Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Chapter 5

Chapter 5

Published by Thanadee Suriyachanhom, 2019-06-23 10:53:46

Description: Chapter 5

Search

Read the Text Version

บทท่ี 5 ความรเู้ บ้อื งต้นเกย่ี วกับ จติ วทิ ยาการแนะแนว อ.ธนะดี สุริยะจนั ทร์หอม

เนือ้ หาในบทนี้ นักศึกษาจะได้ความรเู้ กีย่ วกบั ความหมายของการแนะแนว ประโยชน์ของการแนะแนวกบั ครผู ้สู อน หลกั การแนะแนว ประเภทของการแนะแนว บริการท้ัง 5 การตดั สิน การวดั ผล

ประโยชนข์ องการแนะแนวกับครูผูส้ อน การแนะแนวช่วยให้การสอนของครู และ ช่วยให้ การศึกษามีประสิทธิภาพยิง่ ข้นึ เพราะการแนะแนวทาให้ครไู ด้ ร้จู กั นักเรียนในทุกๆด้าน จึงทาให้ครสู ามารถจดั กิจกรรมและ ประสบการณ์ต่างๆในการเรียนร้ใู ห้แก่นกั เรียนได้อย่างถูกต้อง และเหมาะสมกบั พฒั นาการ ความต้องการ และป้องกนั ไม่ให้ เกิดปัญหาทางด้านการปกครองด้วย

การแนะนา แตกต่างจาก การแนะแนว อย่างไร ?

ความหมายของการแนะแนว Guidance หมายถึง กระบวนการช่วยเหลือบุคคลให้เข้าใจตนเองและ สิ่งแวดล้อม สร้างเสริมให้ผู้เรียนมีคุณภาพเหมาะสมตามความแตกตา่ ง ระหว่างบคุ คล ค้นพบและพัฒนาศกั ยภาพของตน มีทกั ษะการดาเนินชีวิต มีวุฒิภาวะทางอารมณ์ รู้จักคิด ตัดสินใจ แก้ปญั หาในช่วงวิกฤติ สามารถวางแผนการศึกษาต่อ ประกอบอาชีพ และสามารถ ปรับตัวได้อย่างมีความสขุ ในชีวิตได้พัฒนาตนเองให้ถึงขีดสุด ในทุกด้าน อา้ งอิงจาก:จากวกิ ิพีเดีย สารานุกรมเสรี

หลักการกิจกรรมแนะแนว เนน้ จดั ให้สอดคลอ้ งกับสภาพปัญหา ค.ต้องการ ค.สนใจ ธรรมชาติของผู้เรียน และ วิสัยทศั น์ของสถานศึกษา เน้นผ้เู รียนเปน็ สาคญั ผเู้ รียนมีสว่ นรว่ มในการปฏิบัติ กิจกรรม จนเกิดการเรียนรูแ้ ละเกิดทกั ษะชีวิต โดยมีครผู ู้รับผิดชอบ จัดกิจกรรมและประสานความรว่ มมือกบั ครหู รือผมู้ ีสว่ นเกีย่ วข้อง

วตั ถปุ ระสงค์ แก้ กนั ก่อ

วตั ถปุ ระสงค์ เปน็ การจัดกิจกรรมเพือ่ ป้องกัน เสริมสร้างความเข้มแขง็ ทางจิตใจ กนั ทัศนะการมองโลก การปรับตัวใหเ้ ข้า กับสังคม เพื่อให้นักเรียนดูแลตนเอง ได้ มีความภาคภมู ใิ จในตนเอง ตระหนักในความสาคญั ของการรัก ตนเองและผู้อื่นอย่างเหมาะสม

วตั ถปุ ระสงค์ เปน็ กจิ กรรมทีเ่ นน้ การเสรมิ สร้าง ในสมถรรนะ ที่นักเรียนยังไม่ได้ถูกเตมิ เต็ม หรือเปน็ ความสามารถใหมๆ่ ที่ครูเหน็ วา่ นักเรียนควร ได้รับการเสริมให้มเี พือ่ นาไปใช้ในอนาคต ทั้ง ตอ่ ตนเองและผู้อน่ื ก่อ

วตั ถุประสงค์ แก้ เป็นกิจกรรมที่จัดข้นึ เพอ่ื ช่วยเหลือนักเรียนทีม่ ีปัญหา ตรวจสอบแกไ้ ขพฤติกรรมทีไ่ ม่พึง ประสงค์และหาแนวทางการ ชว่ ยเหลือ ปรับเปลีย่ นความคิดที่ ส่งผลกระทบด้านลบกับการใช้ ชีวิตของนักเรียน

ข่ายของกิจกรรมแนะแนว มงุ่ ส่งเสริมพัฒนาผ้เู รียนใหพ้ ัฒนาตนเองอยา่ งเตม็ ตาม ศักยภาพ โดยครอบคลุมท้ัง 3 ด้าน การศึกษาและ ดา้ นการงาน ด้านชีวิต การศึกษาต่อ และอาชีพ และสังคม

1. ดา้ นการศึกษาและการศึกษาต่อ การศึกษา เปน็ การจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมใหผ้ ้เู รียนไดพ้ ัฒนาศกั ยภาพในการเรียนรู้ ให้เพิ่มขึน้ ในทกุ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ และ สามารถปรับตนเองให้เขา้ กบั การ เรียนในแต่ละรายวชิ าไดเ้ หมาะสมกบั ตนเอง การศึกษาตอ่ เปน็ การจดั กจิ กรรมที่ช่วยให้ผูเ้ รียนไดร้ ับข้อมลู สารสนเทศเกี่ยวกับการ เรียน สามารถเขา้ ใจคณุ สมบตั ิของบุคคลที่จะศึกษาต่อ และ วางแผนทาง การศึกษาได้อยา่ งเหมาะสม

ชว่ ยชใหว่ ยน้ ใักหเน้รยีกั นเรทียรนาทบรขา้อบมเทลู เคกนย่ี คิ ววกธิ าีกราศรึกเษรยี านตอ่ การเพิ่มศักยภาพในการเรยี น

2. ดา้ นการงานและอาชีพ การงาน คือ การชว่ ยให้ผู้เรยี นได้วางแผน และ การตดั สินเกีย่ วกับอาชีพท่ี เหมาะสมกบั ความสามารถ ความถนัด ความสนใจ รจู้ ักวธิ กี ารแสวงหางาน วิธีการสมัครงาน วิธีปรบั ตวั ให้เข้ากบั งานและวธิ กี ารปฏิบัติตนให้มคี วาม เจรญิ กา้ วหน้าในการทางาน อาชีพ คือ การให้ข้อมูลสารสนเทศเกย่ี วกับสภาพ และ ลกั ษณะของงาน เพื่อ ชว่ ยให้นักศกึ ษา มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาชีพตา่ งๆที่มอี ยใู่ นทอ้ งถ่นิ และ ในโลกกว้าง

การใหข้ อ้ มูลเกี่ยวกบั วธิ ีการเตรียมตวั สมคั รรงาน การใบหุครข้ลอ้ิกมภูลาพเกที่ย่ีเวหกมบั าละกักษบั ณงาะนงาน อาชีพใหม่ การปรบั ตแวั ลเะขคาร้วกามบั กเา้ พวหอื่ นนา้ ใรนว่ อมาชงีพาน

3. ดา้ นชีวิตและสงั คม ชีวิต คือ การรกั และเห็นคณุ คา่ ในตนเอง มีความเจริญทงั้ ร่างกายและจติ ใจ มีความเข้าใจตนเอง มีอารมณ์ที่มนั่ คง ความสามารถในการเป็นผู้นา และ ผู้ ตามที่ดี มีบคุ ลกิ ภาพทเ่ี หมาะสม รจู้ ักใช้เวลาวา่ งให้เกดิ ประโยชน์ นอกจากนที้ า ให้การศึกษามีการพัฒนาตนเองเพื่อเตรยี มความพรอ้ มท่จี ะไม่เป็นบคุ คลท่ี จะตอ้ งดาเนินชวี ิตด้วยตนเอง สงั คม คือ ความสามารถทป่ี รับตัวให้เข้ากบั สงั คมร่วมกนั อย่างมีความสุข รจู้ กั บาเพญ็ ตนใหเ้ ปน็ ประโยชนต์ ่อตนเองและผู้อืน่ หรือสังคมได้

การกสารร้าสงรท้าศังนทคศั รตนิใครหตเ้ิใดหก็ เ้รดู้สก็ ึกรูร้สักึกวแา่ลตะนภเปา็คนรภสูม่วิในจหในน่ตึงขวั เอองงสรงั ู้สครึกม รู้จกั ปรับตวั ใหเ้ ขา้ วกา่ บั ตกนลเปุ่ม็นสบงั คุครรมครทลี่เทป่ีมลีคี่ยรุณนแครป่า ลงไดอ้ ยา่ งมีครวามสุข

กิจกรรมใดไม่ใช่กิจกรรมแนะแนว กจิ กรรมคณติ คดิ เร็ว กจิ กรรมอาชีพในฝัน กจิ กรรมเกษตรพอเพยี ง กจิ กรรมธรรมะในใจ กจิ กรรมเค้กแสนอร่อย กจิ กรรมศิลปะเพ่ือชีวิต ประดษิ ฐ์ดอกไม้จากใยบวั กจิ กรรมกฬี าสู่อาชีพ กจิ กรรมความคดิ สร้างสรรค์ กจิ กรรมจาดี จาได้

กจิ กรรมจาดี จาได้ การศึกษาและ กจิ กรรมอาชีพในฝัน การศึกษาต่อ กจิ กรรมความคดิ สร้างสรรค์ กจิ กรรมเรียนต่อสายไหนดี ดา้ นการงาน กจิ กรรมอยากรู้ใจเธอ และอาชีพ กจิ กรรมเห็นคุณค่าในตนเอง กจิ กรรมเพื่อนทรี่ ู้ใจ ดา้ นชีวติ กจิ กรรมเอ๊ะ เธอคือใคร และสงั คม กจิ กรรมเทคนิคการเรียนดี

แนวทางการจดั กิจกรรมแนะแนว 1. สารวจสภาพปัญหา ความต้องการ ความสนใจ และธรรมชาติของผู้เรียน 2.ศึกษาวิสัยทศั นข์ องสถานศึกษา และวิเคราะหข์ อ้ มูลของผเู้ รียนที่ ได้จากฐานข้อมูลผู้เรียนรายบคุ คล เพือ่ ทราบปญั หา ค.ต้องการ และค.สนใจ 3. กาหนดสัดสว่ นของกิจกรรมทัง้ 3 ส่วนใหเ้ หมาะสม โดยยึดสภาพ ปัญหา ความต้องการ ความสนใจและธรรมชาติของผเู้ รียนเปน็ หลกั

แนวทางการจดั กิจกรรมแนะแนว 4. กาหนดแผนการปฏิบัติกรรมแนะแนว 5. จดั ทารายละเอียดแตล่ ะแผนกิจกรรม 6. ปฏิบตั ิตามแผนการจัดกิจกรรมแนะแนว วดั ผล และสรุปรายงาน

บริการท้งั 5 ของงานแนะแนว

บทที่ 1 บริการเก็บรวบรวมขอ้ มูลเป็นรายบุคคล (Individual Inventory Service) เปน็ การเกบ็ รวบรวมข้อมูลเฉพาะบคุ คล เป็นบริการ หนึ่งทีท่ าการเกบ็ รวบรวมรายละเอียดต่างๆเกี่ยวกับตวั บคุ คลในทุกๆด้าน แล้วนามาเก็บรวบรวมไว้อย่างเป็นระบบ ระเบียบ เพือ่ ประโยชน์ในการนาไปใช้ให้ความช่วยเหลือ บุคคลน้นั ต่อไป

ขอ้ มูลทีน่ ักแนะแนวควรเก็บ เพื่อประโยชนใ์ นการชว่ ยเหลือบุคคล 1.ขอ้ มูลด้านส่วนตัว เกี่ยวกบั ประวัติการคลอด พัฒนาการชว่ งวยั ทารกและวัยเด็ก ตลอดจนการอบรมเลี้ยงดู ที่ไดร้ ับจากครอบครวั 2.ข้อมูลดา้ นครอบครัว เกี่ยวกบั สภาพของบิดา มารดา ญาติพี่น้อง บรรยากาศในครอบครวั ฐานะทางเศรษฐกิจ และ อิทธิพลของสิ่งแวดล้อมอื่นๆในครอบครวั

ข้อมูลที่นักแนะแนวควรเก็บ เพือ่ ประโยชนใ์ นการชว่ ยเหลือบคุ คล 3.ขอ้ มลู ด้านสขุ ภาพและความเจริญเติบโตทางรา่ งกาย เกี่ยวกับประวตั ิการเจ็บป่วย อบุ ตั ิเหตทุ ี่เคยได้รบั โรค ประจาตัว หม่เู ลือด การฉีดวัดซีนตา่ งๆ

ขอ้ มูลที่นักแนะแนวควรเกบ็ เพื่อประโยชนใ์ นการชว่ ยเหลือบคุ คล 4.ขอ้ มูลด้านการศึกษา เกี่ยวกับประวัติการเรียนต้งั แต่ อดีตจนปัจจบุ ัน ผลการเรียน รายวิชาและการเขา้ ร่วมกิจกรรม 5.ข้อมลู ด้านความสามารถพิเศษตา่ งๆ ที่ไดจ้ ากการ แสดงออกทางกิจกรรมตา่ งๆ และ จากการประเมินผลของครู อาจารย์

ขอ้ มลู ทีน่ ักแนะแนวควรเกบ็ เพื่อประโยชนใ์ นการชว่ ยเหลือบคุ คล 6.ขอ้ มลู ดา้ นความถนดั ที่ไดจ้ ากการทดสอบตา่ งๆ 7.ขอ้ มูลดา้ นความสนใจ เจตคติและคา่ นิยมทีไ่ ดจ้ าก การทดสอบความสนใจในงานอดิเรก

ขอ้ มลู ทีน่ ักแนะแนวควรเกบ็ เพื่อประโยชนใ์ นการช่วยเหลือบุคคล 8.ข้อมลู ดา้ นบุคลิกภาพและการปรับตัวทางสังคม ที่ ได้จากการทดสอบการทาสังคมมิติ การคบเพื่อน การควบคมุ อารมณ์ การเข้าสังคม การทางานร่วมกบั ผอู้ ืน่ 9.ข้อมลู ดา้ นแผนการชีวิตสาหรับอนาคตเกีย่ วกบั โครงการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพความใฝฝ่ ันในอนาคต

ข้อควรคานึงในการรวบรวมข้อมลู เปน็ รายบคุ คล 1. พิจารณาถึงคณุ คา่ ของขอ้ มูลที่ได้ทาการเก็บรวบรวมไว้วา่ มี คุณค่ามากนอ้ ยเพียงใด โดยพิจารณาจากเกณฑ์ 3 ประการดงั นี้ 1.1 ความถูกต้องแม่นยา (Reliability) หมายความว่า ข้อมูลที่ ได้ศึกษาและรวบรวมเปน็ ข้อมูลทีเ่ ชือ่ ถือได้ ตรงต่อความเป็นจริง 1.2 ความเที่ยงตรง (Validity) หมายความว่า ข้อมูลที่ได้ศึกษา รวบรวมไว้น้นั สามารถที่จะพยากรณ์ได้อย่างถูกต้อง 1.3 ความสามารถที่จะช่วยเพิม่ ความเข้าใจในตัวนกั เรียนได้ดีข้ึน คือ ข้อมูลที่ได้เกบ็ รวบรวมไว้สามารถทาให้ครแู นะแนวเข้าใจนกั เรียน ได้ดีข้นึ

ข้อควรคานึงในการรวบรวมข้อมูลเป็นรายบคุ คล 2. พิจารณาเกี่ยวกบั วิธีการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล ในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู เปน็ รายบคุ คลนักแนะแนวควรใช้ เครื่องมือ เทคนิคหรือวิธีการหลายๆอย่าง (เนื่องจาก เครือ่ งมือแต่ละชนิดย่อมมีคุณสมบตั ิเฉพาะอย่าง)

เครื่องมือ เทคนิค ทีใ่ ช้สาหรบั การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู เป็นรายบคุ คล 1. การสงั เกต 9. การศึกษารายกรณี 2. การสมั ภาษณ์ 10. การประชมุ รายกรณี 3. แบบสอบถาม 11. แบบทดสอบเชาว์ปญั ญา 4. ระเบียนสะสม 12. แบบทดสอบความถนดั 5. การเยี่ยมบ้าน 13. แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิ์ 6. สังคมมิติและกลวิธีใครเอ่ย ทางการเรียน 7. อัตชีวประวัติและบันทึกประจาวัน 14. แบบสารวจความสนใจ 8. กลวิธีให้บคุ คลระบายความในใจ 15. แบบสารวจค่านิยม 16. แบบสารวจบุคลิกภาพ

 ตัวชีว้ ัดความสาเรจ็ ในการจดั กิจกรรมแนะแนว 1.ด้านผลผลิต 1.1 ผูเ้ รียนรู้ถึงความถนดั และ ความสามารถของตน 1.2 ผู้เรียนรกั และ เหน็ คุณคา่ ภูมิใจ ในตนเอง และ ผู้อืน่ 1.3 ผู้เรียนร้จู ักแสวงหาข้อมูลสาระสนเทศในการพัฒนาตนเอง 1.4 ผ้เู รียนมีเป้าหมายชีวิต รจู้ ักวางแผนชีวิตไดเ้ หมาะสมกับศักยภาพ ตน 1.5 ผเู้ รียนสามารถตดั สินใจ แกป้ ัญหาตน และ ปรับตวั ใหเ้ ข้ากับ สภาพแวดล้อมได้ 1.6 ผู้เรียนมีส่วนรว่ มในกิจกรรมทีเ่ ป็นประโยชน์ตอ่ ตนเอง สังคม และ ประเทศชาติ

 ตัวชีว้ ดั ความสาเรจ็ ในการจดั กิจกรรมแนะแนว 2. ด้านกระบวนการ 2.1 มีการจดั ระบบขอ้ มลู เกีย่ วกับตวั ผเู้ รียน อยา่ งเป็นระบบ และทนั สมัยอยูเ่ สมอ 2.2 มีการจัดโปรแกรมชุดกิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียน หรือ โครงการ/โครงงาน ทีส่ อดคล้องกบั สภาพปัญหา และ ความตอ้ งการ ของผู้เรียน เชน่ ชุดกิจกรรมพฒั นาบคุ ลิกภาพ ชดุ กิจกรรมพฒั นา ทกั ษะการดาเนินชีวิต โครงการอนรุ กั ษ์สิ่งแวดลอ้ ม

 ตัวชี้วดั ความสาเรจ็ ในการจัดกิจกรรมแนะแนว 2.3 ใหผ้ ู้เรียนมีส่วนรว่ มในการวางแผนการจดั กิจกรรม การ เสนอแนะวิธีการจดั กิจกรรมที่แปลกใหม่ สนุกสนาน 2.4 ใหข้ ้อมูลสาระสนเทศทีท่ ันสมัย เปน็ ประโยชนต์ อ่ ผู้เรียน ด้วยวิธีการทีห่ ลากหลาย 2.5 มีการจดั กิจกรรมทีเ่ ปน็ กระบวนการกลมุ่ และ จดั กิจกรรม ไดท้ ง้ั ใน/นอกเวลาเรียน ให้ครูและนักเรียนได้คนุ้ เคยกนั เช่น กิจกรรม เชือ่ มสายใจลูกศิษย์ครอู าจารย์

 ตวั ชีว้ ดั ความสาเร็จในการจดั กิจกรรมแนะแนว 3. ด้านปจั จยั 3.1 ผบู้ ริหารมีภาวะผนู้ าและเห็นคุณค่าของการแนะแนว 3.2 ครูทกุ คนเห็นความสาคญั และ มีความรูพ้ ื้นฐานของการแนะแนว 3.3 ครทู ุกคนมีบทบาทในการดาเนินกิจกรรมแนะแนว 3.4 ผู้ปกครองมีส่วนรว่ มในการจัดกิจกรรมแนะแนว

 ตัวชี้วดั ความสาเรจ็ ในการจัดกิจกรรมแนะแนว 3.5 มีคณะทางานที่รบั ผิดชอบด้านแนะแนวโดยตรง 3.6 มีแผนการดาเนินงานทีช่ ดั เจน มีโครงการ/กิจกรรมแนะแนว ที่สอดคล้องกบั ปัญหา ความต้องการ และ ความสนใจของ ผเู้ รียน 3.7 มีความรู้ ความชานาญในการใช้เครือ่ งมือ เพือ่ นาไปใชก้ บั ผเู้ รียน ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

การประเมินผล กิจกรรมแนะแนว ระดบั การประเมินผล ผา่ น ไม่ผา่ น เกณฑก์ ารประเมินผล เวลาของการเข้าร่วมกิจกรรม ผลงาน / ชิ้นงาน /คณุ ลักษณะที่พึงประสงค์

ทาทแาบแบบฝบึกฝหกึ ดั ห…ัด.ท…า.ทา่ไี ทห่ไีนหกนไ็ ดก้ไ็ แดต้ แส่ ตง่ ส่ ่งปั สดปั าดหา์หหน์ห้าน้า 5+5+5 PG

บทที่ 5 จบแลว้ คร่ะ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook