Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Best Practice ของ กศน.ตำบลห้วยข้อง

Best Practice ของ กศน.ตำบลห้วยข้อง

Published by thanatip.30, 2019-08-15 02:57:36

Description: Best Practice ของ กศน.ตำบลห้วยข้อง เรื่องการดำเนินงานศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน "หลักสูตรการทำย่ามลาวโซ่ง"

Keywords: Best Practice,กศน.,ตำบลห้วยข้อง

Search

Read the Text Version

ก คำนำ Best Practice การดาเนินการด้านศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน “หลักสูตรการทาย่ามลาวโซง่ ” เป็นกิจกรรมที่ ส่งเสริมวธิ ีปฏิบัติในการทาสิง่ หน่ึงส่ิงใดให้สาเร็จซ่ึงเปน็ ผลมาจากการนาความรู้ไปปฏิบัติจรงิ แล้วสรุปความรู้ และประสบการณ์นั้นเปน็ แนวปฏิบัตทิ ีด่ ที ่ีสุดของตนเอง “หลกั สูตรการทาย่ามลาวโซ่ง”เป็นเป็นอาชีพท่ีเกิดจากการดาเนนิ กิจกรรมของงานการศกึ ษาเพ่อื พัฒนา อาชีพเป็นการจัดการเรียนรู้ให้แก่ประชาชน โดยการรวมกลุ่มตามความต้องการเรียน เน้ือหาของกิจกรรมท่ี มงุ่ เน้นหลกั สตู รในเรื่องของการสร้างอาชีพโดยใช้รปู แบบวิทยากรใหค้ วามรู้และฝกึ ปฏบิ ัติจริง ขา้ พเจ้าจงึ หวังว่าเอกสารเล่มน้ที ่ีจะบ่งบอกถึงการบรรลุวัตถุประสงค์ของกิจกรรมและจะเป็นประโยชน์ ต่อการจัดกิจกรรม กศน. ท้ังในการบริหารงาน การพัฒนางาน และการทางานท่ีตรงตามความต้องการของ ผู้เรียนผู้รับบริการและชุมชนและสามารถเผยแพร่ต่อสาธารณชนได้ และขอขอบคุณผู้มีส่วนเกี่ยวข้องและให้ ความรว่ มมอื ไว้ ณ โอกาสนด้ี ว้ ย นางสาวสัจชญา บุตรเพชร ครู กศน.ตาบลห้วยขอ้ ง

ข สำรบญั คำนำ ก.......................................................................................................................................................... สำรบัญ ข...................................................................................................................................................... ๑ ชื่อผลงำน 1. ............................................................................................................................................... ๒. หน่วยงำน/สถำนศึกษำ/กศน.ตำบล 1.................................................................................................... ๓. ชื่อเจ้ำของผลงำน 1................................................................................................................................. ๔. ควำมสอดคล้อง 1.................................................................................................................................... ๕.ทมี่ ำและควำมสำคญั ของผลงำน 1.......................................................................................................... ๖.วตั ถุประสงค์ 2........................................................................................................................................... ๗.วธิ ีกำรดำเนนิ กำร 2................................................................................................................................... ๗.๓ กำรสรุปผลกำรดำเนินงำน 3............................................................................................................... ๗.๔ กำรปรับปรุงและกำรพฒั นำผลกำรปฏิบตั งิ ำน 3............................................................................... ๘.ตัวชี้วดั ควำมสำเร็จ................................................................................................................................3 ๙. กำรประเมนิ ผลและเครื่องมือกำรประเมนิ ผล 3..................................................................................... ๑๐.ผลกำรดำเนินงำน 3................................................................................................................................ ๑๑.บทสรุป 4................................................................................................................................................. ๑๒.กลยุทธ์หรือปัจจัยทที่ ำใหห้ประสบควำมสำเร็จ 5.................................................................................. ๑๓.ข้อเสนอแนะ 6........................................................................................................................................ ๑๔.เอกสำรอ้ำงองิ 6...................................................................................................................................... ภำคผนวก 1...................................................................................................................................................

1 ๑. ช่ือผลงำน ช่อื ผลงาน การดาเนนิ การด้านศนู ย์ฝึกอาชพี ชุมชน “หลกั สตู รการทาย่ามลาวโซง่ ” ๒. หน่วยงำน/สถำนศึกษำ/กศน.ตำบล กศน.ตาบล ห้วยข้อง อาเภอ บ้านลาด จังหวัด เพชรบุรี ๓. ชื่อเจำ้ ของผลงำน ช่ือเจา้ ของผลงาน นางสาวสจั ชญา บตุ รเพชร โทรศัพท์ ๐๖๔๑๖๙๕๔๔๑ ,๐๙๔๖๖๒๙๘๒๙ โทรสาร - อเี มลล์ ๑๗๖ed๐๐๐๕๐@edi.ac.th ผู้บริหาร นางวรภร ประสมศรี ๔. ควำมสอดคล้อง สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นปี ๒๕๕๖๒ สานกั งาน กศน.: ภารกิจต่อเน่ือง ข้อที่ ๑. ด้านการจดั การศึกษาและการเรียนรู้ ๑.๓ การศึกษาต่อเนื่อง ๑) จัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทาอย่างย่ังยืน โดยให้ ความสาคัญกับการจัดการศึกษาอาชีพ เพื่อการมีงานทาในกลุ่มอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม คหกรรม และอาชีพเฉพาะทาง หรือการบริการ รวมถึงการเน้นอาชีพช่างพื้นฐาน ที่สอดคล้องกับศักยภาพของ ผู้เรียน ความต้องการและ ศกั ยภาพของแต่ละพ้นื ที่ ตลอดจนสรา้ งความเข้มแข็งให้กับศูนย์ฝกึ อาชีพชุมชน โดยจัด ให้มหี น่ึงอาชีพเดน่ ต่อ หน่ึงศูนยฝ์ กึ อาชพี รวมทงั้ ใหม้ กี ารกากบั ตดิ ตาม และรายงานผลการจัดการศึกษาอาชีพเพ่ือ การมงี านทาอย่าง เปน็ ระบบและตอ่ เนอ่ื ง ๕.ที่มำและควำมสำคญั ของผลงำน จากนโยบายและจุดเน้นการดาเนินงานของสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศยั ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๒ ดา้ นจดั การศึกษาอาชพี เพ่ือการมงี านทาอย่างยง่ั ยนื โดยให้ความสาคัญกับ การจัดการศึกษาอาชีพ เพ่ือการมีงานทาในกลุ่มอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม คหกรรม และ อาชีพเฉพาะทาง หรือการบริการ รวมถึงการเน้นอาชีพช่างพ้ืนฐาน ท่ีสอดคล้องกับศักยภาพของผู้เรียน ความ ต้องการและ ศักยภาพของแต่ละพื้นท่ี ตลอดจนสร้างความเข้มแข็งให้กับศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน โดยจัดให้มีหน่ึง อาชีพเด่นต่อ หน่ึงศูนย์ฝึกอาชีพ รวมทั้งให้มีการกากับ ติดตาม และรายงานผลการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมี งานทาอยา่ ง เป็นระบบและต่อเนื่อง กศน.ตาบลห้วยข้อง ได้ทาการสารวจความต้องการของชุมชน จากการทาเวทีประชาคม บ้านหนองโสน หมูที่ ๓ ตาบลห้วยข้อง อาเภอบ้านลาด จงั หวัดเพชรบุรี พบว่า ประชาชนของตาบลห้วยข้อง มีความต้องการฝึก

2 อาชพี การทายา่ มลาวโซง่ และในชมุ ชนมีภูมิปญั ญาท่มี ีความรู้ ความชานาญด้านการทาย่ามลาวโซ่ง อีกทั้งในชุมชน ตาบลห้วยขอ้ งเป็นกลุ่มชาวไทยทรงดาหรอื อีกชื่อหนึ่งเรียกวา่ “ลาวโซง่ ” ที่มวี ัฒนธรรมประเพณที ่ีเปน็ เอกลักษณ์ เฉพาะตัวและสืบทอดมาจากรุ่นสู่รุ่น ปัจจุบันประเพณีและเอกลักษณข์ องชาวลาวโซ่งในเร่ืองของลายผ้าได้มีการ สูญหายไป การทาย่ามลาวโซ่งเพื่อเป็นการอนุรักษ์ลายผ้าของชาวลาวโซ่ง ส่งเสริมการประกอบอาชีพโดยมี วัฒนธรรมเปน็ พ้ืนฐาน ทาใหเ้ กดิ รายไดเ้ สรมิ ในครวั เรือนได้ กศน.ตาบลห้วยขอ้ ง จงึ ส่งเสรมิ การเรียนหลกั สูตรการศึกษาเพื่อพฒั นาอาชีพ แบบชั้นเรยี นวิชาชีพ (๓๑ ชัว่ โมงขน้ึ ไป) การทายา่ มลาวโซ่ง มุ่งเนน้ ใหผ้ ทู้ ี่สนใจ เม่ือศกึ ษาหลกั สตู รแลว้ สามารถนาไปปฏิบัติได้จรงิ ๖.วัตถุประสงค์ เพื่อให้ประชาชนท่ีเข้าร่วมโครงการมีความรู้และทักษะการทาย่ามลาวโซ่ง จนสามารถนาความรู้ไปใช้ สามารถนาความรไู้ ปใช้ในการพฒั นาอาชีพ สรา้ งรายไดเ้ สริม และสามารถนาไปปรับใช้ในการดาเนินชีวิตประจาวัน ได้ ๗.วธิ กี ำรดำเนนิ กำร ๗.๑ การวางแผนการดาเนินงาน ๗.๑.๑ สารวจความต้องการของประชาชน การทาเวที ประชาคม ณ บ้านหนองโสน หมูท่ี ๓ ตาบลห้วยข้อง อาเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี ทาให้ทราบว่าชุมชนมีความต้องการทาย่ามลาวโซ่ง และ ในชุมชนมีภมู ิปัญญาท่ีมีความรู้ ความชานาญด้านการทาย่ามลาวโซ่ง อีก ทั้งในชุมชนเป็นกลุ่มลาวโซ่ง ท่ีมีวัฒนธรรมประเพณีท่ีเป็นเอกลักษณ์ เฉพาะตัวและสืบทอดมาจากรุ่นสู่รุ่น ปัจจุบันประเพณีและเอกลักษณ์ของ ชาวไทยทรงดาในเรือ่ งของลายผ้าไดม้ ีการสญู หายไป ๗.๑.๒ ประชุมวางแผนการดาเนินงาน พร้อมศึกษา ขอ้ มูลการส่งเสรมิ อาชพี ในชุมชน วฒั นธรรม ประเพณีของชุมชน ๗.๑.๓ จัดทาโครงการ โดยใช้งบประมาณ โดยขอใช้ งบประมาณปี ๒๕๖๒ ประเภทงบรายจ่ายอื่น ค่าใช้จ่ายโครงการศูนย์ฝึก อาชพี ชุมชน ของ กศน.อาเภอบา้ นลาด โดยมีกลุ่มเป้าหมายจานวน ๑๒ คน ๗.๒ การดาเนินการจดั กจิ กรรม - จัดกิจกรรมส่งเสริมอาชีพโดยให้ความรู้เรื่องช่อง ทางการประกอบอาชีพการทาย่ามลาวโซ่ง ทักษะการประกอบอาชีพการทาย่ามลาวโซ่ง การบรรจุภัณฑ์ และการ บริหารจัดการในการประกอบอาชีพ โดยจะรวมถึงการออกแบบลวดลาย ตัดเย็บ และปักลวดลายต่างๆ มีทั้งการ สาธติ การอธบิ าย และการลงมือฝึกปฏบิ ัตใิ นการทาชิ้นงาน

3 ๗.๓ กำรสรุปผลกำรดำเนินงำน - ตรวจสอบผลงานการทายา่ มลาวโซง่ ของประชาชนของผเู้ ข้ารว่ มโครงการ - มีการสรุปผลการดาเนินงานโดยการประเมินความพึงพอใจของประชาชนของผู้เข้าร่วมโครงการ หลงั จากจบการดาเนินกจิ กรรม พร้อมรวบรวมขอ้ เสนอ และจดั ทารายงาน - เผยแพร่แนวทางการปฏิบตั งิ านทด่ี ี โดยมีการนาเสนอ ผลงาน ปัญหา อุปสรรค เพ่ือใชเ้ ปน็ ขอ้ มูลในการ พฒั นาการจัดกิจกรรมต่อไป รวมท้งั การนาเสนอผลงานในรปู แบบต่างๆ เช่น เว็ปเพจ กศน.ตาบล ศนู ย์วฒั นธรรม ไทยทรงดาตาบลหว้ ยขอ้ ง ๗.๔ กำรปรบั ปรุงและกำรพฒั นำผลกำรปฏบิ ตั งิ ำน - นาขอ้ เสนอแนะ ของประชาชนผเู้ ขา้ ร่วมโครงการ วิทยากร ผ้นู า ชุมชน และผู้บริการ มาปรับปรุงการรูปแบบและวิธีการดาเนินงานการ ส่งเสริมอาชพี และงานด้านอื่นๆ ในกิจกรรมต่อๆไป เชน่ การพัฒนารปู แบบ อืน่ ๆต่อยอด ในการทากระเป๋าคาดเอว การทาลูกมะกร เพ่ือการต่อยอดใน เรอ่ื งของวฒั นธรรม ๘.ตัวชี้วัดควำมสำเร็จ ประชาชนท่ีเข้าร่วมโครงการทาย่ามลาวโซ่ง มีความรู้และทักษะ สามารถนาความรู้ไปใช้สามารถนาความรู้ไปใช้ในการพัฒนาอาชีพ สร้าง รายไดเ้ สริม และสามารถนาไปปรบั ใช้ในการดาเนนิ ชวี ิตประจาวนั ได้ ๙. กำรประเมนิ ผลและเครอ่ื งมอื กำรประเมนิ ผล ๙.๑ ประเมินผลงานการทาย่ามลาวโซ่ง โดยวิทยากร และครู กศน.ตาบล ประเมินจากการปฏิบัติจริง ดูจากคุณภาพ ของชนิ้ งาน ๙.๒ สารวจความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมส่งเสริม อาชีพ หลักสูตร การทาย่ามลาวโซ่ง จากประชาชนผู้เข้าร่วม โครงการ ๑๐.ผลกำรดำเนินงำน ประชาชนผู้ผ่านการอบรม มีความรู้และทักษะสามารถนาความรู้ไปใช้สามารถนาความรู้ไปใช้ในการ พัฒนาอาชพี สรา้ งรายไดเ้ สริม และสามารถนาไปปรบั ใชใ้ นการดาเนินชวี ติ ประจาวนั ได้

4 ๑๑.บทสรปุ การจดั การศึกษาตอ่ เนือ่ ง (พฒั นาอาชพี ) หลกั สูตร การทาย่ามลาวโซ่ง ที่จดั ข้ึนในครัง้ นี้ ดาเนนิ การ ตาม แนวทางวงจรคณุ ภาพเดมมงิ่ (Deming Cycle : PDCA) ดังนี้ ด้ำนกำรวำงแผน (P) ๑. ศึกษาสภาพปัญหา และวิเคราะห์ข้อมูลของชุมชนอย่างมีส่วนร่วมของครู และชุมชน โดย การจัดเวทีประชาคม เพ่ือนามาวางแผนจัดกิจกรรมท่ีสอดคล้องกับสภาพบริบท ศักยภาพของชุมชน ปัญหา และความตอ้ งการทแ่ี ทจ้ รงิ ของประชาชน ๒. วิเคราะห์งานตามบทบาทหนา้ ที่ และวเิ คราะห์ความสอดคล้องที่เก่ียวข้อง เชน่ ยุทธศาสตร์ และ จุดเน้นการดาเนินงานของ กศน. วิสัยทัศน์ พันธกิจ ระบบประกันคุณภาพสถานศกึ ษา ฯลฯ ซึ่ง จาการ วิเคราะห์งาน จะเห็นได้ว่า เป็นงานตามบทบาทหน้าท่ีของครู กศน.ตาบล ที่จะต้องจัด การศึกษาเพื่อพัฒนา อาชีพให้กบั ประชาชนในพื้นท่ี โดยตอ้ งมีความสอดคลอ้ งกับศกั ยภาพของผเู้ รียน ความตอ้ งการและศกั ยภาพของ แตล่ ะพ้นื ที่ ๓. คน้ หา Best Practice โดยพจิ ารณาประเดน็ ดังน้ี  เป็นเรอ่ื งทเี่ ก่ียวข้องกับภารกจิ โดยตรงของบทบาทหน้าที่  สนองนโยบายและจุดเน้นการดาเนนิ งานของสานกั งานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย ประจ้าปีงบประมาณ ๒๕๖๒ จัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมี งานทาอย่างยั่งยืน โดยให้ความสาคัญกับการจัดการศึกษาอาชีพ เพ่ือการมีงานทาใน กลุ่มอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม คหกรรม และอาชีพเฉพาะทาง หรือการบริการ รวมถึงการเน้นอาชีพช่างพ้ืนฐาน ที่สอดคล้องกับศักยภาพของผู้เรียน ความตอ้ งการและ ศักยภาพของแต่ละพน้ื ท่ี ตลอดจนสร้างความเข้มแขง็ ให้กับศูนย์ฝึก อาชีพชุมชน โดยจัดให้มีหน่ึงอาชีพเด่นต่อ หน่ึงศูนย์ฝึกอาชีพ รวมทั้งให้มีการกากับ ติดตาม และรายงานผลการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทาอย่าง เป็นระบบและ ต่อเนอื่ ง  มีผลผลิต/ความสาเรจ็ เพ่มิ ขน้ึ  สามารถน้าไปใช้เปน็ มาตรฐานการทางานต่อไปได้  มกี ารพฒั นาปรบั ปรงุ ต่อไป จากการพิจารณาประเด็นต่างๆ ดังกล่าว เพื่อค้นหา Best Practice ในการจัดกิจกรรมที่ สอดคล้องกับสภาพปัญหา และความต้องการของคนในชุมชน พบว่า เป็นเร่ืองที่เก่ียวข้องกับบทบาทหน้าที่ โดยตรงของ ครู กศน.ตาบล และเป็นการดาเนินงานที่สนองนโยบายและจุดเน้นการดาเนนิ งานของสานักงาน ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ประจ้าปีงบประมาณ ๒๕๖๑ ด้านการจัดการศึกษา ต่อเนื่อง จึงได้วางแผนเพื่อดาเนนิ การตามบทบาทภารกิจ ดงั นี้

5 ๑. ครู และชุมชน มีส่วนร่วมในการวางแผนและออกแบบกิจกรรมที่สอดคล้องกับ สภาพ ปญั หา ความต้องการ โดยการประชุมร่วมกันเพื่อวางแผนการดาเนนิ งาน ชี้แจงวัตถุประสงค์ ผลที่ผู้รว่ ม กิจกรรมจะได้รบั ทา้ ให้มผี ้สู นใจเขา้ รว่ มกิจกรรม จ้านวน ๑๒ คน ๒. ศึกษาเอกสารข้อมูลเก่ียวกับการส่งเสริมอาชีพในชุมชน จัดเตรียมส่ือ อุปกรณ์ และวางแผน จัดกจิ กรรมการเรยี นร้รู ว่ มกบั ผ้เู รยี น และวทิ ยากร ดำ้ นกำรดำเนนิ งำน (D) จดั กิจกรรมสง่ เสริมอาชพี ตามที่ได้วางแผนและออกแบบกิจกรรมไว้ โดยการให้ความรู้ และฝึก ปฏบิ ัตจิ รงิ ดงั นี้ ๑. จัดกิจกรรมส่งเสริมอาชีพโดยให้ความรู้เรื่อง ช่องทางการประกอบอาชีพการทายา่ มลาวโซ่ง ทักษะการประกอบอาชีพการทาย่ามลาวโซง่ การบรรจุภณั ฑ์ และการบริหารจัดการในการประกอบอาชีพ โดยจะ รวมถงึ การออกแบบลวดลาย ตัดเยบ็ และปักลวดลายตา่ งๆ มที ้ังการสาธติ การอธิบาย และการลงมือฝึกปฏบิ ัติใน การทาชิน้ งาน มีการจดั จาหน่ายในชุมชน ๒.ครู กศน.ตาบล เป็นผใู้ ห้คาปรึกษา แนะนา ในเร่อื งการจัดจาหน่าย ช่องทางในการจาหน่าย ดำ้ นกำรตรวจสอบและประเมินผล (C) ๑. ประเมินผลตรวจสอบผลงานการทาย่ามลาวโซ่งของประชาชนของผู้เข้าร่วมโครงการ โดย วทิ ยากร และครู กศน.ตาบล ประเมนิ จากการปฏบิ ัตจิ รงิ คณุ ภาพของผลิตภณั ฑ์ ๒. สรุปผลการดาเนินงานโดยการประเมินความพึงพอใจของประชาชนของผู้เข้าร่วมโครงการ หลงั จากจบการดาเนินกิจกรรม พรอ้ มรวบรวมข้อเสนอ และจดั ทารายงาน ๓. เผยแพร่แนวทางการปฏิบัติงานที่ดี โดยมีการนาเสนอ ผลงาน ปัญหา อุปสรรค เพื่อใช้เป็น ข้อมลู ในการพัฒนาการจดั กจิ กรรมตอ่ ไป รวมทั้งการนาเสนอผลงานในรปู แบบต่างๆ เชน่ เวป็ เพจ กศน.ตาบล ศูนย์ วัฒนธรรมไทยทรงดาตาบลห้วยขอ้ ง ดำ้ นกำรปรบั ปรงุ และพัฒนำผลกำรปฎิบัติงำน (A) ประชาชนผู้ผา่ นการอบรม มีความรูแ้ ละทกั ษะสามารถนาความรูไ้ ปใช้สามารถนาความรู้ไปใช้ใน การพัฒนาอาชีพ สรา้ งรายได้เสรมิ และสามารถนาไปปรบั ใชใ้ นการดาเนนิ ชวี ิตประจาวนั ได้  จากการปฏิบัติงานที่ผ่านมาหลักสูตรการทาย่ามลาวโซ่ง ทาให้ประชาชนมีรายได้เสริมจากการ เข้าร่วมกิจกรรม ได้มีการออกร้านตามงานวัฒนธรรม พร้อมท้ังมีการพัฒนาผลงานอยา่ งต่อเนือ่ ง ทาใหเ้ กิดความ ภาคภมู ใิ จของชมุ ชนทไ่ี ดม้ ีรายได้เสริมจากวฒั นธรรมของตนเองเปน็ ฐานและได้ฟ้ืนฟเู อกลกั ษณข์ องลาวโซง่ ข้ึนมา ๑๒.กลยุทธ์หรือปัจจัยท่ที ำให้ประสบควำมสำเร็จ ๑๒.๑ การมีส่วนร่วมของครู ผู้เรียน และชุมชนในการวิเคราะห์ข้อมูลพ้ืนฐานของชุมชน ทาให้รู้สภาพ ปญั หา และความตอ้ งการพฒั นา ให้ไปสูเ่ ปา้ หมายทตี่ ้องการได้ ๑๒.๒ การนาเอาวัฒนธรรม ภมู ิปญั ญาท้องถิ่น ตลอดจนทรัพยากรในชุมชน เป็นองค์ความรพู้ ื้นฐานใน การต่อยอดความรูใ้ ห้เกิดการพฒั นา

6 ๑๒.๓ หลักสูตร “การทาย่ามลาวโซ่ง” ดาเนินการตามแนวทางวงจรคุณภาพของเดมม่ิง (Deming Cycle : PDCA) ซ่ึงเป็นการดาเนินการอย่างเป็นระบบ สามารถตรวจสอบได้ในทุกข้ันตอน โดยเร่ิม ตั่งแต่การ วเิ คราะหส์ ภาพ ปญั หา และความต้องการของชุมชนอย่างมีส่วนร่วมของครู ผู้เรียน และชุมชน รวมทั้งการมี ส่วนร่วมในการวางแผนและออกแบบกิจกรรมของครู ผู้เรียน ชุมชน และภูมิปัญญา ตลอดจนมีการ ติดตาม ประเมนิ ผลทุกขนั้ ตอน จึงทา้ ให้สามารถพัฒนาผ้เู รยี นไดบ้ รรลตุ ามตัวช้ี วัดความสาเรจ็ ของโครงการ ๑๓.ขอ้ เสนอแนะ ๑๓.๑ ควรส่งเสริมใหม้ ลี วดลาย และมรี ูปแบบของชนิ้ งานใหม้ ากกวา่ นี้ ๑๓.๒ ควรเผลแพรแ่ ละประชาสมั พันธ์ให้ผสู้ นใจสามารถศกึ ษาข้อมลู วธิ กี ารทาย่ามลาวโซง่ ทางส่อื ออนไลน์ ตา่ งๆ ๑๓.๓ พัฒนาผู้เรียนเพ่ิมช่องทางในการจาหน่ายสินค้าผ่านออนไลน์ เช่น ร้านค้าออนไลน์ Facebook Youtube ฯลฯ ๑๔.เอกสำรอำ้ งอิง นโยบายและจุดเน้นการดาเนนิ งาน สานกั งาน กศน. ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ [ระบบออนไลน์]. เข้าถงึ ไดจ้ าก : http://chumphon.nfe.go.th/chumphonnfe/UserFiles/File/Policy/ONIE_Pol ๖๒_Web.PDF (วนั ท่ีค้นข้อมลู ๑๓ สงิ หาคม ๒๕๖๒) แนวทางการนาเสนอแนวปฏบิ ตั ทิ ี่ดี[ระบบออนไลน์]. เข้าถงึ ได้จาก : http://www.lertchaimaster.com /doc/NNFE-Best-Practice.pdf (วันทีค่ น้ ขอ้ มลู ๑๓ สิงหาคม ๒๕๖๒)

ภำคผนวก

ภำพกำรดำเนินงำน Best Practice กำรดำเนินกำรดำ้ นศูนย์ฝกึ อำชพี ชมุ ชน “หลักสูตรกำรทำย่ำมลำวโซง่ ” การจัดเวทีประชาคม เพื่อนามาวางแผนจัดกิจกรรมท่ีสอดคล้องกับสภาพบริบท ศักยภาพของ ชุมชน ปญั หา และความต้องการท่ีแทจ้ ริงของประชาชน การดาเนินการจัดกิจกรรมศนู ยฝ์ ึกอาชพี ชุมชน หลกั สตู ร การทาย่ามลาวโซ่ง

2


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook