Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Chapter 4.2

Chapter 4.2

Published by Thanadee Suriyachanhom, 2019-06-21 00:17:09

Description: Chapter 4.2

Search

Read the Text Version

ทฤษฎกี ารกาหนดตัวเอง

ทฤษฎีการกาหนดตนเอง  มนุษยม์ คี วามตอ้ งการอยู่ 3 ประการ คือ  1ตอ้ งการที่จะสมั ผสั ถึงความสามารถและศกั ยภาพของตน  2 ตอ้ งการมีอสิ ระและควบคุมชีวิตของตนเอง  3 ตอ้ งการท่ีจะสรา้ งสมั พนั ธภาพกบั ผูอ้ ่ืนหรือการเป็ นสว่ นหนึ่งของกลุ่ม ในสามความตอ้ งการน้ ี มีความตอ้ งการที่ 2 เป็ นหวั ใจสาคญั ของทฤษฎีน้ ี เป็ นความ ปรารถนาที่บุคคลมีเกีย่ วกบั ตนเอง เป็ นความตอ้ งการที่จะมีอานาจในชีวติ ของตน

การกาหนดตนเองในหอ้ งเรียน  หอ้ งเรียนท่ีส่งเสริมใหน้ ักเรยี นไดม้ ีการกาหนดตนเองและเป็ นอิสระในการ ควบคุมพฤติกรรมตนเองน้ัน จะตอ้ งเป็ นหอ้ งเรียนท่ีใหผ้ ูเ้ รยี นสามารถเรียน ตามความสนใจและความอยากรู้ สมั ผสั ถึงความสามารถ ความสรา้ งสรรค์ ผลการเรียน การเขา้ เรียนและความพงึ พอใจในการเรียน การใชก้ ลยทุ ธเพ่ือการเรียนรเู้ พอ่ื กากบั ตนเอง ผูเ้ รยี นจะมคี วามสนุกใน การเรยี น เพราะหากผูเ้ รียนมอี ิสระในการสรา้ งตวั เลือกเขาจะรสู้ ึกว่ารายวชิ าน้ัน งานน้ันสาคญั

การใหช้ อ้ มลู และการควบคุม  ประสบการณข์ องผูเ้ รียน (การไดร้ บั คาชม คาตาหนิ การถูกเตือนเกี่ยวกบั กาหนดส่งงาน การใหท้ างเลือก การอธิบายกฎระเบียบ) ท่ีมีต่อแรงจงู ใจ ภายใน (โดยเฉพาะการกาหนดตนเองและการรบั รคู้ วามสามารถของ ตนเอง) ซึ่งประสบการณเ์ หล่าน้ ีสามารถเกิดข้ นึ ได้ 2 แงม่ ุม คือการควบคุม กบั การใหข้ อ้ มลู

การใหช้ อ้ มลู และการควบคุม  ถา้ เหตุการณค์ ่อนไปทางควบคุม เด็กจะรูส้ ึกอึดอดั กดดนั และจะมี พฤติกรรมไปในทางเดียวกนั (ไมม่ ีอิสระ)  แต่ถา้ เหตุการณน์ ้ันเป็ นการใหข้ อ้ มลู เพื่อเพ่ิมความสามารถของผเู้ รียน เขาจะ มแี รงจงู ใจภายในเพมิ่ ข้ นึ

แนวทางการประยุกตใ์ ชใ้ นชน้ั เรยี น 1.อนุญาตและสนับสนุนใหผ้ ูเ้ รียนเลือกเอง เชน่ ครูผูส้ อนออกแบบวิธีการเรียนรู้ ใหห้ ลากหลาย (เชน่ การส่งรายงาน การทดสอบ) และผูเ้ รียนไดเ้ ลือกดว้ ย ตนเองพรอ้ มอธิบายเหตุผลของการเลือก 2.ชว่ ยใหผ้ ูเ้ รยี นวางแผนการทางานเพอื่ ใหบ้ รรลุเป้าหมายท่ีเลือก ใหผ้ ูเ้ รยี น เขียนเป้าหมายระยะส้นั แลว้ ใหเ้ ลือกบนั ทึกพฤติกรรมที่ทาใหผ้ ูเ้ รียนมงุ่ สู่ เป้าหมายท่ีต้งั ไว้

แนวทางการประยุกตใ์ ชใ้ นช้นั เรียน 3.ใหผ้ ูเ้ รียนรบั ผิดชอบในผลการตดั สินใจตนเอง เชน่ หากผูเ้ รยี นเลือกทางาน กบั เพ่ือนสนิทแต่งานไมเ่ สร็จเพราะมวั คุย ครูกต็ อ้ งใหค้ ะแนนตามจริงพรอ้ ม อธิบายผลที่เกดิ ข้ ึน

แนวทางการประยุกตใ์ ชใ้ นชน้ั เรียน 4.ใหเ้ หตุผลวา่ ทาไมตอ้ งมีกาหนดเวลา มกี ฏระเบียบ 5.ยอมรบั ในอารมณเ์ ชิงลบของผูเ้ รียนท่ีแสดงออกต่อการควบคุมของครู 6.ใชก้ ารยอ้ นอารมณเ์ ชิงบวก เชน่ มองวา่ ผลงานหรือพฤติกรรมที่ไมด่ ีน้ันเป็ น ปัญหาที่จะตอ้ งแกไ้ ข ไมใ่ ชส่ ิ่งท่ีตอ้ งตาหนิ

เกม “ทำไม” ทำไมจงึ สอบไดค้ ะแนนนอ้ ยในวชิ ำจติ วทิ ยำสำหรบั ครู ทฤษฎีการอา้ งสาเหตุ

ทำไมรำยงำนของฉันไดค้ ะแนนนอ้ ยกวำ่ เพอื่ น ทฤษฎีการอา้ งสาเหตุ

ทำไมเพอื่ นถงึ ไดเ้ รยี นเกง่ กวำ่ ฉัน ทฤษฎีการอา้ งสาเหตุ

ทำไมเธอตอ้ งทงิ้ ฉันไปมคี นอนื่ ทฤษฎีการอา้ งสาเหตุ

ทำไมจงึ สอบไดค้ ะแนนนอ้ ยในวชิ ำจติ วทิ ยำสำหรบั ครู ทำไมจงึ มำเรยี นไม่ทนั เวลำ 8.00 ทำไมเธอตอ้ งทงิ้ ฉันไปมคี นอนื่ ทำไมรำยงำนของฉันไดค้ ะแนนนอ้ ยกวำ่ เพอื่ น ทำไมเพอื่ นถงึ ไดเ้ รยี นเกง่ กวำ่ ฉัน ทฤษฎีการอา้ งสาเหตุ

ทฤษฎกี ำรอำ้ งสำเหตุ เป็ นกำรอธบิ ำยเรอื่ งแรงจงู ใจดว้ ย หลกั กำรทำงกระบวนกำรรคู ้ ดิ ดว้ ยกำรตง้ั คำถำมวำ่ “ทำไม” ซงึ่ คำตอบเกยี่ วกบั สำเหตขุ องควำมสำเรจ็ หรอื ควำมลม้ เหลวนีอ้ ำจจะสมั พนั ธก์ บั เรอื่ งของ ควำมสำมำรถ ควำมพยำยำม อำรมณ์ ควำมรู ้ โชคชะตำ กำรไดร้ บั ควำมชว่ ยเหลอื กำรสอนของ อำจำรย ์ ควำมไม่ยตุ ธิ รรม เป็ นตน้ “ทาไม……”

ทฤษฎีการอา้ งสาเหตุ (Attribution Theory) พิจารณาความคิดหรอื ความเช่ือของบุคคลเกีย่ วกบั เหตุผลของการประสบ ความสาเรจ็ หรือความลม้ เหลวพบวา่ ความคดิ หรือความเชอื่ ดังกล่าวประกอบไป ดว้ ยมิตทิ ่นี ่าสนใจ 3 มิติ คือ 1.ความคิดหรือความเชื่อเกีย่ วกับแหล่งทเี่ ปน็ ต้นเหตุของความสาเร็จหรือความ ลม้ เหลว 2. ความคดิ หรอื ความเชอื่ เกย่ี วกบั การเปลีย่ นแปลงได้ของต้นเหตุ 3.ความคิดหรอื ความเชอื่ เกย่ี วกบั อานาจในการควบคมุ ต้นเหตุ ซง่ึ ทง้ั 3 มติ ิเปน็ ความเช่ือทอ่ี ยใู่ นเหตผุ ลของความสาเร็จและความ ล้มเหลว และมีอิทธอิ ย่างมากต่อการจงู ใจในการดาเนินกิจกรรมต่างๆ

ทฤษฎกี ารอา้ งสาเหตุ (Attribution Theory) 1.ความเช่อื เกีย่ วกับแหลง่ ที่เป็นตน้ เหตุ แหล่งทม่ี าของความสาเร็จหรอื ความล้มเหลว หมายถงึ ความเช่ือท่วี ่า ความสาเร็จหรอื ความลม้ เหลวนัน้ เปน็ ผลมาจากปัจจัยภายในตนเองหรือปจั จยั ภายนอกตนเอง เชน่ การสอบไม่ผา่ นเปน็ เพราะขาดความสนใจ ไม่อา่ นหนังสอื (ปจั จยั ภายใน) หรือผสู้ อนอคติ หรือดวงไม่ดี (ปจั จัยภายนอก) ซ่ึงการจูงใจและ การปรับปรงุ พัฒนาพฤตกิ รรมของตนเองจะเกิดขึ้นไดก้ ต็ อ่ เม่ือบคุ คลเชื่อว่า ต้นเหตขุ องความลม้ เหลวเกดิ จากปจั จยั ภายในตนเอง

ทฤษฎีการอา้ งสาเหตุ (Attribution Theory) 2.ความเช่ือเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงได้ของตน้ เหตุ หมายถึง ความเช่ือทีว่ ่าต้นเหตขุ องความสาเรจ็ หรือความล้มเหลว สามารถเปลี่ยนแปลงได้หรอื ไม่ ถา้ บคุ คลเชือ่ ว่าต้นเหตดุ ังกล่าวสามารถ เปล่ียนแปลงได้ บคุ คลจะมีความหวัง และ กาลงั ใจในการทาพฤติกรรม เพราะเชือ่ วา่ จะสามารถทาให้เกดิ การเปลีย่ นแปลงได้ ในทางตรงกันข้าม ถา้ บคุ คลเห็นวา่ ต้นเหตนุ ั้นๆ ไม่มีทางเปล่ียนแปลงได้ บคุ คลจะเกดิ ความท้อแมแ้ ละหมดความ พยายามทจี่ ะทากจิ กรรม

ทฤษฎีการอา้ งสาเหตุ (Attribution Theory) 3.ความเชอื่ เก่ียวกับอานาจในการกากับควบคุมตน้ เหตุ หมายถึง ความเช่อื ทีว่ ่าต้นเหตุนนั้ ตนเองสามารถควบคุมหรอื กาหนดให้ เปน็ ไปตามความตอ้ งการได้หรอื ไม่ ถ้าบุคคลเช่ือวา่ สามารถควบคุมหรอื กาหนดได้ ดว้ ยตนเอง เช่น เพิ่มเวลาอ่านหนังสืออกี วันละ 2 ชวั่ โมง หรอื เพ่ิมความพยายามใน การปฏิบัตงิ าน เปน็ ต้น บุคคลจะเกดิ การจงู ใจ แต่เห็นถา้ เหน็ ว่าเป็นสถานการณ์ทไ่ี ม่ สามารถควบคมุ ได้ เชน่ อคติของผู้สอน โชคชะตาฟ้าลขิ ติ เป็นต้น บคุ คลจะไมเ่ กิดการ จงู ใจในการทากจิ กรรม

ทฤษฎกี ารอา้ งสาเหตุ (Attribution Theory) Weiner (นุชลี อุปภัย,2555:119) เช่อื ว่า ประสบการณ์ของการได้รับความสาเร็จและ ความล้มเหลวในอดีตมอี ทิ ธติ ่อความเชือ่ ในการอ้างเหตุผลของบคุ คลและมีผลตอ่ การ จงู ใจในการทาพฤติกรรมในเวลาตอ่ มา ถา้ บคุ คลได้รับประสบการณ์ของความสาเรจ็ ในการทากจิ กรรมตา่ งๆอยา่ งต่อเนื่อง บคุ คลจะยิ่งเชือ่ วา่ ความสาเรจ็ เปน็ ผลมาจาก ปัจจัยภายในตนเอง ซงึ่ สามารถปรบั ปรงุ เปลย่ี นแปลง และพฒั นาไดโ้ ดยการ กาหนดและควบคมุ ตนเอง (สรุ างค์ โคว้ ตระกูล,2553:163-169) โดยวายเนอรไ์ ดแ้ บ่ง การอ้างสาเหตพุ ฤติกรรมเกย่ี วกับสัมฤทธผิ ลของงานออกเปน็ 4 ประเภท

ทฤษฎกี ารอา้ งสาเหตุ (Attribution Theory) คือ ความสามารถ ความพยายาม ความยากง่ายของของงานและโชค และได้แบง่ คุณสมบตั ขิ องสาเหตุ ต่างๆเป็น 3 มิติ คือ 1. ตาแหน่งของสาเหตุ สาเหตุเนอื่ งมาจากภายในตัวบคุ คล – สาเหตุเนื่องมาจากนอก ตวั บคุ คล (Locus of Causality) 2. เสถียรภาพของสาเหตุ สาเหตุทคี่ งตัว-สาเหตุทไ่ี มค่ งตัว (Stability of Causality) 3. การควบคุมได้ของสาเหตุ สาเหตทุ ่ีควบคุมได้-สาเหตทุ ีค่ วบคุมไมไ่ ด้ (Controllability of Causality) สาเหตุแต่ละอยา่ งทีผ่ ูก้ ระทาใชอ้ า้ งจะมีคณุ สมบตั ิหลายมติ ดิ งั ตวั อย่างต่อไปน้ี - ความสามารถ เป็นสาเหตุทม่ี าจากภายในตวั บุคคล คงตวั และควบคมุ ไม่ได้ - ความพยายาม แบ่งเป็น 2 ชนดิ ความพยายามปกตหิ รือสม่าเสมอ และความพยายาม แบบชว่ั คราว ความพยายามปกติสม่าเสมอ เปน็ สาเหตุท่มี ีตาแหน่งภายในตัวบคุ คลเป็นสิง่ ที่ควบคุมได้ และมคี วามคงตวั ความพยายามชัว่ คราวเปน็ สาเหตทุ ีม่ ีตาแหนง่ ภายใน ควบคมุ ได้ แต่ไมม่ ีความคงตวั - โชค เปน็ สาเหตทุ ม่ี ตี าแหนง่ ภายนอกตวั บคุ คล ควบคุมไมไ่ ด้ และไมม่ ีความคงตวั



ทาแบบฝกึ หดั ….ทาที่ไหนก็ได้ แตส่ ง่ สัปดาห์หนา้ 5 PG


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook