ความสาคัญของจิตวิทยาต่ อ การประกอบวิชาชีพครู ?
จติ วทิ ยา และ การศกึ ษา มีความสัมพนั พ์กนั อย่างใกลช้ ดิ ตงั้ แต่ระยะแรกทม่ี ี การเรยี นการสอนเกิดขึ้นบนโลก เชน่ การศึกษาในสมัยกรีก Plato และ Aristotle (ซงึ่ เป็นผทู้ ี่มบี ทบาทในการพฒั นา การศกึ ษาในสมัยนั้น ) ใชห้ ลกั จิตวทิ ยาในการจัดรปู แบบการสอน โดยนกั ปรัชญาทงั้ สองพยายามหาคาตอบเก่ยี วกับการศกึ ษา เช่น เด็กเรียนรูไ้ ด้อย่างไร สง่ิ แวดลอ้ มมผี ลตอ่ เดก็ อยา่ งไร หรือ แมแ้ ต่แนวคิดทเี่ น้นให้นกั เรียนปฎิบตั ิซา้ ๆตามครจู นเกดิ ทกั ษะ กเ็ ป็นการจดั การสอนในรูปแบบทน่ี าเอาหลักจิตวิทยา มาใช้
สาขาทางจิตวิทยาที่มคี วามสมั พนั ธโ์ ดยตรงกบั ศาสตร์ทางการศึกษา คอื จติ วิทยาการศึกษา มนี กั จิตวิทยาทม่ี ีความสาคัญกบั คอื Thorndike เป็นผ้เู ขียนหนงั สือ จิตวิทยาการศึกษา เลม่ แรก เผยแพรง่ านทางด้านจติ วิทยาการศกึ ษา และ มีวารสารจิตวทิ ยาการศกึ ษาเล่มแรกท่ชี อื่ วา่ Journal of Educational Psychology
จติ วิทยาการศึกษา เป็นสาขาทางจิตวิทยาทศ่ี กึ ษาเกย่ี วกบั การ เรยี นรู้และการสอน ความรูใ้ นสาขาจิตวทิ ยา การศึกษาจงึ เปน็ แนวคดิ หลกั การ และ ทฤษฎที ี่ เก่ยี วขอ้ งกับกระบวนการเรยี นรู้ และ การ กระบวนการสอน ทจ่ี ะช่วยใหค้ รู นิสิต นักศึกษาครู นาความรู้ไปใช้ในการคิดวเิ คราะห์ ตัดสินใจ และ แก้ปัญหาในกระบวนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ที่ จะต้องพบเจอในแตล่ ะวนั
การสอนท่มี ีประสิทธิภาพ Santrock (2008) อธิบายว่า การสอนเป็น งานทีซ่ บั ซอ้ นเนอื่ งด้วยความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล ของนกั เรียน รูปแบบการสอนหน่ึงไมส่ ามารถ นาไปใช้ในทกุ สถานการณไ์ ด้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพทุก ครัง้
การสอนทมี่ ปี ระสิทธภิ าพ หากต้องการพัฒนา “การสอนทีม่ ี ประสิทธิภาพ” ครตู ้องมอี งคป์ ระกอบ 2 ประการ คือ ความรแู้ ละทักษะทางวชิ าชพี และ ความทมุ่ เทและ แรงจงู ใจ
ความรู้และทักษะทางวชิ าชีพ 1 ความสามารถในสาระทีส่ อน 2 กลยทุ ธ์การสอน ซึง่ สามารถแบง่ ออกเป็น 2 รูปแบบ คอื รปู แบบการสร้างองคค์ วามรู้ดว้ ยตนเอง (เป็นการเนน้ ผู้เรยี นเปน็ สาคญั โดยครเู ปน็ ผแู้ นะแนวทาง) และ รูปแบบการสอนโดยตรง (เนน้ ครูเปน็ ศนู ย์กลาง ครูเปน็ ผชู้ น้ี าและควบคุม) 3 ทกั ษะการวางแผนการสอน และการกาหนดเปา้ หมายการเรยี น 4 การปฎิบตั ิการสอนให้สอดคลอ้ งกับพัฒนาการของนักเรยี น
ความรู้และทักษะทางวิชาชีพ 5 ทกั ษะการจัดการชัน้ เรยี น (กฎ กตกิ าในชน้ั เรยี น) 6 ทักษะการจงู ใจ (กลยทุ ธก์ ารจงู ใจนร.) 7 ทกั ษะการส่ือสาร (การพูด ฟงั การลดความขัดแยง้ ) 8 การคานึงถึงความแตกตา่ งระหว่างบคุ คล (IQ สไตล์การเรียน สไตลก์ ารคดิ บุคลิกภาพ) 9 ความสามารถในการสอนนักเรียนตา่ งวฒั นธรรมคานึงถงึ วฒั นธรรมของนกั เรยี นหรือไม่มอี คติหรือความลาเอยี งหรอื ไม่ 10 ทกั ษะการประเมินผล 11 ทกั ษะทางเทคโนโลยี
ความทุ่มเทและแรงจงู ใจ รวมถึงการมเี จตคตทิ ด่ี ีตอ่ นกั เรียน ครูมอื ใหม่อาจจะพบว่า ภาระงานทร่ี ับผิดชอบนัน้ เยอะ ทาให้สญู เสยี เวลาการเปน็ ส่วนตวั ทา ให้เกดิ เจตคติทางลบกับการสอนและการทางาน ขาดแรงกระตนุ้ และ ขาดความทมุ่ เทในการสอนได้ 1 มคี วามสนใจเสาะแสวงหาความรู้ 2 มีความรอบรดู้ ้านปรชั ญาการศกึ ษา นโยบายการศกึ ษา กฎหมาย การศึกษา มาตรฐานวชิ าชีพครู มาตรฐานการศกึ ษา จิตวิทยา การศกึ ษา หลักสตู รและการสอนท่วั ไป 3 มีความรอบรู้ความสามารถทที่ ันสมยั (สว่ นหนง่ึ ของบทความของโณทัย อุดมบญุ ญานภุ าพ นาเสนอเก่ยี วกับคุณลกั ษณะครรู นุ่ ใหม่ในศตวรรษท่ี 21 )
กิจกรรมท้ายบทเรียน จงอธบิ ายความเช่อื มโยงระหว่าง ความรู้เกีย่ วกับจติ วิทยาการศกึ ษา และ การเปน็ ครมู อื อาชีพ พรอ้ มยกตัวอย่าง (โดยห้ามซ้ากบั ที่อาจารย์ยกตัวอย่างไปในคาบเรียน)
Search