแนวทางและโอกาสพัฒนาคุณภาพชีวิตของครัวเรือนเปราะบาง 3 ระดับ ประกอบด้วย ระยะเร่งด่วน ระยะกลาง และระยะยาว ซ่ึงการขับเคล่ือนโครงการฯ ท่ีผ่านมา พบว่า การขับเคล่ือน โครงการบูรณาการเพื่อพัฒนาคณุ ภาพชีวติ กลมุ่ เปราะบางรายครัวเรอื นจังหวัดปทุมธานี มีปจั จัยความสำเร็จ ดงั นี้ หน้า | 31

1. ระดบั การบริหาร 1.1 วิสยั ทัศน์ ของผู้บรหิ ารจังหวัด องคก์ รปกครองท้องถนิ่ และหน่วยงาน เห็นถึงความสำคัญของนโยบาย/โครงการฯ และผลกั ดันให้เกดิ การขบั เคลอื่ นโครงการฯ เริม่ จากการสร้างการรบั รู้ สกู่ ารนำไปปฏิบัติอย่างต่อเนอื่ ง ให้เกดิ เป็นรูปธรรม 1.2 มีการกำหนดทิศทางการขับเคลื่อนโครงการฯ ในระดับพ้ืนท่ี บรรจุไว้ในแผนปฏิบัติการ/แผนพัฒนาท้องถ่ิน เพ่ือให้เกิดการรับรใู้ นระดับผู้นำชมุ ชน / ประชาชนในชุมชน 1.3 สนบั สนุนทรพั ยากร ในการขับเคลอ่ื นโครงการฯ ทัง้ ทรพั ยากรบคุ คล ยานพาหนะ วัสดุอุปกรณ์และงบประมาณ 1.4 มีแผนพัฒนาคุณภาพชีวิต /ระบบการส่งต่อ/การประสานหน่วยงาน MOU เพื่อสนับนุนให้การช่วยเหลือที่มี ประสทิ ธภิ าพ (ครวั เรือนสามารถอยู่รอด พอเพียง ย่ังยนื /ระยะเร่งดว่ น ระยะกลาง ระยะยาว) 1.5 การบูรณาการระบบฐานข้อมูล Big Data ของทุกกระทรวง ท่ีครบถ้วน ถูกต้อง เป็นข้อเท็จจริงและมีความเป็น ปัจจุบนั สามารถนำมาวเิ คราะหข์ ้อมลู เพอ่ื ใหค้ วามช่วยเหลือกลุ่มเป้าหมาย ได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ 2. ระดับการปฏบิ ัติ 2.1 เจ้าหน้าท่ี /เครือข่าย อพม. มีความเข้าใจ ในวัตถุประสงค์ เป้าหมาย แนวทาง ของการดำเนินโครงการฯ ในทิศทาง เดียวกนั 2.2 ทีม One Home จังหวัด และ อาสาสมัครฯ (อพม.) มีส่วนร่วมในการให้ความช่วยเหลือ/พัฒนากลุ่มเป้าหมาย โดยมีเคร่ืองมือ (แผนการพัฒนาคุณภาพชีวิตท้ัง 3 ระยะ / ทรัพยากรของหน่วยงาน และ พื้นท่ี / สมุดพกครอบครัว) ทคี่ รบถว้ นในการขับเคล่ือนโครงการฯ 3. ระดบั ประชาชนผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสีย 3.1 ประชาชนมีส่วนร่วม สะท้อนสภาพปัญหาของครัวเรือน ความต้องการ และการกำหนดเป้าหมาย/วางแผน การ พัฒนาคณุ ภาพชีวิตของครวั เรือนตนเอง 3.2 ชุมชนมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวัง และดูแลสมาชิกของชุมชน เพื่อให้เกิดความตระหนัก/จิตสำนึก ในการดูแล ชุมชน/สมาชกิ ในชุมชนร่วมกัน หนา้ | 32

หนา้ | 33

หนา้ | 34

หนา้ | 35

หนา้ | 36

หนา้ | 37

หนา้ | 38

หนา้ | 39

หนา้ | 40

หนา้ | 41

หนา้ | 42

หนา้ | 43

หนา้ | 44

หนา้ | 45

หนา้ | 46

หนา้ | 47


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook