Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ตัวชี้วัดที่ 2

ตัวชี้วัดที่ 2

Published by ซูไฮดา มามะ, 2021-08-25 13:55:28

Description: ตัวชี้วัดที่ 2

Search

Read the Text Version

แผนปฏิบัติการปอเนาะดารสุ ลาม ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ตาบลปาเสมสั ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอสไุ หงโก-ลก สานกั งานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั จงั หวดั นราธวิ าส สานกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย สานกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงศกึ ษาธิการ บนั ทกึ ขอ้ ความ

คานา

คานา กศน.ตำบลปำเสมัสได้ดำเนินกำรจัดแผนปฏิบัติกำรกศน.ตำบล.ปำเสมัส.ประจำปีงบประมำณ พ.ศ.๒๕๖๔ ขึ้น เพอ่ื ใชเ้ ป็นแนวทำงในกำรดำเนนิ งำน กศน.ตำบล.ปำเสมัส โดยได้ศกึ ษำยุทธศำสตร์ชำติ ระยะ ๒๐ปี สำระสำคัญของแผนพัฒนำเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ ฉบับท่ี ๑๒ สำระสำคัญของแผนกำรศึกษำ แหง่ ชำติ พ.ศ.๒๕๖๐ –๒๕๗๔ มำตรฐำนกำรศึกษำของชำติ พ.ศ. 2561 นโยบำยและจุดเน้นกำรดำเนนิ งำน สำนักงำน กศน.ประจำปีงบประมำณ พ.ศ.๒๕๖๔ และยุทธศำสตร์กำรศึกษำจังหวัดชำยแดนภำคใต้ 20 ปี เพื่อให้สอดคล้องกับบริบทในพ้ืนท่ีของหมู่บ้ำน ชุมชน ตำบล ในพื้นที่ตำบลปำเสมัส.ต่อไป และสภำพกำร ปฏบิ ตั งิ ำนในรอบปีที่ผำ่ นมำนำมำพฒั นำ ปรับปรุง แกไ้ ข ในกำรจัดกจิ กรรม กศน.ในปตี อ่ ไป กศน.ตำบลปำเสมัสหวังเปน็ อย่ำงยิ่งวำ่ แผนปฏบิ ัติกำรกศน.ตำบลปำเสมัส.ประจำปีงบประมำณ พ.ศ.๒๕๖๔ เล่มน้ี สำมำรถใชเ้ ป็นแนวทำงในกำรปฏิบัติงำนในพืน้ ท่ีตำบลปำเสมัสเพื่อให้เกดิ ประโยชน์สูงสุด แผนปฏิบัตกิ ำรเล่มน้สี ำเร็จลลุ ่วงไปดว้ ยดี เนอ่ื งจำกไดร้ ับควำมร่วมมือจำกคณะกรรมกำร กศน.ตำบล.ปำเสมัส ผอู้ ำนวยกำร บุคลำกร กศน.ตำบลปำเสมสั และเครือขำ่ ยท่ีเก่ยี วข้องทุกท่ำน ขอขอบคุณมำ ณ โอกำสนี้ ซไู ฮดำ มำมะ ตุลำคม พ.ศ.๒๕๖๓





สารบัญ เร่ือง หนา้ สว่ นที่ 1 บทนา ประวตั คิ วำมเป็นมำและสถำนทต่ี ้งั สภำพท่ัวไปของตำบลปำเสมัส.. ปรชั ญำ/วิสัยทศั น์/บทบำทหน้ำท่ี กศน.ตำบลปำเสมัส.. ผลกำรกำรวิเครำะหส์ ภำพแวดลอ้ มและศักยภำพ (SWOT) จุดเนน้ กำรดำเนนิ งำนของงำน/โครงกำรสำคญั ในปงี บประมำณ พ.ศ.256๔ ส่วนที่ 2 ยทุ ธศาสตรจ์ ดุ เน้นการดาเนินงาน สานักงาน กศน.ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.256๔ ยุทธศำสตรจ์ ดุ เนน้ กำรดำเนินงำน สำนักงำน กศน.ประจำปงี บประมำณ พ.ศ.256๔ จุดเนน้ การดาเนินงานประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ การจัดการศึกษาและการเรียนรูใ้ นสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID – ๑๙) ของสานกั งาน กศน. ภารกิจต่อเน่ือง สว่ นที่ 3 การจดั การด้านการศกึ ษาของ ปอเนาะดารสุ ลาม ข้อมูลทว่ั ไป ข้อมูลด้ำนบคุ ลำกร ข้อมลู ด้ำนงบประมำณ ข้อมลู ด้ำนกำรจดั กำรศกึ ษำใหก้ บั กลุม่ เปำ้ หมำยและผรู้ ับบรกิ ำร ข้อมลู สำรสนเทศ สว่ นท่ี ๔ แผนปฏิบัตริ าชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔(กศน.-กผ.01-02) จุดเน้นกำรดำเนินงำนของงำน/โครงกำร ในปงี บประมำณ พ.ศ.256๔ กศน.-กผ-๐๑ ๑.โครงกำรสนับสนุนค่ำใชจ้ ่ำยในกำรจัดกำรศึกษำตั้งแตร่ ะดบั อนบุ ำลจนจบกำรศึกษำข้นั พนื้ ฐำน กิจกรรมจัดกำรศึกษำนอกระบบระดบั กำรศกึ ษำข้ันพ้นื ฐำน ๒.โครงกำรจดั กำรศกึ ษำตลอดชีวิตในสถำบนั ศกึ ษำปอเนำะ ๓.โครงกำรมุมส่งเสริมกำรเรยี นรู้สูส่ ถำบันศกึ ษำปอเนำะ ๔.โครงกำรสง่ เสรมิ กำรรทกั ษะอำชพี ใหน้ กั ศึกษำปอเนำะ กศน.-กผ-๐๒ ๑.โครงกำรสนับสนุนค่ำใช้จ่ำยในกำรจดั กำรศกึ ษำตัง้ แต่ระดับอนบุ ำลจนจบกำรศึกษำขนั้ พน้ื ฐำน กิจกรรมจดั กำรศึกษำนอกระบบระดบั กำรศกึ ษำขั้นพืน้ ฐำน ๒.โครงกำรจัดกำรศึกษำตลอดชีวติ ในสถำบันศกึ ษำปอเนำะ ๓.โครงกำรมมุ ส่งเสริมกำรเรยี นร้สู ่สู ถำบันศกึ ษำปอเนำะ ๔.โครงกำรส่งเสริมกำรรทกั ษะอำชีพให้นักศึกษำปอเนำะ ภาคผนวก ผจู้ ดั ทำ

สว่ นท่ี ๑

ส่วนท่ี ๑ บทนำ ขอ้ มลู พื้นฐำน กศน.ตำบลปำเสมสั ชอื่ สถำนศึกษำ : กศน.ตาบลปาเสมัส ท่อี ยู่ : สถำนท่ีตัง้ หมู่ที่ 1 บำ้ นซรำยอ ตำบลปำเสมสั อำเภอสไุ หงโก- ลก จงั หวัดนรำธิวำส โทรศัพท์ 0๘๔-๗๕๐๖๙๒๔ โทรสำร – E-mail [email protected] สงั กดั : ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอสุไหงโก-ลก สานักงานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจงั หวัดนราธวิ าส สานักสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั สานกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงศึกษาธกิ าร ชอ่ื – สกลุ ครู กศน.ตาบลปาเสมสั เบอร์โทรศัพท์ 0๘๙-๘๘๘๕๔o* E-mail [email protected] ประวตั คิ วามเป็นมา กศน.ตาบลปาเสมัส กศน.ตำบลปำเสมัส และศูนย์อำชพี ชุมชน เดิมเป็นศนู ยก์ ำรเรยี นชุมชนซรำยอ เดมำจำกชื่อ หมูบ่ ้ำนซรำยอ โดยมีประวัตคิ วำมเป็นมำจำกชอื่ ต้นไมใ้ หญอ่ ยทู่ ่บี ำ้ น “เนนิ ” ภำษำทอ้ งถิ่นเรียกวำ่ “บำโง” ซง่ึ มลี ักษณะแปลกต้นไม้อนื่ มชี ่ือวำ่ “ไม้หยำ” ภำษำท้องถ่นิ เรยี กว่ำ “ซรำยอ” คนในหมูบ่ ำ้ นจึงเรียกวำ่ “หมู่บ้ำนบำโงซรำยอ” ต่อมำได้เปลี่ยนเปน็ “บำ้ นซรำยอ” ทำงศูนย์กำรศกึ ษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศยั อำเภอสไุ หงโก-ลกได้มีกำรส่งเสรมิ และสนับสนนุ ให้มีศนู ยก์ ำรเรียนชุมชนในแต่ละตำบล เพ่ือส่งเสรมิ กำรศกึ ษำนอกระบบและกำรศึกษำตำม อธั ยำศยั ให้ทัว่ ถึงทกุ พ้ืนที่และยกระดับกำรศกึ ษำใหก้ บั ประชำชนทข่ี ำด โอกำสทำงกำรศึกษำให้เข้ำสู่ กระบวนกำรเรียนร้ขู องศนู ย์กำรศกึ ษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอธั ยำศยั อำเภอสไุ หงโก-ลก เพอ่ื พฒั นำคุณภำพชีวิตของประชำชนในพ้นื ที่ และไดค้ ดั เลอื ก หมู่ที่ 1 บ้ำนซรำยอ ตำบลปำเสมัส อำเภอ สไุ หงโก-ลก เป็นศูนย์กำรเรียนชุมชนประจำตำบลปำเสมสั และไดอ้ นเุ ครำะหใ์ ห้ใชส้ ถำนทีอ่ ำคำร เอนกประสงคป์ ระจำหมบู่ ้ำนเพื่อใช้เป็นศูนย์กำรเรียนชมุ ชน และศูนยฝ์ ึกอำชพี ประจำหมู่บำ้ น จำกผู้ใหญ่บ้ำน เจะ๊ ซู ตำเหย็บ เม่อื วนั ที่ 5 สงิ หำคม 2552 จำก โดยใหศ้ ูนย์กำรศึกษำนอกระบบและกำรศกึ ษำตำมอัธยำศัย อำเภอสุไหงโก-ลกสนบั สนนุ และสง่ เสริมกำรกำรศึกษำให้กบั ประชำชนในพน้ื ที่ ใหม้ คี ณุ ภำพชีวติ ที่ดีขน้ึ กศน.ตำบลปำเสมัส ไดร้ บั กำรประกำศจดั ตัง้ แหล่งเรยี นรู้รำคำถกู : กศน.ตำบลปำเสมสั ณ วนั ท่ี 19 สิงหำคม 2553 โดยผวู้ ำ่ รำชกำรจงั หวดั นรำธิวำส นำย ธนน เวชกรกำนนท์ เพอ่ื เป็นแหลง่ เรียนร้ตู ลอดชีวิต มบี ทบำทในกำรสง่ เสริมกำรเรยี นร้ตู ลอดชีวติ ของประชำชนในชมุ ชน โดนเนน้ กำรมสี ่วน ร่วมในกำรจดั กำรศกึ ษำของชุมชน มุง่ สร้ำงโอกำสและใหบ้ ริกำรกำรเรียนรอู้ ย่ำงหลำกหลำย เพ่ือ สนอง ควำมตอ้ งกำรและเสนอทำงเลือกในกำรพัฒนำตนเองอันจะนำไปสู่กำรพฒั นำชีวติ ของประชำชน และสถำน ทีต่ ้งั หมทู่ ี่ 1 บำ้ นซรำยอ ตำบลปำเสมัส อำเภอสไุ หงโก-ลก โดย นำยนพิ นธ์ วำโมง เปน็ หวั หน้ำ กศน. ตำบลปำเสมสั

วตั ถุประสงค์ กศน.ตาบล ปาเสมสั 1. กศน.ตำบลปำเสมัสเปน็ ศูนย์กลำงกำรประสำนงำนของชุมชน 2. เพือ่ เปน็ ศูนยก์ ำรจัดกิจกรรมกำรศึกษำนอกโรงเรยี นทุกประเภท 3. เพ่ือเปน็ แหลง่ ข้อมูลของชุมชน 4. เพื่อเป็นศูนย์รวมสอื่ กำรเรียนกำรสอนกำรศกึ ษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศยั พนั ธกิจ กศน.ตาบลปาเสมสั 1. จัดกำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอธั ยำศยั 2. สง่ เสริมกำรเรยี นใหก้ บั ประชำชน 3. จัดกิจกรรมใหส้ อดคล้องควำมต้องกำรของชมุ ชน กิจกรรมทด่ี าเนนิ การใน กศน.ตาบลปาเสมัส 1. ชี้แจงประชำสมั พันธก์ ิจกรรมกำรศึกษำนอกระบบและกำรศกึ ษำตำมอัธยำศัย 2. สำรวจจดั ทำระบบข้อมูลพ้นื ฐำน 3. เป็นศนู ย์ประสำนงำนระหว่ำงตำบลกบั อำเภอ สภาพทัว่ ไปของตาบลปาเสมัส 1.1ข้อมลู พ้ืนฐาน คำวำ่ “ปำเสมสั ” เป็นภำษำยำวีทอ้ งถน่ิ แปลวำ่ ทรำยทอง บุคคลด้งั เดมิ ได้บอกกล่ำวต่อๆ กันมำ ว่ำ เนื่องจำกพนื้ ท่บี ำงสว่ นของตำบลปำเสมัส ตดิ ชำยแดนมำเลเซีย มแี ม่น้ำ สุไหงโก-ลก ไหลผำ่ น จะมเี นนิ ขำว สีขำวตลอดท้งั สองฝงั ไทย-มำเลเซีย ในเวลำชว่ งเทย่ี งแสงแดดส่อง เมด็ ทรำยจะสะท้อนเปน็ สีทองระยิบระยับสวยงำม มำก แตใ่ นปจั จุบนั ยงั มีร่องรอยดังกลำ่ วใหเ้ หน็ ไมม่ ำกนัก เนอ่ื งจำกควำมเจริญของบ้ำนเมอื ง ท่ตี ง้ั อำณำเขตและกำรปกครองที่ต้ังอำณำเขต ตำบลปำเสมัส เปน็ ตำบลหนึ่งในอำเภอสุไหงโก-ลก จงั หวัดนรำธวิ ำส และมที ี่ กศน.ตำบลปำมัส ตัง้ อยูห่ มู่ท่ี 1 ตำบลปำเสมสั จงั หวัดนรำธวิ ำส ห่ำงจำกทว่ี ่ำกำรอำเภอสุไหงโก-ลก 2.๐๐ กโิ ลเมตร และมีอำณำ เขตติดตอ่ กบั พ้ืนท่ีต่ำง ๆ ดงั น้ี ทศิ เหนือ ติดต่อ เขตตำบลปโู ยะ อำเภอสุไหงโก-ลก จังหวัดนรำธวิ ำส ทศิ ใต้ ตดิ ต่อ เขตเทศบำลเมอื งสุไหงโก-ลก จังหวดั นรำธวิ ำส ทศิ ตะวนั ออก ติดต่อ กับแม่น้ำสไุ หงโก-ลก (พรหมแดนไทย-มำเลเซีย อำเภอสุไหงโก-ลก จังหวดั นรำธวิ ำส) ทศิ ตะวนั ตก ติดตอ่ กบั เขตอำเภอสไุ หงปำดี จังหวัดนรำธิวำส ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ ลักษณะโดยทั่วไปของตำบลปำเสมัส เปน็ ทีร่ ำบลมุ่ ครงึ่ หนึง่ เปน็ เป็นเขตป่ำสงวน มีแมน่ ้ำสุไหงโก-ลกผำ่ น ตำมแนวเขตระหว่ำงตำบลปำเสมัส-มำเลเซีย มีบงึ ขนำดใหญ่ จำนวน ๒ แหง่ ชอื่ วำ่ “บึงบอยอ” มเี นอื้ ที่ประมำณ ๖๐ ไร่ ตั้งอย่หู มทู่ ี่ ๗ และ “บงึ กแู จ” มีเนื้อที่ประมำณ ๔๐ ไร่ ต้งั อยหู่ มูท่ ี่ ๔ 1.2 ลกั ษณะภูมอิ ากาศ ตำบลปำเสมัส มอี ำกำศเป็นแบบมรสมุ เขตร้อนแบง่ ฤดูกำลออกเปน็ ๒ ฤดู ไดแ้ ก่ - ฤดูฝน แบ่งออกเป็น ๒ ช่วง ได้แก่ ช่วงที่รับลมมรสมุ ตะวันตกเฉียงใต้ ซึ่งพัดเอำควำมชื้นจำก ทะเลอันดำมัน และหมำสมุทรอินเดียเข้ำมำ ทำให้มีฝนตกชุกในเดือนพฤษภำคม ถึงเดือนตุลำคม และอีก

ช่วงหนึ่ง คือ ช่วงที่ลมมรสุมตะวันตกเฉียงเหนือ ซึ่งพัดควำมชื้นจำกอำ่ วไทยเข้ำมำ ทำให้มีฝนตกชุกอีกใน เดอื นพฤศจิกำยน ถึงเดือนมกรำคม - ฤดูร้อน อยู่ระหว่ำงเดือนกุมภำพันธ์ ถงึ เดือนเมษำยน เน่ืองจำกไดร้ ับลมตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่ง เป็นลมรอ้ นที่พดั มำจำกทะเลจนี ใต้ ทำใหอ้ ำกำศโดยท่ัวไปร้อนและชน้ื 1.3 สภาพทางสังคม ประชากร ตำบลปำเสมัสมปี ระชำกร รวมทง้ั สน้ิ ๑๘,๓๒๙ คน แยกเปน็ ชำย จำนวน ๘,๗๗๘ คน หญงิ จำนวน ๙,๕๕๑ คน และมีครัวเรือน จำนวน ๕,๕๘๔ ครัวเรอื น โดยจำแนกตำมหม่บู ้ำนได้ ดงั นี้ ลาดบั ท่ี รายชอื่ หมู่บา้ น จานวนประชากร หญิง หมูท่ ่ี ๑ บ้ำนซรำยอ ชาย ๑,๔๑๘ รวม หมู่ท่ี ๒ บำ้ นตือระ ๑,๓๒๙ ๑,๐๑๒ ๒,๗๔๗ หมทู่ ี่ ๓ บ้ำนลูโบะ๊ ฆง ๓๙๓ ๖๙๕ ๑,๙๕๑ หมทู่ ี่ ๔ บำ้ นมือบำ ๖๑๕ ๘๓๙ ๑,๓๑๐ หมทู่ ี่ ๕ บ้ำนนำ้ ตก ๘๗๘ ๒,๓๑๙ ๑,๗๑๗ หม่ทู ่ี ๖ บำ้ นซรำยอออก ๒,๐๓๔ ๑,๘๐๙ ๔,๓๕๓ หมู่ที่ ๗ บำ้ นกวำลอซีรำออก ๑,๕๙๓ ๗๑๙ ๓,๔๐๒ หมู่ท่ี ๘ บ้ำนลโู บะ๊ ซำมำ ๖๙๖ ๗๔๐ ๑,๔๑๕ ๖๙๔ ๑,๔๓๔ 1.4 เขตการปกครอง ตำบลปำเสมัสมีเน้ือที่ท้ังหมด ๓๘.๑๙๒ ตำรำงกิโลเมตร มีหมู่บ้ำนอยู่ในเขต จำนวน ๘ หมบู่ ้ำน โดยมี นำยยูโซ๊ะ บนิ ลีตี เป็นกำนันตำบลปำเสมสั ดังนี้ หมูท่ ี่ รายชื่อหมบู่ า้ น ช่อื ผนู้ า ตาแหนง่ หมทู่ ี่ ๑ บ้ำนซรำยอ นำยฮำลิมคำน โอรำสะมนั นี ผู้ใหญ่บำ้ น หม่ทู ่ี ๒ บ้ำนตือระ นำยนำซฮู ำ หะยอี ำแว ผใู้ หญบ่ ้ำน หม่ทู ่ี ๓ บำ้ นลูโบะ๊ ฆง นำยณรงค์ อำแวสอื แม ผู้ใหญบ่ ้ำน หมู่ท่ี ๔ บ้ำนมอื บำ นำยมำฮำโซ มือเยำะ ผู้ใหญ่บำ้ น หมู่ท่ี ๕ บำ้ นน้ำตก นำยมะรอดี บนิ สะมะแอ ผู้ใหญ่บำ้ น หมทู่ ่ี ๖ บำ้ นซรำยอออก นำยซำรี โตะ๊ เจ ผใู้ หญบ่ ้ำน หมทู่ ี่ ๗ บ้ำนกวำลอซรี ำออก นำยยโู ซ๊ะ บินลีตี กำนนั ตำบลปำเสมสั หมทู่ ่ี ๘ บำ้ นลโู บ๊ะซำมำ นำยรสุ วำ ดอเลำะ ผใู้ หญ่บำ้ น 1.5 สภาพทางเศรษฐกิจ อาชีพและรายไดป้ ระชากร เศรษฐกิจโดยท่ัวไปของตำบลปำเสมัส ข้ึนอยู่กับกำรผลิตทำงด้ำนกำรเกษตร กำรค้ำขำย เล้ียงสัตว์ และรับจ้ำงท่ัวไป อำชีพหลัก คือ กำรทำสวนพำรำ กำรปลูกผลไม้ กำรทำนำ และกำรเล้ียง สัตว์ และพชื เศรษฐกจิ ท่ีสำคญั คอื ยำงพำรำ ไม้ผล และพืชผกั

ประชำกรมีรำยได้เฉล่ีย/คน/ปี ๔๔,๐๘๘ บำท หรือประมำณเดอื นละ ๓,๖๗๔ บำท โดยสำมำรถ จำแนกรำยได้เฉลี่ยคนตอ่ ปี เรยี งลำดบั จำกนอ้ ยไปมำก ตำมรำยหมู่บำ้ นของตำบลปำเสมัสดังน้ี ลาดบั ของตาบล หมทู่ ี่ รายไดเ้ ฉลี่ยคน/ปี (บาท) ๑ หมทู่ ่ี ๔ บำ้ นมอื บำ ๓๐,๐๖๐.- ๒ หมทู่ ่ี ๒ บ้ำนตือระ ๓๖,๒๑๓.- ๓ หมทู่ ่ี ๕ บ้ำนน้ำตก ๓๖,๒๗๕.- ๔ หมู่ที่ ๓ บำ้ นลโู บะฆง ๓๘,๓๑๕.- ๕ หมทู่ ่ี ๗ บำ้ นกวำลอซรี ำ ๔๒,๙๔๘.- ๖ หมูท่ ่ี ๑ บำ้ นซรำยอ ๕๒,๗๓๐.- ๗ หมู่ที่ ๘ บำ้ นลโู บะ๊ ซำมำ ๕๓,๕๓๑.- ๘ หม่ทู ่ี ๖ บ้ำนซรำยอออก ๗๓,๕๓๐.- เฉลี่ยรายได้ต่อคนต่อปีของคนในพื้นท่ี ๔๔,๐๘๘.- 1.6 การพาณชิ ย์ ตำบลปำเสมัส กำรค้ำส่วนใหญ่เป็นกำรค้ำเกี่ยวกับผลผลิตทำงกำรเกษตร และมีผู้ประกอบธุรกิจ นติ บิ ุคคล ทงั้ บริษทั จำกัด ห้ำงส่วนจำกดั และหน่วยธรุ กิจอนื่ ๆ ดังน้ี - ปั๊มนำ้ มันและกำ๊ ซ จำนวน ๓ แหง่ - โรงงำนอตุ สำหกรรมขนำดยอ่ ม จำนวน ๑ แหง่ - บรษิ ทั ค้ำไม้ จำนวน ๗ แหง่ - บรษิ ัทขำยรถยนต์ จำนวน ๔ แห่ง - โกดังเกบ็ สินค้ำ จำนวน ๒ แห่ง - ศนู ยน์ รำภัณฑ์ ๒ จำนวน ๑ แหง่ - ร้ำนค้ำทั่วไป หลำยแหง่ 1.7 การเกษตร ตำบลปำเสมสั มีเนอ้ื ทีท่ ้งั หมด ๒๕,๑๐๐ ไร่ แบ่งเปน็ - เป็นพื้นที่ถือครองทำงกำรเกษตร จำนวน ๒๐,๓๔๒ ไร่ คิดเป็นร้อยละ ๘๑.๐๔ ของพื้นท่ี ทง้ั หมด - เป็นพ้นื ทีท่ ำงกำรเกษตร จำนวน ๑๗.๓๐๒ ไร่ คดิ เป็นร้อยละ ๖๘.๙๓ ของพ้นื ทท่ี ้ังหมด 1.8 การศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม การศกึ ษา ตำบลปำเสมัส มกี ำรจัดกำรศึกษำหลำยระดับ ตั้งแต่ระดบั กอ่ นประถมศกึ ษำ ได้แก่ กศน.ตำบลปำ เสมัส ศูนย์พัฒนำเด็กก่อนเกณฑป์ ระจำมัสยิด (ศดม.) ศูนย์พัฒนำเด็กเลก็ ประจำตำบล (ศพด.) โรงเรยี นตำดี กำ โรงเรยี นประถมศึกษำ และวทิ ยำลัยกำรอำชพี ดังนี้  กศน.ตาบลปาเสมัส ตั้งอย่หู มทู่ ี่ ๑  ศูนยอ์ บรมเดด็ ก่อนเกณฑ์ประจามสั ยิด จานวน ๓ แห่ง ประกอบดว้ ย

๑. ศูนย์อบรมเด็กกอ่ นเกณฑม์ สั ยดิ อลั ยำมอี ียะ๊ ห์ ตั้งอย่หู มทู่ ่ี ๘ ๒. ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์มสั ยดิ อตั ตักวำ ตั้งอยู่หมูท่ ี่ ๒ ๓. ศูนยอ์ บรมเด็กกอ่ นเกณฑ์มสั ยดิ อิสละห์ ตั้งอยหู่ มูท่ ี่ ๓  ศนู ยเ์ ดก็ เลก็ ประจาตาบล จานวน ๑ แหง่ ประกอบดว้ ย ๑. ศูนย์พัฒนำเดก็ เล็กประจำตำบลบ้ำนซรำยอออก ตั้งอยหู่ มทู่ ่ี ๖  โรงเรยี นตาดีกา จานวน ๔ แห่ง ประกอบด้วย ตั้งอยู่หมู่ท่ี ๑ ๑. โรงเรียนตำดีกำดำรุลอำบดี ีน ตั้งอยหู่ มู่ที่ ๑ ๒. โรงเรียนตำดีกำนะฏตุลอิสลำฮยี ะ๊ ห์ ตง้ั อยหู่ มูท่ ่ี ๑ ๓. โรงเรยี นตำดกี ำดำรุลนำอนี (บำ้ นซรำยอใต)้ ๔. โรงเรียนตำดีกำอัตตกั วำ(บ้ำนตือระ) ตง้ั อยหู่ มทู่ ี่ ๒ ๕. โรงเรยี นตำดีกำยำมีนอีย๊ะห(์ บ้ำนลโู บ๊ะกำยง) ตง้ั อยู่หมทู่ ี่ ๒ ๖. โรงเรยี นตำดกี ำอิสละ(บ้ำนลูโบะฆง) ตง้ั อยู่หมู่ที่ ๓ ๗. โรงเรยี นตำดกี ำฮดี ำยำตลุ ฏีนียะห์(บำ้ นมอื บำ) ตง้ั อยูห่ มู่ที่ ๔ ๘. โรงเรียนตำดกี ำกำรลิ มำติลอุลยำ(บำ้ นนำ้ ตก) ตั้งอยหู่ มทู่ ่ี ๕ ๙. โรงเรียนตำดกี ำนูรุลอีมำน(บำ้ นน้ำตก) ตั้งอยหู่ มทู่ ่ี ๕ ๑๐.โรงเรยี นตำดีกำอลั อักรอม(บำ้ นซรำยอนอก) ตั้งอยหู่ มู่ท่ี ๖ ๑๑.โรงเรยี นตำดกี ำตรั บียะห์อัลอสิ ลำมียะห์ ตั้งอยหู่ มู่ท่ี ๖ ๑๒.โรงเรยี นตำดีกำมะดยี ะ(บำ้ นบอื แนเปำะจ)ิ ๑๓.โรงเรียนตำดีกำอิสละ(บำ้ นกวำลอซรี ำ) ตั้งอยู่หมู่ท่ี ๗ ๑๔.โรงเรยี นตำดกี ำมิสบำฮุลฟำละห(์ บ้ำนลโู บ๊ะซำมำ) ตั้งอยู่หมู่ท่ี ๗ ตั้งอยู่หมทู่ ี่ ๘  โรงเรยี นประถมศกึ ษา จานวน ๕ แหง่ ประกอบด้วย ตง้ั อยู่หมทู่ ี่ ๒ ๑. โรงเรยี นบำ้ นตอื ระมิตรภำพท่ี๑๗๒ ตั้งอยหู่ มู่ที่ ๔ ๒. โรงเรียนบำ้ นมือบำ ตง้ั อยู่หม่ทู ่ี ๖ ๓. โรงเรยี นบำ้ นซรำยอ ๔. โรงเรียนบำ้ นกวำลอซีรำ ตง้ั อยหู่ มู่ท่ี ๗ ๕. โรงเรียนบ้ำนลูโบะ๊ ซำมำ ตั้งอยู่หมูท่ ่ี ๘  วิทยาลัยการอาชีพ จานวน ๑ แหง่ ได้แก่ วิทยำลัยกำรอำชพี สไุ หงโก-ลก  ในตาบลปาเสมัส มสี ถาบันทางศาสนาท่สี าคญั จานวน ๑๑ แห่ง ดังนี้ ๑. มัสยิดดำรุลนำอีน (บำ้ นซรำยอใต้) ตง้ั อยู่หมทู่ ี่ ๑ ๒. มสั ยิดนะฏอตุลอิสลำฮียะห์ (บำ้ นซรำยอใน) ต้งั อยหู่ มทู่ ่ี ๑ ๓. มัสยิดอตั ตกั วำ (บำ้ นตอื ระ) ตั้งอยหู่ มูท่ ่ี ๒ ๔. มัสยิดดำรุลนำอนี (บ้ำนลโู บะฆง) ตั้งอยู่หมู่ท่ี ๓ ๕. มัสยดิ ฮดี ำยำตลุ ฏีนียะห์ (บำ้ นมอื บำ) ตง้ั อยหู่ ม่ทู ี่ ๔ ๖. มสั ยดิ กำรลิ มำติลอุลยำ (บำ้ นน้ำตก) ตง้ั อยู่หมทู่ ่ี ๕ ๗. มัสยดิ อลั อกั รอม (บำ้ นซรำยอนอก) ตง้ั อยู่หมทู่ ี่ ๖

๘. มสั ยดิ อัลอิสซำน (บำ้ นกวำลอซรี ำ) ตั้งอยู่หม่ทู ี่ ๗ ๙. มัสยดิ เรำะมำนียะห์ (บ้ำนกวำลอซรี ำ) ตง้ั อยู่หม่ทู ่ี ๗ ๑๐.มสั ยิดอัลยำมีอยี ะห์ (บำ้ นลโู บซ๊ ำมำ) ตงั้ อยู่หมู่ที่ ๘ ๑๑. สำนกั สงฆท์ รำยทอง ตั้งอย่หู ม่ทู ี่ ๕ 1.9 การสาธารณสขุ โรงพยำบำลประจำหม่บู ้ำน/ตำบล มจี ำนวน ๒ แห่ง ประกอบด้วย - โรงพยำบำลสง่ เสรมิ สุขภำพตำบลปำเสมัส ตั้งอยู่หมู่ที่ ๔ รบั ผดิ ชอบ ๔ หมู่บ้ำน คอื หมทู่ ่ี ๒ , ๔ , ๕ และหม่ทู ่ี ๘ - โรงพยำบำลส่งเสริมสุขภำพบ้ำนกวำลอซีรำ ต้ังอยู่หมู่ที่ ๗ รับผดิ ชอบ ๔ หม่บู ้ำน คือ หมทู่ ี่ ๑ , ๓ , ๖ และหมู่ที่ ๗ 2. ปัญหาและความต้องการทางการศึกษาของประชาชนท่ีจาแนกตามลักษณะของกลุ่มเป้าหมาย 2.1 ดา้ นการรู้หนงั สือ ประชำกรบำงสว่ นไมไ่ ด้ใช้ภำษำไทยในชวี ิตประจำวนั จึงไมใ่ หค้ วำมสำคญั กับกำรศกึ ษำเรยี นรู้ ภำษำไทย 2.2 ด้านการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน 1. ผูเ้ รยี นบำงสว่ นศึกษำขนั้ พ้ืนฐำนในประเทศมำเลเซีย ส่วนใหญ่ต้องออกกลำงคัน เพรำะระบกำรศึกษำของประเทศ และสมัครเรยี นตอ่ กับ กศน.มกั จะพบปญั หำพน้ื ฐำนกำรใช้ภำษำไทย 2. ปญั หำเด็กซงึ่ อยู่ในเกณฑ์กำรศกึ ษำภำคบงั คับ เรยี นจบระดับ ป.๖ อำยุ ๑๑-๑๒ ปี แล้วสมคั รเรียนต่อ กศน. จบกำรศึกษำ ม.ต้น ไมส่ ำมำรถออกเปน็ หลกั ฐำนกำรจบได้ 3. องค์กรทอ้ งถ่นิ ยงั ไมส่ นบั สนนุ กำรจดั กำรศกึ ษำขน้ั พ้นื ฐำนของ กศน.เทำ่ ที่ควร เชน่ งบประมำณปรบั ปรงุ อำคำรสถำนท่ี กศน.ตำบล 4. รำยวิชำท่ีลงทะเบียนเรยี นมำกเกินไปทำใหก้ ำรจัดกระบวนกำรเรยี นรไู้ ม่ครอบคลุม เนอ้ หำ 2.3 ดา้ นอาชพี 1. ผู้เรยี นเกดิ กำรเปรยี บเทียบระหวำ่ งองค์กรทจี่ ดั กำรศกึ ษำลักษณะเดียวกนั เน่อื งจำก บำงหนว่ ยงำนที่สง่ เสรมิ กำรเรียนร้ดู ้ำนอำชีพมีคำ่ ตอบแทนให้กบั ผูเ้ รียนดว้ ย 2. งบประมำณทสี่ นับสนุนด้ำนกำรศกึ ษำอำชพี ยังไม่สำมำรถครอบคลมุ เป้ำหมำยท่ี ประสงคจ์ ะเรยี นรู้ 3. หลกั สตู รที่ผ่ำนกำรอนมุ ตั ยิ งั ไม่ครอบคลมุ ควำมต้องกำรของผู้เรยี น 4. ผู้เรยี นทผี่ ่ำนกำรศกึ ษำตำมหลักสูตรยังไม่สำมำรถประกอบอำชพี ไดเ้ พรำะขำดควำม ตอ่ เนื่องในจดั กำรศึกษำ 2.4 ด้านทกั ษะชีวติ ผู้เรยี นยังไม่สำมำรถนำกระบวนกำรที่ให้ควำมรูไ้ ปใช้ประโยชนเ์ ทำ่ ท่คี วร 2.5 ด้านการพฒั นาสังคมและชุมชน ควรมีกำรประชำสัมพนั ธใ์ ห้ประชำชนมีสว่ นรว่ มกับ กศน. ในกำรนำกระบวนกำรเรียนรู้ เพอื่ กำรแก้ปัญหำและพฒั นำชมุ ชน โดยใชห้ ลักกำรจัดกำรควำมรู้ และกำรวจิ ัยชุมชนบรู ณำกำรอยใู่ น กระบวนกำรเรียนรูเ้ พ่อื นำไปสู่กำรแก้ปญั หำ และกำรพฒั นำชมุ ชนและสงั คม 2.6 ด้านปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง

1. กำรส่งเสริมให้ควำมรู้ของกำรนำหลักปรชั ญำเศรษฐกจิ พอเพยี งสชู่ มุ ชนโดยผ่ำน กระบวนกำรเรยี นรกู้ ำรศึกษำ ยงั ไม่สำมำรถถำ่ ยทอดไดเ้ ต็มศกั ยภำพ เพรำะไมม่ ีแบบอยำ่ งให้เรียนรู้ท่ีชัดเจน 2. ควรพฒั นำสถำนศกึ ษำ กศน.อำเภอ,ตำบล ศรช. ให้เป็นฐำนและศนู ยก์ ลำงกำรเรียนรู้ ตำมหลกั ปรชั ญำเศรษฐกจิ พอเพยี ง 2.7 ด้านการศกึ ษาตามอธั ยาศยั 1. ประชำชนในพ้ืนที่ไม่เห็นควำมสำคัญของกำรอ่ำน เพรำะปัจจุบันมสี ื่อมัลตมิ เี ดยี ท่ี สำมำรถให้สืบค้นได้ทันใจ ทนั เวลำ 2. ประชำชนในพน้ื ท่ีสว่ นใหญ่ยงั ไมร่ ู้จกั บ้ำนอัจฉรยิ ะ ปรัชญา/วสิ ยั ทศั น/์ บทบาทหน้าที่ กศน.ตาบลปาเสมัส. ปรัชญา จัดการเรยี นรู้ เชดิ ชูคณุ ธรรม นาพาชวี ติ ดว้ ยเศรษฐกจิ พอเพียง วิสยั ทัศน์ ประชาชนในตาบลปาเสมัส ไดร้ ับโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตท่ีเหมาะสม กับช่วงวัย สอดคลอ้ งกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และมที ักษะท่จี าเป็นในโลกศตวรรษที่ 21 อตั ลักษณ์ มคี วำมรคู้ ูค่ ุณธรรมนำวิถีพอเพียง เอกลกั ษณ์ เลิศเครือข่ายหลากหลายแหล่งเรียนร้สู ู้อาชพี ตามวิถพี อเพยี ง พันธกิจ ๑. จัดและส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยท่มี ีคุณภาพ สอดคล้องกับหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม เพื่อยกระดับการศึกษาและ พฒั นาสมรรถนะ ทักษะการเรยี นร้ขู องประชาชนกลุ่มเป้าหมายให้เหมาะสมในแต่ละช่วงวัย ให้พร้อมรับ การเปลยี่ นแปลงและการปรับตัวในการดารงชวี ติ ไดอ้ ย่างเหมาะสม กา้ วสกู่ ารเป็นสังคมแหง่ การเรยี นรตู้ ลอด ชวี ติ อยา่ งย่ังยนื ๒. พฒั นาหลกั สตู ร รปู แบบการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ สอ่ื และนวัตกรรมเทคโนโลยที างการศกึ ษา การวัดและประเมินผลในทุกรปู แบบให้มคี ุณภาพและมาตรฐานสอดคล้องกับรูปแบบการจดั การเรียนร้แู ละ บริบทในปจั จุบนั ๓. ส่งเสริมและพฒั นาเทคโนโลยีทางการศึกษา และนาเทคโนโลยีมาพัฒนาเพื่อเพม่ิ ชอ่ งทางและ โอกาสการเรยี นรู้ รวมถงึ การเพิม่ ประสิทธภิ าพในการจดั และให้บรกิ ารการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศัยใหก้ ับประชาชนกล่มุ เปา้ หมายอยา่ งทวั่ ถึง ๔. สง่ เสริมสนบั สนนุ แสวงหา และประสานความรว่ มมอื เชงิ รุกกบั ภาคีเครอื ขา่ ย ให้เข้ามามีสว่ นร่วม ในการสนับสนนุ และจดั การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย และการเรยี นรตู้ ลอดชีวิตในรปู แบบ ตา่ ง ๆใหก้ ับประชาชน ๕. พฒั นาระบบการบริหารจัดการภายในองค์กรใหม้ เี อกภาพ เพอ่ื การบริหารราชการท่ีดี บนหลกั ของ ธรรมาภบิ าล มีประสิทธภิ าพ ประสทิ ธผิ ล และคล่องตวั มากยิง่ ขน้ึ

๖. ยกระดบั การบริหารและการพฒั นาศกั ยภาพบคุ ลากรให้มีความรู้ ทักษะ สมรรถนะ คณุ ธรรมและ จริยธรรมที่ดี เพอ่ื เพิม่ ประสทิ ธิภาพของการใหบ้ ริการทางการศึกษาและการเรียนรทู้ ่ีมคี ณุ ภาพมากยิ่งข้นึ วัตถุประสงค์ ๑. ประชาชนผู้ด้อย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษารวมทั้งประชาชนทั่วไปได้รับโอกาสทาง การศึกษาในรูปแบบการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน การศึกษาต่อเนื่อง และการศึกษาตาม อัธยาศัยที่มีคุณภาพอย่างเท่าเทียมและทั่วถึง เป็นไปตามบริบท สภาพปัญหาและความต้องการของแต่ละ กล่มุ เปา้ หมาย ๒. ประชาชนได้รบั การยกระดับการศกึ ษา สร้างเสรมิ และปลูกฝงั คุณธรรม จรยิ ธรรม หนา้ ทคี่ วามเป็น พลเมืองที่ดีภายใตก้ ารปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตริย์เปน็ ประมุข ท่สี อดคล้องกับหลัก ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง อันนาไปสู่การยกระดับคุณภาพชีวิตและเสริมสร้างความเขม้ แข็งให้ชุมชน เพื่อ พฒั นาไปสคู่ วามม่ันคงและย่ังยนื ทางด้านเศรษฐกิจ สงั คม วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ และสิ่งแวดล้อมนโยบาย และจดุ เนน้ การดาเนินงาน สานักงาน กศน. ประจาปงี บประมาณพ.ศ. ๒๕๖๔ ๓. ประชาชนได้รับการพัฒนาทักษะการเรียนรู้และแสวงหาความรู้ด้วยตนเองผ่านแหล่งเรียนรู้ ช่องทางการเรียนรู้ และกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบต่าง ๆ รวมท้ังมีเจตคติทางสังคม การเมือง วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีท่ีเหมาะสม สามารถคิด วิเคราะห์ แยกแยะอย่างมีเหตุผล และนาไปประยุกต์ใช้ใน ชีวติ ประจาวนั รวมถงึ การแกป้ ญั หาและพัฒนาคณุ ภาพชีวิตได้อย่างสร้างสรรค์ ๔. หน่วยงานและสถานศกึ ษา กศน. มหี ลักสูตร ส่ือ นวัตกรรม ช่องทางการเรียนรู้ และกระบวนการ เรียนรู้ ในรูปแบบท่ีหลากหลาย ทันสมัย และรองรับกบั สภาวะการเรียนรใู้ นสถานการณ์ต่าง ๆ เพือ่ แก้ปัญหา และพัฒนาคุณภาพชีวิตตามความต้องการของประชาชนและชุมชน รวมท้ังตอบสนองกับการเปล่ียนแปลง บรบิ ทด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วัฒนธรรม ประวัตศิ าสตร์ และส่งิ แวดล้อม ๕. หน่วยงานและสถานศึกษา กศน. สามารถนาเทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยีดิจิทัลมา พัฒนาเพ่ือเพิ่มช่องทางการเรียนรู้ และนามาใช้ในการยกระดับคุณภาพในการจัดการเรียนรู้และโอกาสการ เรียนรู้ให้กับประชาชน ๖. ชุมชนและภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน มีส่วนร่วมในการจัด ส่งเสริม และสนับสนุนการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย รวมท้งั การขบั เคลอ่ื นกิจกรรมการเรียนร้ขู องชุมชน ๗. หนว่ ยงานและสถานศึกษามรี ะบบการบรหิ ารจัดการองคก์ รที่ทันสมัย มีประสทิ ธิภาพ และเป็นไป ตามหลกั ธรรมาภบิ าล ๘. บคุ ลากร กศน. ทุกประเภททุกระดบั ได้รบั การพัฒนาเพื่อเพมิ่ ทักษะและสมรรถนะในการ ปฏิบตั งิ านและการใหบ้ ริการทางการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั รวมถึงการปฏบิ ตั งิ านตาม สายงานอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ บทบำทหน้ำที่ 1.ชแี้ จงประชำสัมพนั ธก์ จิ กรรมกำรศกึ ษำนอกระบบและกำรศกึ ษำตำมอธั ยำศยั 2.สำรวจจัดทำระบบขอ้ มูลพ้นื ฐำน 3.เป็นศนู ยป์ ระสำนงำนระหวำ่ งชุมชนกบั ตำบล 4.กจิ กรรมดำเนนิ งำน -จดั กำรศึกษำขนั้ พน้ื ฐำน ม.ตน้ , ม.ปลำย -ส่งเสรมิ ภำษำอำเซียน -สนบั สนนุ ประชำธิปไตย

-สง่ เสรมิ กิจกรรมศนู ยเ์ รียนรเู้ ศรษฐกจิ พอเพยี ง -กิจกรรมทักษะชวี ิต -กิจกรรมศูนย์ดิจทิ ัลชุมชน -สง่ เสรมิ กำรอำ่ น ๕.จดั กิจกรรม ๔ ศนู ย์ ศนู ยก์ ำรศกึ ษำตลอดชีวิต ศนู ยส์ ง่ เสริมประชำธิปไตยและกำรเลือกตัง้ ศนู ยด์ จิ ิทัลชมุ ชน ศนู ย์กำรเรยี นร็ตลอดชีวิต 5. จดั กิจกรรมเพือ่ เสรมิ สร้ำงชมุ ชนใหเ้ ข็มแข็ง -จัดอบรมกำรทำเจลแอลกอฮอลล์ลำ้ งมือ -จดั อบรมกำรดูแลสขุ ภำพกำย สุขภำพจติ และสมองของผสู้ งู อำยุ -จัดกระบวนกำรเรียนรู้ตำมหลกั ปรัชญำเศรษฐกิจพอเพียง

ขอ้ มลู พนื้ ฐานสถาบนั ศกึ ษาปอเนาะดารสุ ลาม ประวัตคิ วามเปน็ มาของสถาบนั ศกึ ษาปอเนาะดารสุ ลาม คำว่ำ \"ปอเนำะ\" แปลว่ำ ที่พัก ศำสนำอสิ ลำมสอนไว้วำ่ กำรศกึ ษำศำสนำนั้น จะตอ้ งเรียนรูต้ ั้งแต่เกิดไปจนถึง วันสุดท้ำยของกำรมีลมหำยใจ ดงั นั้นในอดีตท่ีผ่ำนมำกอ่ นจะมีโรงเรยี นเอกชนสอนศำสนำอิสลำมน้ัน ในพ้ืนท่ี 3 จังหวัดชำยแดนภำคใต้และบำงส่วนของจังหวัดสงขลำ จะมีสถำนศึกษำศำสนำตำมหมู่บ้ำนต่ำง ๆ เป็น จำนวนมำก ซึง่ สถำนศึกษำเหล่ำนี้ จะถูกเรียกว่ำปอเนำะ เพรำะสภำพภำยในบริเวณสถำนศึกษำ มีกำรสรำ้ ง บำ้ นหลงั เลก็ ๆ เป็นทีพ่ ักอำศยั สำหรับคนมำศกึ ษำเล่ำเรียนประจำ จนมีกำรเรยี กติดปำกว่ำ ปอเนำะดงั กล่ำว สถำบันปอเนำะเป็นสำนักสอนศำสนำอิสลำมมำด้ังเดิมควบคู่กับชุมชนมุสลิมในจังหวัดชำยแดนภำคใต้ เดิม เรยี กว่ำปอเนำะ เมื่อวันที่ 28 เมษำยน 2547 กระทรวงศึกษำธิกำรได้ออกระเบียบกระทรวง ว่ำด้วยสถำบัน ศกึ ษำปอเนำะ พ.ศ. 2547 เปิดโอกำส ให้ปอเนำะตำ่ ง ๆ ได้จดทะเบียนปอเนำะเปน็ จำนวน 214 ปอเนำะ ในวันท่ี 9 พฤษภำคม 2547 นับตัง้ แตน่ ัน้ เปน็ ตน้ มำ ปอเนำะ จงึ มชี ่อื เรียกใหมว่ ำ่ สถำบนั ศึกษำปอเนำะ สถำบันศึกษำปอเนำะดำรุสลำม ต้ังอยู่เลขที่ 128/97 หมู่ท่ี 6 ตำบลปำเสมัส อำเภอสุไหงโก-ลก จงั หวัดนรำธวิ ำส 96120 นำยอุสมำน รอยำลี โต๊ะครู บำบอสถำบันศึกษำปอเนำะดำรุสลำม ปัจจบุ ัน ศูนย์กำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศัยอำเภอสุไหงโก-ลก ได้จัดกำรเรียนกำรสอนสำยสำมัญ ให้กับนกั ศึกษำสถำบนั ศกึ ษำดำรุสลำม 3 ระดับด้วยกัน คอื 1.ระดบั ประถมศึกษำ 2.ระดับมัธยมศกึ ษำตอนต้น 3. ระดับมัธยมศึกษำตอนปลำย และมีกำรจัดอำชีพระยะส้ัน และทักษะชีวิตใหก้ ับนักศึกษำ โดยมีวิทยำกรให้ ควำมรใู้ นเร่อื งน้ัน ๆ

ขอ้ มลู พน้ื ฐานสถาบนั ศึกษาปอเนาะดารุสลาม a สถานทตี่ ง้ั และลักษณะพืน้ ทตี่ ้ัง สถานทต่ี งั้ สถำบันศึกษำปอเนำะดำรุสลำม ตั้งอยู่เลขท่ี 128/97 หมู่ท่ี 6 ตำบลปำเสมัส อำเภอสุไหงโก-ลก จังหวัดนรำธวิ ำส 96120 พกิ ดั ตาแหนง่ สถาบนั ศกึ ษาปอเนาะ 1. รูปภาพถา่ ยดาวเทยี ม สถาบนั ศึกษาปอเนาะ ดารุสลาม

อาณาเขตตดิ ต่อ ทศิ เหนอื ติดตอ่ กบั ป่ำพรโุ ตะแดง ต.ปูโยะ อ.สุไหงโก-ลก จ.นรำธิวำส ทศิ ใต้ ตดิ ตอ่ กบั อ.สุไหงโก-ลก จ.นรำธวิ ำส ทศิ ตะวนั ตก ตดิ ตอ่ กบั อำเภอสุไหงปำดี จ.นรำธิวำส ทศิ ตะวันออก ติดตอ่ กับ เขตตำบลมโู นะ อ.สุไหงโก-ลก จ.นรำธวิ ำส สภาพท่วั ไปของอาคารเรียนและสถานท่ีตา่ ง ๆ ในบริเวณ ปอเนาะ  ป้ายชอ่ื สถาบนั ศึกษาปอเนาะ  -มุมเรยี นรู้ กศน.ในสถำบันศกึ ษำปอเนำะ จดั กำรเรียนกำรสอนกำรศึกษำขนั้ พ้ืนฐำน ของ กศน.อำเภอ สุไหงโก-ลก  อาคารละหมาดชาย (มดั ราซะห)์ ใช้สำหรับประกอบพิธีละหมำดทำงศำสนำ และจัดโครงกำรคอตัมอลั กรุ อำนสำหรับนกั ศกึ ษำหรอื ประชำชนทีเ่ รยี นอัลกุรอำนจบ 30 บท  อาคารบาลยั ใชส้ ำหรับบรรยำยธรรม และท่องจำบทเรยี นอลั กุรอำน  หอพักนักศกึ ษาชาย -จำนวน 1 หลังอำคำรปูน - หอ้ งนำ้ ชำย จำนวน 1 หลงั  มที กี่ ักเกบ็ น้าสะอาดใช้ในชีวติ ประจาวนั ขอ้ มูลบุคลำกรและผเู้ รยี นในสถำบันศกึ ษำปอเนำะดำรุสลำม บคุ ลำกรในสถำบันศึกษำปอเนำะ ดงั น้ี ๑. นำยอสุ มำน รอยำลี ผู้จดทะเบยี น ๒. นำยอสั ฮำร์ อำลี โต๊ะครู 3. นำยมูฮมั หมัดรัฟดัน รอยำลี โต๊ะครู 4. นำงซไู ฮดำ มำมะ ครอู ำสำฯปอเนำะ ช่ือและเบอรต์ ิดตอ่ ของครูอาสาสมัครสถาบนั ศกึ ษาปอเนาะ ชื่อ-สกลุ นำงซไู ฮดำ มำมะ ครูอำสำฯประจำสถำบนั ศึกษำปอเนำะ ต้ังอยู่บ้านเลขที่ 184/43 หมู่ท่ี 10 ตำบลรือเสำะ อำเภอรือเสำะ จังหวัดนรำธิวำส 96150 การศกึ ษา ระดบั ปริญญำตรี มหำวิทยำลัยรำชภัฏสงขลำ โทรศัพทต์ ิดตอ่ 087-2946-818

ลิงค์ เว็บไซต์ หรือ Fanpage สถาบนั ศกึ ษาปอเนาะ https://www.facebook.com/profile.php?id=429863394065444 ขอ้ มูลสาธารณปู โภค (ไฟฟา้ น้าประปา) โทรศัพท์ และอินเตอร์เนท็ - ไฟฟ้า มีกำรวำงระบบกำรเดนิ ไฟฟ้ำภำยในอำคำรและภำยนอกอำคำร สถำบันศกึ ษำปอเนำะ เป็นคนออกค่ำใช้จำ่ ยเอง คณะกรรมการสถาบนั ศกึ ษาปอเนาะ ๑. นำยอสุ มำน รอยำลี ประธำนกรรมกำร ๒. นำยอสั ฮำร์ อำลี รองประธำนกรรมกำร 3. นำยมฮู ำหมัดรอฟดนั รอยำลี กรรมกำร 4. นำยซอดรี อำลี กรรมกำร 5. นำยแวฮำรูน แวบือรำเฮง กรรมกำร 6. นำยฮสั บูเลำะ บนิ มะแซ กรรมกำร 7. นำงซไู ฮดำ มำมะ กรรมกำรและเลขำนกุ ำร

สภาพปัญหาและความต้องการทางการศกึ ษาของประชาชนทจี่ าแนกตามลกั ษณะของกลมุ่ เป้าหมาย 1. ด้านการศึกษานอกระบบ ระดบั การศึกษาขั้นพื้นฐาน สภาพปญั หา จากการสารวจสภาพปัญหาและความต้องการทางการศึกษาของประชาชนในพื้นที่ตาบลสุไหงโก-ลก พบว่ายังมีกลุ่มเป้าหมายบางส่วนท่ียังขาดการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน อาทิ กลุ่ม ผู้ด้อยโอกาส กลุ่มผู้พลาดโอกาส และกลุ่มผู้ขาดโอกาส อันเน่ืองมาจากข้อจากัดทางเศรษฐกิจ การไม่สามารถ ในการที่จะเขา้ รบั การศกึ ษาได้อยา่ งตอ่ เนื่อง หรือไม่มคี วามประสงคท์ ี่จะรับการศกึ ษาการเรยี นรจู้ นจบหลกั สตู ร หรือระดบั การศกึ ษาใดๆ ท่ีผ่านมา ความตอ้ งการทางการศกึ ษา จากการสอบถามความต้องการทางการศึกษา พบว่ากลุ่มเป้าหมายส่วนใหญ่มีความต้องการเข้ารับ การศกึ ษา ระดับการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน เพ่อื พัฒนาคณุ ภาพชีวิตต่อไป ดา้ นการรู้หนงั สือ สภาพปญั หา จากการสารวจสภาพปัญหาและความต้องการทางการศึกษาของประชาชนในพืน้ ที่ตาบลสุไหงโก-ลก พบว่ายังมีกลุ่มเป้าหมายบางสว่ นที่ไม่รู้หนังสือ อนั เน่ืองมาจากการขาดโอกาสทางการศกึ ษาด้วยข้อจากัดทาง เศรษฐกิจ หรือกลุ่มเป้าหมายบางสว่ นที่ได้รับการศึกษาอย่างน้อยระดับประถมศึกษา แตไ่ ม่ได้ใช้ภาษาไทยใน ชีวติ ประจาวัน ตลอดจนการใช้ภาษาถ่ิน (ภาษามลายู) ในการส่อื สารในชีวิตประจาวัน ทาให้เป็นผู้ที่ลืมหนังสือ ไทย ความต้องการทางการศกึ ษา จากการสอบถามความต้องการทางการศึกษา พบว่ากลุ่มเป้าหมายส่วนใหญ่มีความต้องการให้จัด กิจกรรมเก่ียวกับการส่งเสริมการอ่าน การฟัง และการเรียนรู้ เพ่ือการทบทวนความรู้ ในการเขียน การอ่าน ภาษาไทย เพอื่ พัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ต่อไป 2. ดา้ นการศึกษาต่อเนือ่ ง กำรศกึ ษำเพื่อพัฒนำอำชพี สภาพปัญหา จากการสารวจสภาพปัญหาและความต้องการทางการศึกษาของประชาชนในพื้นท่ีตาบลสุไหงโก-ลก พบว่ายังมีกลุ่มเป้าหมายบางสว่ นท่ีไม่สามารถปรับตัวให้ทันกับการเปล่ียนแปลงของสังคมปัจจุบัน อกี ทั้งส่วน ใหญป่ ระกอบอาชีพรับจา้ ง คา้ ขาย รายได้หลักจึงมาจากการรบั จ้างตา่ งประเทศ (มาเลเซยี ) เม่ือประสบปัญหา การข้ามไปมาระหว่ำงประเทศอันเนื่องจำกโรคติดต่อไวรัสโคโรน่ำโควิด19 ส่วนใหญ่ไม่มีรายได้เสริม อัน เน่ืองมาจากการขาดทกั ษะการประกอบอาชีพต่างๆ ความต้องการทางการศึกษา จากการสอบถามความต้องการทางการศึกษา พบว่ากลุ่มเป้าหมายส่วนใหญ่มีความต้องการให้จัด กิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะการประกอบอาชีพ สามารถสร้างรายได้ให้ประชาชน ตลอดจนการนาความรู้ และ ทักษะมาใช้กับตนเอง ครอบครวั เกิดกระบวนการเรียนรู้และนาไปประยกุ ต์ใช้ในการประกอบอาชพี และได้รับ การพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ทด่ี ีขึน้

กำรศึกษำเพื่อพัฒนำทกั ษะชวี ิต สภาพปัญหา จากการสารวจสภาพปัญหาและความต้องการทางการศึกษาของประชาชนในพืน้ ที่ตาบลสุไหงโก-ลก พบว่ายังมีกลุ่มเป้าหมายบางส่วนที่ไม่สามารถปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมปัจจุบัน ท่ีจะ ปรบั เปลย่ี นไปตามกระแสสังคมโลก ทศั นคติ ความเชื่อ คา่ นิยม วฒั นธรรม ทาให้เกดิ การเปล่ียนแปลงของ วิถี ชีวิต ทัศนคติ ความเช่ือ ความสมั พันธ์ระหว่างบุคคล การไม่เคารพในสิทธคิ นอ่นื ขาดความเอื้อเฟื้อเก้ือกูล ซ่ึง นาไปสู่การสูญเสียคุณค่าทางวัฒนธรรมดั้งเดิมและพฤติกรรมท่ีไม่พึงประสงค์ในสังคมไทย เน่ืองจากวิถีชีวิตท่ี เปลี่ยนไป ทาให้สถาบันครอบครัว สถาบันการศึกษา และสถาบันศาสนา มีบทบาทในการอบรมเลี้ยงดู ให้ ความรู้ ปลูกฝงั ศีลธรรมให้เด็กและเยาวชนมีคุณธรรมและจริยธรรมลดนอ้ ยลงอกี ด้วย ความต้องการทางการศึกษา จากการสอบถามความต้องการทางการศึกษา พบว่ากลุ่มเป้าหมายส่วนใหญ่มีความต้องการให้จัด กิจกรรมท่ีส่งเสริมการจดั กระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อเปลี่ยนแปลงในสังคมปัจจุบนั ท้ังน้ีเพื่อเสริมสร้าง ความรู้ความสามารถของบุคคล เพ่ือให้สามารถจัดการตนเอง เป็นการให้ความสาคัญกับการพัฒนาคนให้มี ความรู้ เจตคติและทักษะที่จาเป็นสาหรับการดารงชีวิตอยู่ในสงั คมปจั จุบันได้อยา่ งมคี วามสุขตอ่ ไป กำรศึกษำเพอื่ พัฒนำสงั คมและชุมชน สภาพปญั หา จากการสารวจสภาพปัญหาและความต้องการทางการศึกษาของประชาชนในพ้ืนที่ตาบลสุไหงโก-ลก พบว่ายังมีกลุ่มเป้าหมายบางส่วนที่ไม่สามารถปรับตัวให้ทันกับการเปล่ียนแปลงของสังคมปัจจุบัน ที่จะ ปรบั เปล่ียนไปตามกระแสสังคมโลก ทัศนคติ ความเชอื่ คา่ นยิ ม วฒั นธรรม ทาให้เกดิ การเปลี่ยนแปลงของ วิถี ชีวติ ทศั นคติ ความเช่อื ความสัมพนั ธร์ ะหว่างบคุ คล การไมเ่ คารพในสิทธิคนอ่ืน ความตอ้ งการทางการศกึ ษา จากการสอบถามความต้องการทางการศึกษา พบว่ากลุ่มเป้าหมายส่วนใหญ่มีความต้องการให้มีการ ส่งเสรมิ การจดั กระบวนการเรียนรู้ท่ตี อบสนองต่อเปลย่ี นแปลงในสังคมปจั จุบัน ท้ังนี้เพือ่ เสริมสรา้ งการยอมรับ ความแตกต่างและความหลากหลายทางความคิดและอุดมการณ์ รวมท้ังสังคมพหุวัฒนธรรม โดยจัด กระบวนการให้บุคคลรวมกลุ่มเพื่อแลกเปล่ียนเรียนรู้รว่ มกัน การสรา้ งจิตสานึกความเป็นประชาธิปไตย การ เคารพในสิทธิ และรับผิดชอบต่อหน้าท่ีความเป็น พลเมืองดี การส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม การบาเพ็ญ ประโยชน์ในชุมชน การช่วยเหลอื ซึ่งกนั และกนั ในการพฒั นาสงั คมและชุมชนอย่างย่ังยนื ต่อไป กำรเรยี นรู้ตำมหลกั ปรัชญำเศรษฐกจิ พอเพยี ง สภาพปัญหา จากการสารวจสภาพปัญหาและความต้องการทางการศึกษาของประชาชนในพ้นื ท่ีตาบลสุไหงโก-ลก พบว่ายังมีกลุ่มเป้าหมายบางส่วนที่ประกอบอาชีพด้านการเกษตร แต่ขาดความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับหลัก ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง การบรหิ ารจัดการทด่ี นิ และนา้ พ่งึ พาอาศัยธรรมชาติเป็นหลัก ทาให้ผลผลติ ที่ได้ มนี ้อยและขาดคณุ ภาพ

ความตอ้ งการทางการศกึ ษา จากการสอบถามความต้องการทางการศึกษา พบว่ากลุ่มเป้าหมายส่วนใหญ่มีความต้องการให้จัด กระบวนการสง่ เสรมิ การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง เพื่อสง่ เสริมการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ ศาสตร์พระราชา และหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง สามารถนาไปประยุกตใ์ ชใ้ นการดาเนินชีวติ ตอ่ ไป ดำ้ นกำรศกึ ษำตำมอธั ยำศัย สภาพปญั หา จากการสารวจ/สังเกต สภาพปัญหาและความตอ้ งการทางการศึกษาของประชาชนในพนื้ ทต่ี าบลสไุ หง โก-ลก พบว่ายงั มกี ลุ่มเปา้ หมายบางสว่ นที่ขาดโอกาสในการเรียนรูต้ า่ งๆ ตามความสนใจและถนัดของตนเอง ความต้องการทางการศกึ ษา จากการสอบถามความต้องการทางการศึกษา พบว่ากลุ่มเป้าหมายส่วนใหญ่มีความต้องการให้มีการ จัดกจิ กรรมเกีย่ วกับการส่งเสริมการอ่าน การสรา้ งนสิ ัยรกั การอ่าน การสง่ เสริมให้ตระหนกั และเหน็ ความสาคัญ ของการอ่าน เพือ่ การมีคณุ ภาพชวี ิตท่ีดี และไดเ้ รยี นรอู้ ยา่ งต่อเนื่องตลอดชวี ิต

การวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อมสถาบนั ศกึ ษาปอเนาะ(SWOT จดุ แข็งของ สถาบันศกึ ษาปอเนาะดารุสลาม (StrAenngtahlsy–siSs)) กำรจดั กำรศึกษำขน้ั พ้ืนฐำน - ผู้บริหำรสถำบันศึกษำปอเนำะส่งเสริม สนับสนุน และติดตำมให้นักศึกษำในสถำบันศึกษำปอเนำะ ดำรสุ ลำมทุกคนเรยี นจบกำรศกึ ษำภำคบงั คบั - จำนวนนักศึกษำสถำบันศึกษำปอเนำะดำรุสลำม จำนวน 63 คน ทำให้มีกลุ่มเป้ำหมำยที่ หลำกหลำยในกำรจดั กำรเรียนกำรสอน กำรจดั กำรศึกษำต่อเน่ือง - ผู้บริหำรสถำบันศึกษำปอเนำะ ได้สนับสนุนงบประมำณและวัสดุอุปกรณ์เพิ่มเติมในกำรจัด ทักษะอำชีพ เพ่ือให้กลุ่มเป้ำหมำยได้ดำเนินกำรอย่ำงเต็มศักยภำพและสำมำรถนำไปใช้ไห้เกิด ประโยชน์กบั สถำบนั ศึกษำปอเนำะและผู้เขำ้ รว่ มกจิ กรรมนัน้ ๆ กำรจดั กำรศึกษำตำมอัธยำศยั - ผเู้ รยี นในสถำบันศกึ ษำปอเนำะ สนใจศึกษำและอำ่ นหนังสอื ท่ไี ดร้ ับกำรจดั สรรจำก สำนักงำน กศน.จงั หวดั /กศน.อำเภอ ในระดับดี จุดออ่ นของ สถาบันศึกษาปอเนาะดารสุ ลาม (Wesknesses - W) กำรจัดกำรศกึ ษำขน้ั พ้นื ฐำน - งบประมำณท่ีได้รับกำรจดั สรร จำกแผนงำน งบประมำณกิจกรรมพัฒนำกิจกรรมพัฒนำผูเ้ รียน โดย ส่วนใหญ่ใช้งบประมำณจัดโครงกำร/กิจกรรมให้กับผู้เรียนปกติอย่ำงต่อเนื่อง แต่ขำดกำรจัดสรรงบประมำณ ให้กับผู้เรียนกำรศึกษำข้ันพื้นฐำนในสถำบันศึกษำปอเนำะ ทำให้ผู้เรียนในปอเนำะขำดโอกำสในกำรจัด โครงกำร/กิจกรรมเพือ่ พัฒนำตนเองในดำ้ นตำ่ งๆ - กำรจัดกำรศึกษำขั้นพนื้ ฐำนยงั ขำดสอ่ื กำรเรียนกำรสอนอีกมำกมำยต้องพัฒนำจุดน้ี กำรจดั กำรศกึ ษำต่อเนือ่ ง - กำรจดั กิจกรรมทักษะอำชีพมขี ้อจำกัดในเร่ืองหลักสูตรทย่ี ุ่งยำก ทำให้กำรจัดอำชพี ทผ่ี ู้เรียนสนใจแต่ หลกั สูตรไมพ่ รอ้ มไม่สำมำรถจดั ไดต้ ำมแผนกำรดำเนินงำนในปงี บประมำณท่ีวำงไว้ กำรจัดกำรศกึ ษำตำมอัธยำศัย - ยังขำดสื่อวดิ โี อทเี่ หมำะสมกับผู้เรยี นในสถำบนั ศึกษำปอเนำะ - หนังสือหรอื สื่อสิ่งพมิ พท์ ี่ไดร้ บั กำรจดั สรรมำ ขำดกำรคดั กรองเน้อื หำกอ่ นไปใหส้ ถำบันศึกษำปอเนำะ เชน่ หนงั สอื ศำสนำอิสลำมบำงเลม่ นักเขยี นไม่เป็นท่ียอมรบั ของผู้รใู้ น 3 จงั หวดั ชำยแดนใต้ เป็นต้น

โอกาส (Opportunities - O) ด้ำนนโยบำย กฎหมำยที่เกีย่ วขอ้ ง ด้ำนควำมปลอดภัยในพ้ืนท่ี ด้ำนสังคม-วฒั นธรรม ด้ำน เศรษฐกจิ ดำ้ นเทคโนโลย/ี กำรคมนำคม ติดต่อส่อื สำร และดำ้ นส่งิ แวดลอ้ ม กำรจดั กำรศกึ ษำข้นั พ้นื ฐำน - ภำคีเครือที่เกี่ยวข้องกับกำรจัดกำรศึกษำในพ้ืนที่ เช่น สช.อำเภอ อบต. กศน. สพฐ. มีส่วนร่วมใน กำรประสำนงำน สนบั สนนุ วำงแผนเพอ่ื พัฒนำบคุ ลำกรและผเู้ รียนในสถำบนั ศึกษำปอเนำะ - กำรทำงำนแบบคูบ่ ดั ดคี รูอำสำฯปอเนำะ จะตอ้ งมีกำรปรบั แนวทำงกำรทำงำนให้ดขี ้ึนกว่ำเดมิ กำรจัดกำรศึกษำตอ่ เนื่อง - ประสำนควำมร่วมมือกับวิทยำลัยกำรอำชีพอำเภอสุไหงโก-ลกในเร่ืองกำรจัดทำหลักสูตรท่ี สมบูรณ์มำกยิ่งขน้ึ กำรจัดกำรศึกษำตำมอัธยำศยั - กำรใชส้ ่ือกำรเรยี นรผู้ ำ่ นระบบออนไลน์ที่เหมำะสมกบั ผ้เู รยี น - มีอำสำสมคั รนักศึกษำปอเนำะชว่ ยในเรื่องกำรคัดกรองส่อื ตำ่ งๆทน่ี ำมำใชใ้ นสถำบันศกึ ษำปอเนำะ อุปสรรค/ความเสีย่ ง (Threats - T) ดำ้ นนโยบำย กฎหมำยทเี่ กี่ยวข้อง ด้ำนควำมปลอดภยั ในพื้นท่ี ด้ำนสังคม-วฒั นธรรม ดำ้ น เศรษฐกิจ ดำ้ นเทคโนโลย/ี กำรคมนำคม ตดิ ต่อสอื่ สำร และด้ำนสง่ิ แวดล้อม - ขำดกำรวำงแผนในกำรแก้ไขปัญหำกำรจัดกำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศัยใน สถำบันศกึ ษำปอเนำะ - กำรสนับสนนุ งบประมำณจำกตน้ สังกดั และเครือข่ำยท่ีเป็นหน่วยงำนภำครฐั และภำคเอกชนในพืน้ ที่ ไม่เพยี งพอ - กำรทำงำนท่ขี ำดกำรบูรณำกำรระหว่ำงเครือข่ำยที่ทำงำนรว่ มกนั

จดุ เนน้ การดาเนินงาน/โครงการ ในปงี บประมาณ ๒๕๖๔ ๑. โครงกำรสนับสนุนคำ่ ใช้จำ่ ยในกำรจัดกำรศกึ ษำตงั้ แต่ระดบั อนุบำลจนจบกำรศกึ ษำขน้ั พนื้ ฐำน กิจกรรมจัดกำรศึกษำนอกระบบระดบั กำรศกึ ษำข้ันพ้นื ฐำน ๒. โครงกำรสง่ เสรมิ กำรรู้หนังสอื ๓. โครงกำรกำร ศึกษำเพอื่ พัฒนำทักษะชีวติ ๔. โครงกำรกำรเรยี นรู้ตำมหลักปรัชญำของเศรษฐกจิ พอเพียง ๕. โครงกำรกำรศึกษำเพื่อพัฒนำสังคมและชุมชน ๖. โครงกำรศนู ยฝ์ กึ อำชีพชุมชน ๗. โครงกำรภำษำตำ่ งประเทศเพ่ือกำรสือ่ สำรดำ้ นอำชพี ๘. โครงกำรพฒั นำเศรษฐกิจและสังคมดจิ ิทลั (ศูนย์ดิจทิ ัลชุมชน) ๙. โครงกำรจัดกำร ศึกษำตลอดชีวิต ในสถำบันศึกษำปอเนำะ ๑๐. โครงกำรฝึกประสบกำรณ์กำรใชภ้ ำษำในจงั หวัดชำยแดนภำคใต้ ๑๑. โครงกำรกีฬำ กศน.สำยสัมพนั ธช์ ำยแดนใต้ ๑๒. โครงกำรคำ่ ยลูกเสือ กศน.ชำยแดนใต้ ๑๓. โครงกำรกำรศึกษำตำมอัธยำศัย ๑๔. โครงกำรยกระดับมำตรฐำนคุณภำพกำรศึกษำ

สว่ นท่ี ๒ ยุทธศำสตรแ์ ละจุดเนน้ กำรดำเนินงำน สำนกั งำน กศน. ประจำปงี บประมำณ พ.ศ.๒๕๖๔

สว่ นท่ี ๒ ยทุ ธศำสตร์และจดุ เน้นกำรดำเนินงำน สำนกั งำน กศน. ประจำปงี บประมำณ พ.ศ.๒๕๖๔ วิสยั ทศั น์ คนไทยทุกช่วงวัยไดร้ ับโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรตู้ ลอดชีวติ อยา่ งมคี ณุ ภาพ มีทกั ษะที่จาเปน็ และสมรรถนะทส่ี อดรับกับทิศทางการพัฒนาประเทศ สามารถดารงชีวติ ได้อย่างเหมาะสมบนรากฐานของหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง พนั ธกจิ ๑. จัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยท่ีมีคุณภาพ สอดคล้องกับหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และความเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม เพื่อยกระดับการศึกษาและ พฒั นาสมรรถนะ ทกั ษะการเรยี นรู้ของประชาชนกลมุ่ เปา้ หมายให้เหมาะสมในแต่ละช่วงวัย ให้พร้อมรับ การเปล่ียนแปลงและการปรับตวั ในการดารงชีวิตไดอ้ ย่างเหมาะสม ก้าวสู่การเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอด ชีวิตอย่างยัง่ ยืน ๒. พัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ สอ่ื และนวตั กรรมเทคโนโลยที างการศึกษา การวัดและประเมินผลในทุกรูปแบบให้มีคุณภาพและมาตรฐานสอดคล้องกับรูปแบบการจัดการเรียนรู้และ บริบทในปจั จบุ ัน ๓. ส่งเสริมและพัฒนาเทคโนโลยีทางการศึกษา และนาเทคโนโลยีมาพัฒนาเพ่ือเพิ่มช่องทางและ โอกาสการเรียนรู้ รวมถงึ การเพมิ่ ประสทิ ธิภาพในการจัดและใหบ้ รกิ ารการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยใหก้ ับประชาชนกลุ่มเป้าหมายอยา่ งทว่ั ถึง ๔. สง่ เสริมสนบั สนุน แสวงหา และประสานความรว่ มมอื เชงิ รกุ กบั ภาคีเครือข่าย ให้เขา้ มามีส่วนร่วม ในการสนับสนุนและจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และการเรียนร้ตู ลอดชีวิตในรูปแบบ ต่าง ๆใหก้ ับประชาชน ๕. พฒั นาระบบการบริหารจัดการภายในองค์กรให้มเี อกภาพ เพอื่ การบริหารราชการทดี่ ี บนหลักของ ธรรมาภิบาล มปี ระสทิ ธิภาพ ประสทิ ธิผล และคลอ่ งตวั มากย่งิ ขน้ึ ๖. ยกระดับการบริหารและการพัฒนาศักยภาพบุคลากรให้มีความรู้ ทักษะ สมรรถนะ คุณธรรมและ จรยิ ธรรมทด่ี ี เพื่อเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพของการให้บริการทางการศกึ ษาและการเรียนรทู้ ี่มคี ณุ ภาพมากยงิ่ ข้ึน เปำ้ ประสงค์ ๑. ประชาชนผู้ด้อย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษารวมท้ังประชาชนท่ัวไปได้รับโอกาสทาง การศึกษาในรูปแบบการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน การศึกษาต่อเนื่อง และการศึกษาตาม อัธยาศัยที่มีคุณภาพอย่างเท่าเทียมและทั่วถึง เป็นไปตามบริบท สภาพปัญหาและความต้องการของแต่ละ กลุม่ เปา้ หมาย ๒. ประชาชนได้รบั การยกระดับการศึกษา สร้างเสริมและปลูกฝังคุณธรรม จรยิ ธรรม หน้าท่ีความเป็น พลเมืองที่ดีภายใต้การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเ์ ปน็ ประมุข ที่สอดคล้องกบั หลัก ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง อันนาไปสู่การยกระดับคณุ ภาพชีวิตและเสริมสร้างความเขม้ แข็งให้ชุมชน เพื่อ พัฒนาไปสู่ความม่ันคงและยั่งยืนทางด้านเศรษฐกิจ สงั คม วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ และสง่ิ แวดล้อมนโยบาย และจุดเน้นการดาเนินงาน สานักงาน กศน. ประจาปงี บประมาณพ.ศ. ๒๕๖๔ ๓. ประชาชนได้รับการพัฒนาทักษะการเรียนรู้และแสวงหาความรู้ด้วยตนเองผ่านแหล่งเรียนรู้ ช่องทางการเรียนรู้ และกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบต่าง ๆ รวมทั้งมีเจตคติทางสังคม การเมือง วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม สามารถคิด วิเคราะห์ แยกแยะอย่างมีเหตุผล และนาไปประยุกต์ใช้ใน ชีวติ ประจาวนั รวมถึงการแก้ปัญหาและพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ได้อย่างสร้างสรรค์

๔. หนว่ ยงานและสถานศึกษา กศน. มีหลักสูตร สอ่ื นวัตกรรม ชอ่ งทางการเรียนรู้ และกระบวนการ เรียนรู้ ในรปู แบบที่หลากหลาย ทันสมัย และรองรับกบั สภาวะการเรียนรู้ในสถานการณ์ตา่ ง ๆ เพอื่ แก้ปัญหา และพัฒนาคุณภาพชีวิตตามความต้องการของประชาชนและชุมชน รวมทั้งตอบสนองกับการเปลี่ยนแปลง บริบทดา้ นเศรษฐกิจ สงั คม การเมือง วัฒนธรรม ประวตั ิศาสตร์ และสิง่ แวดล้อม ๕. หน่วยงานและสถานศึกษา กศน. สามารถนาเทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยีดิจิทัลมา พัฒนาเพ่ือเพิ่มช่องทางการเรียนรู้ และนามาใช้ในการยกระดับคุณภาพในการจัดการเรียนรู้และโอกาสการ เรียนรใู้ ห้กบั ประชาชน ๖. ชุมชนและภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน มีส่วนร่วมในการจัด ส่งเสริม และสนับสนุนการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั รวมทงั้ การขบั เคลื่อนกจิ กรรมการเรียนรูข้ องชุมชน ๗. หน่วยงานและสถานศึกษามรี ะบบการบรหิ ารจัดการองค์กรท่ีทันสมัย มีประสิทธิภาพ และเปน็ ไป ตามหลกั ธรรมาภิบาล ๘. บุคลากร กศน. ทุกประเภททุกระดับได้รับการพัฒนาเพ่ือเพ่ิมทักษะและสมรรถนะในการ ปฏิบัติงานและการให้บริการทางการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย รวมถึงการปฏิบัติงานตาม สายงานอยา่ งมีประสิทธภิ าพตวั ชี้วดั รำยละเอียดตวั ชว้ี ัด คำ่ เป้ำหมำย ๑. ตวั ช้ีวัดเชงิ ปริมำณ ๑.๑ ร้อยละของผู้เรียนท่ีได้รับการสนับสนุนค่าใช้จ่ายการศึกษานอกระบบระดับ รอ้ ยละ ๘๐ การศึกษาขั้นพ้ืนฐานตามสิทธิท่ีกาหนดไว้ (เทียบกับเป้าหมายตาม พ.ร.บ.งบประมาณ รายจา่ ยประจาป)ี ๑.๒ จานวนของผู้ลงทะเบียนเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้/ ได้รับบริการกิจกรรม ๗๕๖,๖๗๕ คน การศกึ ษาตอ่ เน่อื ง ทสี่ อดคลอ้ งกับสภาพ ปญั หา และความต้องการ ๑.๓ จานวนของผ้รู บั บรกิ าร/เข้ารว่ มกจิ กรรมการศกึ ษาตามอัธยาศยั ๙,๘๐๐,๐๐ คน ๑.๔ จานวนบันทกึ ข้อตกลงความร่วมมอื (MOU) ร่วมกับภาคีเครือข่าย ไม่น้อยกว่า ๓,๐๐๐ ฉบับ ๑.๖ จานวนแหล่งเรยี นรใู้ นระดับตาบลทม่ี ีความพร้อมในการให้บริการ/ การจัดกิจกรรม ๑,๗๘๗ แห่ง การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย ๑.๗ จานวนประชาชนท่ีเข้ารับการพฒั นาทกั ษะอาชีพเพอ่ื สร้างรายไดแ้ ละการมีงานทา ๔๒๔,๕๐๐ คน ๑.๘ จานวน ครู กศน. ตาบล ที่ไดร้ ับการพัฒนาศกั ยภาพดา้ นการจดั การเรียนการสอน ๑๐๐ คน ภาษาองั กฤษเพอื่ การส่ือสาร ๑.๙ จานวนประชาชนท่ไี ด้รับการฝึกอบรมภาษาตา่ งประเทศเพือ่ การส่อื สารดา้ นอาชพี ๒๒,๒๗๒ คน ๑.๑๐ จานวนผู้ผา่ นการอบรมหลกั สตู รการดแู ลผสู้ ูงอายุ ๖,๘๐๐ คน ๑.๑๑ จานวนประชาชนท่ผี ่านการอบรมจากศูนย์ดิจิทลั ชุมชน ๑๘๕,๖๐๐ คน ๑.๑๒ จานวนส่ือการเรียนออนไลน์ หลักสูตรการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพ่ืองาน ไมน่ อ้ ยกวา่ ๓๐ อาชพี วิชา ๑.๑๓ จานวนบุคลากรสังกัดสานักงาน กศน. ท่ีได้รับการพัฒนาศักยภาพและ ๒,๘๐๗ คน ความก้าวหนา้ ตามสายงานในอาชีพ ๑.๑๔ จานวนบุคลากรสังกัดสานักงาน กศน. ท่ีเข้ารับการอบรมด้านการปกปอ้ งและเชิด ๑๐,๐๐๐ คน ชสู ถาบันหลักของชาติ ด้านความปรองดองสมานฉันท์ ด้านการมีจิตสาธารณะและด้าน ทกั ษะในการปฐมพยาบาลเบ้ืองต้น

รำยละเอียดตวั ชว้ี ัด ค่ำเป้ำหมำย ๘,๐๐๐ ๑.๑๕ จานวนบทความเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตในระดับตาบล ในหัวข้อต่าง ๆ อาทิ บทความ อาชพี ชุมชน วัฒนธรรมทอ้ งถ่นิ ภูมิปญั ญา ๗๗ แห่ง ๑.๑๖ จานวนศนู ยก์ ารเรยี นรตู้ น้ แบบ (Co-Learning Space) รอ้ ยละ ๗๕ ๒. ตัวชว้ี ัดเชงิ คณุ ภำพ รอ้ ยละ ๘๐ ๒.๑ ร้อยละของนักศึกษาท่ีคาดว่าจะจบในทุกระดับ ท่ีสาเร็จการศึกษาในแต่ละภาค ร้อยละ ๘๐ เรยี น รอ้ ยละ ๘๐ ๒. ตัวชี้วัดเชงิ คุณภำพ (ต่อ) ร้อยละ ๘๐ ๒.๒ ร้อยละของผู้จบหลักสูตร/ กิจกรรมการศึกษาต่อเน่ือง ที่สามารถนาความรู้ความ เขา้ ใจไปใชพ้ ฒั นาตนเองไดต้ ามจุดมงุ่ หมายของหลกั สูตร/กิจกรรม รอ้ ยละ ๘๐ ๒.๓ ร้อยละของผู้ผ่านการพัฒนาทักษะอาชีพ สามารถนาความรู้ไปใช้ในการประกอบ ร้อยละ ๙๐ อาชพี หรือพฒั นาตนเองได้ ๒.๔ ร้อยละของผู้เรียนในเขตพื้นท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้ท่ีได้รับการพัฒนาศักยภาพ หรือทกั ษะด้านอาชพี สามารถมงี านทาหรือนาไปประกอบอาชพี ได้ ๒.๕ ร้อยละของประชาชนที่ได้รับบริการ/ เข้าร่วมกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย มคี วามรู้ความเขา้ ใจ/ เจตคต/ิ ทักษะ ตามจดุ มงุ่ หมายของกิจกรรมทีก่ าหนด ๒.๖ ร้อยละของผู้สูงอายุท่ีเป็นกลุ่มเป้าหมาย มีโอกาสมาเข้าร่วมกิจกรรมการศึกษา ตลอดชีวิต ๒.๗ ร้อยละของบุคลากรท่ีได้รับการพัฒนา ท่ีมีการพัฒนาตนเองในด้านพฤติกรรม บุคลิกภาพ ทัศนคติ ค่านิยมที่พึงประสงค์ ภาวะผู้นา และมีจรรยาบรรณวิชาชีพ ทีเ่ หมาะสมย่ิงขนึ้

จุดเนน้ การดาเนินงานประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ๑. น้อมนำพระบรมรำโชบำยดำ้ นกำรศกึ ษำส่กู ำรปฏบิ ตั ิ ๑.๑ สืบสานศาสตรพ์ ระราชา โดยการสรา้ งและพัฒนาศนู ยส์ าธติ และเรยี นรู้ “โคก หนอง นา โมเดล” เพื่อเป็นแนวทางในการจัดการบริหารทรัพยากรรปู แบบต่าง ๆ ท้ังดิน น้า ลม แดด รวมถึงพชื พนั ธุ์ต่าง ๆ และ สง่ เสริมการใชพ้ ลังงานทดแทนอย่างมีประสิทธภิ าพ ๑.๒ จัดให้มี “หน่งึ ชมุ ชน หนึ่งนวัตกรรม การพัฒนาชุมชน” เพ่ือความกินดี อยูด่ ี มีงานทา ๑.๓ การสร้างกลุ่มจิตอาสาพัฒนาชุมชน รวมทั้งปลูกฝังผู้เรียนให้มีหลักคิดท่ีถูกต้องด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม มีทศั นคตทิ ี่ดตี ่อบ้านเมือง และเปน็ ผูม้ ีความพอเพียง ระเบียบวินัย สจุ ริต จิตอาสา ผา่ นกิจกรรมการ พัฒนาผู้เรียนโดยการใชก้ ระบวนการลูกเสือและยวุ กาชาด ๒. ส่งสริมกำรจดั กำรศึกษำและกำรเรียนรูต้ ลอดชีวิตสำหรับประชำชนทเ่ี หมำะสมกับทกุ ช่วงวัย ๒.๑ ส่งเสริมการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทา ในรูปแบบ Re-Skill& Up-Skill และการสร้าง นวัตกรรมและผลิตภัณฑ์ท่มี ีคุณภาพ มคี วามหลากหลาย ทันสมัย และตอบสนองความต้องการของประชาชน ผู้รับบริการ และสามารถออกใบรบั รองความร้คู วามสามารถเพ่ือนาไปใช้ในการพฒั นาอาชีพได้ ๒.๒ สง่ เสริมและยกระดับทักษะภาษาองั กฤษใหก้ บั ประชาชน (English for All) ๒.๓ ส่งเสริมการเรียนการสอนท่ีเหมาะสมสาหรับผู้ท่ีเข้าสู่สังคมสูงวัย อาทิ การฝึกอบรมอาชีพที่ เหมาะสมรองรับสังคมสงู วัย หลักสตู รการพฒั นาคุณภาพชีวิตและส่งเสรมิ สมรรถนะผู้สูงวัย และหลักสูตรการ ดูแลผู้สูงวัย โดยเน้นการมสี ว่ นร่วมกบั ภาคเี ครือขา่ ยทุกภาคส่วนในการเตรียมความพร้อมเขา้ สู่สังคมสูงวัย ๓. พัฒนำหลักสูตร ส่ือ เทคโนโลยีและนวัตกรรมทำงกำรศึกษำ แหล่งเรียนรู้ และรูปแบบกำรจัด กำรศึกษำและกำรเรียนรู้ ในทุกระดับ ทุกประเภท เพ่ือประโยชน์ต่อการจัดการศึกษาที่เหมาะสมกับทุก กลุ่มเป้าหมาย มคี วามทันสมัย สอดคล้องและพร้อมรองรับกับบริบทสภาวะสังคมปัจจุบัน ความต้องการของ ผเู้ รยี น และสภาวะการเรียนร้ใู นสถานการณ์ต่าง ๆ ทจ่ี ะเกิดขึน้ ในอนาคต ๓ .๑ พั ฒ น า ร ะ บ บ ก า ร เรี ย น รู้ ONIE Digital Learning Platform ท่ี ร อ ง รั บ DEEP ข อ ง กระทรวงศึกษาธิการและชอ่ งทางเรียนรู้รูปแบบอ่นื ๆ ท้งั Online On-site และ On-air ๓.๒ พัฒ น าแหล่งเรียนรู้ประเภทต่าง ๆ อาทิ Digital Science Museum/ Digital Science Center/Digital Library ศูนย์การเรียนรู้ทุกช่วงวัย และศนู ย์การเรียนร้ตู ้นแบบ กศน. (Co-Learning Space) เพือ่ ให้สามารถ“เรียนรูไ้ ดอ้ ยา่ งทัว่ ถงึ ทกุ ท่ี ทุกเวลา” ๓.๓ พัฒนาระบบรับสมัครนักศึกษาและสมัครฝึกอบรมแบบออนไลน์ มีระบบการเทียบโอนความรู้ ระบบสะสมหน่วยการเรียนรู้ (Credit Bank System) และพัฒนา/ขยายการให้บริการระบบทดสอบ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ (E-exam) ๔. บูรณำกำรควำมร่วมมือในกำรส่งเสริม สนับสนุน และจัดกำรศึกษำและกำรเรียนรู้ให้กับ ประชำชนอยำ่ งมคี ุณภำพ ๔.๑ ร่วมมอื กับภาคีเครือขา่ ยท้งั ภาครัฐ เอกชน ประชาสงั คม และองคก์ รปกครองสว่ นท้องถิน่ รวมทั้ง สง่ เสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของชุมชน อาทิ การส่งเสริมการฝึกอาชีพที่เป็นอัตลักษณ์และบริบทของ ชมุ ชนสง่ เสริมการตลาดและขยายชอ่ งทางการจาหนา่ ยเพอื่ ยกระดบั ผลติ ภณั ฑ์/สินค้า กศน. ๔.๒ บูรณาการความร่วมมือกับหน่วยงานต่าง ๆ ในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ทั้งในส่วนกลางและ ภูมิภาค

๕. พัฒนำศกั ยภำพและประสิทธภิ ำพในกำรทำงำนของบคุ ลำกร กศน. ๕.๑ พัฒนาศักยภาพและทักษะความสามารถด้านเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Literacy & Digital Skills)ใหก้ บั บคุ ลากรทกุ ประเภททกุ ระดับ รองรับความเป็นรฐั บาลดจิ ิทัลอย่างมีประสทิ ธิภาพ รวมทั้งพัฒนาครู ให้มีทกั ษะความรู้ และความชานาญในการใชภ้ าษาอังกฤษ การผลิตส่อื การเรียนรแู้ ละการจัดการเรียนการสอน เพ่ือฝกึ ทักษะการคดิ วเิ คราะหอ์ ยา่ งเป็นระบบและมเี หตุผล เปน็ ขนั้ ตอน ๕.๒ จัดกิจกรรมเสริมสร้างความสัมพันธ์ของบุคลากร กศน.และกิจกรรมเพิ่มประสิทธิภาพในการ ทางานร่วมกันในรูปแบบต่าง ๆ อาทิ การแข่งขันกีฬา การอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาประสิทธิภาพในการ ทางาน ๖. ปรับปรุงและพัฒนำโครงสร้ำงและระบบบริหำรจัดกำรองค์กร ปัจจัยพ้ืนฐำนในกำรจัด กำรศกึ ษำและกำรประชำสัมพันธ์ สรำ้ งกำรรบั รู้ตอ่ สำธำรณะชน ๖.๑ เร่งผลักดันร่างพระราชบัญญัติส่งเสริมการเรียนรู้ พ.ศ. .... ให้สาเร็จ และปรับโครงสร้างการ บริหารและอตั รากาลงั ให้สอดคลอ้ งกับบรบิ ทการเปล่ยี นแปลง เร่งการสรรหา บรรจุ แต่งตงั้ ท่ีมีประสทิ ธิภาพ ๖.๒ นานวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการบริหารจัดการ พัฒนาระบบการทางานและข้อมูล สารสนเทศด้านการศึกษาที่ทันสมัย รวดเร็ว และสามารถใช้งานทันที โดยจัดตั้งศูนย์ข้อมูลกลาง กศน. เพื่อ จัดทาข้อมูล กศน. ทงั้ ระบบ (ONE ONIE) ๖.๓ พัฒนา ปรับปรุง ซ่อมแซม ฟื้นฟูอาคารสถานท่ี และสภาพแวดล้อมโดยรอบของหน่วยงาน สถานศึกษา และแหลง่ เรยี นรู้ทุกแห่ง ใหส้ ะอาด ปลอดภัย พร้อมใหบ้ ริการ ๖.๔ ประชาสมั พันธ์/สร้างการรบั รู้ใหก้ ับประชาชนทวั่ ไปเก่ียวกบั การบริการทางวชิ าการ/กิจกรรมดา้ น การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และสร้างช่องทางการแลกเปล่ียนเรียนรู้ด้านวิชาการของ หน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัด อาทิ ข่าวประชาสัมพันธ์ ผ่านสื่อรูปแบบต่าง ๆ การจัดนิทรรศการ/ มหกรรมวิชาการ กศน. การจัดการศกึ ษาและการเรยี นรใู้ นสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเชือ้ ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID – ๑๙) ของสานกั งาน กศน. จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID - ๑๙) เมื่อเดือนธันวาคม ๒๕๖๒ส่งผลกระทบต่อระบบการจัดการเรียนการสอนของไทยในทุกระดับช้ัน ซึ่งรัฐบาลและ กระทรวงศกึ ษาธิการได้ออกประกาศและมมี าตรการเฝ้าระวงั เพอ่ื ปอ้ งกันการแพรก่ ระจายของเช้อื ไวรสั ดงั กลา่ ว อาทิ กาหนดให้มีการเว้นระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) ห้ามการใช้อาคารสถานท่ีของโรงเรยี นและ สถาบันการศึกษาทุกประเภท เพื่อจัดการเรียนการสอน การสอบ ฝึกอบรม หรือการทากิจกรรมใด ๆ ท่ีมี ผู้เข้าร่วมเป็นจานวนมากการปิดสถานศึกษาด้วยเหตุพิเศษ การกาหนดให้ใช้วิธีการจัดการเรียนการสอน รูปแบบใหม่ อาทิ การจัดการเรียนรู้แบบออนไลน์ การจัดการเรียนรู้ผ่านระบบการออกอากาศทางโทรทัศน์ วทิ ยุ และโซเซยี ลมเี ดีย ต่าง ๆ รวมถึงการสอ่ื สารแบบทางไกลหรือด้วยวิธีอิเลก็ ทรอนกิ ส์ ในส่วนของสานักงาน กศน. ได้มีการพัฒนา ปรับรูปแบบ กระบวนการ และวิธีการดาเนินงานใน ภารกิจต่อเนื่องตา่ ง ๆ ในสถานการณ์การใช้ชีวติ ประจาวัน และการจัดการเรยี นรเู้ พื่อรองรับการชีวติ แบบปกติ วิถีใหม่(New Normal) ซึ่งกิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ ได้ให้ความสาคัญกับการดาเนินงานตามมาตรการการ ป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID - ๑๙) อาทิ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทุก ประเภทหากมีความจาเป็นต้องมาพบกลมุ่ หรืออบรมสัมมนา ทางสถานศกึ ษาตอ้ งมีมาตรการป้องกันท่ีเขม้ งวด มเี จลแอลกอฮอลล้างมือ ผู้รับบริการต้องใส่หน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้า ต้องมีการเว้นระยะห่างระหว่าง บุคคลเน้นการใช้สื่อดิจิทลั และเทคโนโลยีออนไลน์ในการจัดการเรียนการสอน

ภารกจิ ตอ่ เนื่อง ๑. ด้ำนกำรจดั กำรศกึ ษำและกำรเรียนูรู้ ๑.๑ กำรศึกษำนอกระบบระดับกำรศกึ ษำข้ันพื้นฐำน ๑) สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบต้ังแต่ปฐมวัยจนจบการศึกษาข้ันพ้ืนฐานโดย ดาเนินการให้ผู้เรียนได้รับการสนับสนุนค่าจัดซื้อหนังสือเรียน ค่าจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และ ค่าจัดการเรียนการสอนอย่างทั่วถึงและเพียงพอเพื่อเพิ่มโอกาสในการเข้าถึงบริการทางการศึกษาที่มีคุณภาพ โดยไมเ่ สยี คา่ ใช้จ่าย ๒) จัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานให้กบั กลุ่มเป้าหมายผู้ด้อย พลาดและ ขาดโอกาสทางการศึกษา ผ่านการเรยี นแบบเรียนรดู้ ้วยตนเอง การพบกลุ่ม การเรยี นแบบช้นั เรียน และการจัด การศกึ ษาทางไกล ๓) พฒั นาประสทิ ธิภาพ คุณภาพ และมาตรฐานการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ข้ันพื้นฐาน ท้ังด้านหลักสูตรรูปแบบ/กระบวนการเรียนการสอน ส่ือและนวัตกรรม ระบบการวัดและ ประเมนิ ผลการเรยี น และระบบการใหบ้ รกิ ารนกั ศกึ ษาในรูปแบบอ่ืน ๆ ๔) จดั ใหม้ ีการประเมินเพือ่ เทียบระดับการศกึ ษา และการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ ท่ีมีความโปร่งใส ยุติธรรม ตรวจสอบได้ มีมาตรฐานตามที่กาหนด และสามารถตอบสนองความต้องการของ กลมุ่ เป้าหมายไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ๕) จัดให้มีกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนที่มีคุณภาพท่ีผู้เรียนต้องเรียนรู้และเข้าร่วมปฏิบัติ กิจกรรม เพื่อเป็นส่วนหน่ึงของการจบหลักสูตร อาทิ กิจกรรมเสริมสร้างความสามัคคี กิจกรรมเกี่ยวกับการ ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดการแข่งขันกีฬา การบาเพ็ญสาธารณประโยชน์อย่างต่อเนื่อง การส่งเสริม การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี และยุว กาชาด กิจกรรมจิตอาสา และการจัดตั้งชมรม/ชุมนุม พร้อมท้ังเปิดโอกาสให้ผู้เรียนนากิจกรรมการบาเพ็ญ ประโยชน์อ่ืน ๆ นอกหลักสูตรมาใช้เพม่ิ ชัว่ โมงกจิ กรรมให้ผูเ้ รยี นจบตามหลักสูตรได้ ๑.๒ กำรส่งเสรมิ กำรรูห้ นังสือ ๑) พฒั นาระบบฐานข้อมูลผู้ไม่รหู้ นังสอื ใหม้ ีความครบถว้ น ถูกต้อง ทนั สมัยและเป็นระบบเดยี วกนั ทั้ง สว่ นกลางและสว่ นภูมิภาค ๒) พัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร สื่อ แบบเรียนเครื่องมือวัดผลและเคร่ืองมือการดาเนินงานการ ส่งเสริมการรู้หนงั สอื ทีส่ อดคลอ้ งกับสภาพและบริบทของแตล่ ะกล่มุ เป้าหมาย ๓) พัฒนาครู กศน. และภาคีเครือข่ายท่ีรว่ มจัดการศึกษา ให้มีความรู้ ความสามารถ และทักษะการ จดั กระบวนการเรียนรู้ใหก้ ับผู้ไม่รหู้ นังสืออย่างมีประสทิ ธิภาพ และอาจจัดให้มีอาสาสมคั รสง่ เสริมการรู้หนงั สือ ในพื้นท่ที ี่มคี วามตอ้ งการจาเปน็ เปน็ พเิ ศษ ๔) ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษาจัดกิจกรรมส่งเสริมการรู้หนังสือ การคงสภาพการรู้หนังสือการ พัฒนาทักษะการรู้หนังสือให้กับประชาชนเพื่อเป็นเคร่ืองมือในการศึกษาและเรียนรู้อย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต ของประชาชน ๑.๓ กำรศกึ ษำตอ่ เนื่อง ๑) จัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทาอยา่ งยง่ั ยืน โดยให้ความสาคัญกับการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อ การมีงานทาในกลุ่มอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม คหกรรม และอาชีพเฉพาะทางหรือการ บริการรวมถึงการเน้นอาชีพช่างพื้นฐาน ท่ีสอดคล้องกับศักยภาพของผู้เรียน ความต้องการและศักยภาพของ แต่ละพื้นท่ีมีคุณภาพได้มาตรฐานเป็นท่ียอมรับ สอดรับกับความต้องการของตลาดแรงงาน และการพัฒนา

ประเทศ ตลอดจนสร้างความเข้มแข็งให้กับศูนย์ฝึกอาชพี ชุมชน โดยจัดให้มีการส่งเสริมการรวมกลุ่มวิสาหกิจ ชุมชน การพัฒนาหน่ึงตาบลหน่ึงอาชีพเด่น การประกวดสินค้าดีพรีเมี่ยม การสร้างแบรนด์ของ กศน. รวมถึง การส่งเสริมและจัดหาช่องทางการจาหน่ายสินค้าและผลิตภัณฑ์ และให้มีการกากับ ติดตาม และรายงานผล การจดั การศึกษาอาชพี เพอ่ื การมงี านทาอยา่ งเปน็ ระบบและต่อเนอื่ ง ๒) จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตให้กับทุกกลุ่มเป้าหมาย โดยเฉพาะคนพิการ ผู้สูงอายุท่ี สอดคล้องกับความต้องการจาเป็นของแต่ละบุคคล และมุ่งเน้นให้ทุกกลุ่มเป้าหมายมีทักษะการดารงชีวิต ตลอดจนสามารถประกอบอาชพี พ่ึงพาตนเองได้มีความรู้ความสามารถในการบรหิ ารจัดการชีวิตของตนเองให้ อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขสามารถเผชิญสถานการณ์ต่าง ๆ ที่ เกิดข้ึนในชีวิตประจาวันได้อย่างมี ประสิทธิภาพและเตรียมพร้อมสาหรบั การปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของขา่ วสารข้อมูลและเทคโนโลยี สมัยใหม่ในอนาคตโดยจัดกิจกรรมที่มีเน้ือหาสาคัญต่าง ๆ เช่น การอบรมจิตอาสา การให้ความรู้เพ่ือการป้อง การการแพร่ระบาดของเช้ือไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID - ๑๙) การอบรมพัฒนาสุขภาพกายและสุขภาพจิต การอบรมคุณธรรมและจริยธรรม การป้องกันภัยยาเสพติด เพศศึกษา การปลูกฝ่ังและการสร้างค่านิยมที่พึง ประสงค์ ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ผ่านการอบรมเรียนรู้ในรูปแบบต่าง ๆ อาทิ ค่ายพัฒนาทักษะ ชวี ิต การจัดตง้ั ชมรม/ชมุ นุมการอบรมสง่ เสริมความสามารถพิเศษต่าง ๆ เป็นต้น ๓) จัดการศกึ ษาเพื่อพัฒนาสงั คมและชมุ ชน โดยใช้หลกั สตู รและการจัดกระบวนการเรยี นรู้แบบบูรณา การในรูปแบบของการฝึกอบรมการประชมุ สมั มนา การจัดเวทีแลกเปล่ียนเรียนรูก้ ารจดั กจิ กรรมจิตอาสา การ สร้างชมุ ชนนักปฏิบัติ และรูปแบบอืน่ ๆ ทเี่ หมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย และบริบทของชุมชนแต่ละพ้ืนที่ เคารพ ความคิดของผู้อื่น ยอมรับความแตกต่างและหลากหลายทางความคิดและอุดมการณ์ รวมท้ังสังคมพหุ วฒั นธรรม โดยจดั กระบวนการใหบ้ คุ คลรวมกลุ่มเพ่ือแลกเปล่ียนเรียนรู้ร่วมกัน สรา้ งกระบวนการจติ สาธารณะ การสรา้ งจิตสานึกความเป็นประชาธิปไตย การเคารพในสิทธิและเสรภี าพ และรับผิดชอบต่อหน้าท่ีความเป็น พลเมืองที่ดีภายใต้การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข การส่งเสริมคุณธรรม จรยิ ธรรมการเปน็ จิตอาสา การบาเพญ็ ประโยชนใ์ นชุมชนการ บรหิ ารจัดการนา้ การรับมือกบั สาธารณภัย การ อนุรักษ์พลังงานทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม การชว่ ยเหลือซง่ึ กนั และกันในการพัฒนาสงั คมและชุมชน อยา่ งยัง่ ยนื ๔) การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งผ่านกระบวนการเรยี นรู้ตลอดชีวติ ใน รูปแบบต่าง ๆ ให้กับประชาชน เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน สามารถยืนหยัดอยู่ได้อย่างมั่นคง และมีการบริหาร จัดการความเสย่ี งอยา่ งเหมาะสม ตามทศิ ทางการพัฒนาประเทศสู่ความสมดลุ และยั่งยืน ๑.๔ กำรศึกษำตำมอัธยำศยั ๑) พัฒนาแหลง่ การเรยี นรู้ท่ีมีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมท่ีเอ้ือตอ่ การอ่านและพฒั นาศักยภาพการ เรียนรู้ให้เกิดข้ึนในสังคมไทย ให้เกิดขึ้นอย่างกว้างขวางและทั่วถึง เช่น การพัฒนา กศน. ตาบล ห้องสมุด ประชาชนทุกแห่งให้มีการบริการท่ีทันสมัย ส่งเสริมและสนับสนุนอาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน การสร้าง เครือข่ายส่งเสรมิ การอ่าน จดั หนว่ ยบรกิ ารห้องสมดุ เคลื่อนที่ ห้องสมุดชาวตลาด พร้อมหนังสือและอุปกรณ์เพื่อ จัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ท่ีหลากหลายให้บริการกับประชาชนในพ้ืนที่ต่าง ๆ อย่างท่ัวถึง สมา่ เสมอ รวมทงั้ เสรมิ สร้างความพร้อมในด้านบุคลากร ส่ืออปุ กรณ์เพ่ือสนับสนุนการอ่าน และการจดั กจิ กรรม เพอ่ื ส่งเสรมิ การอา่ นอยา่ งหลากหลายรูปแบบ ๒) จัดสร้างและพัฒนาศูนยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พื่อการศึกษา ให้เป็นแหล่งเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตรต์ ลอดชวี ิตของ ประชาชน เป็นแหล่งสร้างนวัตกรรมฐานวิทยาศาสตร์และเป็นแหล่งท่องเท่ียวเชิงศิลปะวิทยาการประจา ท้องถ่ินโดยจัดทาและพัฒนานิทรรศการสื่อและกิจกรรมการศึกษาท่ีเน้นการเสริมสร้างความรู้และสร้างแรง บันดาลใจด้านวิทยาศาสตร์สอดแทรกวิธีการคิดเชิงวิเคราะห์ การคิดเชิงสร้างสรรค์ และปลูกฝังเจตคติทาง วิทยาศาสตร์ผ่านการกระบวนการเรียนรู้ท่ีบูรณาการความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ ควบคู่กับเทคโนโลยี

วิศวกรรมศาสตร์และคณิตศาสตร์รวมทั้งสอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง บริบทของชุมชน และประเทศ รวมท้งั ระดับภูมภิ าคและระดับโลกเพือ่ ให้ประชาชนมีความรู้และสามารถนาความรู้และทักษะไป ประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิต การพัฒนาอาชีพ การรักษาส่ิงแวดล้อม การบรรเทาและป้องกันภัยพิบัติทาง ธรรมชาติ รวมทั้งมีความสามารถในการปรับตัวรองรับผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงของโลกที่เป็นไปอย่าง รวดเรว็ และรนุ แรง (Disruptive Changes) ไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ ๓) ประสานความร่วมมือหน่วยงาน องค์กร หรือภาคส่วนต่าง ๆ ท่ีมีแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ เพ่ือส่งเสริม การจัดการศึกษาตามอัธยาศัยให้มีรูปแบบที่หลากหลาย และตอบสนองความต้องการของประชาชน เช่น พพิ ธิ ภัณฑ์ ศนู ยเ์ รยี นรู้ แหล่งโบราณคดี วัด ศาสนาสถาน หอ้ งสมุด รวมถงึ ภูมปิ ญั ญาท้องถิน่ เป็นตน้ ๒. ด้ำนหลักสูตร ส่ือ รูปแบบกำรจัดกระบวนกำรเรียนรู้ กำรวัดและประเมินผลงำนบริกำรทำง วิชำกำร และกำรประกนั คณุ ภำพกำรศกึ ษำ ๒.๑ ส่งเสริมกำรพัฒนำหลักสูตร รูปแบบกำรจัดกระบวนกำรเรียนรู้และกิจกรรมเพื่อส่งเสริม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่หลากหลาย ทันสมัย รวมถึงการพัฒนาหลักสูตรฐาน สมรรถนะ และหลักสูตรท้องถน่ิ ที่สอดคล้องกับสภาพบริบทของพ้ืนทแ่ี ละความต้องการของกลมุ่ เป้าหมายและ ชุมชน ๒.๒ ส่งเสริมกำรพัฒนำสอ่ื แบบเรียน สื่ออิเลก็ ทรอนิกสแ์ ละสื่ออนื่ ๆ ทเ่ี อ้อื ต่อการเรยี นรขู้ องผเู้ รียน กลมุ่ เป้าหมายทวั่ ไปและกลมุ่ เปา้ หมายพิเศษ เพอ่ื ใหผ้ ู้เรยี นสามารถเรยี นรไู้ ดท้ กุ ที ทกุ เวลา ๒.๓ พฒั นำรปู แบบกำรจัดกำรศกึ ษำทำงไกลให้มีควำมทันสมัย หลากหลายช่องทางการเรียนรู้ด้วย ระบบหอ้ งเรยี นและการควบคุมการสอบรูปแบบออนไลน์ ๒.๔ พัฒนำระบบกำรประเมินเพื่อเทียบระดับกำรศึกษำ และกำรเทียบโอนควำมรู้และ ประสบกำรณ์เพ่ือให้มีคุณภาพ มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความต้องการของกลุ่มเป้าหมายได้อย่างมี ประสิทธภิ าพ รวมทั้งมกี ารประชาสัมพันธ์ให้สาธารณชนได้รับร้แู ละสามารถเข้าถึงระบบการประเมินได้ ๒.๕ พัฒนำระบบกำรวัดและประเมินผลกำรศึกษำนอกระบบทุกหลักสูตร โดยเฉพาะหลักสูตรใน ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานให้ได้มาตรฐานโดยการนาแบบทดสอบกลาง และระบบการสอบอิเล็กทรอนิกส์(e- Exam) มาใชอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ๒.๖ ส่งเสริมและสนับสนุนกำรศึกษำวิจัยเพ่ือพัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล และเผยแพร่รูปแบบการจัด ส่งเสริม และสนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย รวมท้ังให้มีการนาไปสู่การปฏิบัติอย่างกว้างขวางและมีการพัฒนาให้เหมาะสมกับ บริบทอย่างต่อเนือ่ ง ๒.๗ พัฒนำระบบประกันคณุ ภำพภำยในสถำนศกึ ษำให้ไดม้ ำตรฐำน มีการพัฒนาระบบการประกัน คณุ ภาพภายในที่สอดคล้องกับบริบทและภารกจิ ของ กศน. มากขน้ึ เพือ่ พร้อมรบั การประเมินคณุ ภาพภายนอก โดยพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักถึงความสาคัญของระบบการประกันคุณภาพ และ สามารถดาเนินการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาได้อย่างต่อเน่ืองโดยใช้การประเมินภายในด้วย ตนเอง และจัดให้มีระบบสถานศึกษาพ่ีเลี้ยงเข้าไปสนับสนุนอย่างใกล้ชิด สาหรับสถานศึกษาที่ยังไม่ได้เข้ารับ การประเมินคุณภาพภายนอก ให้พฒั นาคณุ ภาพการจัดการศกึ ษาใหไ้ ด้คุณภาพตามมาตรฐานทก่ี าหนด ๓. ดำ้ นเทคโนโลยีเพอ่ื กำรศกึ ษำ ๓.๑ ผลิตและพัฒนำรำยกำรวิทยุและรำยกำรโทรทัศน์เพื่อกำรศึกษำ เพ่ือให้เชื่อมโยงและ ตอบสนองต่อการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษาเพ่ือกระจาย โอกาสทางการศึกษาสาหรับกลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ ให้มีทางเลือกในการเรียนรู้ที่หลากหลายและมีคุณภาพ สามารถพัฒนาตนเองให้รู้เท่าทันส่ือและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการส่ือสาร เช่น รายการพัฒนาอาชีพเพื่อ

การมีงานทา รายการตวิ เขม้ เตมิ เต็มความรู้รายการ รายการทากินก็ได้ ทาขายกด็ ี ฯลฯ เผยแพรท่ างสถานีวทิ ยุ ศกึ ษา สถานีวทิ ยโุ ทรทัศนเ์ พื่อการศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร (ETV) และทางอินเทอร์เน็ต ๓.๒ พัฒนำกำรเผยแพร่กำรจัดกำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศัย โดยผ่านระบบ เทคโนโลยีดิจิทัล และช่องทางออนไลน์ต่าง ๆ เช่น Youtube Facebook หรือ Application อ่ืน ๆ เพื่อ ส่งเสริมให้ครู กศน. นาเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการสร้างกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Do It Yourself : DIY) ๓.๓ พัฒนำสถำนีวิทยุศึกษำและสถำนีโทรทัศน์เพ่ือกำรศึกษำ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและ การออกอากาศให้กลุม่ เป้าหมายสามารถใช้เป็นช่องทางการเรียนรู้ท่ีมีคณุ ภาพได้อย่างต่อเน่ืองตลอดชีวติ โดย ขยายเครือข่ายการรับฟังให้สามารถรับฟังได้ทุกที่ ทุกเวลา ครอบคลุมพื้นท่ีท่ัวประเทศและเพิ่มช่องทางให้ สามารถรบั ชมรายการโทรทัศน์ไดท้ ง้ั ระบบ Ku - Band C - Band Digital TV และทางอนิ เทอร์เนต็ พรอ้ มที่จะ รองรบั การพัฒนาเปน็ สถานีวทิ ยุโทรทศั น์เพ่ือการศึกษาสาธารณะ (Free ETV) ๓.๔ พัฒนำระบบกำรให้บริกำรสื่อเทคโนโลยีเพ่ือกำรศึกษำ เพื่อให้ได้หลายช่องทางทั้งทาง อนิ เทอรเ์ น็ต และรูปแบบอื่น ๆ อาทิ Application บนโทรศัพท์เคล่ือนท่ี และ Tablet รวมท้ังสื่อ Offline ใน รปู แบบต่าง ๆ เพ่ือให้กลุ่มเป้าหมายสามารถเลือกใช้บริการเพื่อเข้าถึงโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้ได้ ตามความตอ้ งการ ๓.๕ สำรวจ วิจัย ติดตำมประเมินผลด้ำนกำรใชส้ ่ือเทคโนโลยีเพื่อกำรศึกษำอย่ำงต่อเนื่อง เพอ่ื นา ผลมาใช้ในการพัฒนางานให้มีความถูกต้อง ทันสมัยและสามารถส่งเสริมการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของประชาชนไดอ้ ย่างแท้จริง ๔. ด้ำนโครงกำรอนั เนอ่ื งมำจำกพระรำชดำริ หรือโครงกำรอนั เกยี่ วเนือ่ งจำกรำชวงศ์ ๔.๑ สง่ เสรมิ และสนบั สนุนกำรดำเนินงำนโครงกำรอันเนอ่ื งมำจำกพระรำชดำรหิ รือโครงกำร อันเก่ยี วเนอ่ื งจำกรำชวงศ์ ๔.๒ จัดทำฐำนข้อมูลโครงกำรและกิจกรรมของ กศน.ท่ีสนองงำนโครงกำรอันเน่ืองมำจำก พระรำชดำรหิ รือโครงกำรอันเก่ียวเนือ่ งจำกรำชวงศ์เพื่อนาไปใช้ในการวางแผน การตดิ ตามประเมินผลและ การพฒั นางานไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ ๔.๓ ส่งเสริมกำรสร้ำงเครือข่ำยกำรดำเนินงำนเพ่ือสนับสนุนโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ เพือ่ ให้เกิดความเข้มแข็งในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย ๔.๔ พัฒนำศูนย์กำรเรียนชุมชนชำวไทยภูเขำ “แม่ฟ้ำหลวง”เพื่อให้มีความพร้อมในการจัด การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยตามบทบาทหน้าทีท่ กี่ าหนดไว้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ๔.๕ จัดและส่งเสริมกำรเรียนรู้ตลอดชีวิตให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตของประชำชนบนพื้นท่ีสูง ถิ่นทรุ กนั ดาร และพืน้ ที่ชายขอบ ๕. ดำ้ นกำรศึกษำในจังหวดั ชำยแดนภำคใต้ พนื้ ท่ีเขตเศรษฐกิจพิเศษและพ้ืนท่บี ริเวณชำยแดน ๕.๑ พฒั นำกำรจดั กำรศกึ ษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอธั ยำศัยในจงั หวัดชำยแดนภำคใต้ ๑) จัดและพัฒนาหลักสูตร และกจิ กรรมส่งเสริมการศึกษาและการเรยี นรู้ท่ตี อบสนองปญั หา และความตอ้ งการของกล่มุ เปา้ หมายรวมทง้ั อตั ลักษณ์และความเปน็ พหุวฒั นธรรมของพื้นที่ ๒) พัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานอย่างเข้มข้นและต่อเนื่อง เพอ่ื ให้ผู้เรียนสามารถนาความรู้ที่ไดร้ บั ไปใชป้ ระโยชน์ได้จรงิ ๓) ให้หน่วยงานและสถานศึกษาจัดให้มีมาตรการดูแลรกั ษาความปลอดภัยแก่บุคลากรและ นกั ศึกษา กศน.ตลอดจนผูม้ าใชบ้ ริการอยา่ งท่วั ถึง

๕.๒ พัฒนำกำรจัดกำรศกึ ษำแบบบรู ณำกำรในเขตพัฒนำเศรษฐกจิ พเิ ศษ ๑) ประสานความรว่ มมือกับหน่วยงานทเี่ ก่ียวข้องในการจดั ทาแผนการศึกษาตามยุทธศาสตร์ และบรบิ ทของแต่ละจงั หวดั ในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพเิ ศษ ๒) จัดทาหลักสูตรการศึกษาตามบรบิ ทของพ้ืนท่ี โดยเน้นสาขาทีเ่ ป็นความตอ้ งการของตลาด ใหเ้ กิดการพฒั นาอาชพี ไดต้ รงตามความต้องการของพ้นื ที่ ๕.๓ จดั กำรศึกษำเพื่อควำมมัน่ คงของศนู ยฝ์ กึ และพฒั นำอำชพี รำษฎรไทยบรเิ วณชำยแดน(ศฝช.) ๑) พัฒนำศูนย์ฝึกและพัฒนำอำชีพรำษฎรไทยบริเวณชำยแดน เพื่อให้เป็นศูนย์ฝึกและ สาธิตการประกอบอาชีพด้านเกษตรกรรม และศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบการจัดกิจกรรมตามแนวพระราชดาริ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สาหรบั ประชาชนตามแนวชายแดนด้วยวธิ ีการเรียนรทู้ ี่หลากหลาย ๒) มุ่งจัดและพัฒนำกำรศึกษำอำชีพโดยใช้วิธีกำรหลำกหลำยใช้รูปแบบเชิงรุก เพ่ือการ เข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย เชน่ การจดั มหกรรมอาชีพ การประสานความร่วมมือกับเครือข่าย การจัดอบรมแกนนา ด้านอาชีพท่ีเน้นเร่ืองเกษตรธรรมชาติที่สอดคล้องกับบริบทของชุมชนชายแดน ให้แก่ประชาชนตามแนว ชายแดน ๖. ด้ำนบุคลำกรระบบกำรบริหำรจัดกำร และกำรมสี ่วนร่วมของทกุ ภำคส่วน ๖.๑ กำรพัฒนำบคุ ลำกร ๑) พัฒนาบุคลากรทุกระดับทุกประเภทให้มีสมรรถนะสูงข้ึนอย่างต่อเนื่อง ท้ังก่อนและ ระหว่างการดารงตาแหน่งเพื่อให้มเี จตคติท่ีดีในการปฏิบัตงิ านให้มคี วามรู้และทักษะตามมาตรฐานตาแหน่ง ให้ ตรงกับสายงานความชานาญ และความต้องการของบุคลากรสามารถปฏิบัติงานและบริหารจัดการการ ดาเนินงานของหน่วยงานและสถานศึกษาได้อย่างมีประสิทธภิ าพรวมทั้งส่งเสริมให้ข้าราชการในสังกัดพัฒนา ตนเองเพื่อเลือ่ นตาแหนง่ หรือเลือ่ นวิทยฐานะโดยเน้นการประเมินวิทยฐานะเชงิ ประจกั ษ์ ๒) พฒั นาศึกษานิเทศก์ กศน. ใหม้ สี มรรถนะท่ีจาเป็นครบถ้วน มีความเปน็ มืออาชีพ สามารถ ปฏิบัติการนิเทศได้อย่างมีศักยภาพ เพื่อร่วมยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศัยในสถานศึกษา ๓) พัฒนาหวั หนา้ กศน.ตาบล/แขวงให้มสี มรรถนะสูงขนึ้ เพ่ือการบรหิ ารจดั การ กศน.ตาบล/ แขวงและการปฏิบัติงานตามบทบาทภารกิจอย่างมีประสิทธิภาพ โดยเน้นการเป็นนักจัดการความรู้และผู้ อานวยความสะดวกในการเรียนรเู้ พื่อใหผ้ ู้เรยี นเกดิ การเรียนร้ทู ่มี ีประสิทธิภาพอยา่ งแท้จริง ๔) พัฒนาครู กศน. และบุคลากรที่เก่ียวข้องกับการจัดการศึกษาให้สามารถจัดรูปแบบการ เรียนรู้ได้อย่างมีคุณภาพโดยส่งเสริมให้มีความรู้ความสามารถในการจัดทาแผนการสอน การจัดกระบวนการ เรียนรู้ การวดั และประเมนิ ผล และการวิจยั เบื้องต้น ๕) พัฒนาศักยภาพบุคลากร ที่รับผิดชอบการบริการการศึกษาและการเรียนรู้ ให้มีความรู้ ความสามารถและมคี วามเป็นมืออาชีพในการจดั บรกิ ารสง่ เสริมการเรียนร้ตู ลอดชีวติ ของประชาชน ๖) ส่งเสริมให้คณะกรรมการ กศน. ทุกระดับ และคณะกรรมการสถานศึกษา มีส่วนร่วมใน การบริหารการดาเนนิ งานตามบทบาทภารกจิ ของ กศน.อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ๗) พัฒนาอาสาสมัคร กศน. ให้สามารถทาหน้าท่ีสนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอัธยาศัยได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ ๘) พัฒนาสมรรถนะและเสริมสร้างความสัมพันธร์ ะหว่างบุคลากรรวมท้ังภาคีเครือข่ายท้ังใน และต่างประเทศในทุกระดับ โดยจัดให้มีกิจกรรมเพ่ือเสริมสร้างสัมพันธภาพและเพิ่มประสิทธิภาพในการ ทางานร่วมกันในรูปแบบท่ีหลากหลายอย่างต่อเน่ืองอาทิ การแข่งขันกีฬา การอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนา ประสิทธิภาพในการทางาน

๖.๒ กำรพฒั นำโครงสรำ้ งพน้ื ฐำนและอัตรำกำลงั ๑) จัดทาแผนการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานและดาเนินการปรบั ปรุงสถานที่และวัสดุอุปกรณ์ ให้มีความพรอ้ มในการจดั การศกึ ษาและการเรยี นรู้ ๒) สรรหา บรรจุ แต่งตั้ง และบริหารอัตรากาลังท่ีมีอยู่ท้ังในส่วนที่เป็นข้าราชการ พนักงาน ราชการและลูกจ้าง ใหเ้ ป็นไปตามโครงสร้างการบริหารและกรอบอัตรากาลัง รวมทงั้ รองรับกบั บทบาทภารกิจ ตามท่ีกาหนดไว้ให้เกิดประสิทธิภาพสงู สุดในการปฏิบัตงิ าน ๓) แสวงหาความรว่ มมอื จากภาคีเครอื ขา่ ยทุกภาคส่วนในการระดมทรัพยากรเพื่อนามาใชใ้ น การปรับปรงุ โครงสร้างพนื้ ฐานให้มคี วามพร้อมสาหรบั ดาเนินกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย และการส่งเสรมิ การเรียนรูส้ าหรบั ประชาชน ๖.๓ กำรพัฒนำระบบบริหำรจดั กำร ๑) พัฒนาระบบฐานข้อมูลให้มีความครบถ้วน ถูกต้อง ทันสมัย และเช่ือมโยงกันทั่วประเทศ อย่างเป็นระบบเพื่อให้หน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัดสามารถนาไปใช้เป็นเครื่องมือสาคัญในการบริหาร การวางแผน การปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผล รวมทง้ั จดั บริการการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ ๒) เพิ่มประสิทธภิ าพการบรหิ ารจัดการงบประมาณ โดยพัฒนาระบบการกากบั ควบคุม และ เรง่ รดั การเบกิ จา่ ยงบประมาณให้เป็นตามเป้าหมายทีก่ าหนดไว้ ๓) พัฒนาระบบฐานข้อมูลรวมของนกั ศึกษา กศน. ให้มีความครบถ้วน ถูกต้อง ทันสมัย และ เช่ือมโยงกันทั่วประเทศ สามารถสืบค้นและสอบทานได้ทันความต้องการเพื่อประโยชน์ในการจัดการศึกษา ใหก้ บั ผู้เรยี นและการบริหารจดั การอย่างมีประสทิ ธภิ าพ ๔) ส่งเสริมให้มีการจัดการความรู้ในหน่วยงานและสถานศึกษาทุกระดับ รวมท้ังการศึกษา วิจยั เพ่ือสามารถนามาใชใ้ นการพฒั นาประสทิ ธิภาพการดาเนินงานท่สี อดคล้องกับความต้องการของประชาชน และชมุ ชนพรอ้ มทง้ั พฒั นาขีดความสามารถเชิงการแข่งขนั ของหนว่ ยงานและสถานศึกษา ๕) สร้างความร่วมมือของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐ เอกชน ประชาสังคมท้ังใน ประเทศและต่างประเทศ รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อสร้างความเข้าใจ และให้ เกิดความรว่ มมือในการสง่ เสรมิ สนับสนนุ และจัดการศกึ ษาและการเรยี นรใู้ หก้ บั ประชาชนอยา่ งมคี ุณภาพ ๖) ส่งเสริมการใช้ระบบสานักงานอิเล็กทรอนิกส์ (e -office) ในการบริหารจัดการ เช่น ระบบการลา ระบบสารบรรณอเิ ล็กทรอนิกส์ ระบบการขอใชร้ ถราชการ ระบบการขอใช้ห้องประชุม เป็นต้น ๗) พัฒนาและปรับระบบวิธีการปฏิบัติราชการให้ทันสมัย มีความโปร่งใส ปลอดการทุจริต และประพฤติมิชอบ บรหิ ารจัดการบนข้อมูลและหลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ มงุ่ ผลสมั ฤทธมิ์ ีความโปรง่ ใส ๖.๔ กำรกำกบั นเิ ทศติดตำมประเมนิ และรำยงำนผล ๑) สร้างกลไกการกากับ นิเทศ ติดตาม ประเมิน และรายงานผลการดาเนินงานการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยให้เช่อื มโยงกับหนว่ ยงาน สถานศึกษา และภาคีเครือข่ายท้ังระบบ ๒) ให้หน่วยงานและสถานศึกษาที่เกี่ยวข้องทุกระดับ พัฒนาระบบกลไกการกากับ ติดตาม และรายงานผลการนานโยบายสู่การปฏิบัติ ให้สามารถตอบสนองการดาเนินงานตามนโยบายในแต่ละเรื่องได้ อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ๓) ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร และสื่ออ่ืน ๆ ท่ีเหมาะสม เพื่อการ กากับนเิ ทศ ติดตาม ประเมินผล และรายงานผลอย่างมีประสิทธภิ าพ ๔) พัฒนากลไกการติดตามประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคารับรองการปฏิบัติราชการ ประจาปีของหน่วยงาน สถานศึกษา เพื่อการรายงานผลตามตัวชี้วัดในคารับรองการปฏิบัติราชการประจาปี ของสานักงานกศน.ให้ดาเนินไปอย่างมปี ระสิทธิภาพ เป็นไปตามเกณฑ์ วธิ กี าร และระยะเวลาทกี่ าหนด

๕) ให้มีการเช่ือมโยงระบบการนิเทศในทุกระดับ ทั้งหน่วยงานภายในและภายนอกองค์กร ตั้งแต่ส่วนกลาง ภูมิภาค กลุ่มจังหวัด จังหวัด อาเภอ/เขต และตาบล/แขวง เพื่อความเป็นเอกภาพในการใช้ ข้อมูลและการพัฒนางานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั

สว่ นท่ี ๓ กำรจดั กำรดำ้ นกำรศกึ ษำ กศน.ตำบลปำเสมัส

ส่วนท่ี ๓ กำรจดั กำรดำ้ นกำรศกึ ษำ กศน.ตำบลปำเสมสั . ข้อมูลท่ัวไป กศน.ตาบลปาเสมัส ทาหนา้ ที่จดั การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย ในพ้ืนท่ีตาบล ประกอบดว้ ย ๑. กศน.ตาบล จานวน ๑ แหง่ ๒. ศูนย์การเรยี นชมุ ชน จานวน ....-... แหง่ ๓. สถาบันศึกษาปอเนาะ จานวน .....๗.. แหง่ ๔. บ้านหนงั สอื ชุมชน จานวน .....๒.. แห่ง ขอ้ มลู ดำ้ นบุคลำกร กศน.ตาบล......๑..... มีบุคลากรทง้ั สิน้ จานวน .....๕.......คน ประกอบดว้ ย ๑. ขา้ ราชการครู จานวน ...-..... คน ๒. ลกู จา้ งประจา จานวน ...-..... คน ๓. พนกั งานราชการ จานวน ...๕..... คน - ครอู าสาสมัครการศกึ ษานอกโรงเรยี นประจาตาบล จานวน ...1..... คน - ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียนประจา ศรช. จานวน .....-.. . คน - ครอู ำสำสมัครกำรศกึ ษำนอกโรงเรยี นประจำปอเนำะ จำนวน ......๓.. คน ๕. อำสำสมัครกำรศึกษำนอกโรงเรียน จำนวน ......๑.. คน ขอ้ มลู ดา้ นงบประมาณ ในปีงบประมำณ พ.ศ. ๒๕๖๔ กศน.สุไหงโก-ลก ได้รับกำรจัดสรรงบประมำณ ดังนี้ ปะเภทงป. รำยกำร งป.ทีไ่ ด้รบั จัดสรร(บำท) งบดำเนินงำน ผลผลติ ที่ ๔ ผรู้ ับบรกิ ำรกำรศกึ ษำนอกระบบ งบเงนิ อดุ หนุน สง่ เสริมการรู้หนังสอื 22,550 งบรำยจำ่ ยอืน่ การศกึ ษาเพื่อพัฒนาทักษะชวี ิต 4,140 การศกึ ษาเพ่ือพฒั นาสังคมและชุมชน 9,200 การเรียนรตู้ ามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง 3,600 ค่าหนงั สือเรียน - - คา่ กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน - ค่าจดั การเรียนการสอน - 7,200 โครงการการจดั และส่งเสริมการศึกษาตลอดชีวติ เพอ่ื พฒั นาการทางกายฯผู้สูงอายุ 18,175 โครงการภาษาต่างประเทศเพอื่ การสื่อสารดา้ นอาชพี 11,205 10,800 โครงกำรศูนย์ฝกึ อำชีพชมุ ชน -  กิจกรรมชน้ั เรยี นวิชาชีพ (๓๑ ช่ัวโมงขึ้นไป) -  กิจกรรมพฒั นาอาชพี ระยะส้ัน (กลุ่มสนใจ ไมเ่ กิน๓๐ ชว่ั โมง) -  กิจกรรม ๑ อาเภอ ๑ อาชีพ โครงการจัดการศกึ ษาตลอดชีวติ ในสถาบนั ศึกษาปอเนาะ (สง่ เสรมิ ทกั ษะอาชพี ) โครงการฝกึ ประสบการณก์ ารใชภ้ าษาจังหวดั ชายแดนภาคใต้  กิจกรรมฝกึ ภาษาเพือ่ การสื่อสาร ภาษาไทย  กิจกรรมฝกึ ภาษาเพื่อการส่อื สาร ภาษาต่างประเทศ

ปะเภทงป. รำยกำร งป.ทไ่ี ด้รับจัดสรร(บำท) โครงการกีฬา กศน.ชายแดนใต้เกมส์ โครงการคา่ ยลกู เสือ กศน.ชายแดนใต้ ระดบั สถานศกึ ษา - - ข้อมลู ดำ้ นกำรจัดกำรศึกษำให้กลุม่ เป้ำหมำยและผูร้ บั บริกำร เป้ำหมำย/งบประมำณ กำรจัดกำรศกึ ษำนอกระบบระดับกำรศึกษำข้ันพ้ืนฐำน กศน.ตาบล............................ ได้จัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ โดยมีจานวนกลมุ่ เปา้ หมาย ดงั นี้ ท่ี กจิ กรรมกำรศึกษำ กลุ่มเป้ำหมำย (คน) งบประมำณ (บำท) ๑ ส่งเสริมการรู้หนงั สอื 41 ๒ ประถมศกึ ษา 39 ๓ มธั ยมศกึ ษาตอนต้น 189 ๔ มัธยมศึกษาตอนปลาย 229 รวม เป้ำหมำย/งบประมำณ กำรจดั โครงกำร/กจิ กรรม จำแนกเป็นรำยกจิ กรรม ดังนี้ ท่ี โครงกำร/กจิ กรรม เปำ้ หมำย งบประมำณ (คน) (บำท) 4140 ๑ การศกึ ษาเพื่อพัฒนาทกั ษะชวี ติ 36 9,200 3,600 ๒ การศกึ ษาเพื่อพัฒนาสังคมและชมุ ชน 23 18,175 ๓ การศึกษาเพ่ือเรยี นรหู้ ลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง 9 11,205 ๔ โครงกำรศนู ยฝ์ ึกอำชพี ชมุ ชน (๑ อำเภอ ๑ อำชพี ) 6,600 -  กจิ กรรมช้ันเรียนวิชาชพี (๓๑ ชั่วโมงขน้ึ ไป) 25 7,200  กิจกรรมพัฒนาอาชพี ระยะสน้ั (กลุม่ สนใจ ไม่เกิน๓๐ ชัว่ โมง) 27 -  กจิ กรรม ๑ อาเภอ ๑ อาชพี 12 - - ๕ โครงการสรา้ งเครือข่ายดจิ ิทลั ชุมชนระดับตำบล 25 - - ๖ โครงการการจดั และสง่ เสริมการศึกษาตลอดชวี ิตเพือ่ พัฒนาการทาง - กาย จดิ และสมองของผสู้ ูงอายุ ๗ โครงการภาษาต่างประเทศเพือ่ การสอื่ สารดา้ นอาชพี 3 ๘ โครงการจัดการศกึ ษาตลอดชวี ิตในสถาบนั ศกึ ษาปอเนาะ - ๑๑ โครงกำรฝึกประสบกำรณก์ ำรใช้ภำษำจงั หวัดชำยแดนภำคใต้  กจิ กรรมฝึกภาษาเพ่อื การสื่อสาร ภาษาไทย -  กจิ กรรมฝกึ ภาษาเพือ่ การสอ่ื สาร ภาษาต่างประเทศ - ๑๒ โครงการกีฬา กศน.ชายแดนใต้เกมส์ - ๑๓ โครงการคา่ ยลกู เสือ กศน.ชายแดนใต้ ระดับสถานศกึ ษา - รวม

เป้ำหมำย กำรจดั กจิ กรรมกำรศึกษำตำมอธั ยำศยั จำแนกเปน็ รำยกจิ กรรม ดังนี้ ท่ี กิจกรรมกำรศึกษำ เป้ำหมำย (คน) หมำยเหตุ ๑ หอ้ งสมดุ ประชาชน - - ๒ บา้ นหนงั สอื ชมุ ชน - - ๓ หน่วยบรกิ ารเคลือ่ นท่ี (รถโมบาย) - - ๔ อาสาสมัครส่งเสรมิ การอา่ น - - ๕ ห้องสมดุ เคลอ่ื นท่ีสาหรบั ชาวตลาดฯ - - รวม โดยแต่ละกจิ กรรมมรี ายละเอียด ดงั น้ี ๑. บำ้ นหนงั สอื ชุมชน ตามที่กระทรวงศึกษาธิการ ได้มีนโยบายดาเนินงานด้านการส่งเสริมการอ่านของประชาชนโดย มุ่งหวังให้ คนไทยมีนิสัยรักการอ่าน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนนโยบายด้านการส่งเสริมการอ่าน สานักงาน กศน. จึงได้ กาหนดให้สถานศึกษาในสังกัดเสริมสร้างบ้านหนังสืออัจฉริยะ เพ่ือพัฒนานิสัยรักการอ่านของ ประชาชน และ ประสานความรว่ มมือกบั ภาคีเครอื ข่ายในพื้นที่ เพื่อจดั กิจกรรมเสรมิ สรา้ งนสิ ยั รกั การอ่านของ กลุ่มเป้าหมาย ต่อมาในปี พ.ศ.๒๕๕๙ สานักงาน กศน. ได้ เปลี่ยนจากบ้านหนังสืออัจฉริยะเป็นบ้านหนังสือ ชมุ ชน ซึ่งเกิดจากความร่วมมือ ของคนในชุมชนในการร่วมกันส่งเสริม สนับสนุน การจดั กิจกรรมส่งเสรมิ การ อ่านให้ครอบคลุมในพ้ืนท่ีระดับตาบล เพ่ือนาไปสู่ชุมชนในการมีส่วนร่วมในการ ขับเคล่ือนกิจกรรมการอ่าน ของ สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชวี ิต จากผลการดาเนนิ งานทีผ่ า่ นมา กศน.อาเภอสุไหงโก-ลก ได้ดาเนินการจัดต้งั และสง่ เสรมิ สนับสนุน บ้านหนังสือชุมชนในชุมชน จานวน ๔ ตาบล รวมท้ังส้ิน ๘ แห่ง และสนับสนุนการอ่านภายใน บ้านหนังสือ ชุมชนให้เป็นศูนย์กลางของการจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิตสาหรับประชาชน โดยจัดกิจกรรมส่งเสริม การอ่าน เช่น กิจกรรมอ่านเพื่อน้อง กิจกรรมส่งเสริมการอ่านในผู้สูงอายุ กิจกรรมชุมชนรักการอ่าน เป็นต้น ซ่ึงมี ผู้ ขับเคล่ือนกิจกรรมดังกล่าว คือ ครูอาสาสมัครฯ ครู กศน.ตาบล ครูศรช. นักศึกษา อาสาสมัครสง่ เสริมการอ่าน และเครือข่ายนักอ่านที่ร่วมพัฒนาการอ่านให้เข้าถึงชุมชนเพื่อสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ โดยสถานศึกษาใน สงั กดั แตล่ ะแหง่ มจี านวนบ้านหนงั สือชมุ ชน ดังนี้ ท่ี หมบู่ า้ น จำนวนบ้านหนงั สอื ชุมชน (แห่ง) ๑ บ้ำนซรำยอ หมทู่ ่ี 1 ตำบลปำเสมสั 1 ๒ บำ้ นตือระ หมทู่ ่ี ๒ ตำบลปำเสมัส 1 รวม ๒. หน่วยเคลือ่ นท่ีรถโมบำย สานักงาน กศน.จังหวัดนราธิวาส ได้รับการจัดสรรรถโมบายส่งเสรมิ การอ่านจากสานักงาน กศน. จานวน ๑ คัน ซ่ึงเป็นบริการอีกประเภทหนึ่งของห้องสมุดประชาชน ภายในรถประกอบไปด้วยสื่อ หนงั สอื หลากหลายรูปแบบที่ทันสมัย มีโทรทศั นเ์ พ่ือการศกึ ษา สามารถรับสัญญาณดาวเทียมได้ทั่วโลกเพื่อนา ความรู้ใน เรื่องต่างๆมาเปดิ บริการในขณะที่นารถออกไปให้บริการนอกจากนี้ยงั มีระบบอินเตอร์เน็ตความเร็ว สูง ผ่านระบบ wireless สามารถเคลือ่ นทีไ่ ปยังจดุ ต่างๆได้ ซ่ึงสามารถให้บริการได้ทุกพื้นท่ีในจังหวัดนราธิวาส

โดยออก ให้บริการประชาชนด้านการอ่านอย่างน้อยเดือนละ ๓ คร้ัง ครอบคลุมท้ัง ๑๓ อาเภอของจังหวัด นราธวิ าส เน้น ให้บริการแก่เยาวชนและประชาชนผู้สนใจในพื้นทต่ี ่างอาเภอหรอื พืน้ ท่ีห่างไกล โดยอาศยั ความ ร่วมมอื ระหวา่ ง ภาคีเครอื ข่ายในหวดั นราธิวาส ให้บริการตามปฏบิ ัตงิ าน โครงการหนว่ ยบริการจังหวดั เคลอ่ื นท่ี อาเภอยิ้ม เคล่ือนที่ และหน่วยแพทย์เคล่อื นที่ พอ.สว. เพื่อเขา้ ถึงชุมชนและสถานท่ีท่ีสามารถจะให้ประชาชน ได้รับขอ้ มูล ข่าวสารท่ีใกล้มือและได้อ่านสะดวก ทาให้ประชาชนในพื้นท่ีได้ประโยชน์มากท่ีสุด เป็นการขยาย โอกาสทาง การศึกษา เพิม่ อัตราการอ่านของประชาชน และสง่ เสรมิ ให้เด็ก เยาวชน ประชาชนได้สนใจมาอา่ น หนังสือเพ่ิม มากขึ้น โดยมกี จิ กรรมเสรมิ สรา้ งการอา่ นเชิงรกุ ไดแ้ ก่ บรกิ ารมมุ ชวนอ่าน กิจกรรมหนนู ้อยหรรษา เกม วทิ ยาศาสตร์ชวนคดิ และกิจกรรมเรียนรภู้ าษาด้วยบทเพลง เป็นตน้ ๓. อำสำสมัครสง่ เสริมกำรอ่ำน สานักงาน กศน.จงั หวัดนราธิวาส ไดจ้ ดั อบรมใหค้ วามรู้แก่อาสาสมัครสง่ เสรมิ การอา่ น เพอื่ ใหต้ ระหนัก และเหน็ ความสาคญั ของการอ่าน อาสาสมัครผู้นาแห่งการอ่าน ทาหน้าท่สี ร้างเครือขา่ ยและปลูกฝังทศั นะคติท่ี ดี ในการอ่าน ส่งเสรมิ ใหม้ ีนิสัยรักการอา่ น เพอื่ มุง่ พัฒนาอาสาสมัครผู้นาแหง่ การอ่าน และสรา้ งสงั คมแห่งการ เรียนรู้ตลอดชีวติ ๔. ห้องสมุดเคล่ือนทีส่ ำหรบั ชำวตลำดฯ โครงการห้องสมุดเคลื่อนท่ีสาหรบั ชาวตลาด ตามพระราชดารสิ มเด็จพระกนษิ ฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จ กระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี อันมีทีม่ าจากเมอื่ ครัง้ ที่พระองค์ทรงเสด็จเป็นการส่วนพระองคย์ ัง ตลาดสดเทศบาล ๒ จังหวัดอทุ ัยธานี คร้ังนั้นได้มีพระราชปฏิสันถารกับผู้ค้ารายหนึ่งที่กาลังถือหนังสืออ่านใน ขณะที่เฝ้าของขายรอลูกค้าว่า “ชอบอ่านหนังสือหรือ” ผู้ค้าทูลว่า “ชอบอ่านหนังสือ” จึงทรงมีกระแสรับสั่ง กับ คณะผู้บริหารระดับสูงของกระทรวงศึกษาธิการ ว่าควรจัดให้มีห้องสมุดเคลื่อนที่สาหรับชาวตลาด เน้น หลักการมี ส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน และได้มอบหมายให้กระทรวงศึกษาธิการ โดย สานักงาน กศน. เป็นผู้ ขับเคลื่อน โครงการดังกล่าว โดยจัดหามมุ ใดมุมหนงึ่ ในตลาดจัดเป็นห้องสมุดประชาชนสาหรับชาวตลาด โดยมี เป้าหมายให้ ประชาชน ชุมชนชาวตลาด ได้รับบริการส่งเสริมการอ่านอย่างท่ัวถึง มีหนังสืออ่านเป็นประจา เสริมสรา้ งนิสัยให้ คนไทยรักการอา่ น เพิ่มอัตราการอา่ น เดินหน้าสง่ เสรมิ และสร้างวัฒนธรรมการอา่ นของคน ไทยใหม้ ากขึน้ กศน.อาเภอสุไหงโก-ลก ร่วมกับภาคีเครือข่ายภายในจังหวัดนราธิวาส ได้แก่ หน่วยงานภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน ภาคเอกชน บุคคล ผู้มีจิตอาสา และชาวตลาด ดาเนินการจัดหอ้ งสมุดสาหรับชาว ตลาด จานวนทั้งสิ้น ๒ แห่ง โดยจัดหามุมใดมุมหน่ึงในตลาดจัดทาเป็นห้องสมุดสาหรับชาวตลาด เพื่อให้คน ท่ีมาจับจ่ายซือ้ ของในตลาดและแม่ค้า พอ่ คา้ ในตลาดระหว่างรอการจับจ่ายซอ้ื ของไดอ้ า่ นหนังสือ ซ่ึงส่วนหนึ่ง จะ เป็นหนังสือท่ีเกี่ยวกับเรื่องอาชีพของตนเอง เพ่ือจะได้เสริมอาชีพของตัวเองให้มีมูลค่าเพิ่มข้ึนระหว่างรอ ลูกคา้ มา ซ้อื ของด้วย โดยการจัดตั้งห้องสมุดสาหรบั ชาวตลาด มีเป้าหมายคอื เพื่อสร้างวัฒนธรรมการอ่าน ให้ ชุมชนชาว ตลาดไดม้ ีหนงั สอื อ่านเป็นประจา และสร้างบรรยากาศให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ ท่ีเข้าถึงทุกเพศ ทกุ วัย ทุก อาชพี อนั จะกอ่ ใหเ้ กดิ พลงั ชมุ ชนทเี่ ข้มแข็งในการรว่ มสรา้ งวัฒนธรรมการอา่ น นอกจากนี้ยังเปน็ การ ส่งเสริมให้ ชุมชนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้อย่างแท้จริง ซ่ึง กศน.อาเภอสุไหงโก-ลก ได้จัดหาหนังสือพิมพ์ รายวัน หนงั สอื ทัว่ ไป นติ ยสาร เรื่องสัน้ ตลอดจนมีการรบั การบริการหนังสือหมนุ เวียนจากหอ้ งสมดุ ประชาชน และ กศน.ตาบล เพ่ือนาหนงั สือมาใหบ้ ริการพอ่ คา้ แม่ค้า และประชาชนทมี่ าจบั จ่ายซ้ือของภายในตลาด โดยที่ ผ่านมา มีกลุ่มเป้าหมายเข้ามาใช้บริการเป็นจานวนมาก โดยในแต่ละวันมีบรรณารักษ์ห้องสมุดฯ คณะครู หมุนเวียนมา ประจาการดแู ลตลอดทุกวัน

ข้อมูลสำระสนเทศ ประวัตคิ วามเปน็ มาและสถานทีต่ ง้ั กศน.ตาบลปาเสมัส กศน.ตำบลปำเสมัส และศูนย์อำชีพชมุ ชน เดิมเป็นศูนย์กำรเรียนชุมชนซรำยอ เดมำจำกชื่อ หมบู่ ้ำนซรำยอ โดยมีประวัตคิ วำมเป็นมำจำกช่ือตน้ ไม้ใหญ่อยู่ที่บ้ำน “เนิน” ภำษำท้องถิ่นเรยี กวำ่ “บำโง” ซ่ึง มีลักษณะแปลกต้นไม้อื่น มีชื่อว่ำ “ไม้หยำ” ภำษำท้องถิ่นเรียกว่ำ “ซรำยอ” คนในหมู่บ้ำนจึงเรียกว่ำ “หมบู่ ้ำนบำโงซรำยอ” ตอ่ มำไดเ้ ปลย่ี นเป็น “บำ้ นซรำยอ” ทำงศูนย์กำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศัยอำเภอสุไหงโก-ลกได้มกี ำรส่งเสริม และสนับสนุนให้มีศูนย์กำรเรียนชุมชนในแต่ละตำบล เพื่อส่งเสริมกำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำม อัธยำศัยให้ท่ัวถึงทุกพื้นท่ีและยกระดับกำรศึกษำให้กับประชำชนท่ีขำด โอกำสทำงกำรศึกษำให้เข้ำสู่ กระบวนกำรเรียนรู้ของศูนย์กำรศกึ ษำนอกระบบและกำรศกึ ษำตำมอัธยำศัยอำเภอสุไหงโก-ลก เพอื่ พัฒนำคุณภำพชีวติ ของประชำชนในพื้นที่ และได้คัดเลือก หมูท่ ี่ 1 บ้ำนซรำยอ ตำบลปำเสมสั อำเภอ สุไหงโก-ลก เป็นศูนย์กำรเรียนชุมชนประจำตำบลปำเสมัส และได้อนุเครำะห์ให้ใช้สถำนท่ีอำคำร เอนกประสงค์ประจำหมู่บ้ำนเพื่อใช้เป็นศูนย์กำรเรียนชุมชน และศูนย์ฝึกอำชีพประจำหมู่บ้ำน จำกผู้ใหญ่บ้ำน เจะ๊ ซู ตำเหย็บ เมื่อ วนั ที่ 5 สิงหำคม 2552 จำก โดยให้ศูนย์กำรศกึ ษำนอกระบบและกำรศกึ ษำตำมอัธยำศัย อำเภอสไุ หงโก-ลกสนบั สนนุ และส่งเสรมิ กำรกำรศกึ ษำให้กับประชำชนในพน้ื ท่ี ใหม้ ีคุณภำพชีวิตท่ดี ีขึ้น กศน.ตำบลปำเสมัส ได้รับกำรประกำศจัดตงั้ แหล่งเรยี นรรู้ ำคำถกู : กศน.ตำบลปำเสมสั ณ วันท่ี 19 สิงหำคม 2553 โดยผู้วำ่ รำชกำรจังหวัดนรำธิวำส นำย ธนน เวชกรกำนนท์ เพ่ือเป็นแหล่ง เรียนรู้ตลอดชีวิต มีบทบำทในกำรส่งเสริมกำรเรียนรู้ตลอดชีวิตของประชำชนในชุมชน โดนเน้นกำรมีส่วน ร่วมในกำรจัดกำรศึกษำของชุมชน มุ่งสร้ำงโอกำสและให้บริกำรกำรเรียนรู้อย่ำงหลำกหลำย เพ่ือ สนอง ควำมต้องกำรและเสนอทำงเลือกในกำรพัฒนำตนเองอันจะนำไปสู่กำรพัฒนำชีวติ ของประชำชน และสถำน ท่ีต้ัง หมู่ที่ 1 บ้ำนซรำยอ ตำบลปำเสมัส อำเภอสุไหงโก-ลก โดย นำยนิพนธ์ วำโมง เป็นหัวหน้ำ กศน. ตำบลปำเสมสั

คณะกรรมการ กศน.ตาบลปาเสมัส ประธำนกรรมกำร รองประธำนกรรมกำร 1.นำยนกิ ร นโิ ก เหรญั ญิก 2.นำยเจะ๊ ซู ตำเหยบ็ กรรมกำร 3.นำยวรชำต แวมะ กรรมกำร 4.นำยเจะ๊ อำมะ เจ๊ะอำแซ กรรมกำร 5.นำยดุลเลำะหะดี บินเจะ๊ มะ กรรมกำร 6.นำยรุสลำม บำซำ กรรมกำร 7.นำงวิยะรัตน์ จยุ้ นุม กรรมกำร 8.นำยนำซูฮำ หะยีอำแว กรรมกำรและเลขำนุกำร 9.นำยรอยำลี เจะ๊ โกะ๊ 10.นำยนพิ นธ์ วำโมง ประธำน กศน. ตำบลปำเสมัส บุคากร กศน.ตาบลปาเสมัส หวั หน้ำ กศน.ตำบลปำเสมัส ครูอำสำ กศน. ตำบลปำเสมัส 1.นำยนกิ ร นิโก๊ะ ประธำนอำสำสมัคร กศน.ตำบลปำเสมสั 2.นำยนพิ นธ์ วำโมง ประธำนอำสำสมคั ร กศน.ตำบลปำเสมัส กรรมกำร 3.นำงสำว นันทมิ ำ ดอื รำแม กรรมกำร 4.นำยเจะรอสดี เจะอำแว อาสาสมัคร กศน.ตาบล 1.นำยเจะรอสดี เจะอำแว 2.นำยอสิ มำแอ อมู ำ 3.นำยมำมะกอเซ็ง สำมะ บา้ นหนงั สือชุมชนตาบลปาเสมสั 1. บ้ำนซรำยอ หมทู่ ่ี 1 ตำบลปำเสมสั 2. บ้ำนตือระ หมทู่ ี่ 2 ตำบลปำเสมสั

โครงสรา้ ง กศน.ตาบลปาเสมสั ผอ.กศน.อาเภอสุไหงโก-ลก ประธาน กศน.ตาบล หัวหน้า กศน.ตาบล ครอู าสาสมคั รประจาตาบล ครศู รช. วทิ ยากรสอนอาชพี อาสาสมคั ร กศน.ตาบล บา้ นหนงั สอื ชมุ ชน

ส่วนที่๔ แผนปฏบิ ตั ิกำรประจำปีงบประมำณ พ.ศ.๒๕๖๔ และรำยละเอียดงำน/โครงกำร

สว่ นที่ ๔ แผนปฏิบัติกำรประจำปีงบประมำณ พ.ศ.๒๕๖๔ และรำยละเอยี ดงำน/โครงกำร ในปีงบประมาณปี พ.ศ.๒๕๖๔ กศน.ตาบลปาเสมัส มีโครงการต่างๆ ในแผนปฏิบัติการประจาปี งบประมาณ ๒๕๖๔ รวมทงั้ สน้ิ ๑๔ โครงการท่ีต้องปฏิบัติงานตามศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยอาเภอสุไหงโก-ลก ได้จัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ.๒๕๖๔ ให้ กศน.ตาบลปาเสมัส... ดาเนินการจัดกิจกรรมให้กับกลุ่มเป้าหมายในพ้ืนที่ตาบลปาเสมัส. และตามนโยบายและจุดเน้นที่สาคัญของ สานกั งานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย (สานักงาน กศน.) ตามบทบาทภารกิจของ หนว่ ยงานและความตอ้ งการของประชาชนกลุ่มเปา้ หมาย จุดเน้นกำรดำเนนิ งำนของงำน/โครงกำร ในปงี บประมำณ ๒๕๖๔ ๑. โครงการสนบั สนุนคา่ ใช้จ่ายในการจัดการศึกษาต้ังแตร่ ะดบั อนุบาลจนจบการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน ๒. โครงกำรส่งเสรมิ กำรทักษะอำชีพใหน้ กั ศึกษำปอเนำะ(อำชพี ชำ่ งก่อสรำ้ ง) ๓. โครงกำรมมุ สง่ เสรมิ กำรเรียนรู้สู่สถำบันศกึ ษำปอเนำะ ๔. โครงกำร 1 ปอเนำะ 1 โครงกำรพฒั นำ(พัฒนำสถำบนั ศึกษำปอเนำะ ตำมหลกั ปรชั ญำของ เศรษฐกจิ พอเพยี งในสถำบันศึกษำปอเนำะดำรสุ ลำม)

แผนปฏิบัติการประจา สานกั งานสง่ เสริมการศึกษานก (งาน/โครงก สถำนศกึ ษำ กศน.อ ที่ ช่ืองาน/โครงการ วตั ถปุ ระสงค์ กจิ กรรมหลกั ตัวช เชิงปริมาณ ๑ โครงกำร ๑ เพือ่ สง่ เสริมให้ผเู้ รยี น ๑.สำรวจ/ประชำสมั พนั ธ์ ผเู้ รยี นกำรศึกษำนอ สนับสนนุ ได้เรียนรใู้ นรปู แบบ กลมุ่ เปำ้ หมำย ระบบระดบั กำรศึก คำ่ ใชจ้ ่ำยในกำร กำรศกึ ษำ นอกระบบ ๒.รบั สมัครนกั ศกึ ษำ ขัน้ พื้นฐำน ทุกระด จดั กำรศกึ ษำ ระดับกำรศึกษำข้ัน ๓.ขึ้น/ลงทะเบียนเรยี น ของ กศน.อำเภอ ต้ังแต่ระดบั พืน้ ฐำนที่เหมำะสมกับ ๔.วำงแผนกำรดำเนินงำน สุไหงโก-ลก ได้เรยี อนบุ ำลจนจบ ตนเอง ๕. ดำเนนิ กำรจดั กิจกรรม ในรูปแบบกำรศกึ ษ กำรศกึ ษำขน้ั ๒ เพอื่ ส่งเสรมิ กจิ กรรม เหมำะสมกบั ตนเอง พืน้ ฐำน พัฒนำคุณภำพผเู้ รียนท่ี -จัดกจิ กรรมกำรศกึ ษำขน้ั ผำ่ นกำรจัดกจิ กรรม ภำครัฐให้กำรสนับสนุน พืน้ ฐำน ๓ เพอื่ สง่ เสริมกำรจดั กำรศึกษำขั้นพน้ื ฐำ กจิ กรรมกำรเรียนรู้ -จัดกิจกรรมพัฒนำคณุ ภำพ ตลอดชวี ติ ของชมุ ชนโดย ผ้เู รียน ตำมหลกั สตู ร และ ใช้ กศน.ตำบล : แหลง่ เรยี นรู้ชมุ ชนให้เกดิ -จัดซ้อื หนังสือเรยี น ได้รบั กำรสนบั สนุน ประโยชนส์ ูงสดุ ๖.นเิ ทศ/ติดตำมผลกำร ๔ เพ่อื สนบั สนุนสอ่ื กำร ดำเนนิ งำนกิจกรรม คำ่ ใช้จำ่ ยตำมสทิ ธิท ๗. สรุปและประเมนิ ผลกำร เรียนรใู้ ห้นกั ศึกษำขน้ั ดำเนนิ งำนโครงกำร กำหนดไว้ จำนวน ๘. รำยงำนผลต่อ พ้ืนฐำน ผูบ้ งั คับบัญชำ ๑,๔๙๘ คน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook