Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Chapter 2

Chapter 2

Published by Thanadee Suriyachanhom, 2019-06-18 10:39:53

Description: Chapter 2

Search

Read the Text Version

สรปุ ทฤษฎีของฟรอยด์ บคุ คลใดพัฒนาไปตามขัน้ ตอน ก็จะทา ให้บุคคลน้นั มพี ฒั นาการบุคลกิ ภาพที่ สมบรู ณ์ หากไมเ่ ปน็ ไปก็จะเกิดสภาวะ ตดิ ตรึง มผี ลต่อพัฒนาการดา้ น บคุ ลิกภาพตอ่ ไป

ทฤษฎพี ฒั นาการทางสงั คมของ อีรคิ สนั

ทฤษฎีพัฒนาการทางสงั คมของ อีริคสนั Erikson เปน็ จติ แพทย์ชาวอเมริกัน ได้รบั การฝึกการ วิเคราะหจ์ ติ จากฟรอยด์ เมอ่ื กลับไปอเมริกากไ็ ดค้ น้ พบวา่ สิ่งแวดล้อมทางสังคมมอี ิทธพิ ลต่อการรูค้ ิดท่ีมตี อ่ ตนเอง ความร้สู ึกนี้มอี ิทธิพลต่อการกาหนด บคุ ลิกภาพของบุคคลต่อมาจงึ เรียกวา่ “ทฤษฏีจติ -สงั คม”

แนวคิดของอรี คิ สันยงั จัดอย่ใู นกล่มุ จติ วิเคราะหท์ ่มี ี รากฐานมาจากฟรอยด์ แตม่ ีความคดิ ทแ่ี ตกตา่ งจาก ฟรอยด์ เช่น การใหค้ วามสาคัญของ Egoมากกว่า Id ผู้ทม่ี ี สุขภาพจติ ดีในทัศนะของอรี ิคสัน หมายถึง คนทสี่ ามารถ เผชญิ กับปัญหาและสามารถตัดสินใจได้

พฒั นาการของคนจะดาเนนิ ตั้งแตค่ ลอดจนตลอด ชีวติ โดยแบง่ พฒั นาการออกเปน็ 8 ขั้น แตล่ ะขั้นจะมี ช่วงวิกฤติ (ซึ่งในการสอน นาเสนอเพียง 5 ขนั้ )

ถ้าช่วงใดบุคคลได้รบั การอบรมเลี้ยงดูดีอยใู่ น สิง่ แวดล้อมดี กจ็ ะมีผลทาให้บคุ ลกิ ภาพช่วงนัน้ สมบูรณ์ พัฒนาการในขน้ั แรกจะมผี ลตอ่ การพฒั นาในขัน้ ต่อไป แตก่ ็มิไดห้ มายความวา่ จะพฒั นาเป็นไปอย่างอนื่ ไมไ่ ด้

1.ข้ันไวว้ างใจ-ไม่ไวว้ างใจ 0-1 ปี เป็นวยั ทเี่ ดก็ ยงั ชว่ ยตวั เองไมไ่ ด้ ยงั ตอ้ งพง่ึ พาผู้เลย้ี งดูถา้ หากเขาไดร้ ับความเอาใจใสอ่ ยา่ งอบอ่นุ เด็กจะคดิ วา่ โลกใบนีน้ า่ อยู่ ปลอดภยั จะทาใหเ้ ดก็ พฒั นาความเชื่อถอื และไวว้ างใจผอู้ ่ืน

1.ข้นั ไวว้ างใจ-ไมไ่ วว้ างใจ 0-1 ปี ถา้ เดก็ ถูกทอดทง้ิ หรอื ทา่ ทขี องผ้เู ลยี้ งดูไมค่ งเส้นคงวา เด็กจะพฒั นาความไมไ่ วว้ างใจตอ่ บคุ คลอน่ื เหน็ แกต่ วั ทาอะไร เพอื่ ตนเอง ซง่ึ จะมผี ลตอ่ ไปวยั ผใู้ หญ่ สงิ่ สาคัญทจ่ี าเปน็ ตอ้ ง คานึงถงึ ระยะน้คี อื “สมั พนั ธภ์ าพระหวา่ งแมล่ ูกเปน็ สงิ่ สาคญั ยง่ิ กว่าปรมิ าณของอาหาร”



2.ขัน้ เป็นตวั ของตัวเอง-ไมม่ นั่ ใจในตวั เอง 2-3 ปี เปน็ วยั ทเ่ี ด็กเรมิ่ หดั เดินและพ่งึ พาตนเอง เป็นช่วงทมี่ ี การพฒั นาการด้านความเปน็ อิสระ เปน็ วยั แห่งการทดลอง ถ้า หากเดก็ ไดร้ ับการสนับสนุนใหก้ าลงั ใจอยา่ งเหมาะสม ไมป่ ลอ่ ย หรอื ปกปอ้ งมากเกินไป เด็กจะพัฒนาความเปน็ ตัวของตวั เอง มคี วามเชื่อมนั่ ในตนเอง

2.ขั้นเปน็ ตัวของตวั เอง-ไมม่ น่ั ใจในตัวเอง 2-3 ปี ถ้าเด็กไมม่ โี อกาสทดลองทาเองโดยทผี่ ู้ใหญค่ อยทาให้ หรอื คอยหา้ ม โดยเฉพาะใชค้ าว่า “อยา่ ” กบั เดก็ เสมอๆเด็ก กจ็ ะขาดความมน่ั ใจในตนเองและร้สู กึ ว่าตนไรค้ า่

คาถาม : เพราะเหตใุ ด พอ่ แม่จึงมักพูดคาวา่ ห้าม อยา่ ไม่ บ่อยครง้ั กับเดก็ ๆวยั นี้ ?

3.ขนั้ มคี วามคดิ ริเร่ิม-ความรู้สึกผิด 4-5 ปี ถ้าเดก็ ไมไ่ ดร้ บั การตอบสนอง เพราะผู้ใหญไ่ มม่ เี วลา ให้กบั เดก็ คอยหา้ มไมใ่ ห้เด็กทาในสง่ิ ทสี่ นใจ ทาให้เดก็ รูส้ ึกผดิ (Guilt) ไม่ กลา้ ซักถาม หรอื ไม่ กลา้ แสดงความคิดเหน็ ต่อไป ทา ให้ความคิดสร้างสรรค์หยดุ ชะงัก



4. ขั้นมีความขยันหมั่นเพยี ร-ความรู้สกึ ตา่ ต้อย 6-11 ปี เปน็ วยั ทเี่ ด็กตอ้ งการเปน็ ทยี่ อมรบั ของผอู้ ่นื (เป็นวัยท่ี พัฒนาการดา้ นสตปิ ญั ญาอยใู่ นระดับเขา้ ใจกฎ และ ใช้ความคิดหา เหตผุ ล) จึงพยายามคดิ ทา สง่ิ ตา่ งๆทเ่ี ปน็ ผลงาน ผู้ใหญค่ วรชมเชย ในความพยายามทางานของเดก็ สงิ่ ทีเ่ ด็กทาออกมาจะทาใหเ้ ดก็ รู้สกึ นบั ถอื ตนเอง ภมู ิใจ เกดิ แรงจงู ใจในการทางาน



4. ขน้ั มีความขยนั หมน่ั เพียร-ความรสู้ กึ ตา่ ตอ้ ย 6-11 ปี ในทางตรงขา้ ม หากเด็กทาอะไรแลว้ ผใู้ หญไ่ มช่ มเชยไม่ สนใจ ไม่ใหก้ าลงั ใจ เดก็ จะเกดิ ความรสู้ ึกตา่ ตอ้ ย มีปมดอ้ ย ช่วยเหลอื ตวั เองไมไ่ ด้ อีกทัง้ มองความสามารถของตนตา่ กวา่ ความ เปน็ จรงิ

การเปรยี บเทยี บไมไ่ ดท้ าใหล้ ูกเกดิ แรงฮึดสู้!

5. ข้นั แสวงหาเอกลกั ษณ-์ ความสบั สนในบทบาท 12-18 ปี เป็นชว่ งวัยร่นุ ทก่ี าลังแสวงหาเอกลกั ษณข์ องตนเอง ถ้าเดก็ วยั นย้ี งั หาเอกลกั ษณข์ องตนไมพ่ บ จะเกดิ ความสบั สนในบทบาท อาจทาอะไรตามกลมุ่ เพอ่ื นเพอื่ ไมใ่ หร้ ูส้ กึ วา่ ตนโดดเด่ียว

5.ขั้นแสวงหาเอกลกั ษณ์-ความสบั สนในบทบาท 12-18 ปี แต่ถา้ เด็กผา่ นพน้ ทง้ั 4 ขัน้ มาอย่างดกี จ็ ะร้สู กึ ถึงความ ต้องการ ความสามารถของตนเอง อยา่ งไรกต็ ามวยั รนุ่ กย็ งั ตอ้ ง เผชญิ กบั การเปลยี่ นแปลงทง้ั ทางรา่ งกาย การคาดหวงั จากสงั คม กับส่งิ แวดลอ้ มทแ่ี ปลกใหม่ ผูใ้ หญ่ควรให้ความสนับสนุน ส่งเสริม เด็กให้แสดงออกใหถ้ กู ทาง วัยร่นุ ทข่ี าดเอกลกั ษณจ์ ะไมเ่ ขา้ ใจ ตนเอง ไม่รู้ความตอ้ งการของตน ส่งผลทาให้บคุ ลิกภาพไมส่ มบรู ณ์

วยั รุ่นทแ่ี สวงหาเอกลักษณข์ องตนเองพบ และผู้ปกครองสนบั สนนุ

วยั รุ่นทแ่ี สวงหาเอกลักษณข์ องตนเองพบ และผู้ปกครองสนบั สนนุ

วยั รุ่นทแ่ี สวงหาเอกลักษณข์ องตนเองพบ และผู้ปกครองสนบั สนนุ

วยั รุ่นทแ่ี สวงหาเอกลักษณข์ องตนเองพบ และผู้ปกครองสนบั สนนุ

สรุปทฤษฎีบุคลกิ ภาพของอีรคิ สนั พัฒนาการตามคดิ ของอรี คิ สนั ให้ความสาคญั กบั ส่ิงแวดลอ้ ม และ การปรบั ตวั ของบุคคลใหเ้ ขา้ กับสิ่งแวดลอ้ ม ในแต่ละขั้น จะก่อใหเ้ กดิ ผลตอ่ บคุ คลนน้ั โดยสร้าง คณุ ลักษณะต่างๆประจาบุคคล อาจเป็นคณุ ลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค์ หรือไม่พงึ ประสงค์ ล้วนเป็นอทิ ธพิ ล ของการปรบั ตวั ตอ่ สงิ่ แวดลอ้ ม ตอ่ สงั คม ทีเ่ ก่ยี วขอ้ งนน่ั เอง

ทฤษฎพี ฒั นาการ ทางสตปิ ญั ญา piaget’s

ประวตั แิ ละผลงาน เปียเจท์ เป็นนกั จิตวิทยาชาวสวิช เคยทางานร่วมกบั บิเนท(์ Binet) เปยี เจยพ์ บวา่ วธิ คี ดิ และการให้เหตุผลของเดก็ มีความแตกตา่ งจากผู้ใหญ่ โดยเร่ิมศึกษาจากบุตรหญงิ และ บตุ รชายของเขาเองท้งั สามคน จนสร้าง “ทฤษฎพี ฒั นาการทางดา้ นสตปิ ัญญาและ ความคิดของเด็ก” ขึ้นเมื่อปคี .ศ.1924 เปน็ ท่ียอมรบั ของ นักจติ วิทยาและนกั การศึกษาทว่ั ไป เพราะทาใหเ้ กดิ ความ เข้าใจเกย่ี วกับความรคู้ วามเขา้ ใจของเด็กต้งั แต่แรกเกิดจนถงึ วยั รุ่น

ความเชอ่ื .......ของทฤษฎีนี้ การเรียนรขู้ องเดก็ เกิดจากการปะทะของส่ิงแวดล้อม ถ้าเด็กมีโอกาสปะทะกบั สง่ิ แวดล้อมมากๆ ยอ่ มทาใหเ้ กิด การเรยี นรู้มาก เด็กทีอ่ ยู่ในส่ิงแวดล้อมจากัด โดยไมเ่ ปลี่ยนแปลง การเรยี นร้ยู ่อมเกิดไดน้ ้อย ประสบการณ์ในการปะทะกับ สิ่งแวดลอ้ ม จะทาใหเ้ กดิ พัฒนาการทางด้านสติปัญญาข้ึน

กระบวนการทางสตปิ ญั ญามี 2 ลักษณะ 1. กระบวนการจดั ระบบ ในการแสดงพฤติกรรมการเรียนรูใ้ ดๆกต็ าม บคุ คลจะมี การรวมกระบวนการตา่ งๆเข้าเปน็ ระบบ เช่น การท่เี ดก็ สามารถทากิจกรรม 2 อยา่ งได้ในเวลาเดียวกัน

2. กระบวนการปรับตวั โดยปกติมนุษยเ์ ราจะมีการปรบั ตัวให้เข้ากบั สิ่งแวดล้อม ตลอดเวลา เม่ือมีการปะทะสมั พนั ธก์ ับส่งแวดล้อม การปรับตวั ก็ มี 2 กระบวนการย่อย คอื การดูดซึม (Assimilation) การปรับความตา่ ง (Accommodation)

ผงั ของพฒั นาการความร้คู วามเขา้ ใจ ขัน้ ท1่ี ขั้นท่ี 2 ข้นั ท่ี 3 ขน้ั ที่ 4 มี 6 ขัน้ ย่อย มี 2 ขัน้ ย่อย ไม่มี... ขัน้ ย่อย

ขั้นท่ี 1 Sensory motor พฤตกิ รรมการเรียนรขู้ องเดก็ วยั น้จี ะมี ลกั ษณะของการใชป้ ระสาทสมั ผัสการการเคลื่อนไหว ในการ ตอบสนองต่อส่ิงเรา้ ถา้ จะสอนเดก็ วัยนี้ควรให้เดก็ ไดม้ โี อกาสสมั ผสั จับต้องสิ่งของตา่ งๆด้วยตนเองมากๆ และ ทาใหด้ ูบอ่ ยๆซา้ ๆจนเดก็ สามารถดดู ซมึ ประสบการณไ์ ด้

พัฒนาการด้านการรู้คิดในลักษณะของวัยน้ี เรียกวา่ ....... “ Out of sight ,out of mind ” ทารกจะเอาใจใสเ่ ฉพาะตนเองยดึ ตนเองเปน็ ศนู ยก์ ลาง

ขั้นท่ี 2 ขน้ั เตรียมการ แยก ออกเปน็ ขน้ั ย่อยๆได้ 2 ขนั้ ข้นั ที่ 2 ระยะกอ่ นเขา้ ใจ ระยะความคิดสรา้ งสรรค์

ขัน้ เตรียมการ 2 Preoperational (2 - 7 ปี) ทเ่ี รยี กเช่นนก้ี เ็ พราะเปน็ ระยะทเี่ ดก็ ยงั ใช้ความคดิ ในการแกป้ ัญหา ไดไ้ มเ่ ต็มที่ แบ่งออกเปน็ 2 ระยะ ระยะก่อนเขา้ ใจ เกิดขึ้นในเด็ก 2-4 ปีเปน็ ระยะท่เี ดก็ มีเหตุผลเป็นของตนเองทย่ี งั ไมส่ มเหตสุ มผล ไม่เข้าใจเร่ืองการคงตัว ของสสารทเ่ี ปลยี่ นรปู รา่ ง

แต่ถ้าเปน็ วยั ระยะกอ่ นเข้าใจจะอยู่ในกรอบสีฟา้ เนื่องจากเด็กไม่ สามารถแยกหมวดหมไู่ ด้ เดก็ จะเข้าใจตามทเ่ี หน็ จรงิ อะไรที่เหมอื นกนั ใหจ้ ัดไวด้ ้วยกนั

ไมส้ องอนั นีเ้ ทา่ กนั หรอื ไม่.... ถามเด็กอีกคร้ัง....^^ ไมส้ องอนั นีเ้ ทา่ กนั หรอื ไม่....?

ระยะความคดิ สรา้ งสรรค์ เกิดกบั เด็ก 4-7ปี เปน็ ระยะทเี่ ดก็ มเี หตผุ ลคล้ายผูใ้ หญ่ เร่มิ มคี วามคิด สร้างสรรค์ ชอบซกั ถามและชอบเลยี นแบบพฤตกิ รรมของผ้ใู หญ่ ยอมรบั กฎเกณฑม์ ากขึ้น ทางานร่วมกับผใู้ หญไ่ ด้ สามารถแปลความคดิ เปน็ ภาษาให้ ผู้อื่นรบั ร้ไู ด้

ขนั้ 3 Concrete Operation ขน้ั เรยี นรดู้ ว้ ยรปู ธรรม (7 - 11 ป)ี เด็กวยั นส้ี ามารถพฒั นาความคดิ อย่างมเี หตุผล สร้าง ภาพในใจได้ สามารถเลา่ เรื่องราวจากประสบการณจ์ ริง และผูกเรือ่ งเปน็ ความเรียงได้ เข้าใจเรอ่ื งการคงตัวของสสารท่ีเปลี่ยนรูปร่าง แต่ยงั คงปรมิ าณ และน้าหนกั เท่าเดิม สามารถเขา้ ใจ ความคดิ ยอ้ นกลับ (Reversibility) เดก็ เขา้ ใจในเร่ืองของ มิติเวลา เขา้ ใจเรอ่ื ง การเปรียบเทียบ จัดหมวดหมู่ หรือ การแยกประเภทได้ ^ ^

ดนิ น้ามนั กอ้ นเดียวกนั ถึงแม้จะ เปลย่ี นรูปรา่ งไปเดก็ กย็ ังรับรู้วา่ มี ปริมาณที่เทา่ เดิม

1.การเกิดภาพในใจ ในขนั้ นี้เดก็ สามารถวาดภาพ ความคดิ ในใจได้ ขน้ั แตกต่างจากเดก็ ในขนั้ ต้นๆ ดังจะเห็นไดจ้ าก ถา้ หาก จะถามเด็กอายุ 5 ขวบ หลังจากกลบั จากโรงเรยี นใกลๆ้ บา้ น ให้บอกทางไป โรงเรยี น เดก็ 5 ขวบไมส่ ามารถบอก ได้

2.การคงท่ีของสสาร ในขั้นนี้เด็กสามารถท่ี จะบอกได้วา่ จานวน ของเหลวหรอื ของแขง็ จะ คงท่ี แมว้ า่ จะเปล่ียนรปู ร่าง ซง่ึ ความสามารถในขน้ั นเ้ี ด็ก ในข้ันแรกยงั ทาไมไ่ ด้

3. ความสมั พนั ธ์ ขาวเหมอื น…. ในข้ันนเี้ ด็ก สามารถเปรียบเทยี บ และเข้าใจ สงิ่ ใดใหญ่กวา่ มากกวา่ นอ้ ยกวา่ ข้นึ อยู่ กับว่าเปรียบเทยี บกบั อะไร อีกทั้งเข้าใจ ความหมายของส่วนย่อย และสว่ นรวม

4. การแบง่ กลมุ่ หรือ หมวดหมู่ ในขั้นนเี้ ดก็ สามารถที่ จะต้ังเกณฑใ์ นการแบ่งหรือจัด สง่ิ แวดล้อมรอบๆตวั ของเปน็ หมวดหมูไ่ ด้



5. จดั ลาดบั กอ่ นหลงั ในข้ันน้ีเด็กสามารถจดั ของ ตามลาดบั ความหนัก หรอื ความยาว ได้ สามารถเรยี งขนาดของไม้ ตามลาดับความยาวได้ เกิดความคิด เกย่ี วกับความสัมพันธ์ของตวั เลขได้

รถประเภทไหนหนักกวา่ กนั ?

จงเรยี งแทง่ ไม้จากตามลาดบั ความยาว จากส้นั ไปหายาว 1 2 3 46 5 7 8

ขนั้ ท่ี 4 ขนั้ เรยี นร้สู ิง่ ท่เี ป็นนามธรรม Formal Operation วัยนี้ 11-15 ปี เปน็ ระยะที่เด็กมีพฒั นาการด้านความรู้ ความคิดในระดับสงู สดุ สามารถเรียนรสู้ ่งิ ตา่ งๆทง้ั ทเี่ ป็นรปู ธรรมและ นามธรรม สามารถคดิ อย่างมเี หตุผล พอใจทจ่ี ะใชค้ วามสามารถในการ แก้ปัญหา ข้นั นี้ตามปฏิทนิ พัฒนาการตรงกบั วัยรุ่น เดก็ จะกลบั ไปยึด ตนเองเปน็ ศนู ย์กลางอีกครั้ง (adolescent egocentrism) ประกอบดว้ ยสองประการ....

ประการที่ 1 เป็นความคิดของวัยร่นุ ท่ีครอบงาความคดิ ของตนเอง วัยรนุ่ เชื่อว่าคนอ่นื กค็ รุ่นคิดเกยี่ วกับหนา้ ตาและพฤติกรรมของตัวบุคคล วยั ร่นุ ทปี่ รากฏยู่ และ ดว้ ยเหตนุ ้ี วยั รนุ่ จึงจนิ ตนาการใหม้ ีผูเ้ ฝ้าดู ข้ึนมาในจินตนาการ ทาให้วยั รนุ่ เกิดความเครยี ด


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook