Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Chapter 5.2 Counseling

Chapter 5.2 Counseling

Published by Thanadee Suriyachanhom, 2019-06-21 00:18:08

Description: Chapter 5.2 Counseling

Search

Read the Text Version

Counseling การปรึกษาเชิงจิตวทิ ยา

consult advice Counseling การปรึกษา การปรึกษา พูดคุย การ การปรึกษา ผเู้ ช่ียวชาญในเรื่อง ใหข้ อ้ มูล การให้ ผเู้ ชี่ยวชาญเพ่ือพดู คุย น้นั ในเฉพาะ โดย ทบทวน ตระหนกั ถึง เรื่องท่ีปรึกษาจะตอ้ ง แนวทาง ครูพ่เี ล้ียงกบั เป็นเรื่องที่ตอ้ งอาศยั นกั ศึกษาฝึกสอน ปัญหาที่เกิดข้ึน ความเช่ียวชาญจาก สามารถเปลี่ยนแปลง ความคิด ทศั นคติได้ บุคคลอื่น ดว้ ยตนเอง

Counseling การปรกึ ษาเชิงจติ วทิ ยา เปน็ กระบวนการของสมั พันธภาพระหวา่ งผู้ ให้บรกิ ารปรึกษา(ซง่ึ เป็นนักวิชาชพี ทีไ่ ดร้ บั การฝกึ ) กบั ผู้รบั บริการ ซ่งึ ต้องการความชว่ ยเหลอื เพ่อื ให้ผู้รบั เขา้ ใจ ตนเอง เข้าใจสง่ิ แวดลอ้ มเพม่ิ ขึน้ ปรับปรุงทกั ษะการ ตดั สนิ ใจ ทักษะการแก้ปญั หาตลอดจนปรับปรุง ความสามารถในการท่จี ะทาใหต้ นเองพัฒนาขึ้น วชั รี ทรพั ย์มี (2533:5)

หลกั สาคญั ท่ีเกย่ี วกบั การให้คาปรึกษา มีดังน้ี 1. บริการให้คาปรึกษามิไดม้ งุ่ ใหค้ าปรึกษาแก้ปัญหาอันหนึง่ ท่กี าลงั เผชิญอยู่ ไปได้อย่างเรยี บร้อยแตจ่ ะมงุ่ ให้เกิดการเปลยี่ นแปลงบคุ ลิกลกั ษณะหรือ การเปลย่ี นแปลงพฤติกรรมชนดิ ถาวร เพอื่ จะไดร้ ู้จกั แกป้ ญั หาทอ่ี าจจะ เกิดขน้ึ ในอกี เวลาต่อไป 2. ผรู้ ับคาปรกึ ษาจะเปลย่ี นพฤตกิ รรม เมื่อไดค้ ดิ พจิ ารณาปัญหาของตนดว้ ย ตวั เองมากกวา่ ทผ่ี ู้ใหค้ าปรกึ ษาจะหาวิธีแก้ปัญหาให้ หนา้ ที่ของผใู้ ห้ คาปรึกษา ก็คือช่วยทาให้ผรู้ ับบริการหนั มาพิจารณาปญั หาทเี่ กดิ ขน้ึ กบั ตนเอง

3. การใหค้ าปรึกษามุ่งทจ่ี ะทาให้เกิดการเปลยี่ นแปลงเจตคติมากกวา่ การ เปลี่ยนแปลงพฤตกิ รรมหรือการกระทา เพราะการกระทาจะเปล่ยี นแปลง มากอย่างแท้จรงิ ไม่ได้ ตราบใดที่เจตคติยงั ไมเ่ ปล่ยี นแปลง

4. ปัญหาท่ีนกั เรียนมักนามาขอรับบรกิ ารมักไมใ่ ช่เร่ืองทล่ี ึกซงึ้ สลบั ซับซ้อนมากนกั แตจ่ ะเปน็ เรอ่ื งท่เี ก่ยี วขอ้ งกบั อารมณผ์ ูกพันจน ทาใหไ้ มส่ ามารถจะพิจารณาปัญหานน้ั ด้วยเหตุผล หน้าท่ขี องผ้ใู ห้ คาปรึกษา คอื พยายามชว่ ยให้ผ้ขู อรบั คาปรกึ ษาปัดอารมณอ์ อกไป เสยี จากการพจิ ารณาปญั หา

ขอบข่ายของการใหค้ าปรกึ ษา 1.ปญั หาด้านการศกึ ษา ช่วยให้ผรู้ บั คาปรกึ ษาได้รบั ความร้คู วามเขา้ ใจเก่ยี วกับ แนวทางในการศกึ ษา วางอนาคตของชวี ิตทางการศึกษาที่จะส่งผลตอ่ การประกอบอาชพี ในภายหน้า

ขอบขา่ ยของการใหค้ าปรกึ ษา 2.ปัญหาด้านอาชีพ ช่วยใหผ้ ู้ทม่ี ีปัญหาเกี่ยวกับอาชพี สามารถเข้าถึงโลกของงาน อาชพี เขา้ ใจถงึ โอกาสในการประกอบอาชพี การเลอื กอาชีพทีเ่ หมาะสม กบั คุณสมบัติ คุณลักษณะของตนเอง ตลอดถึงความสุขใจในการ ประกอบอาชีพ

ขอบข่ายของการใหค้ าปรกึ ษา 3.ปัญหาดา้ นสว่ นตัวและสงั คม ช่วยให้ผูท้ ี่มารบั คาปรึกษาปรบั ตวั ไดด้ ขี ้นึ ในขณะดาเนนิ ชีวิต อยใู่ นครอบครัว ในท่ที างาน หรือในโรงเรียน การปรึกษาจะชว่ ยให้ บุคคลน้ันมสี ขุ ภาพจิตที่ดี เขา้ ใจตนอง ยอมรบั ตนเองและยอมรบั ผู้อ่ืน ได้มากขนึ้

เทคนิคของการให้คาปรกึ ษา 1.การเรมิ่ ตน้ ใหค้ าปรกึ ษา การเริ่มตน้ ใหค้ าปรกึ ษาจาเปน็ ต้องอาศยั เทคนคิ ในการเร่ิมต้น นาเข้าสกู่ ารสนทนา เพ่อื ให้เกดิ บรรยากาศทอ่ี บอุน่ เปน็ กนั เองในการให้ คาปรกึ ษาโดยใชป้ ระโยคตวั อยา่ งเหลา่ น้เี ปน็ การเรมิ่ ตน้ “เป็นอย่างไร มีอะไรที่รู้สกึ อดึ อดั ใจไหม”

เทคนิคของการให้คาปรกึ ษา 2.การตั้งคาถาม ผู้ให้คาปรกึ ษาสามารถใช้คาถามเพือ่ ให้ไดข้ อ้ มลู ทีเ่ ก่ียวข้องกับ ภูมหิ ลังผรู้ บั คาปรกึ ษา “เปน็ อยา่ งไร มีอะไรท่รี สู้ กึ อึดอัดใจไหม”

ทาแบบฝกึ หดั ….ทาในคาบเรยี น 5 PG

เทคนคิ ของการใหค้ าปรกึ ษา 3.การฟัง เปน็ ส่ิงสาคญั สาหรบั ผใู้ ห้คาปรกึ ษา การฟงั เป็นเทคนคิ ทต่ี ้อง อาศัยความอดทนและใช้สมาธเิ ปน็ อยา่ งมาก เพราะในระหว่างการให้ คาปรกึ ษานั้น ผ้ใู ห้การปรกึ ษามิใช่รบั ฟังแต่เรอ่ื งราวทีเ่ ลา่ ออกมาเทา่ นนั้ แต่ต้องทาความเข้าใจถึงความรสู้ ึกของผู้รับคาปรึกษาพรอ้ มรบั อารมณ์ ไปดว้ ย

ทาแบบฝกึ หดั ….ทาในคาบเรยี น 5 PG

เทคนคิ ของการให้คาปรกึ ษา ในขณะทผี่ ู้รบั คาปรกึ ษากาลังฟัง ผ้ใู หค้ าปรึกษาจาเป็นต้อง แสดงความเอาใจใส่ ซึ่งแสดงออกดว้ ยการสบตา หรอื พยักหน้าเล็กน้อย ในขณะท่ีรบั ฟงั หรอื พดู เสรมิ ขึน้ ภายหลังจากทผ่ี ้รู บั คาปรกึ ษาพดู จบ “เธอกาลังรสู้ กึ ไม่ดกี บั เร่ืองนี้”

ข้อควรคานงึ การใหค้ าปรกึ ษา 1.ถา้ มกี ารนดั หมายลว่ งหน้า ผใู้ ห้คาปรึกษาควรศกึ ษาขอ้ มูลเกย่ี วกับผู้ ขอคาปรกึ ษาไว้กอ่ นเพอื่ ทาความเขา้ ใจเบ้อื งต้น 2.ควรเก็บงานทอี่ ยู่บนโต๊ะให้เรยี บรอ้ ยเพื่อมิให้ผ้รู บั คาปรึกษารู้สกึ ไม่ สบายใจ 3.สถานที่ ควรเปน็ ท่สี ว่ นตวั ไม่เสยี งดงั หรอื มคี นผา่ นไปมา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook