Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ร.1-ร.2

ร.1-ร.2

Published by Nicharee M., 2020-12-24 01:55:57

Description: ร1,2(1)

Search

Read the Text Version

ร ยง นก รศก คนคว ร ง ววฒน ก รข งกรงรตน ก นทร มยรชก ลท 1 ถงรชก ลท 2 โดย 1. นางสาว คคั ณาง ศรสี มบัติ ม.3.3 เลขที 4 2. เดกหญงิ ณฏั ฐณิชา ทรงประกอบ ม.3.3 เลขที 8 3. เดกหญิง ณชิ ารยี ชัยสัมฤทธผิ ล ม.3.3 เลขที 10 4. นางสาว นภัสฒธรี า รวมศิริวัฒนกลุ ม.3.3 เลขที 14 5. เดกหญิง ลภสั รดา ไกรศรศรี ม.3.3 เลขที 22 6. นางสาว อลีนา รตั นาสิทธสิ กุล ม.3.3 เลขที 27 รายงานนีเปนสวนหนึงของรายวชิ า ท23102 ภาษาไทย 6 ชันมธั ยมศึกษาปที 3 ปการศกึ ษา 2/2563



ร ยง นก รศก คนคว ร ง ววฒน ก รข งกรงรตน ก นทร มยรชก ลท 1 ถงรชก ลท 2 โดย 1. นางสาว คัคณาง ศรีสมบัติ ม.3.3 เลขที 4 2. เดกหญงิ ณฏั ฐณชิ า ทรงประกอบ ม.3.3 เลขที 8 3. เดกหญงิ ณชิ ารยี ชัยสัมฤทธผิ ล ม.3.3 เลขที 10 4. นางสาว นภสั ฒธรี า รวมศริ วิ ฒั นกลุ ม.3.3 เลขที 14 5. เดกหญิง ลภสั รดา ไกรศรศรี ม.3.3 เลขที 22 6. นางสาว อลนี า รตั นาสทิ ธิสกุล ม.3.3 เลขที 27 เสนอ นาย ธัญวทิ ย แสงขามปอม



คน รายงานเลมนีจัดทำขึนเพือเปนสวนหนึงของวิชา ภาษาไทย ชันมัธยมศึกษาปที 3 เพือใหไดศึกษาหา ความรูในเรืองวิวฒั นาการของกรุงรัตนโกสินทรในสมัยรัชกาลที 1 ถึงรัชกาลที 2 โดยศึกษาพัฒนาการของกรงุ รัตนโกสินทรในดานตาง อาทิเชน พัฒนาการดานสังคม และ พัฒนาการดานการเมืองการปกครอง และได ศึกษาอยางเขาใจเพอื เปนประโยชนกับการเรยี น ผูจดั ทำตองขอขอบคุณ อาจารยธญั วิทย แสงขามปอม ผใู หความรู แนวทางการศึกษา และใหคำแนะนำ ในการทำเลมรายงานนี ผจู ดั ทำหวงั วา รายงานเลมนจี ะเปนประโยชนกับผูอาน หรือนักเรียน นักศกึ ษา ทีสนใจ ขอมลู ในเรืองนี หากมขี อแนะนำหรอื ขอผิดพลาดประการใด ผูจัดทำขอนอมรับไวและขออภัยมา ณ ทนี ีดวย คณะผูจัดทำ 19 ธันวาคม 2563

สารบญั หนา$ ประวัติ 1 การเมืองการปกครอง 9 ความสัมพนั ธ9ระหวา: งประเทศ 13 เศรษฐกิจ 21 ศลิ ปะ 26

สารบัญภาพ หน$า ภาพท่ี 1 3 1 4 2 8 3 13 4 14 5 17 6 19 7 20 8 21 9 23 10 26 11 29 12 29 13 30 14 31 15 32 16 32 17 18

1 ประวตั ิ สมัยรัชกาลท่ี 1 พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟ:าจฬุ าโลก (พ.ศ. 2325 - 2352) 1. พระราชประวัติ พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟ2าจฬุ าโลก ทรงเป:นปฐมกษตั ริยAแหงD พระบรมราชวงศจA ักรี พระนามเตม็ “พระบาทสมเดจ็ พระบรมราชาธิราชรามาธิบดี ศรีสนิ ทรบรมมหาจักรพรรดิ ราชาธิบดนิ ทรธA รณินทราธิราชรัตนากาศภาสกรวงศAองคAปรมาธิเบศร ตรีภูวเนตรวรนารถนายก ดลิ กรัตนชาตอิ าชาวศรยั สมุทยั วโรมนตสA กลจกั รฬาธิเบนทรA สรุ ิเยนทราธบิ ดนิ ทรหรหิ รินทรธาดาธิบดี ศรสี วุ บิ ุลยคณุ ธขนษิ ฐA ฤทธิราเมศวรมหันตบA รมธรรมิกราชาธริ าชเดโชไชย พรหมเทพาดเิ ทพนฤดนิ ทรA ภมู ินทรปรามาธิเบศร โลกเชฎฐวสิ ทุ ธิร์ ตั นมกุฎประเทศคตามหาพุทธางกูรบรมบพติ ร พระพุทธเจTาอยูD หวั ” ภาพที่ 1 มีพระนามเดมิ วDา ทองดTวง ทรงประสตู เิ มอ่ื วันท่ี 20 มีนาคม พ.ศ. 2279 พระราชบดิ าทรง พระนามวาD ออกอักษรสุนทรศาสตรA พระราชมารดาทรงพระนามวDา ดาวเรือง มีบตุ รและธดิ ารวม ทัง้ หมด 5 คน คือ 1.1 คนที่ 1 เป:นหญงิ ชื่อ \"สา\" ตDอมาไดรT บั สถาปนาเปน: พระเจTาพ่ีนางเธอกรมสมเดจ็ พระเทพ สุดาวดี 1.2 คนท่ี 2 เปน: ชายชอ่ื \"ขุนรามนรงคA\" ถงึ แกDกรรมกDอนท่ีจะเสียกรุงศรอี ยธุ ยาแกพD มDา ครง้ั ท่ี 2

2 1.3 คนที่ 3 เปน: หญงิ ชื่อ \"แกวT \" ตDอมาไดรT บั สถาปนาเป:นพระเจาT พ่นี างเธอกรมสมเดจ็ พระศรีสุดารกั ษA 1.4 คนท่ี 4 เป:นชายช่อื \"ดวT ง\" พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา2 จุฬาโลกมหาราช 1.5 คนที่ 5 เปน: ชายช่อื \"บญุ มา\" ตอD มาไดรT ับสถาปนาเป:น กรมพระราชวงั บวรมหาสุรสงิ หนาท สมเดจ็ พระอนชุ าธริ าช เมอ่ื เจริญวัยไดถT วายตัวเปน: มหาดเล็กในสมเดจ็ พระเจาT ลกู ยาเธอเจาT ฟ2าอทุ ุมพร พระชนมายุ 21 พรรษา ออกบวชที่วัดมหาทลาย แลวT กลบั มาเปน: มหาดเล็กหลวงในแผนD ดนิ พระเจTาอทุ ุมพร พระชนมายุ 25 พรรษา ไดTรับตวั แหนงD เปน: หลวงยกกระบัตร ประจาํ เมอื งราชบุรใี นแผDนดิน พระท่นี ่งั สุรยิ ามรินทรA พระองคAไดวT วิ าหAกบั ธดิ านาค ธิดาของทDานเศรษฐที องกับสมT พระชนมายุ 32 พรรษา ในระหวDางทีร่ บั ราชการอยูDกับพระเจTากรุงธนบุรี ไดTเล่อื นตําแหนDง ดังน้ี พระชนมายุ 33 พรรษา พ.ศ. 2312 ไดเT ล่อื นเปน: พระยาอภยั รณฤทธ์ิ เม่ือพระเจTากรุงธนบุรี ปราบชุมนมุ เจTาพิมาย พระชนมายุ 34 พรรษา พ.ศ. 2313 ไดเT ล่อื นเป:นพระยายมราชทีส่ มหุ นายกเม่อื พระเจาT กรงุ ธนบุรีไปปราบชุมนมุ เจTาพระฝาง พระชนมายุ 35 พรรษา พ.ศ. 2314 ไดTเลื่อนเปน: เจTาพระยาจักรี เมอื่ คราวเปน: แมทD ัพไปตี เขมรคร้ังที่ 2 พระชนมายุ 41 พรรษา พ.ศ. 2321 ไดTเลื่อนเป:นสมเดจ็ เจาT พระยามหากษัตรยิ Aศึกเมอ่ื คราว เปน: แมDทพั ใหญDไปตีเมืองลาวตะวนั ออก พ.ศ. 2323 เปน: ครั้งสดุ ทาT ยที่ไปปราบเขมร ขณะเดยี วกบั ที่กรงุ ธนบุรีเกดิ จลาจลจงึ เสดจ็ ยก กองทพั กลับมากรุงธนบรุ ี เมือ่ พ.ศ. 2325 พระองคAทรงปราบปรามเสีย้ นหนามแผนD ดินเสร็จแลวT จึง เสด็จขนึ้ ครองราชสมบัตปิ ราบดาภเิ ษก แลTวไดTมพี ระราชดํารสั ใหขT ดุ เอาหบี พระบรมศพของพระเจาT กรุงธนบรุ ีขึน้ ต้งั ณ เมรวุ ัดบาง ยีเ่ รือพระราชทานพระสงฆบA งั สุกุลแลวT ถวายพระเพลงิ พระบรมศพ เสรจ็ แลTวใหTมกี ารมหรสพ

3 2. พระราชกรณยี กจิ 2.1 การสถาปนากรุงรัตนโกสินทรM พระราชกรณยี กิจประการแรกท่พี ระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟ2าจฬุ าโลกมหาราช ทรงจดั ทำเม่ือเสดจ็ ข้นึ ครองราชยA คือการโปรดเกลTาฯ ใหตT ัง้ กรุงรัตนโกสนิ ทรAเป:นราชธานีใหมD ทางตะวนั ออกของแมนD ้ำเจาT พระยา แทนกรุงธนบรุ ี ดTวยเหตผุ ลทางดTานยุทธศาสตรA เน่ืองจากกรงุ ธนบุรีตง้ั อยDูบนสองฝlmงแมนD ้ำ ทำใหTการลำเลียงอาวุธยุทธภัณฑA และการรักษา พระนครเป:นไปไดTยาก อีกท้ังพระราชวงั เดมิ มีพืน้ ท่จี ำกดั ไมสD ามารถขยายไดT เน่ืองจาก ตดิ วดั อรุณราชวราราม และวัดโมoีโลกยาราม สDวนทางฝlmงกรงุ รัตนโกสินทรนA ้นั มีความ เหมาะสมกวDาตรงทม่ี พี ืน้ แผนD ดนิ เปน: ลกั ษณะหวั แหลม มแี มนD ำ้ เปน: คูเมอื งธรรมชาติ มีชยั ภูมิ เหมาะสม และสามารถรับศกึ ไดเT ป:นอยDางดี การสราT งราชธานีใหมDนั้นใชTเวลาทั้งสิน้ 3 ปp โดยพระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟ2า จุฬาโลกมหาราช ทรงทำพธิ ยี กเสาหลกั เมือง เมือ่ วันอาทิตยA เดือน 6 ขึ้น 10 ค่ำ ปpขาล จศ. 1144 ตรงกับวันท่ี 21 เมษายน พศ. 2325 และโปรดเกลาT ฯใหสT รTาง พระบรมมหาราชวงั สบื ทอดราชประเพณี และสรTางพระอารามหลวงในเขตพระบรมมหาราชวังตามแบบกรุงศรี อยุธยา ซงึ่ การสรTางเมอื งและพระบรม มหาราชวังเปน: การสบื ทอดประเพณี วัฒนธรรม และ ศลิ ปะกรรมดงั้ เดมิ ของชาติ ซ่ึงปฏบิ ัติกันมาตัง้ แตสD มยั กรุงศรีอยุธยา และไดพT ระราชทานนาม แกDราชธานีใหมนD ว้ี Dา “กรงุ เทพมหานคร บวรรตั นโกสนิ ทรA มหนิ ทรายทุ ธยา มหาดิลกภพ นพ รัตนราชธานีบูรีรมยA อุดมราชนเิ วศนAมหาสถาน อมรพมิ านอวตารสถติ สกั กะทตั ตยิ ะ วษิ ณุกรรมประสิทธ์”ิ ภาพท่ี 2

4 2.2 การป:องกนั ราชอาณาจกั ร พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟา2 จฬุ าโลกมหาราช ทรงพระปรชี าสามารถในการรบ ทรงเป:นผูนT ำทพั ในการทำสงครามกับพมาD ท้งั หมด 7 ครั้งในรชั สมัยของพระองคA ไดแT กD สงครามครงั้ ที่ 1 พ.ศ. 2327 สงครามเกาT ทพั สงครามครง้ั ที่ 2 พ.ศ. 2329 สงครามทDาดินแดงและสามสบ สงครามครง้ั ที่ 3 พ.ศ. 2330 สงครามตเี มอื งลำปางและเมอื งปuาซาง สงครามครั้งที่ 4 พ.ศ. 2330 สงครามตีเมืองทวาย สงครามครงั้ ที่ 5 พ.ศ. 2336 สงครามตีเมืองพมาD สงครามครั้งท่ี 6 พ.ศ. 2340 สงครามพมDาทเ่ี มอื งเชียงใหมD สงครามครั้งที่ 7 พ.ศ. 2346 สงครามพมาD ทเี่ มืองเชียงใหมD คร้งั ท่ี 2 สมัยรัชกาลที่ 2 พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลิศหลOานภาลยั (พ.ศ. 2353 – 2367) 1. พระราชประวัติ พระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลิศหลTานภาลัย ทรงเปน: พระมหากษัตริยไA ทยองคAท่ี 2 แหงD ราชวงศจA ักรี ทรงประสตู เิ มอื่ 24 กมุ ภาพันธA พ.ศ. 2310 ตรงกบั วันพุธ ข้นึ 7 คํ่า เดอื น 3 ปpกนุ มี พระนามเดมิ วDา \"ฉิม\" พระองคAทรงเป:นพระบรมราชโอรสองคทA ี่ 4 ในพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธ ยอดฟ2าจุฬาโลกมหาราชและกรมสมเด็จพระอมรนิ ทรามาตยพA ระบรมราชชนนีพนั ปpหลวง ประสตู ิ ณ บาT นอมั พวา แขวงเมอื งสมุทรสงคราม ขณะนน้ั พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟา2 จฬุ าโลก มหาราช เปน: หลวงยกกระบตั รเมอื งราชบุรี พระบดิ าไดใT หเT ขาT ศกึ ษากับสมเด็จพระวนั รตั (ทองอยD)ู ณ วดั บางหวTาใหญD ภาพที่ 3

5 พระองคAทรงมพี ระชายาเทาD ทป่ี รากฎ 1.1 กรมสมเดจ็ พระศรีสุรเิ ยนทรามาตยA พระอัครมเหสี 1.2 กรมสมเดจ็ พระศรสี ุราลยั พระสนมเอก ขณะขึน้ ครองราชยใA นปp พ.ศ. 2352 มพี ระชนมายุ ไดT 42 พรรษา พ.ศ. 2317 ขณะทเ่ี พิ่งมีพระชนมายไุ ดT 8 พรรษา ไดTตดิ ตามไปสงครามเชยี งใหมD อยใูD น เหตกุ ารณAคร้ังที่บดิ ามีราชการไปปราบปรามเมืองนางรอง นครจําปาศกั ดิ์ และบางแกTว ราชบรุ ี จนถึง อายุ 11 พรรษา พ.ศ. 2322 พระราชบิดาไปราชการสงครามกรุงศรีสัตนาคนหุต กต็ ิดตามไป พ.ศ. 2323 พระชนมายุ 13 พรรษา ไดเT ขาT เป:นศษิ ยAสมเด็จพระวันรตั (ทองอยD)ู พ.ศ. 2324 พระราชบิดาไดเT ลื่อนเป:นสมเด็จเจTาพระยามหากษัตริยAศกึ ฯ ไปรDวมปราบปราม เขมรกบั พระบิดา พ.ศ. 2325 พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา2 จุฬาโลก ไดปT ราบดาภเิ ษกแลวT ไดTทรงสถาปนา ข้ึนเปน: \"สมเดจ็ พระเจTาลกู ยาเธอเจTาฟา2 กรมหลวงอิศรสนุ ทร\" พ.ศ. 2329 พระชนมายุ 19 พรรษา ไดโT ดยเสด็จสมเด็จพระบรมชนกนาถ ไปสงครามตําบล ลาดหญTา และทางหัวเมืองฝาu ยเหนือ พ.ศ. 2330 ไดโT ดยเสด็จพระบรมชนกนาถ ไปสงครามทต่ี ําบลทDาดินแดง และตีเมอื งทวาย พ.ศ. 2331 ทรงผนวชเปน: พระภิกษใุ นพระอุโบสถวดั พระศรรี ัตนศาสดาราม ซ่งึ เปน: พระองคA แรกทอ่ี ปุ สมบทในวดั น้ี เสดจ็ ไปจาํ พรรษา เม่อื ครบสามเดอื น ณ วดั สมอราย ปจl จบุ ันคือวัดราชาธิราช ครั้นทรงลาผนวชในปpน้นั ทรงอภเิ ษกสมรสกบั สมเด็จเจTาหญิงบญุ รอด พระธิดาในพระพีน่ างเธอ สมเด็จเจTาฟา2 หญิงกรมพระศรสี ุดารักษA พ.ศ. 2336 โดยเสดจ็ พระราชบดิ าไปตีเมืองทวาย ครัง้ ท่ี 2 พ.ศ. 2349 (วันอาทิตยA เดอื น 8 ข้นึ 7 คํ่า ปpขาล) ทรงพระชนมายุไดT 40 พรรษาไดรT ับ สถาปนาเป:น \"กรมพระราชวงั บวรสถานมงคล\" ซ่ึงดํารงตาํ แหนDงพระมหาอปุ ราชขึ้นแทน กรม พระราชวงั บวรมหาสรุ สีหนาท ทีไ่ ดสT วรรคตแลTวเมือ่ พ.ศ. 2346

6 2. พระราชกรณียกจิ 2.1 ดOานการปกครอง พระบาทสมเด็จพระพุทธเลศิ หลาT นภาลยั ทรงประกอบพระราชกรณียกิจดาT นการปกครองโดย ยงั คงรูปแบบการปกครองแบบเดมิ แตDมีการตงั้ เจTานายทีเ่ ปน: เชอ้ื พระวงศเA ขTาดแู ลบริหารงานราชการ ตามหนวD ยงานตาD งๆ เชนD กรมพระคลงั ทรงพระกรณุ าโปรดเกลาT ฯ ใหTพระเจTาลูกยาเธอกรมหม่นื เจษฎาบดินทรเA ป:นผูกT ำกับดแู ล เป:นตTน สDวนดTานการออกและปรบั ปรงุ กฎหมายในการปกครอง ประเทศท่ีเอ้ือประโยชนแA กปD ระชาชนมากข้นึ ไดTแกD พระราชกำหนดสักเลก โดยพระองคAโปรดใหT ดำเนินการสกั เลกหมDใู หมD เปลีย่ นเปน: ปลp ะ 3 เดอื น ทำใหTไพรสD ามารถประกอบอาชพี ไดT นอกจากนย้ี ัง มกี ารออกกฎหมายวาD ดวT ยสญั ญาที่ดนิ รวมถงึ พนิ ยั กรรมวDาตอT งทำเป:นลายลกั ษณAอกั ษร และกฎหมาย ที่สำคญั ท่พี ระองคAโปรดเกลาT ฯ ใหกT ำหนดขึ้น คอื กฎหมายหTามซอื้ ขายสบู ฝนm{ 2.2 ดOานเศรษฐกิจ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลTานภาลัยทรงประกอบพระราชกรณยี กิจดTานเศรษฐกจิ ทส่ี ำคญั คือการรวบรวมรายไดจT าการคTากบั ตDางประเทศ ซึ่งในสมัยน้ไี ดมT ีการเรยี กเกบ็ ภาษีอากรแบบ ใหมDคอื การเดนิ สวนและการเดินนา การเดินสวนเปน: การแตDงตั้งเจTาพนกั งานไปสำรวจพนื้ ท่เี พาะปลกู ของราษฎร เพื่อคิดอัตราเสียภาษีอากรท่ถี ูกตอT ง ทำใหTเกิดความยุติธรรมแกเD จาT ของสวน สDวนการเดิน นาคลTายกบั การเดนิ สวน แตใD หเT กบ็ หางขาT วแทนแทนการเกบ็ ภาษีอากร 2.3 ดOานความสมั พนั ธกM ับตWางประเทศ ในรัชสมยั พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลTานภาลัยไดมT กี ารเจรญิ สมั พันธไมตรีกบั ตDางประเทศ ทั้งประเทศเพ่อื นบTาน เชDน พมาD ญวน เขมร มลายู จนี และประเทศในทวีปยุโป เชDน โปรตุเกส อังกฤษ โดยมีความสมั พนั Aในทางการเมอื งและการคาT 2.4 ดาO นสังคมและวัฒนธรรม พระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลิศหลTานภาลยั ทรงใหTความสำคญั ตอD การฟ|}นฟพู ระพทุ ธศาสนามาก ในรชั สมยั ของพระองคAมีการสDงคณะสงฆAไปยังศรลี ังกา และพระองคAทรงโปรดเกลTาฯ ใหTมีการ ปฏิสังขรณAวัดตาD งๆ ไดแT กD วดั แจTง ซงึ่ ไดพT ระราชทานนามใหมวD าD วัดอรุณราชวราราม เป:นวดั ประจำ รัชกาล และโปรดเกลTาฯ ใหปT ฏิสงั ขรณวA ดั อกี คอื วัดทTายตลาด และพระราชทานนามใหมวD Dา วดั พทุ ไธสวรรคA รวมท้ังทรงจำหลกั บานประตพู ระวิหารศรีศาสกยมุนที ว่ี ดั สุทศั นAฯ อกี ท้ังยงั ทรง ปฏิสังขรณวA ัดหงสรA ตั นาราม วดั หนัง วัดบวรมงคล วดั ราชาธวิ าส วัดราชบรู ณะ และวัดโมลีโลกยา ราม นอกจากนีพ้ ระองคยA ังทรงปน}l หุนD พระพักตรพA ระพุทธธรณศิ ราชโลกนาถดลิ ก พระประธานในวดั

7 อรณุ ฯ และทรงป}lนหุนD พระพกั ตรAพระปฏิมา พระประธานในวดั ราชสทิ ธาราม นอกจากน้พี ระองคยA งั ทรงโปรดเกลTาฯ ใหมT กี ารแกไT ขปรับปรงุ การสอนพระปรยิ ัตธิ รรม และโปรดเกลTาฯ ใหTมกี ารแปลบท สวดมนตจA ากภาษาบาลีเปน: ภาษาไทย รวมถงึ ซอD มแซมพระไตรปฎ{ กฉบับท่ขี าดหายไป นอกจากนีแ้ ลวT พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลาT นภาลัยโปรดเกลTาฯ ใหมT กี ารรือ้ ฟน}| พระราช ตDางๆ ไดTแกD พระราชพิธีวสิ าขบูชา ที่เคยทำในสมัยสุโขทัยใหTกลบั มามีความสำคัญอีก พระราชพิธีลง สรงและพระราชพธิ อี าพาธพินาศ เมอื่ เกิดอหวิ าตกโลกระบาด 2.5 ดOานศิลปกรรมวรรณคดี พระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลศิ หลาT นภาลยั ทรงสนพระทยั และทรงทำนบุ ำรงุ ศลิ ปวฒั นธรรม ของชาติทกุ แขนง ไดแT กD 2.5.1 ดาT นการชาD ง งานปนl} พระประธาน งานแกะสลบั านประตู การสราT งสวน ขวาในพระบรมมหาราชวงั 2.5.2 ดาT นการละคร ทรงฟ|}นฟกู ารละคร โดยทรงใหTมีการซอT มทาD รำแบบแผน ประกอบการแตDงบทพระราชนพิ นธA การละครมีมาตรฐานในการรำ เพลง และบท เป:นแบบอยาD งของละครสบื มา 2.5.3 ดาT นดนตรี ทรงมคี วามชำนาญในเคร่อื ดนตรี คอื ซอสามสาย และไดTทรง พระราชนิพนธเA พลง บหุ ลนั ลอยเล่อื น หรอื บุหลนั ลอยฟา2 ซึ่งเปน: เพลงทีม่ ี ความไพเราะมาก นอกจากน้ีทรงรเิ ร่มิ ใหมT ีการขบั เสภาประกอบปmพp าทยA 2.5.4 ดาT นวรรณคดี ทรงเปน: กวที มี่ ีพระปรีชาสามารถและทรงสนับสนุนกวี ทรง พระราชนิพนธวA รรณคดีสำคญั หลายเรื่อง นบั วาD สมัยของพระองคAนเี้ ป:นยุค ทองแหงD วรรณคดี 3.พระราชนพิ นธใM นรัชกาลที่ ๒ พระราชนิพนธใA นพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลาT นภาลัยมลี กั ษณะคำประพนั ธทA ้งั ท่ีเป:นกลอน บทละคร กาพยA และกลอนสุภาพ โดยสามารถแยกตามประเภทของคำประพนั ธไA ดดT งั น้ี 3.1 คำประพันธAทีเ่ ป:นกลอนบทละคร มีดงั นค้ี อื 3.1.1 บทละครเรื่องอิเหนา 3.1.2 บทละครเร่อื งรามเกยี รติ์ ทรงพระราชนิพนธAตอนหนุมานถวายแหวนถึง ตอนทศกัณฐลA มT และตอนบุตรลบ 3.1.3 บทละครนอกเรอื่ งไกรทอง ตั้งแตDไกรทองอยูใD นถำ้ ชาละวันจนกลบั ตามนาง วมิ าลาลงไปในถำ้

8 3.1.4 บทละครนอกเรอื่ งคาวี ตั้งแตทD าT วสันนรุ าชไดผT อบผมถึงคาวีฆาD ไวยทตั 3.1.5 บทละครนอกเรอื่ งไชยเชษฐA ต้ังแตDไชยเชษฐกA ลับมาจากไปตามชาT นถงึ พระ ไชยเชษฐกA ับนางสุวิญชาคืนดีกนั 3.1.6 บทละครนอกเรอื่ งมณีพชิ ัย ตง้ั แตงD ูขบนางจนั ทรถงึ พระมณพี ชิ ยั ออกไปอยDู กบั พราหมณA ท่ศี าลาในปuา 3.1.7 บทละครนอกเร่ืองสังขAทอง ต้ังแตกD ำเนดิ พระสงั ขAถงึ ทTาวยศวิมลกับพระสงั ขA กลับจากเมืองสามนตA 3.1.8 บทละครนอกเรอ่ื งสังขAศิลปช~ ัย ต้งั แตพD ระสังขศA ลิ ปช~ ยั ตกเหวถึงทาT วเสนากฎุ เขาT เมือง 3.1.9 สDวนบทละครเรอื่ งอุณรทุ น้นั พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลิศหลTานภาลยั ทรง นำมาดัดแปลงแกไT ขเพอ่ื หัดหDนุ ละครเลก็ 3.2 คำประพันธAทีเ่ ปน: กาพยA มีดงั นค้ี อื 3.2.1 บทพากยAรามเกียรติ์ ทรงพระราชนพิ นธA 5ตอน คือ นางลอย นาคบาศ พรหมาสตรA เอราวณั และบทพากยAเบด็ เตลด็ ชมรถและมาT 3.2.2 รามเกยี รต์ติ อนพระพริ าพ 3.3.3 กาพยเA หDเรือ 3.3 คำประพนั ธทA เ่ี ปน: กลอนสภุ าพ คอื เสภาเรอื่ งขนุ ชTางขนุ แผน พระองคทA รงพระราช นพิ นธA ๔ ตอน ไดแT กD 3.3.1 ตอนที่ ๔ พลายแกวT เปน: ชูTกบั นางพมิ 3.3.2 ตอนที่ ๑๓ นางวันทองหงึ นางลาวทอง 3.3.3 ตอนที่ ๑๗ ขนุ แผนขึ้นเรอื นขนุ ชTางไดนT างแกTวกิรยิ า 3.3.4 ตอนที่ ๑๘ ขุนแผนพานางวันทองหนี ภาพท่ี 4

9 การเมอื งการปกครอง การสถาปนาพระราชวงศMจักรี พระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟ2าจฬุ าโลกมหาราช เมอ่ื ครงั้ ยงั เปน: สมเด็จพระยามหากษตั ริยศA กึ ภายหลงั ทไ่ี ดทT รงกลบั จากกรุงกมั พชู าเพราะในกรุงธนบรุ ีเกิดจลาจล เม่อื ถงึ กรุงธนบุรี บรรดาขุนนาง ทง้ั นอT ยใหญDทั้งหลายกพ็ ากันออD นนอT มยอมสวามภิ กั ดิ์ เรียกรอT งใหแT กไT ขวกิ ฤตการณAพรTอมกนั นน้ั ก็ อัญเชญิ ใหพT ระองคAเสดจ็ ข้นึ ครองราชสมบตั ิเปน: พระเจTาแผDนดนิ ไทยสืบตDอไป เมือ่ วนั ท่ี 6 เมษายน พ.ศ. 2325 ภายหลงั สถานการณAไดTกลับคืนสคDู วามสงบปกติดังเดมิ แลTว สมเด็จพระยามหากษัตรยิ ศA ึกทรง พิจารณาเหน็ วDา กDอนจะประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษก สมควรจะยาT ยราชธานไี ปอยDฝู าก ตะวันออกของแมDน้ำเจTาพระยาเสียกอD น บริเวณทีท่ รงเลอื กสำหรับสราT งพระราชวงั ขึน้ เคยเป:นสถานท่ี การคTาขายกบั ชาวตาD งประเทศในแผDนดินสมเดจ็ พระนารายณAมหาราช มีนามเดมิ วาD บางกอก ซงึ่ ใน ขณะนนั้ เปน: ทำเลท่อี ยDขู องชาวจนี เมอ่ื ไดTท่ีดังกลDาว ทรงชดเชยคาD เสยี หายใหพT อสมควรแลวT ทรงขอใหT ชาวจีนยาT ยไปอยูDสำเพ็ง เม่ือชาวจีนอพยพไปแลวT บริเวณท่ีดินท่เี หลือเปน: ท่ีวาD งจงึ โปรดใหTสราT งรวั้ ไมT แทนกำแพงขึน้ และสราT งพลับพลาไมTขน้ึ ช่วั คราว เพอื่ จะไดTทรงจัดใหTมพี ระราชพิธีบรมราชาภิเษกไดT อยาD งรวดเร็วในบรเิ วณทจ่ี ะทรงกDอสรTางพระราชวัง และพระราชธานีเปน: การถาวรตอD ไป หลังจากนัน้ ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2325 ขณะทพ่ี ระองคทA รงมพี ระชนมายไุ ดT 45 พรรษา ไดT ทรงประกอบพิธีบรมราชาภเิ ษกครัง้ แรกขน้ึ เปน: ปฐมกษตั รยิ AแหDงราชวงศAจกั รี ทรงพระนามวDา พระบาทสมเด็จพระบรมราชาธิราชรามาธบิ ดีฯ แตDในสมยั ปจl จุบนั ผTคู นนยิ มเรยี กพระนามวDา พระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟ2าจุฬาโลกมหาราช ในเวลาเดยี วกนั ไดทT รงสถาปนาเจาT พระยาสรุ สิงหนาทสมเดจ็ พระอนุชา เปน: พระมหาอปุ ราชา กรมพระราชวงั บวรสถานมงคล หรือทเ่ี รียกวาD ตำแหนDงวังหนาT และทรงสถาปนาพระยาสรุ ิยอภัย พระราชนดั ดา เป:นสมเดจ็ พระเจาT หลานเธอเจTาฟ2ากรมพระอนุรกั ษเA วศนA แตDภายหลังทรงเห็นวDายังไมD สมควรแกคD วามชอบที่มี จึงโปรดใหTเล่อื นขนึ้ เป:นกรมพระราชวังบวรสถานพิมุข หรอื ท่เี รียกวาD ตำแหนDง วงั หลัง และไดทT รงสถาปนาพระเจTาลูกยาเธอพระองคAใหญD ข้นึ เปน: สมเด็จพระเจTาลูกยาเจาT ฟ2า กรมหลวงอศิ รสุนทร นอกจากนีจ้ ึงไดTทรงสถาปนาพระยาพระบรมวงศานวุ งศAทัง้ หลายขนึ้ เป:นเจาT โดยถTวนหนาT ท่ัวทกุ พระองคA พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟา2 จฬุ าโลกทรงไดTรบั อัญเชิญข้ึนครองราชยAในวนั ที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2325 แตDในขณะนนั้ ยังมิไดTสรTางพระราชวงั ใหมD ไดปT ระทบั พระองคAพระราชวังเดิมไปกอD น ตอD มา ภายหลงั เม่ือไดTกDอสรTางพลับพลาท่ปี ระทบั ในบริเวณฟากตะวันออกและไดปT ระกอบพธิ บี รมราชาภิเษก ครง้ั แรกเมือ่ เดือนมถิ นุ ายน พ.ศ. 2325 แลTวการกอD สราT งพระราชวังเปน: ราชธานีแหDงใหมDไดTดำเนนิ

10 ตอD ไปจนแลวT เสร็จใน พ.ศ. 2328 หลงั จากน้ันไดโT ปรดใหTมกี ารสมโภชพระนคร ทำพธิ ีบรมราชาภิเษก อกี ครัง้ หนงึ่ พระองคไA ดพT ระราชทานนามพระนครแหงD ใหมDนี้วDา กรงุ เทพมหานคร อมรรัตนโกสินทรA มหินทรายุธยา มหาดลิ กภพ นพรัตนราชธานี บุรีรมยA อุดมราชนเิ วศนAมหาสถาน อมรพมิ าน อวตารสถติ สกั กะทัตตยิ วิษณกุ รรมประสิทธิ์ สาเหตกุ ารยาO ยราชธานจี ากกรุงธนบรุ มี าตัง้ ที่กรุงรัตนโกสินทรM การทพี่ ระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟา2 จฬุ าโลกมหาราช ทรงยTายราชธานจี ากกรงุ ธนบุรมี า ตงั้ อยทDู ก่ี รุงรัตนโกสินทรA มีเหตุผลดงั นี้ 1. เมืองธนบรุ เี ป:นเมืองทมี่ ีการสรTางป2อมปราการเอาไวทT งั้ สองฝmlง โดยเอาแมDน้ำไวกT ลางเหมอื น อยDางเมอื งพษิ ณโุ ลก มีประโยชนAกต็ รงท่ีอาจเอาเรือรบไวใT นเมอื ง เมอ่ื เวลาถกู ขTาศึกมาตั้ง ประชิด แตกD ารรกั ษาเมอื งคนขTางในจะถDายเทกำลังเขTารบพงDุ รกั ษาหนาT ทไ่ี ดTไมทD ันทวD งที เพราะตอT งขาT มแมนD ้ำ แตแD มนD ้ำเจTาพระยาท้ังกวาT งและลึกจึงทำสะพานขาT มไมDไดT ถาT ขTาศึก เขTามาไดถT งึ พระนครจะไมDสามารถตอD สูTขTาศึกรกั ษาพระนครไดT 2. กรุงธนบรุ ีอยใDู นทTองทงDุ นำ้ เซาะทำใหTตลงิ่ พงั ไดงT Dาย 3. บริเวณพระราชวงั เดมิ ของพระเจTากรงุ ธนบุรคี ับแคบไมสD ะดวกตDอการขยายพระราชวงั ใหT กวาT งออกไป เพราะถกู ขนาบดTวยวดั อรณุ ราชวรารามและวดั โมoีโลกยาราม (วัดทาT ยตลาด) ลกั ษณะการปกครอง ระเบียบบริหารราชการแผนD ดินท่พี ระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟ2าจฬุ าโลกมหาราช ทรงใชใT น การปกครองประเทศน้นั ทรงเอาแบบอยาD งซ่งึ มมี าต้ังแตDสมัยสมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถแหงD กรุงศรอี ยธุ ยา กลาD วคอื พระมหากษัตริยAทรงมอี ำนาจสงู สุดและเด็ดขาดในการปกครองประเทศ มอี คั รมหาเสนาบดี 2 ตำแหนงD คือ สมุหพระกลาโหม และ สมุหนายก ตำแหนDงสมหุ นายก มเี สนาบดี 4 ตำแหนDง ท่เี รียกวDา จตุสดมภA ขึน้ อยูDในบังคบั บัญชาโดยตรงท่ีแตกตDางออกไปคอื ทรงแบงD การ ปกครองพระราชอาณาเขตออกเป:น 3 สวD น ไดแT กD การปกครองสวD นกลาง การปกครองสวD นหัวเมือง และการปกครองเมืองประเทศราช

11 1. การปกครองสWวนกลาง สมุหพระกลาโหม มยี ศและพระราชทินนามวDา เจาT พระยามหาเสนา ใชTตราคชสีหA เปน: ตราประจำตำแหนDงมีอำนาจบังคับบัญชาหัวเมอื งฝาu ยใตทT งั้ ดาT นการทหารและพลเรอื น สมุหนายก มยี ศและพระราชทินนามไมDทรงกำหนดแนนD อน ท่ีใชTอยูDไดTแกD เจTาพระยา จกั รี บดินทรเA ดชานุชติ รัตนาพิพธิ ฯลฯ ใชTตราราชสีหเA ป:นตราประจำตำแหนDง มอี ำนาจ บังคับบญั ชาหัวเมืองฝาu ยเหนอื และอีสานทัง้ ดาT นการทหารและพลเรือน จตุสดมภA มดี งั นี้ 1.1 กรมเวียง หรอื กรมเมือง เสนาบดี คือ เจTาพระยายมราช มตี ราพระยมทรงสงิ หA เป:นตราประจำตำแหนงD มหี นTาที่ดูแลกิจการทัว่ ไปในพระนคร 1.2 กรมวัง เสนาบดี คือ พระยาธรรมา ใชTตราเทพยดาทรงพระนนทิการ (พระโค) เป:นตราประจำตำแหนDง มหี นาT ทีด่ แู ลพระราชวังและต้ังศาลชำระความ 1.3 กรมคลงั หรือ กรมทาD ใชTตราบวั แกTว เปน: ตราประจำตำแหนDงมเี สนาบดีดำรง ตำแหนDงตามหนาT ทรี่ บั ผดิ ชอบคอื 1.3.1 ฝาu ยการเงิน ตำแหนDงเสนาบดคี ือ พระยาราชภักดี 1.3.2 ฝuายการตาD งประเทศ ตำแหนงD เสนาบดคี ือ พระยาศรี พพิ ฒั นA 1.3.3 ฝาu ยตรวจบญั ชีและดแู ลหัวเมืองชายทะเลตะวันออก ตำแหนDงเสนาบดีคอื พระยาพระคลัง 1.4 กรมนา เสนาบดีมีตำแหนงD พระยาพลเทพ ใชตT ราพระพิรณุ ทรงนาค เปน: ตรา ประจำตำแหนDง มหี นาT ทด่ี แู ลนาหลวง เก็บภาษีขาT ว และพิจารณาคดคี วาม เกี่ยวกับทน่ี า

12 2. การปกครองหวั เมือง การปกครองหัวเมอื ง คือ การบรหิ ารราชการแผDนดนิ ในหัวเมืองตDางๆ ซง่ึ แบงD ออกเป:นหวั เมืองชั้นในและหัวเมืองช้ันนอก หวั เมืองชั้นใน (เดิมเรยี กวาD เมอื งลกู หลวง หรือ เมอื งหนTาดDาน) ไดแT กD หัวเมอื งท่ี กระจายอยรDู ายลTอมเมืองหลวง ถอื เปน: เมืองบริวารของเมืองหลวง ไมมD ีศกั ดิ์เป:นเมืองอยาD ง แทจT รงิ เพราะไมDมี เจTาเมอื ง มีเพียง ผTรู ัง้ (ซ่ึงไมDมีอำนาจอยาD งเจาT เมอื ง จะตอT งฟlงคำส่ังจาก เมืองหลวง) หัวเมอื งช้นั นอก ไดแT กD เมอื งท้งั ปวง(นอกจากเมอื งหลวง เมอื งช้นั ใน และเมือง ประเทศราช) เมืองเหลาD นีจ้ ดั แบDงระดบั เปน: เมืองช้ัน เอก โท ตรี ตามขนาด จำนวนพลเมือง และความสำคญั แตDละเมืองยงั อาจมเี มอื งเล็กๆ (เมืองจัตวา) อยใูD ตTสงั กัดไดTอกี ดวT ย เจาT เมอื ง ของเมอื งเหลาD นี้ มอี ำนาจสิทธขิ์ าดในเมืองของตน แตDตTองปฏิบัตติ ามพระบรมราชโองการ และนโยบายของรฐั บาลที่เมืองหลวง ตามเขตการรับผิดชอบคอื 2.1 หัวเมอื งเหนือและอสี าน อยูDในความรบั ผิดชอบของสมุหนายก 2.2 หวั เมอื งใตT (ต้ังแตDเมืองเพชรบุรีลงไป) อยูใD นความรบั ผดิ ชอบของ สมุหพระ กลาโหม 2.3 หัวเมอื งชายทะเลตะวนั ออก (นนทบรุ ี สมุทรปราการ สมทุ รสงคราม สาคร บุรี ชลบุรี บางละมุง ระยอง จนั ทบรุ ี และตราด) อยDูในความรับผดิ ชอบของ เสนาบดกี รมพระคลงั คอื พระยาพระคลงั 3. การปกครองเมืองประเทศราช 3.1 ลาT นนาไทย (เชยี งใหมD ลำพูน ลำปาง เชยี งแสน) 3.2 ลาว (หลวงพระบาง เวียงจันทนA จำปาศกั ด)์ิ 3.3 เขมร 3.4 หวั เมอื งมลายู (ปlตตานี ไทรบุรี กลันตัน ตรงั กาน)ู เมืองประเทศเหลDาน้มี ีเจTาเมืองเดิมเปน: ผTปู กครอง แตมD ีความผกู พันตDอราชธานี คอื การสDงเครือ่ งราชบรรณาการ ตTนไมTเงิน ตTนไมTทอง ตามกำหนดเวลา และชDวยราชการทหาร ตามแตกD รงุ เทพฯ หรือ ราชธานี จะมใี บบอกแจงT ไป ภารกจิ ของราชธานี (กรงุ เทพฯ) คือ ปกป2องดแู ลมใิ หขT Tาศกึ ศัตรโู จมตีเมอื งประเทศราช

13 กระบวนการยตุ ธิ รรม การชำระแกOไขปรับปรงุ กฎหมาย พระราชกรณยี กจิ ท่เี ก่ยี วกบั การปกครองที่สำคัญอีกประการหนึง่ ซ่ึงพระบาทสมเด็จพระพทุ ธ ยอดฟา2 จุฬาโลกมหาราช ไดTโปรดใหTดำเนินการนอกเหนือไปจากการปรบั ปรงุ แกไT ขระเบยี บการบรหิ าร ราชการแผนD ดนิ ไดTแกD การรวบรวมและชำระกฎหมายเกาD ที่ใชกT ันมาตง้ั แตสD มยั อยุธยา เมื่อไดชT ำระ เรยี บรTอยแลTวโปรดเหลาT ฯใหอT าลักษณคA ดั ลอกไวTเป:น 3 ฉบับ ทุกฉบบั ประทบั ตราคชสหี A ตราราชสหี A และตราบวั แกTว ซึ่งเป:นตราประจำตำแหนงD สมหุ พระกลาโหม สมุหนายกและพระยาพระคลัง ตามลำดบั เสนาบดที ้ังสามเปน: ผTูมอี ำนาจหนTาท่ีในการปกครอง ดูแล หวั เมืองทว่ั พระราชอาณาจักร กฎหมายฉบบั นี้จึงมีชื่อเรยี กวาD กฎหมายตราสามดวง หรือเรียกอีกอยDางหนึ่งวDา ประมวล กฎหมายรัชกาลท่ี 1 ไดใT ชเT ป:นหลักในการปกครองประเทศมาจนถึงรชั กาลท่ี 5 กอD นท่ีจะมีการปฏริ ูป กฎหมายและการศาลตามแบบสากล นอกเหนอื จากการปรับปรงุ กฎหมายตราสามดวงแลTวในสมยั รชั กาลท่ี 2 ยังมีการประกาศใชT กฎหมายใหมเD พ่มิ เตมิ เชนD การประกาศใชTพระราชกำหนดสักเลก พระราชบัญญัตหิ Tามสบู และซือ้ ขาย ฝm{น ผTูฝuาฝ|นถกู ลงโทษถึงข้นั โบยตี ถูกยดึ ทรพั ยA ถูกนำไปเป:นตะพุDนหญาT ชาT ง ภาพที่ 5 ความสัมพันธร5 ะหว7างประเทศ ความสมั พนั ธรM ะหวาW งไทยกับประเทศเพ่อื นบOาน 1. ความสมั พันธกM ับพมWา เป:นทำสงครามสูรT บกนั 1.1 รชั กาลท่ี1

14 สวD นใหญDเป:นการทำสงคราม ในสมยั น้มี ีทง้ั หมด 7 ครั้ง คร้งั ท่ี 1 สงครามเกาT ทพั พ.ศ. 2328 ครงั้ ที่ 2 สงครามทDาดนิ แดง พ.ศ. 2329 คร้ังที่ 3 พมDาตีลำปางและปuาซาง พ.ศ. 2330 ครง้ั ท่ี 4 ไทยตเี มอื งทวาย พ.ศ. 2330 ครั้งท่ี 5 การรบที่เมืองทวาย พ.ศ. 2336 ครงั้ ท่ี 6 พมDาตเี มืองเชียงใหมD พ.ศ. 2340 ครงั้ ท่ี 7 ไทยขับไลพD มDาออกจากลTานนา พ.ศ. 2345 การรบทีส่ ำคัญคือ ครัง้ ที่1 ศกึ สงครามเกาT ทัพ โดยพระเจาT ปดุงทรงจดั ทพั เป:น 9 ทัพ ยกมาตหี ัวเมอื งเหนือ 2 ทัพ หัวเมอื งปกl ษAใตT 2 ทพั ทพั หลวง 5 ทพั เขาT มาทางดTานเจดยี สA ามองคA สูรT บกับ ทพั หลวงของไทย บรเิ วณทุงD ลาดหญTา จงั หวัด กาญจนบรุ ี สงครามครงั้ น้ฝี าu ยไทยชนะทุกดาT น ซ่ึงในสงครามเกTาทพั นี้ ไดTเกดิ วีรสตรี สองทDานคอื ทาT วเทพสตรี (คุณหญงิ จนั ) และทTาวศรสี ุนทร (นางมกุ ) ทน่ี ำไพรพD ลเขTา ตDอสูเT พือ่ ปกป2องเมอื งถลาง สงครามคร้ังสำคัญอกี ครัง้ คอื ครั้งที่ 2 ศึกทาD ดินแดง พระเจาT ปดุงพยายามจะแกTตัวในการโจมตไี ทย จึงยกทพั ผาD นดาD นเจดยี AสามองคA โดยมีผลสรปุ คือพมาD ไดพT DายแพใT หTไทยอีกครง้ั 1.2 รัชกาลท่2ี ภาพทพ่ี ระเจTาจักกายแมง กษัตริยพA มาD ไดTเกล้ียกลDอมพระยาไทรบุรยี กทัพ มาตไี ทย เมื่อไทยทราบขาD วจึงสงD กองทพั ไป ทำใหหT ยดุ ไดTทนั ทางพมาD เกิดจลาจลจงึ ไมDไดยT กทพั มา ภาพท่ี 6

15 2. ความสัมพันธกM ับลาO นนา ลTานนาเป:นประเทศราชของไทยมาต้งั แตสD มัยธนบุรี ในสมัยรัชกาลที่ 1 – รชั กาลท่ี 2 จงึ เป:นพันธมติ รท่ีดีตDอกนั 2.1 รัชกาลท่1ี สDงกองทพั ไปชวD ยลTานนาขบั ไลDพมDา ทั้งยังทรงสถาปนาพระยากาวลิ ะทีร่ บ ชนะพมDาใหTเปน: พระเจาT เชยี งใหมD โดยปกครองดูแลหัวเมอื งเหนือทั้งหมด 2.2 รชั กาลท่2ี ไทยกับลาT นนามีมติ รไมตรีตอD กนั 3. ความสมั พันธMกบั ลาวหรอื ลOานชาO ง เป:นการขยายอิทธิพลเขTาไปครอบครอง การผกู มิตรไมตรี และบางครัง้ กท็ ำสงคราม ตอD กนั 3.1 รัชกาลท่1ี ลTานชาT งเกดิ ความแตกแยกภายใน ทำใหไT ทยขยายอิทธพิ ลเขTาไปไดงT Dาย โดย ไทยไดแT ตงD ต้งั เจาT นันทเสนข้ึนเปน: กษัตรยิ ใA นลาT นชาT ง แตDปรากฏวDาเจาT นันทเสนเป:น กบฏตDอตTานไทย จึงแตงD ตง้ั เจาT อินทรวงศAขน้ึ แทนและตงั้ แตเD จTาอนุวงศหA รอื เจาT อนุ เปน: อปุ ราช จงึ เกิดการผสมผสานกับการผูกมิตรไมตรี 3.2 รชั กาลที่2 เจTาอนไุ ดแT สดงความจงรักภักดีตอD ไทยดวT ยการอาสายกทพั ไปปราบกบฏขาD ทย่ี กทพั มาตเี มืองจำปาศกั ดิ์ เจาT อนุสามารถปรบั กบฏไดสT ำเรจ็ จึงกราบบงั คมทูล ขอใหTราชบุตรของตนเปน: เจTาเมืองจำปาศกั ด์ิ ทำใหTเจTาอนขุ ยายอาณาเขตเวียงจนั ทนA ไดTกวาT งขวางและมอี ำนาจมากขน้ึ 4. ความสมั พันธMกับหัวเมอื งมลายู เปน: การขยายอิทธิพลเขาT ไปครอบครอง การผูกมติ รไมตรี และบางครง้ั ก็ทำสงคราม ตอD กัน 4.1 รชั กาลที่1 เมอ่ื ศกึ สงครามเกาT ทัพ พ.ศ. 2328 รัชกาลที่ 1 ไดTโปรดใหT กรมพระราชวัง บวรมหาสุรสีหนาท คมุ ทพั ไปป2องกนั พมDาทเี่ ขาT มาตีหวั เมอื งทางใตT ครน้ั เม่ือรบกับ พมาD เรียบรอT ยแลวT เหน็ วDามกี องทัพพรอT มแลวT เป:นโอกาสเหมาะท่จี ะปราบปรามหัว

16 เมอื งมลายู ใหอT อD นนTอมตDอไทย แตสD ลุ ตาD นเมืองปตl ตานีไมDยอมอDอนนอT ม กรม พระราชวังบวรมหาสรุ สหี นาทจงึ ยกทัพไปตีเมืองปตl ตานไี ดชT ยั ชนะ เมอื่ พระยาไทร บุรี เจTาเมอื งไทรบรุ ี เจาT เมอื งกลันตนั เจTาเมืองตรังกานู ทราบขาD วก็ยอมอDอนนTอม นำ เครือ่ งราชบรรณาการมาถวาย หัวเมืองมลายูจงึ ตกเป:นเมืองขนึ้ ของไทยอกี วาระหนงึ่ ตอD มาในปp พ.ศ. 2332 – 2334 เจาT เมืองปตl ตานเี ปน: กบฏ โดยชกั ชวน องเชียงสอื ยกทพั มาตกี รุงเทพฯ แตกD องทัพเมืองนครศรธี รรมราชและเมืองสงขลา ชวD ยกันตี กองทัพปlตตานีไวTไดT 4.2 รชั กาลท2่ี เม่ือ พ.ศ. 2352 พมDาตีถลางไทยจงึ ไดTเล่อื นยศใหTเจTาพระยานคร ยกกองทพั ไปปราบ พระยาไทรบุรี (ปะแงรัน) เมืองไทรบรุ ี จงึ ตกมาเปน: ของไทย รวมทง้ั ดำเนนิ นโยบายลดอำนาจการปกครองของสุลตDานแตDละเมอื งใหนT อT ยลง พรTอมกันน้ันกท็ ำนุ บำรงุ หัวเมืองไทยตอนบน เชนD สงขลา พทั ลงุ พังงา และตรังใหเT ขTมแขง็ เพื่อปราบ การกอD กบฏของหวั เมอื งมลายู 5. ความสมั พันธMกบั เขมร เป:นลกั ษณะการทำสงครามเพ่ือขยายอำนาจเขTาครอบครอง เพราะไทยตอT งการใหT เขมรเป:นรฐั กนั ชนระหวาD งไทยกับญวน 5.1 รัชกาลที่1 เขมรยังอยDรู ะหวาD งการเกิดจลาจลรัชกาลท่1ี ทรงรบั นักองเองเป:นพระราชบตุ รบญุ ธรรม ภายหลงั สงD นกั องเองไปเปน: กษตั รยิ A โดยมพี ระนามวาD สมเด็จพระนารายณA รามาธิบดี สวD นเจาT พระยาอภัยภเู บศรAใหมT าปกครองเขมรสวD นใน คอื เมืองพระ ตะบองกลับเมืองเสยี มราฐ โดยแยก2เมอื งนีอ้ อกมาขน้ึ ตอD กรงุ เทพ ไมขD ึ้นกบั เขมร 5.2 รชั กาลที่2 สมเดจ็ พระอทุ ยั ราชาธริ าช (นักองจนั ) เริ่มไมพD อใจไทย เรือ่ งท่ีไทยปกครอง เมืองพระตะบองและเมอื งเสียมราฐโดยตรง จงึ หนั ไปสนิทสนมกับเวียดนาม หวังจะ ไดTเวียดนามเปน: ทีพ่ ึ่ง ทำใหรT าชสำนกั เขมรแตกออกเป:นฝาu ยนยิ มเวียดนามกบั ฝาu ยท่ี จงรกั ภกั ดีตอD ไทย รัชกาลทส่ี องจึงสงD กองทัพขนึ้ ไปไกลเD กล่ีย สมเดจ็ พระอทุ ัย ราชาธริ าชพาครอบครัวลภี้ ัยไปอยDทู ่ไี ซDงDอน เทDากับวDา ยอมเป:นเมืองข้นึ ของเวียดนาม แตDยังสDงเคร่ืองราชบญั ญัตกิ ารมายังกรุงเทพทกุ ปp

17 6. ความสมั พันธMกบั เวียดนาม เป:นการทำสงครามตDอกนั เพอ่ื แยงD ชิงเขมร โดยที่ไมDมฝี าu ยใดชนะเดด็ ขาด ภายหลัง เมือ่ เวยี ดนามเกดิ ขTอพพิ าทกับฝร่ังเศส จงึ ไดเT ป{ดเจรจากบั ไทย ทำใหTยุติสงครามระหวDางกนั ไดT และหลังจากเวียดนามไดตT กเป:นอาณานิคมของฝร่งั เศสแลTวความสัมพนั ธAระหวาD งไทยกับ เวยี ดนามกไ็ ดTยุติลงอยDางเปน: ทางการ 6.1 รัชกาลท่1ี เวียดนามมไี มตรกี บั ไทย 6.2 รัชกาลท2ี่ ภายหลังจากทจี่ กั รพรรดยิ าลองสิ้นพระชนมA พระราชโอรสของจักรพรรดิยาลอง ไดT ขึ้นดำรงตำแหนDงจกั รพรรดิ ทรงพระนามวDาจกั รพรรดิมินมาง เวยี ดนามจงึ เริม่ ขยาย อิทธิพลเขาT ไปในเขมร ภาพที่ 7 7. ความสมั พันธกM บั หวั เมอื งมอญ สมยั รชั กาลที่ 1 และรัชกาลที่ 2 ความสมั พันธAจะอยใDู นลกั ษณะการผูกไมตรแี ละ อุปถัมภAพวกมอญ 7.1 รัชกาลท่1ี ทรงสงD กำลงั ไปชวD ยพระยาทวายรบกบั พมDาท่เี ขTามายึดครอง หลงั จากปด{ ลอT มเมอื งอยูDไดTช่ัวระยะเวลาหน่งึ กโ็ ปรดเกลาT ฯ ใหTยกทพั กลับ และพาครอบครวั ชาว มอญมายังกรุงเทพฯ ดTวย

18 7.2 รัชกาลที2่ โปรดเกลTาฯ ใหTชาวมอญไปต้งั ชุมชนอยDูทีเ่ มืองนนทบุรี ปทุมธานี และเมือง นครเขอื่ นขนั ธAุ (พระประแดง) ผลดจี ากความสมั พนั ธAดงั กลDาว นอกจากจะไดTผTคู น เพมิ่ ขน้ึ และความจงรกั ภักดแี ลTว ไทยยังไดTรบั อทิ ธพิ ลทางดาT นวฒั นธรรมบางประการ จากชาวมอญดTวย ความสมั พนั ธรM ะหวาW งไทยกบั ประเทศในเอเชีย 1. ความสมั พันธกM ับจนี เปน: ไปในลักษณะแบบรฐั บรรณาการ ซ่ึงนอกจากไทยจะไดTประโยชนAจากการคาT ขาย กับจนี แลวT ยังไดTรับอทิ ธพิ ลทางวฒั นธรรมจนี หลายประการดวT ย 1.1 รัชกาลที1่ จนี นั้นมงDุ หวงั จะทำการคTาเพียงอยDางเดยี ว จึงยอมปฏบิ ัติตามกฎเกณฑขA อง ไทยเป:นอยDางดี ตรงขTามกับชาวยโุ รปมกั แสวงหาผลประโยชนAและยุงD เกี่ยวกับการ บรหิ ารบTานเมอื งของไทย มักเรยี กรTองสทิ ธพิ ิเศษตDางๆ แลTวนำไปใชใT นทางไมชD อบ โดยเหตุน้ี ชาวไทยจงึ ชอบทำการคาT กบั จนี และแขกมากกวาD ชาวยโุ รป ดงั จะเหน็ ไดT จาก กรมทDา มีตำแหนDงขนุ นางจนี ทท่ี ำหนาT ท่ี ติดตDอการคTากับชาวจนี ประจำกรมทDา ซาT ย ชือ่ พระยาโชฎึกราชเศรษฐี และมีขนุ นางแขก ชื่อ พระยาจุฬาราชมนตรี ประจำกรมทาD ขวา เพอื่ ทำหนTาที่ตดิ ตอD การคTากบั ชาวแขก มลายู ชวาและอินเดยี 1.2 รชั กาลท2ี่ การติดตDอคTาขายกับจีน หลายชาตติ อT งสงD เครอ่ื งราชบรรณาการไปถวายพระเจTากรุง จีน เพ่อื อาศยั เปน: “ใบเบิกทาง” ในการอำนวยความสะดวกในการคTาขาย ทางจีน เรยี กวDา “จม้ิ กTอง” โดยทจี่ ีนถือวDาประเทศที่นำเคร่อื งราชบรรณาการ มาถวาย เป:น ประเทศราช สนิ คาT ที่นำไปขายทีจ่ นี มมี ากมายหลายชนดิ ทสี่ ำคัญ ไดTแกD พรกิ ไทยดำ นำ้ ตาล ดีบุก ไมTกฤษณา ไมTฝาง ฝ2ายงาชTาง ปลาเค็ม หนังสัตวA เขาสตั วA นอแรด รัง นก หลงั จากขายเสร็จแลวT เรือไทยจะซื้อสนิ คTาจากจนี นำกลับเมืองไทย เชDน ถวT ยชาม เครอ่ื งเคลอื บ สงั กะสีใบชา เสนT หม่ี ความสัมพันธรM ะหวาW งไทยกับชาติตะวนั ตก 1. ความสัมพนั ธMกับโปรตุเกส เป:นเรอ่ื งการผกู ไมตรที างการทตู และการติดตDอคTาขาย

19 1.1. รชั กาลท1ี่ โปรตเุ กสเปน: ชาตแิ รกท่ีเขTามาตดิ ตDอทำการคTากับไทยในสมัยรัตนโกสนิ ทรA พ.ศ. 2329 อนั โตนโิ อเดอวเี สนทA ชาวไทยเรยี ก “องตนวีเสน” เป:นทตู ผูเT ชญิ พระราช สาสเA ขTามาถวายโดยเรือสลปุ ทางไทยไดจT ดั การตTอนรับเป:นอยDางดี โดยจัดเกณฑA ขาT ราชการนอT ยใหญD ทั้งฝาu ยทหารและพลเรอื น ทัง้ วังหลวง วังหนาT และวงั หลัง ตลอดจนขนุ นางจีน ญวน แขก ฝรั่ง ฯลฯ มีการจดั งานเลี้ยง พระบาทสมเดจ็ พระ พทุ ธยอดฟ2าจุฬาโลก ไดTเสด็จออกตอT นรับคณะทตู ครั้งน้ี ณ พระทน่ี ั่งจักรพรรดิ พมิ าน 1.2. รัชกาลที่2 โปรตเุ กส เจTาเมืองมาเกÖา ไดสT งD คารโA ลส มานูเอล ซลิ เวลา เป:นทูตมาเจริญ สมั พนั ธไA มตรี ซงึ่ ทั้งสองฝuายไดใT หคT วามสะดวกแกกD นั มากในการคาT ขาย ตอD มา คารA โลส มานเู อล ซลิ เวลา ไดTมาเปน: กงสุลประจำประเทศไทย นับเปน: กงสุลชาติแรกใน สมยั รัตนโกสนิ ทรAและซลิ เวลาไดTรบั พระราชทานยศเป:น “หลวงอภัยวานิช” ภาพที่ 8 2. ความสัมพนั ธกM ับอังกฤษ 2.1 รัชกาลที่1 ไทยตTองเสยี เกาะหมาก (ปนp งั ) และสมารงั ไพร (ดินแดนตรงขTามเกาะหมาก ซ่งึ อังกฤษเรยี กวDา ปรอวินสA เวลเลสลียA) ใหTกบั องั กฤษไปโดย ฟรานซสี ไลทA ชาวไทย เรียก กัปตันไลทA ไดบT ังคับเชาD จากพระยาไทรบรุ ี เพอื่ ใชTเปน: สถานกี ารคTากลางตดิ ตDอ คาT ขายกบั จีน ชวามลายแู ละหมูDเกาะอินโดนเี ซีย อังกฤษทราบดีวาD ไทรบุรีเป:น เมืองขน้ึ ของไทย จงึ พยายามเขาT เฝา2 พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟ2าจุฬาโลก และ ไดTทนู เกลTาถวายดาบประดับพลอยและปน| ดTามเงนิ หนึ่งกระบอก เพ่ือผกู สมั พันธ

20 ไมตรกี ับไทย และแตDงตงั้ ใหฟT รานซสี ไลทเA ปน: พระยาราชกปั ตนั นับเปน: ชาวยโุ รปคน แรกทไ่ี ดTรบั พระราชทานบรรดาศกั ด์ิ ในสมยั รัตนโกสินทรA 2.2 รชั กาลท่2ี มารคA วิส เฮสติงคA ผูTสำเร็จราชการอินเดยี (อนิ เดียเปน: เมืองข้นึ ของอังกฤษ) ไดสT Dง ยอหAน ครอวAเฟด{ คนไทยเรยี ก การะฝดl เป:นฑูตนำเครือ่ งราชบรรณาการมา ถวายเพ่อื เจริญสัมพนั ธไมตรกี บั ไทย ในปp พ.ศ. 2365 โดยที่อังกฤษตอT งการ 2.2.1 ขยายการคTาของบริษัทอินเดยี ตะวนั ออก 2.2.2 เพอ่ื แกปT ญl หาเมืองไทรบุรี 2.2.3 เพ่ือทำแผนที่ของภูมภิ าคน้ี 2.2.4 ผลของการเจรจาลมT เหลวเพราะทง้ั สองฝาu ยพดู ไมDเขTาใจภาษากัน 2.2.5 ลาD มเป:นคนชัน้ ตำ่ ขนุ ทางไทยต้ังขอT รงั เกียด 2.2.6 ชาวตDางชาตทิ เี่ ขTามาตดิ ตDอสDวนมากเป:นชาวจนี ซึ่งมกี ิริยาออD นนอT ม 2.2.7 องั กฤษตอT งการใหไT ทยคนื เมืองไทรบรุ ใี หTกบั ปะแงรัน 2.2.8 ประเพณีไทย ขุนนางเขTาเผTาไมสD วมเส้ือ ทำใหTฝรงั่ ดหู ม่นิ เหยยี ดหยาม ภาพท่ี 9 3 ความสัมพันธMกับอเมรกิ า เปน: ความสมั พนั ธAทางการคาT และความสัมพนั ธทA างดาT นวัฒนธรรม โดยผDานคณะ มชิ ชันนารีที่เขาT มาเผยแผคD รสิ ตศA าสนา 3.1 รชั กาลท2่ี

21 อเมริกา มีความสัมพนั ธAกับไทยคร้งั แรกในสมยั น้ี พอD คTาชาวอเมรกิ นั ชอื่ กปั ตนั แฮน ไดมT อบปน| คาบศิลา จำนวน 500 กระบอก รชั กาลที่ 2 จึงพระราชทาน บรรดาศกั ดิ์ใหเT ปน: “หลวงภักดีราช” ภาพที่ 10 เศรษฐกจิ สมยั รชั กาลที่ 1 รายไดTของประเทศในสมยั รัชกาลท่ี 1 มีรายไดTจากการคTาขายกับตาD งประเทศ ในทวีปเอเชียสDวน ใหญไD ทยคาT ขายกบั ชาวจีน ญี่ปนuุ ชวา สิงคโปรแA ละอินเดยี สDวนชาวตะวันตกท่เี ขาT มาตดิ ตอD ทำการคTา ไดแT กD โปรตุเกส อังกฤษ การคาT ขายในสมยั น้ี ใชเT รือสำเภาในการบรรทุกสินคาT การคTาของไทยน้อี ยใDู น ความดแู ลของพระคลงั สนิ คTา สงั กดั กรมทาD มเี รือสำเภาหลวงที่ปรากฏ ในสมยั รัชกาลที่ 1 ไดแT กD เรือหูสง และ เรือทรงพระราชสาสAน 1. ผลประโยชนทA ไ่ี ดจT ากการคาT มีดังน้ี 1.1 ภาษีเบิกรDอง หรอื คาD ปากเรือ เปน: ภาษีที่เรยี กเกบ็ จากผTนู ำสนิ คTาบรรทุกลงเรือเขTา มาขาย โดยเก็บจากเรอื ทีม่ ีความกวTางตงั้ แตD 4 วาข้ึนไป คิดในอตั ราวาละ 12 บาท สำหรับเรอื ทเ่ี ขาT มาติดตอD คาT ขายอยDเู ป:นประจำและมีไมตรีตDอกัน ถาT เปน: เรือบรรทกุ สินคTาของชาตทิ ีน่ าน ๆ จะเขTามาคTาขายสกั ครั้ง เรยี กเกบ็ ในอัตราวาละ 20 บาท 1.2 อำนาจในการเลือกซื้อสนิ คTาของทางราชการ กรมพระคลงั สนิ คาT จะใหพT นักงานลง ไปตรวจดสู นิ คาT ในเรอื ซึ่งเรียกวDา เหยยี บหัวตะเภา เพ่ือคดั เลือกสนิ คTาท่จี ะซือ้ หรอื เกบ็ ภาษีขาเขาT กอD น พระคลงั สินคTา สามารถส่ังพDอคาT ชาว ตDางชาติ ใหนT ำสนิ คาT เขาT มาขายใหTกับรฐั บาลกอD น จงึ จะขายใหTกบั ประชาชนไดT หรอื สนิ คาT บางอยาD งท่จี ะเป:น ภยั ตอD ความมนั่ คงของชาติ รฐั บาลสามารถสงั่ หTามขายใหกT ับประชาชน ตอT งนำออก นอกราชอาณาจกั ร อาทิเชDน อาวธุ ป|น กระสุนปน| ฝ{นm เป:นตนT

22 1.3 ภาษสี ินคTาขาเขTา รฐั บาลเกบ็ โดยชกั สDวนสนิ คาT ทเ่ี รือบรรทุกเขTามาขาย เรือที่มาเป:น ประจำเก็บ รTอยชัก 3 นานๆมาครั้งเกบ็ รTอยชัก 5 หรอื เกบ็ ตามทกี่ ฎหมายบัญญตั ไิ วT สินคTาขาเขาT ที่สำคญั ไดแกD ผTาไหมจากจนี ผTาฝ2าย ผาT จากอินเดยี เครอื่ งลายคราม ชา ไหมดิบ ไหมสำเร็จรูป เครอ่ื งแกวT ฯลฯ 1.4 ภาษขี าออก ภาษีชนดิ น้ีเก็บเป:นอยาD ง ๆ ไป ตามประเภทของสนิ คTา เชDน น้ำตาล ทรายเก็บหาบละ 50 สตางคA (60 ก.ก. ตอD 2 สลึง) สนิ คTาขาออกท่สี ำคัญไดTแกD ครั่ง ดบี กุ ไมTยาง งาชาT ง รง เขาสัตวA หนงั สัตวA นอแรด หมาก พลู พริกไทย กระวาน กานพลู ขTาว รงั นก ผลเรวD ฯลฯ อนึ่งการคTาขายของไทยเป:นการคTาแบบผูกขาดโดย พระคลังสินคTา เปน: ผTกู ำหนดวาD สินคTาประเภทใด เปน: สินคาT ผูกขาด สินคาT ประเภท ใดเป:น สินคTาตอT งหาT ม สินคาT นอกเหนอื จากท่ี พระคลงั สินคTา กำหนด ราษฎร สามารถ นำสนิ คTาไปขายใหกT บั ชาวตDางชาตไิ ดTโดยตรง สินคาT ผูTขาด เป:นของหายาก เปน: สนิ คTาที่ราษฎรจะตTองนำมาขายใหกT ับพระคลงั สนิ คTาเทDานน้ั เชDน งาชTาง กฤษณา ฝาง รงั นก ดบี กุ ผลเรDว สนิ คTาตTองหาT ม เปน: ส่งิ ของทีห่ าT มขายออกนอก ราชอาณาจักรโดยเด็ดขาด เชนD ดนิ ประสวิ กำมะถนั 1.5 รายไดจT ากการเก็บภาษีอากรและผลประโยชนAของแผDนดนิ 1.5.1 จังกอบ ภาษที ่ีเก็บจากผูTนำสนิ คาT เขTามาขาย โดยชักสDวนจากสนิ คาT ที่ ผาD นดาD นทั้งทางบกและทางน้ำ 1.5.2 อากร ภาษที ี่เกบ็ จากราษฎรทป่ี ระกอบอาชีพทกุ ชนดิ ยกเวTนการคTา 1.5.3 ฤชา คาD ธรรมเนยี มท่ที างการเรยี กเกบ็ จากราษฎรที่มาใชTบรกิ ารของรัฐ 1.5.4 สDวย เงนิ หรือสงิ่ ของทเี่ รยี กเก็บจากไพรDสวD ยแทนการเกณฑแA รงงาน 2. ระบบเงนิ ตรา เงนิ ตราทใี่ ชใT นสมยั รชั กาลที่ 1 น้ัน เรียกวาD เงินพดดวT ง หรอื เงินกลม โดยมตี ราประทับของ ทางราชการเปน: รูปจกั ร ดวงหน่ึง และกรดี วงหนงึ่ (ตรศี ูล) ตอD มาภายหลังใหเT ปลี่ยนจากรูปกรเี ปน: ตรา อณุ าโลม (บวั ผนั ) มี 4 ขนาดคอื ชนิด หนงึ่ บาท สองสลงึ หนึ่งสลงึ และหน่งึ เฟ|}อง

23 ในระยะแรก มีตรารูปจกั ร และตรารปู กรี อยDางละหน่งึ ตรา ตDอมาเมือ่ ไดTมพี ิธบี รมราชาภิเษก แลTว จึงไดโT ปรดเกลาT ฯ ใหใT ชT ตรารูปบวั ผันแทนตรา รูปตรี สำหรบั ตรารูปจกั รจะเป:นจักรแบบ แปด กลบี กลางจักรมจี ุดเหมือนกงจกั ร จงึ มีรูปรDางคลาT ย กงจกั ร อนั เป:นอาวุธของพระวษิ ณุ หรอื พระนารายณA ผิดกบั จกั รในสมัย อยุธยา ซ่ึงมีลักษณะเหมือนธรรมจกั รในพุทธศาสนา ตราประจำ รัชกาลมอี ยสDู องตรา คอื ตราตรีศูล หรอื เรยี กกนั วาD ตรี หรอื กรี อันเปน: อาวุธของพระศวิ ะ หรอื พระ อิศวร รปู รDางเป:นสามงDาม มีกรอบลTอมรอบ อีกตราหน่ึงคอื ตราบวั ผัน หรอื ตราบัวอุณาโลม มีรูปราD ง คลาT ยสงั ขเA วียนขวา อยDูในกรอบ มพี น้ื เปน: ลายกนก ภาพที่ 11 สมัยรัชกาลที่ 2 สมยั พระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟา2 จุฬาโลกมหาราช เน่อื งจากเปน: ชDวงระยะของการกอD รDาง สรTางตัวและไทยยงั ตTองทำสงครามกับพมDาอกี ซึง่ ทำใหฐT านะของประเทศไมมD ั่นคงนัก พระองคAจงึ สนับสนนุ ใหTทำการคาT กับตาD งประเทศ เชนD จีนและโปรตุเกส ต้ังแตปD ลายรชั สมยั พระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลิศหลTานภาลัย รัชกาลท่ี 2 เป:นตTนมา เศรษฐกจิ ของประเทศนบั วาD ฟน|} ตัวข้ึนมาจากเดมิ มาก การเกษตรซึ่งเปน: อาชพี หลกั ของประชาชนในชวD งระยะนี้ ขยายตัวเพม่ิ ขึน้ เชDนเดียวกับการคาT กับตDางประเทศ รายไดสT ำคญั ของรัฐบาลสามารถแบงD ไดT 2 ทาง คือ 1. รายไดจT ากการคTากบั ตาD งประเทศ กรุงเทพฯ นับวDาอยูDในทำเลทีเ่ หมาะสมในการติดตDอคTาขายทางเรือ เพราะตัง้ อยูไD มไD กลจาก ปากทะเล ในสมัยรชั กาลท่ี 2 พระเจาT ลูกยาเธอกรมหมืน่ เจษฎาบดินทรA (ตอD มาไดขT ้ึนครองราชยA ทรง พระนามวDา พระบาทสมเดจ็ พระน่งั เกลาT เจาT อยDหู วั รัชกาลที่ 3) ซ่งึ ทรงบงั คบั บัญชากรมทDา มบี ทบาท ในการสงD เสรมิ การคาT โดยเฉพาะกับจนี จนสมเด็จพระบรมชนกนาถ ทรงเรยี กพระนามวDา \"เจาT สัว\" ตDอมาเมือ่ เสด็จขนึ้ ครองราชยA พระบาทสมเดจ็ พระนั่งเกลTาเจาT อยDหู ัวทรงสนพระทัยฟ|น} ฟูเศรษฐกิจ อยาD งจรงิ จัง การคTาขายกับตDางประเทศจงึ ขยายตวั ออกไปอยาD งกวTางขวางยง่ิ กวาD ใน 2 รชั กาลแรก รายไดจT ากการคาT กับตาD งประเทศทสี่ ำคัญ สามารถแบDงออกไดเT ปน: 5 ประเภท ดงั น้คี ือ

24 1.1 การคาT สำเภาหลวง พระคลงั สินคTา ซ่ึงเปน: หนวD ยงานของรฐั ขึน้ อยDกู บั พระคลงั (พระยา โกษาธบิ ด)ี มหี นาT ทร่ี บั ผดิ ชอบในการแตงD เรอื สำเภาหลวงบรรทุกส่ิงของทเี่ ปน: สDวย เชDน ดีบุก พรกิ ไทย คร่งั ขี้ผงึ้ ไมหT อม ฯลฯ รวมทง้ั สนิ คTาอืน่ ๆ ที่จดั ซ้ือหาเพ่มิ เตมิ ออกไป คTาขายกบั จีนและประเทศใกลTเคยี ง เชDน เขมร ญวน และมลายู แลTวรับซอ้ื สินคาT ตาD งประเทศท่ตี TองการใชภT ายในประเทศ เชนD ผTา ถTวยชาม มาจำหนาD ยแกปD ระชาชนอกี ตอD หนงึ่ ผลกำไรจากการคTาสำเภาหลวงนับเปน: รายไดทT สี่ ำคัญย่งิ ของแผDนดินในสมยั รัตนโกสินทรAตอนตTน 1.2 กำไรจากการผกู ขาดสินคาT พระคลงั สนิ คาT มีหนTาทคี่ วบคุมการคาT กบั ตาD งประเทศ เชDนใน สมัยอยธุ ยา โดยผกู ขาดสินคาT บางอยDาง เชDน รงั นก ฝาง ดีบุก งาชาT ง พริกไทย เนอ้ื ไมT ตะก่วั และพลวง เป:นสินคาT ผูกขาดของหลวง ราษฎรผTใู ดมีสินคาT ดงั กลาD ว ใหนT ำมาขาย แกDพระคลังสินคาT เทDานน้ั หาT มเอกชนซอ้ื ขายกับพอD คาT ตDางชาติโดยตรง ถาT ชาว ตาD งประเทศตTองการซื้อสินคTาเหลาD นี้ จะตTองซ้อื ผDานพระคลงั สินคTา ซึ่งทำหนาT ทีเ่ ปน: พอD คาT คนกลาง 1.3 ภาษีปากเรือ เปน: คาD ธรรมเนียม ซ่ึงเกบ็ จากเรอื สนิ คาT ของชาวตาD งประเทศท่เี ขTามาจอดใน เมืองทาD ของไทย กำหนดเกบ็ ภาษตี ามสวD นกวาT งที่สดุ ของเรอื โดยคดิ อตั ราภาษเี ป:นวา และเรียกเก็บในอตั ราท่ีตDางกนั เชDน ในสมัยรชั กาลที่ 2 เรอื ของจีนเสยี วาละ 40 บาท เรือ กำปlmนฝรงั่ เสียวาละ 118 บาท ตอD มาสมยั รชั กาลท่ี 3 เม่อื ไทยทำสนธิสัญญาเบอรนA กี บั อังกฤษ ใน พ.ศ. 2369 ไดTมขี อT ตกลงวาD รฐั บาลไทยจะเก็บภาษจี ากพDอคาT อังกฤษรวมเป:น อยาD งเดยี วตามความกวTางของปากเรอื เรือสินคTาที่บรรทุกสนิ คTามาขาย เกบ็ วาละ 1,700 บาท สวD นเรือทไ่ี มไD ดบT รรทกุ สินคTาเขาT มาขาย เก็บวาละ 1,500 บาท 1.4 ภาษสี ินคาT ขาเขาT เกบ็ จากสินคTาทพ่ี อD คาT ตDางประเทศนำเขาT มาจำหนDาย เชนD ผาT ฝา2 ย ผTา แพรจีน เครือ่ งแกวT เคร่ืองลายคราม ใบชา อตั ราการเก็บไมDแนนD อน ยืดหยDุนตามความ เหมาะสม เชนD เรือของประเทศท่มี ีสมั พันธไมตรีเขTามาคาT ขายเป:นประจำ จะไดรT บั สิทธิพเิ ศษ ในสมัยรชั กาลที่ 2 เรอื สินคาT ของชาวจนี เสยี ภาษีสินคาT ขาเขTารอT ยละ 4 ถTาเปน: เรือสนิ คาT ของชาตติ ะวนั ตก เสียภาษรี อT ยละ 8 ของราคาสนิ คTา 1.5 ภาษีสนิ คาT ขาออก เกบ็ จากสนิ คาT ท่ีสDงออกในอตั ราท่ตี าD งกันไปตามชนิดของสนิ คาT เชนD ใน สมยั รชั กาลท่ี 2 รงั นกนางแอDนกับเขากวางอDอน เสยี ภาษรี อT ยละ 20 ของราคาสินคTา งาชTางหาบละ 10 สลงึ เกลือเกวยี นละ 4 บาท หนงั ววั หนังควาย กระดูกชาT ง หาบละ 1 บาท

25 2. รายไดภT ายในประเทศ สวD นใหญคD งเป:นแบบเดียวกบั สมัยกรุงศรีอยธุ ยาตอนปลายและสมัยกรุงธนบุรี รฐั บาลมรี ายไดT จากการเก็บภาษีอากร แบDงออกเป:น 4 ประเภท คือ 2.1 จงั กอบ หมายถึง ภาษีสนิ คTาผDานดาD นทั้งทางบกและทางนำ้ โดยการเก็บตามสดั สDวน สนิ คTาในอัตรา 10 หยิบ 1 หรือเก็บเงินตามขนาดของยานพาหนะทข่ี นสนิ คาT ผาD นดDาน สDวนใหญDวดั ตามความกวTางท่ีสดุ ของปากเรือ 2.2 อากร เปน: เงินท่เี ก็บจากผลประโยชนทA ี่ราษฎรไดจT ากการประกอบอาชพี ตาD งๆ ท่ไี มDใชD การคTาขายโดยตรง เชนD การทำนา ทำสวน หรอื เงินทพ่ี อD คTาเสยี ใหแT กDรฐั บาลในการใหT สัมปทานการประกอบการตาD งๆ เชนD การใหเT ก็บของปาu การตมT สรุ า อตั ราทีเ่ กบ็ ประมาณ 1 ใน 10 ของผลประโยชนทA ี่ราษฎรทำมาหาไดT 2.3 สDวย เปน: เงินหรือส่งิ ของทไ่ี พรหD ลวงทไี่ มตD TองการเขTาเวรรบั ราชการสงD มาใหรT ัฐแทนการ เขาT เวรรับราชการโดยรฐั เปน: ผTกู ำหนดวDาใหTไพรDหลวงตอT งเขาT เวรภายใน 3 เดอื น ผใTู ดไมD ตTองการจะเขาT เวร จะตTองเสียเป:นเงินเดือนละ 6 บาท 2.4 ฤชา เปน: เงนิ คDาธรรมเนียมท่ีรัฐเรียกเกบ็ จากราษฎร ในกจิ การทที่ างราชการจัดทำใหT เชDน การออกโฉนด เงนิ ปรบั สนิ ไหม ทีฝ่ าu ยแพจT ะตTองชดใชTใหแT กฝD uายชนะ รฐั กจ็ ะเกบ็ ไป ครงึ่ หนงึ่ เปน: คาD ฤชา เรยี กวาD \"เงนิ พินัยหลวง\" นอกจากนี้ ยังไดมT กี ารปรบั ปรุงภาษบี างอยาD งเพิ่มข้ึนจากเดมิ ในสมยั รัชกาลท่ี 2 และ ที่ สำคญั ๆ มดี งั นี้ ในสมยั รัชกาลท่ี 2 มกี ารปรบั ปรุงภาษี ดังนี้ การเดินสวน คือ การใหTเจTาพนักงานทไี่ ดรT บั การ แตDงตง้ั ออกไปสำรวจเรอื กสวนของราษฎรวDาไดTจดั ทำผลประโยชนใA นทดี่ นิ มากนอT ยเพียงใด แลวT ออก หนังสือสำคัญใหเT จาT ของถอื ไวTเพือ่ เปน: หลักฐานการเสยี ภาษีอากร ซง่ึ การจัดแบงD ภาษกี ารเดินสวน จัดแบงD ตามประเภทของผลไมT การเดินนา คือ การใหTเจาT พนกั งานออกไปสำรวจทน่ี าของราษฎร แลวT ออกหนงั สอื สำคญั ใหT เจาT ของถือไวเT พ่อื เป:นหลักฐานในการเสยี ภาษอี ากรที่เรียกวาD \"หางขาT ว\" คอื การเก็บขาT วในอัตราไรลD ะ 2 ถงั และตอT งนำไปสงD ท่ีฉางหลวงเอง เงนิ คDาผูกปp}ขอT มือจนี เดมิ ชาวจีนไดTรบั การยกเวนT จากการเกณฑแA รงงานในขณะทีร่ าษฎรไทยที่ เป:นไพรDและชนกลDุมนอT ยอนื่ ๆ ท่อี าศยั อยูDในเมืองไทยตTองถูกสักขอT มอื เปน: ไพรDและตอT งทำงานใหTแกมD ลู นายและพระเจTาแผDนดิน รัฐบาลไทยในสมยั รัชกาลท่ี 2 เห็นควรท่ีจะไดใT ชปT ระโยชนAจากแรงงานจนี จงึ ไดพT ิจารณาเก็บเงนิ คDาราชการจากชาวจีน 1 บาท 50 สตางคA ตDอ 3 ปp จนี ท่มี าเสยี คDาแรงงานแลTวจะ ไดTรบั ใบฎกี าพรTอมกบั ไดTรบั การผกู ป}pขTอมือดTวยไหมสแี ดงประทบั ตราดวT ยครง่ั เป:นตราประจำเมือง ซ่งึ แตกตDางกนั ออกไป เชDน เมอื งเพชรบุรีเป:นรปู หนู กาญจนบรุ ี เป:นรูปบวั การผูกป}pขTอมอื จนี น้ี เร่ิมขึ้นใน

26 สมัยรชั กาลที่ 2 ไดTเป:นประเพณีปฏิบัตสิ ืบมาจนถงึ สมัยรัชกาลที่ 5 จงึ มพี ระราชบัญญตั ลิ กั ษณะการผูก ปข}p Tอมือจนี พ.ศ. 2443 ออกใชTบังคับท่ัวทุกมณฑลและไดยT กเลกิ ไปในตอนปลายรชั กาลเมอื่ พ.ศ.2451 ศิลปะ รัชกาลท่ี 1 1. การฟfนg ฟูขนบธรรมเนียมประเพณี เมือ่ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา2 จุฬาโลกเสด็จเสวยราชสมบตั แิ ลTว ไดTทรงฟน}| ฟู ขนบธรรมเนียมประเพณตี าD ง ๆ เพอื่ วางรากฐานวฒั นธรรมของชาติขนึ้ ใหมD ดงั น้ี 1.1 พระราชพิธีบรมราชาภเิ ษก 1.2 พระราชพิธีโสกันตA 1.3 พระราชพธิ ถี ือน้ำพิพฒั นสตั ยา 1.4 พระราชพิธีจรดพระนังคลั แรกนาขวญั (พชื มงคล ) 1.5 พระราชพิธีแหสD ระสนานใหญD ( พระราชพธิ คี เชนทรศั วสนาน ) 1.6 พระราชพิธตี รยี ัมพวาย ( โลชT งิ ชาT ) 1.7 พธิ ีจกั รพรรดริ าชาธริ าช ( พิธีสะเดาะเคราะหAของพระมหากษตั ริยA ) 1.8การเลนD สกั วา ภาพท่ี 12

27 2. กวีและวรรณกรรม พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา2 จุฬาโลก ทรงสนับสนุนและสนใจในดTานวรรณกรรม อยาD งมาก พระองคทA รงสงD เสริมและสนับสนุน บรรดากวีตDาง ๆ ใหTมาอยูDในความดูแลของราช สำนกั ทัง้ ทีเ่ ป:นฆราวาสและเพศบรรชติ ผลงานของกวี และวรรณกรรมท่ีสำคัญในสมัยนีไ้ ดTแกD 2.1 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ2าจุฬาโลก มผี ลงานทพ่ี ระราชนพิ นธA ¬ คำกลอนบทละครเรื่องรามเกยี รติ์ ¬ คำกลอนบทละครเรอ่ื งอิเหนา มีท้งั อเิ หนาใหญD ( ดาหลงั ) และอเิ หนาเล็ก. ( อเิ หนา ) ¬ คำกลอนบทละครเรือ่ งอณุ รทุ ¬ กลอนเพลงยาวนิราศเรอ่ื งรบพมDาท่ที Dาดนิ แดงหรือทเ่ี รยี กวDา นริ าศทาD ดนิ แดง ¬ พระราชพงศาวดารฉบบั พนั จันทนมุ าศ (เจมิ ) 2.2 เจTาพระยาพระคลงั (หน) มีผลงานทสี่ ำคัญในสมยั นี้ แปลและเรยี บเรยี งพงศาวดารจีนเร่ือง สามกÖก แปลและเรยี บเรียง จากภาษามอญ เรอ่ื งราชาธิราช บทมโหรีเรือ่ งกากี ลิลติ พยหุ ยาตราเพชรพวง รDายยาวมหาชาติกัณฑAกุมารและ กณั ฑมA ัทรี 2.3 พระธรรมปรีชา (แกTว) มผี ลงานทีส่ ำคัญ ¬ ไตรภูมิโลกวนิ จิ ฉยั ¬ รัตนพมิ พวงศA (แปล) ¬ มหาวงศA (แปล) 2.4 พระเทพโมลี (กลน่ิ ) เปน: พระภกิ ษุ มผี ลงานทส่ี ำคัญ ¬ ราD ยยาวมหาชาตกิ ณั ฑมA หาพนธA ¬ นิราศตลาดเกรียบ ¬ โคลงกระทTเู บด็ เตลด็ ตDาง ๆ 2.5 สมเดจ็ พระพนรัตนA หรือ วนั รตั นA ¬ สงั คีตยิ วงศA ¬ มหายทุ ธการวงศA ¬ จุลยทุ ธการวงศA

28 รัชกาลที่ 2 1. การฟgนf ฟูขนบธรรมเนียมประเพณี - ศลิ ปวฒั นธรรม 1.1 ทรงฟ}|นฟูประเพณี วนั วสิ ขบชู า เดิมงานประเพณีวันวสิ าขะบชู า ไดTเคยจดั ขึน้ เป:นประจำทุกปp ในวันขนึ้ 15 ค่ำเดอื น 6 ต้ังแตสD มยั กรุงสุโขทยั ถึงอยุธยา แตDเนอ่ื งจากเกิดศึกสงคราม งาน ประเพณจี งึ ไมไD ดTจดั กัน ดวT ยเหตทุ บ่ี าT นเมืองวDยุ วายไมDสงบสุข ครนั ถึงสมัยรัชกาลที่ 2 บาT นเมืองรDมเยน็ สงบสุขดี รชั กาลท่ี 2 ไดTปรกึ ษาหารือกับสมเดจ็ พระสังฆราช เมื่อ เห็นสมควรดแี ลTว จึงไดโT ปรดใหทT ำเปน: พระราชพธิ ใี หญDโต เปน: เวลา 3 วนั ต้งั แตDวนั ขึน้ 14 ค่ำ 15 คำ่ และวนั แรม 1ค่ำ พระมหากษตั ริยA ขุนนาง ไพรD ทาส จะรกั ษาศลี 8 (พระอุโสถศลี ) ปลอD ยนกปลอD ยปลา หาT มฆDาสัตวA หTามเสพสรุ า ใหTต้ังโคมแขวน เคร่อื งสักการะบชู า เวยี นเทยี น โปรดใหมT ีพระธรรมเทศนาในพระอารามหลวง ถวาย เครอื่ งไทยทานจนครบ 3 วนั 1.2 พระราชพิธีอาพาธพนิ าศ เนื่องจากมีโรคอหวิ าตกโรค ระบาดจงึ ไดTประกอบพิธนี ้ขี น้ึ และมีการตั้งโรง ทาน เพื่อพระราชทานเลี้ยงอาหารแกรD าษฎร ในปpพุทธศักราช 2363 ไดเT กดิ อหวิ าตกโรคระบาด ในพระนคร นาน ประมาณ 15 วนั ทำใหรT าษฎร ลมT ตายเปน: จำนวนมาก (ประมาณ 30,000 คน) มีศพ ลอยอยูDตามลำนำ้ คคู ลองอยกDู ลาดเกลื่อน ซากศพทับถมเปน: กอง ทางวดั ไมสD ามารถ เผาไดTหมดจนพระสงฆAตอT งหนอี อกจากวัด ชาวบาT นตอT งหนอี อกจากบาT น สราT งความ วุDนวายอยาD งมากภายในพระนคร รชั กาลที่ 2 จงึ โปรดใหปT ระกอบพระราชพธิ อี าพาธ พนิ าศข้ึน เมือ่ วนั จันทรAขึ้น 7 คำ่ เดือน 10 พ.ศ. 2363 พระราชพิธีนี้ จดั ทำข้ึน ณ พระทน่ี ัง่ ดสุ ติ มหาปราสาท ลักษณะของพระราชพิธนี คี้ ลาT ยกับพิธตี รษุ กลาD วคือ มกี ารยงิ่ ป|นใหญDรอบพระนครตลอดรDงุ คนื แลTวอญั เชิญพระแกTวมรกตออกแหD มพี ระสงฆAชน้ั ผูใT หญอD อกรDวมขบวนแหDดTวย โดยทำหนาT ที่โปรยทรายและประพรมน้ำ พระปริตร เพื่อขับไลโD รคราT ยทัง้ ทางบกและทางน้ำ พรTอมท้พั ระมหากษัตรยิ A พระ บรมวงศานุวงศA ขนุ นาง หยุดงาน เพ่อื รกั ษาศีลทำบญุ ทำทานตามใจสมคั ร ประกาศ หาT มราษฎรฆาD สตั วA ใหรT าษฎรอยDูแตใD นบTานเรอื น ถาT มีธุระจำเปน: จรงิ ๆ จึงใหTออก จากบาT นไดT พระราชทานทรพั ยAใหTเผาศพทีไรTญาตแิ ละโปรดใหTปลDอยนกั โทษออก จากที่คุมขงั จนหมดส้ิน

29 นอกจากนไี้ ดโT ปรดใหTต้ังโรงทานขน้ึ ณ ริมประตูศรสี นุ ทร พระราชทาน อาหารเลีย้ งราษฎรท่มี คี วามปรารถนามารับพระราชทาน การรับประทานอาหารที่ ถูกหลักอนามยั บาT นเมืองสะอาด ทำใหโT รคอหวิ าตกโรคหมดไป (ในสมัยนั้นยงั ไมD รจTู กั เชือ้ อหวิ าตกโรค) เรียกกนั วาD \"โรคหาD ระบาด\" ภาพที่ 13 1.3 ดาT นสถาปlตยกรรม มีการขยายเขตพระบรมมหาราชวัง สราT งสวนขวา ภาพที่ 14

30 1.4 การปlน} และการแกะสลัก ทรงแกะสลกั บานประตพู ระวหิ ารพระศรีศากยมุนีวดั สุทศั นAเทพวรารามคDู หนาT ดวT ยพระองคAเองคูกD ับกรมหม่นื จิตรภักดทรงแกะสลกั หนTาพระใหญแD ละหนTา พระนอT ย ทท่ี ำจากไมTรัก คูหD นึง่ เรียกกนั วDา “พระยารกั ใหญ”D กับ “พระยารักนTอย” ทรงปlน} พระพกั ตรA พระพทุ ธธรรมมิศรราชโลกธาตุดิลก เป:นพระประธานในพระ อโุ บสถวัดอรณุ ราชวราราม 1.5 ดาT นการดนตรี พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลิศหลTานภาลัย ทรงพระปรชี าสามารถในการ ดนตรเี ป:นอยาD งมาก โดยเฉพาะดนตรไี ทย เครื่องดนตรีทท่ี รงโปรดมากคอื ซอสาม สาย ทรงพระราชทานนามวาD \"ซอสายฟา2 ฟาด\" พระองคทA รงแตงD เพลงสรรเสริญ พระจนั ทรA หรอื เพลงบหุ ลันลอยเล่อื น หรอื เพลงบหุ ลนั (เล่อื น)ลอยฟา2 หรือ เพลง ทรงพระสบุ ิน เพราะเพลงนี้มีตTนกำเนิดจากพระสบุ นิ ของพระองคAเอง โดยเลาD กันวาD หลังจากพระองคAไดทT รงซอสามสายจนดึก กเ็ สดจ็ เขาT ทีบ่ รรทมแลวT ทรงพระสุบินวาD ไดTเสด็จไปยงั ดนิ แดนท่ีสวยงามดุจสวงสวรรคA ณ ทน่ี นั้ มพี ระจนั ทรAอันกระจาD งไดT ลอยมาใกลTพระองคA พรอT มกบั มีเสียงทิพยดนตรอี ันไพเราะยิง่ ประทับแนนD ในพระ ราชหฤทัย ครน้ั ทรงตน่ื จาบรรทมก็ยงั ทรงจำเพลงนั้นไดT จึงไดเT รยี กพนกั งานดนตรี มาแตงD เพลงน้ันไวT และทรงอนญุ าตใหนT ำออกเผยแผD ซึ่งเคย ใชT เพลงทรงพระสุบินนี้ เป:นเพลงสรรเสรญิ พระบารมอี ีกดวT ย ภาพท่ี 15

31 1.6 ประวัตคิ วามเปน: มาของธงชาติไทย การใชธT งชาT ง เปน: ธงชาติ ในสมยั น้ีสบื เนอื่ งมาจาก รชั กาลที่ 2 ไดTโปรดใหT สรTางสำเภาหลวงขนึ้ เพ่อื ทำการคาT กับตDางประเทศ ขณะนัน้ ชาวอังกฤษไดTต้งั สถานี การขน้ึ ท่ีสิงคโปรA ไดTแจงT วาD เรือสินคTาที่เขTามาคTาขายตDางก็ชกั ธงแดงทั้งหมดยากแกD การตTอนรบั ขอใหTทางไทยเปลีย่ นการใชTธงเสยี จะไดTจักการบั รองเรอื หลวงของไทย ใหสT มพระเกยี รติ ขณะนนั้ พระองคไA ดชT าT งเผอื กเขTามาสพูD ระบารมถี งึ 3 ชาT ง จึงโปรด ใหใT ชธT งทม่ี รี ปู ชาT งสขี าวอยDูในวงจกั รสีขาวไวตT รงกลางผืนธงสแี ดง เป:นธงประจำเรือ ในการติดตอD คTาขายกบั ตDางประเทศ ซึง่ หมายความวDาเป:นเรอื ของ พระเจาT ชTางเผือก สวD นเรือของราษฎรยงั คงใชTพืน้ ธงสีแดง ภาพที่ 16 2. ดาO นกวีและวรรณกรรม ในสมยั รชั การที่ 2 นี้จัดวDาเป:นยุคทองแหงD วรรณกรรม จนกลDาวไดวT Dา “ถาT ใครเปน: กวี กเ็ ปน: คนโปรด” กวีที่สำคญั ไดแT กD 2.1 รัชการท่ี 2 ทรงพระราชนิพนธA อิเหนา รามเกียรต์ิ บทเสภาเรือ่ งขนุ ชTางขุนแผน ไกรทอง คาวี มณีพชิ ัย สงั ขทA อง 2.2 สนุ ทรภDู หรอื พระสนุ ทรโวหาร แตDงเรอ่ื ง พระอภยั มณี ลกั ษณะวงศA สงิ หไตรภพ โคบุตร พระไชยสุรยิ า นอกจากน้ี ยังมีนริ าศ เชDน นิราศเมืองแกลง นริ าศเมอื ง สพุ รรณ นิราศพระบาท นริ าศภูเขาทอง นริ าศวัดเจาT ฟา2 นิราศอิเหนา นริ าศ เมอื งเพชรบุรี นิราศพระประธม นริ าศท้ังหมดลTวนเป:นคำกลอน ยกเวTนนริ าศ เมืองสุพรรณเป:นโคลงสีส่ ุภาพ

32 2.3 พระยาตรงั แตงD โคลงนิราศตามเสด็จลำนำ้ นTอย 2.4 นายนรินทรAธเิ บศรA (อนิ ทร)A แตงD โคลงนิราศนรนิ ทรA ภาพที่ !\" ภาพที่ !#

บรรณ นกรม คว ม มพนธกบต งปร ทศ มยร.1. (2563). สืบคนเมอื 8 ธันวาคม 2563, จาก http://www.thaigoodview.com/node/131144 คว ม มพนธกบต งปร ทศ มยร.2. (2563). สืบคนเมอื 8 ธนั วาคม 2563, จาก http://www.thaigoodview.com/node/131195 คว ม มพนธร ว งปร ทศ มยรตน ก นทร. (2563). สบื คนเมือ 8 ธันวาคม 2563, จาก https://sites.google.com/site/luklabpixikbaeb/khwam-samphanth-rahwang-prathes- จนิ ตนา เขียวนอย และคณะ. (2563). ศร ฐกจ มยรตน ก นทร ร.1 - ร.5. สืบคนเมือ 9 ธนั วาคม 2563, จาก https://sites.google.com/site/socialpkru/rachkal-thi-1 ชลธดิ า พดั ว.ี (2563). พฒน ก รด นต ง ข ง ณ จกร ทย มยรตน ก นทร. สบื คนเมอื 9 ธันวาคม 2563, จาก https://sites.google.com/site/xanacakrthiysmayratnkosinthr/1-xanacakr-thiy- พฒน ก รข ง ทย น มยรตน ก นทรต นตน ร.1 - ร.3. (2563). สบื คนเมือ 10 ธันวาคม 2563, จาก https://sites.google.com/a/samakkhi.ac.th/phathnakar-khxng-thiy-ni-smay-ratnkosinthr- โรงเรยี นสายนำผึง ในพระอปุ ถัมภ. (2563). พร ร ชปร วต มยพร บ ท ม ดจพร พทธย ดฟ จ ลก. สืบคนเมือ 10 ธนั วาคม 2563, จาก http://210.86.210.116/chalengsak/units/unit4/chapter4 วิชัย เทีนยถาวร. (2563). ก ร ม งก รปกคร ง มยกรงรตน ก นทร พ.ศ. 2325 - 2329. สืบคนเมอื 9 ธนั วาคม 2563, จาก https://www.matichon.co.th/columnists/news_990344


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook