Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Form AnnualReport 2020Angthong

Form AnnualReport 2020Angthong

Published by Yupaporn Chalermglin, 2021-01-22 03:16:40

Description: Form AnnualReport 2020Angthong

Search

Read the Text Version

รายงานประจําปี 2563 (Annual Report) สํานักงานสหกรณ์จงั หวดั อ่างทอง | 45 4. ปญั หา/อปุ สรรค ในการดาํ เนนิ งาน และแนวทางแก้ไข ปัญหา/อปุ สรรค 1) สหกรณ์ท่ีมีข้อบกพร่องและมีการดําเนินคดีกับผู้ท่ีทําให้สหกรณ์เสียหายต้อง ติดตามผลการแกไ้ ขภายหลังดาํ เนินการตามขน้ั ตอนกฎหมายต่อไป ซง่ึ เป็นเวลานานตามอายุความของ คดี การติดตามผลการแก้ไขข้อบกพร่องจึงอาจไม่มีการเปลี่ยนแปลงจนกว่าจะครบกําหนดอายุความ ตามกฎหมาย 2) สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ไม่สามารถให้ข้อมูล ข้อเท็จจริง อันเป็นสาเหตุของ ขอ้ บกพรอ่ งไดช้ ดั เจน ข้อมูลมคี วามคลาดเคล่ือน ทําใหไ้ ด้รับคาํ แนะนาํ จากคณะทาํ งานไม่ถูกต้อง 3) สหกรณไ์ มม่ กี ารจดั ทําทะเบียนคมุ รายละเอียดการดาํ เนนิ การตามกฎหมายแต่ละ หมายเลขคดีใหช้ ดั เจน ทําให้ขอ้ เท็จจริงทีค่ ณะทาํ งานฯไดร้ ับคลาดเคล่ือน แนวทางแก้ไข 1) ให้คําแนะนําสหกรณ์/กลุ่มเกษตรท่ีมีข้อบกพร่องให้ดําเนินการตามขั้นตอน กฎหมายภายในกาํ หนดอายุความ 2) ให้สหกรณ์ส่งผู้แทนสหกรณ์ท่ีเข้าร่วมประชุมต้องเป็นเจ้าหน้าท่ีท่ีเกี่ยวข้อง กรรมการท่ีทราบข้อมูลท่ีชัดเจนมาเข้าประชุมทุกครั้ง รวมทั้งเจ้าหน้าท่ีส่งเสริมสหกรณ์ควรมีข้อมูลท่ี ชดั เจน สามารถนาํ เสนอต่อที่ประชุมคณะทํางานฯ ได้ 3) นอกจากการติดตามผลการแก้ไขข้อบกพร่องเดมิ แล้ว ทปี่ ระชุมควรมแี นวทางการ ป้องกันการเกิดข้อบกพร่อง โดยการให้ความรู้เร่ืองระเบียบ คําส่ัง คําแนะนํานายทะเบียนที่เก่ียวข้อง เพื่อสหกรณม์ คี วามเข้าใจแนวทางการป้องกันอย่างชดั เจน 4) แนะนําให้สหกรณ์ดําเนินการจัดทําทะเบียนคุมรายละเอียดผลของแต่ละ หมายเลขคดแี ต่ละหมายเลขคดีให้ชดั เจน เพอื่ ความสะดวกในการติดตามผลการแกไ้ ข

รายงานประจาํ ปี 2563 (Annual Report) สํานักงานสหกรณจ์ งั หวดั อ่างทอง | 46 5. ภาพถา่ ยแสดงการดาํ เนนิ กจิ กรรมของงาน/โครงการ โครงการประชุมเชงิ ปฏบิ ตั ิการ “เพ่ือสรา้ งการมสี ่วนร่วมในการป้องกนั แกไ้ ขปญั หา และพัฒนาสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกรระดบั จังหวดั ” ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 1. วัตถปุ ระสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดําเนินงานโครงการ วตั ถุประสงค์ 1. เพื่อสร้างการมีสว่ นรว่ มระหว่างสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร และเจ้าหน้าท่ีส่งเสริมสหกรณ์ในการ ขบั เคลอ่ื นนโยบายเกี่ยวกบั การดาํ เนนิ ธุรกจิ ของสหกรณ์หรือกลุม่ เกษตรกร 2. เพ่ือแลกเปล่ียนเรยี นรู้ประสบการณก์ ารแก้ไขปญั หาการดําเนินงานระหว่างสหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกร และผูท้ เ่ี กยี่ วข้อง 3. เพือ่ คณะกรรมการดําเนินการ และเจ้าหน้าที่สหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร มคี วามเขา้ ใจบทบาท หนา้ ทค่ี วามรบั ผิดชอบตามขอ้ บังคับและพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2542 และท่แี กไ้ ขเพมิ่ เติม 4. สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถนําความรู้ท่ีได้รับไปเป็นแนวทางในการป้องกันการเกิด ขอ้ บกพรอ่ งของสหกรณแ์ ละกลมุ่ เกษตรกร ได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ เปา้ หมาย - คณะกรรมการดาํ เนินการ และฝ่ายจดั การสหกรณ์ จํานวน 29 แห่งๆละ 2 คน - คณะกรรมการดําเนนิ การ และฝา่ ยจัดการกลุ่มเกษตรกร จาํ นวน 51 แหง่ ๆละ 1 คน

รายงานประจาํ ปี 2563 (Annual Report) สาํ นกั งานสหกรณจ์ งั หวัดอ่างทอง | 47 - สหกรณ์จังหวดั อ่างทอง เจ้าหน้าที่สง่ เสริมสหกรณ์ ผู้อํานวยการกลุ่มวิชาการ ผู้อํานวยการ กลมุ่ ส่งเสริมสหกรณ์ 2. ผลการดาํ เนนิ งาน คณะกรรมการดําเนินการ ฝ่ายจัดการ เจ้าหน้าท่ีส่งเสริมสหกรณ์ ผู้อํานวยการกลุ่มวิชาการ และผู้อํานวยการกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ ที่เข้าร่วมประชุม รวมทั้งข้าราชการ พนักงานราชการสํานักงาน สหกรณ์จังหวัดอ่างทอง มีการอภิปรายบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของคณะกรรมการดําเนินการ สหกรณ์และเจ้าหนา้ ท่ีสหกรณ์ และแนวทางการแก้ไขปัญหาการดําเนินงานนาํ ไปสู่การปฏิบัติหน้าที่ได้ อย่างถูกต้อง ครบถ้วน และเป็นไปในแนวทางเดียวกัน ตามพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2542 และท่ี แก้ไขเพิ่มเติม ข้อบังคับ และระเบียบของสหกรณ์ รวมทั้งมีความสนใจ มีส่วนร่วมในนโยบายสําคัญ ของกรมส่งเสรมิ สหกรณ์มากข้นึ หลักสูตรในการอบรม - บทบาทหน้าท่ีของคณะกรรมการดําเนนิ การสหกรณ์ - การแก้ไขขอ้ สงั เกตุตามรายงานการตรวจสอบของผสู้ อบบัญชี 3.ผลลัพธ์ ผลลพั ธ์เชิงปรมิ าณ มผี ู้เข้าร่วมประชุมได้แก่ คณะกรรมการดําเนินการสหกรณ์ ฝา่ ยจดั การสหกรณ์ 29 แหง่ และ คณะกรรมการดําเนินการ ฝ่ายจัดการกลุ่มเกษตรกร 51 แห่ง ข้าราชการและพนักงานราชการ สํานักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง ข้าราชการสํานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์อ่างทองที่เก่ียวข้อง รวม ทง้ั ส้นิ 80 คน ผลลพั ธ์เชงิ คุณภาพ 1) คณะกรรมการดําเนินการสหกรณ์สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร มีความเข้าใจบทบาทหน้าท่ี ความรับผิดชอบตามข้อบังคับมากข้ึน รวมทั้งสามารถนําความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้ในการดําเนินกิจการ ไดเ้ ปน็ อย่างดี 2) คณะกรรมการดําเนินการ และฝ่ายจัดการ สามารถนําแนวทางการป้องกันการเกิด ขอ้ บกพร่องของสหกรณ์อนื่ จากการแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ไปใชใ้ นการป้องกันการเกิดปัญหาขอ้ บกพร่องใน สหกรณข์ องตนเองได้ 3) คณะกรรมการดําเนินการสหกรณ์ เข้าใจเข้าใจกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ กฎหมายอ่ืนท่ี เกีย่ วขอ้ ง ระเบยี บ คําส่งั และคําแนะนํานายทเบยี นสหกรณ์ และสามารถนาํ ไปปรบั ใชไ้ ดอ้ ยา่ งถูกต้อง 4) คณะกรรมการดําเนินการสหกรณ์ ทราบแนวทางการแก้ไขข้อสังเกตตามรายงานของ ผู้สอบบัญชี การจัดชั้นคุณภาพ และการควบคุมภายในท่ีดี โดยวิทยากรจากสํานักงานตรวจบัญชี สหกรณ์อ่างทอง และนําประสบการณ์การทํางานของวิทยากรไปเป็นแนวทางการแก้ไขข้อสังเกตของ ผูส้ อบบญั ชีไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง 4. ปัญหา/อปุ สรรค ในการดาํ เนนิ งาน และแนวทางแก้ไข ปญั หา/อปุ สรรค 1) ผคู้ ณะกรรมการดาํ เนนิ การสหกรณไ์ ม่เคยศกึ ษาระเบยี บ คําส่งั และคาํ แนะนํานายทเบยี น

รายงานประจาํ ปี 2563 (Annual Report) สํานักงานสหกรณ์จงั หวดั อ่างทอง | 48 สหกรณ์ อย่างถอ่ งแท้ ทําให้เกดิ ความเขา้ ใจคลาดเคลือ่ น 2) คณะกรรมการดําเนนิ การสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร บางแหง่ ไมท่ ราบแนวทางการแกไ้ ข ข้อสังเกตของผูส้ อบบัญชี จนนําไปสู่การเกิดข้อบกพรอ่ ง 3) สหกรณ์ และกลุม่ เกษตรกร ขาดความเขา้ ใจวัตถุประสงคข์ องนโยบายตา่ งๆทส่ี าํ คัญ ของ กรมส่งเสริมสหกรณ์ว่ามีส่วนในการขับเคล่ือนสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรอย่างไรบ้าง ทําให้ขาดความ สนใจทจ่ี ะเข้าร่วมโครงการต่างๆ ของกรมสง่ เสรมิ สหกรณ์ แนวทางแก้ไข 1) ด้านการขาดขาดความรู้ความเขา้ ใจกฎหมายที่เก่ยี วข้องกับสหกรณ์ ขอ้ บงั คับและระเบียบ นายทะเบียนสหกรณ์ วิทยากรได้ยกตัวอย่างกรณีศึกษาสหกรณ์อ่ืนๆข้ึนเป็นแนวทางในการปฏิบัติ หน้าท่ี เพื่อเพิ่มทักษะ ความเข้าใจ จากประสบการณ์จริงของวิทยากร โดยคณะผู้จัดอบรมได้แจก เอกสารเกี่ยวกบั ระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ คาํ แนะนาํ นายทะเบยี นสหกรณ์เพื่อศึกษาเปน็ แนวทาง 2) วิทยากรทาํ ความเข้าใจกบั สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรว่าจะสามารถขับเคล่ือนการดาํ เนินน ธุรกิจเพื่อนําไปสู่ความเข้มแข็งได้อย่างไร เร่ิมจากการเข้าใจบทบาทหน้าที่ต่อสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร บทบาทหนา้ ทต่ี ่อฝ่ายจดั การ บทบาทหน้าที่ในการปฏบิ ตั ิตามกฎหมาย ข้อบังคบั และระเบยี บ 3) เปิดเวทีให้แลกเปลี่ยนประสบการณ์การแก้ไขปัญหา การป้องกันการเกิดข้อบกพร่องข และแนวทางการแก้ไขข้อสังเกตของผู้สอบบัญชี โดยมีเจ้าหนา้ ที่ส่งเสริมสหกรณ์ สหกรณ์จังหวัด และ ผู้อํานวยการกลุ่มวิชาการ คอยเพ่ิมเติมความรู้ ประสบการณ์อย่างถูกต้อง เพ่ือสามารถดําเนินการ เปน็ ไปในแนวทางเดยี วกนั

รายงานประจําปี 2563 (Annual Report) สาํ นกั งานสหกรณจ์ งั หวัดอ่างทอง | 49 5. ภาพถ่ายแสดงการดําเนินกจิ กรรมของงาน/โครงการ จัดประชมุ วนั ที่ 14 สงิ หาคม 2563 ณ หอ้ งประชุมสํานักงานสหกรณจ์ งั หวัดอา่ งทอง

รายงานประจําปี 2563 (Annual Report) สํานกั งานสหกรณจ์ งั หวัดอ่างทอง | 50 โครงการสร้างความเขม้ แข็งใหก้ ับกลมุ่ เกษตรกร เพื่อเขา้ ถึงแหล่งเงนิ ทนุ ในการผลติ และการตลาด 1. วัตถปุ ระสงค์ ตามมติคณะรัฐมนตรี เม่ือวันท่ี 9 กุมภาพันธ์ 2559 และมติคณะกรรมการสงเคราะห์ เกษตรกร ครั้งที่ 6/2558 เม่ือวันที่ 24 พฤศจิกายน 2558 เห็นชอบและอนุมัติจัดสรรเงินกองทุน สงเคราะห์เกษตรกรให้กับกรมส่งเสริมสหกรณ์ยืมเงินเพื่อดําเนินโครงการสร้างความเข้มแข็ง ให้กบั กล่มุ เกษตรกรเพื่อเขา้ ถึงแหล่งเงนิ ทุนในการผลติ และการตลาด วงเงินจาํ นวน 1,000 ลา้ นบาท โดยไม่มีดอกเบ้ีย กําหนดชําระคืนภายใน 5 ปี (พ.ศ.2559 – 2564) และเงินจ่ายขาด จํานวน 10 ลา้ นบาท เพอ่ื เปน็ ค่าใชจ้ ่ายในการตดิ ตามโครงการของกลมุ่ เกษตรกร โดยมวี ัตถปุ ระสงค์ 1. สนับสนุนเงนิ กู้ยืมให้กับกลุ่มเกษตรกรเฉพาะทผ่ี ่านมาตรฐานของกรมส่งเสริมสหกรณ์ เพอื่ ให้มเี งินกยู้ มื ใช้เป็นเงนิ ทนุ หมนุ เวยี นในแต่ละปี รวม 5 ปี 2. เพ่ือส่งเสริมเกษตรกรให้สามารถจัดหาปัจจัยการผลิตทางการเกษตรที่มีคุณภาพและ ราคายุติธรรม ตรงตามความประสงค์ของเกษตรกรเอง เพ่ือเป็นการลดต้นทุนการผลิตของเกษตรกร รวมทัง้ สร้างรายได้เพิ่มจากการรวบรวมผลผลิตเพ่อื จําหน่าย หรอื แปรรูปผลผลิตรว่ มกนั 3. สร้างโอกาสการเข้าถึงแหล่งเงินทุนให้กับเกษตรกร เพ่ือร่วมกันแก้ไขปัญหาและสร้าง ความย่ังยืนในการเพิ่มทุนภายใน เพ่ือให้การบริหารจัดการกลมุ่ เกษตรกรมีศักยภาพและความเข้มแข็ง ตอ่ ไป 2. ผลการดาํ เนินงาน คณะกรรมการพิจารณาเงินกโู้ ครงการสร้างความเข้มแข็งให้กับกลุ่มเกษตรกรเพื่อเข้าถึงแหล่ง เงินทุนในการผลิตและการตลาด ระดับจังหวัด ได้ประชุมพิจารณาอนุมัติเงินกู้ครั้งท่ี 1/2562 เม่อื วันท่ี 19 เมษายน 2562 ครง้ั ท่ี 2/2562 เมือ่ วนั ที่ 26 สงิ หาคม 2562 อนมุ ตั ใิ ห้กลุ่มเกษตรกร กู้ยืมเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกรโครงการสร้างความเข้มแข็งให้กับกลุ่มเกษตรกรเพื่อเข้าถึงแหล่ง เงินทนุ ในการผลิตและการตลาด จํานวน 7,800,000 บาท ให้กับกลุ่มเกษตรกร จํานวน 15 กลมุ่ ที่ ช่ือกลุ่มเกษตรกร จํานวน 1 กลุ่มเกษตรกรทาํ นาม่วงเตี้ย 700,000 2 กลุ่มเกษตรกรทาํ นาสาวรอ้ งไห้ 500,000 3 กลุ่มเกษตรกรทํานาตรีณรงค์ 500,000 4 กลุ่มเกษตรกรทาํ นาชัยฤทธิ์ 500,000 5 กลุ่มเกษตรกรทํานาชะไว 200,000 6 กลุ่มเกษตรกรทาํ นาเทวราช 500,000 7 กลมุ่ เกษตรกรทํานาแสวงหา 500,000 8 กลมุ่ เกษตรกรทาํ นาบ้านพราน 500,000 9 กลุม่ เกษตรกรทํานาบางระกาํ 500,000 10 กลุ่มเกษตรกรทํานาตาํ บลไผ่ดําพฒั นา 400,000 11 กล่มุ เกษตรกรทาํ นาไชยภมู ิ 1,200,000 12 กลมุ่ เกษตรกรไร่นาสวนผสมตําบลรํามะสัก 300,000 13 กลุ่มเกษตรกรทาํ นาตําบลราษฎรพฒั นา 600,000

รายงานประจาํ ปี 2563 (Annual Report) สํานกั งานสหกรณ์จงั หวดั อ่างทอง | 51 ท่ี ช่ือกลุ่มเกษตรกร จํานวน 14 กลมุ่ เกษตรกรทํานาไผ่จาํ ศีล 500,000 15 กล่มุ เกษตรกรทาํ นาอบทม 400,000 7,800,000 รวม 3.ผลลัพธ์ ผลลพั ธ์เชิงปรมิ าณ กล่มุ เกษตรกรในจังหวัดอ่างทองเขา้ ถึงแหล่งเงนิ ทนุ ในการผลติ และการตลาด จํานวน 15 แห่ง ผลลัพธ์เชงิ คุณภาพ เกษตรกรสามารถจัดหาปัจจัยการผลิตทางการเกษตรที่มีคุณภาพและราคายุติธรรม ตรง ตามความประสงค์ของเกษตรกรเอง ทาํ ใหล้ ดต้นทุนการผลติ ของเกษตรกร 4. ปญั หา/อปุ สรรค ในการดําเนินงาน และแนวทางแก้ไข ไม่มี 5. ภาพถ่ายแสดงการดําเนนิ กิจกรรมของโครงการ ติดตามผลการใชเ้ งนิ กูก้ องทุนสงเคราะหเ์ กษตรกร โครงการสร้างความเข้มแข็ง ใหก้ บั กลุ่มเกษตรกร เพ่ือเข้าถึงแหลง่ เงินทนุ ในการผลิตและการตลาด จํานวน 15 แหง่ (วันที่ 5 สิงหาคม – 2 กันยายน 2563)

รายงานประจําปี 2563 (Annual Report) สํานักงานสหกรณ์จงั หวดั อ่างทอง | 52 โครงการสนับสนุนเงินทนุ เพอ่ื สรา้ งระบบน้ําในไร่นาของสมาชิกสถาบันเกษตรกร ระยะท่ี 2 1. วัตถปุ ระสงค์ กรมส่งเสริมสหกรณ์จึงจัดทําโครงการสนับสนุนเงินทุนเพื่อสร้างระบบน้ําในไร่นาของสมาชิก สถาบันเกษตรกร ระยะท่ี 2 เพื่อขอวงเงินกู้ยืมเพ่ิมเติมจากกองทุนสงเคราะห์เกษตรกรนําไปจัดสรร ให้สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรท่ียังไม่ได้รับการสนับสนุนในระยะที่ 1 หรือโครงการอ่ืนของภาครัฐ ที่มีลกั ษณะเดยี วกัน โดยมีวัตถุประสงค์ ๑. เพอ่ื สร้างโอกาสในการทําเกษตรกรรม และลดความเสย่ี งจากการขาดแคลนนา้ํ ๒. เพื่อส่งเสริมการจัดระบบไร่นาของเกษตรกรให้มีความยั่งยืน มีแหล่งนํ้าในฟาร์ม ของตนเอง ลดการพ่งึ พาน้าํ จากระบบชลประทานและแหลง่ น้ําธรรมชาติ ๓. เพ่ือสร้างการเปล่ียนแปลงจากระบบการทําเกษตรกรรมแบบพ่ึงธรรมชาติ เปน็ การเกษตรแบบบรหิ ารจัดการเพ่อื ลดความเสย่ี งจากการขาดนา้ํ เปา้ หมาย/พื้นที่ดําเนนิ การ สหกรณก์ ารเกษตรโพธทิ์ อง จํากัด และสหกรณ์การเกษตรแสวงหา จํากัด 2. ผลการดาํ เนินงาน คณะกรรมการพิจารณาเงินกู้กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร โครงการสนับสนุนเงินทุนเพื่อสรา้ ง ระบบนํา้ ในไร่นาของสมาชิกสถาบันเกษตรกร ระยะท่ี 2 ระดบั จังหวัด ไดป้ ระชมุ พิจารณาอนุมัติเงินกู้ ครั้งที่ 1/2563 เม่ือวันท่ี 31 กรกฎาคม 2563 อนุมัติให้สหกรณ์กู้ยืมเงินกองทุนสงเคราะห์ เกษตรกรโครงการสนับสนุนเงินทุนเพื่อสร้างระบบนํ้าในไร่นาของสมาชิกสถาบันเกษตรกร ระยะท่ี 2 จาํ นวน 5,000,000 บาท ดงั น้ี 1. สหกรณ์การเกษตรโพธ์ทิ อง จาํ กัด จาํ นวน 3,100,000 บาท 2. สหกรณก์ ารเกษตรแสวงหา จาํ กัด จาํ นวน 1,900,000 บาท 3.ผลลัพธ์ ผลลพั ธ์เชงิ ปรมิ าณ ๑. สมาชิกสหกรณเ์ ข้าร่วมโครงการตามวตั ถปุ ระสงคโ์ ครงการ จํานวน 100 ราย 2. ระบบนา้ํ ในไรน่ าของสมาชิกสหกรณ์มีนํ้าใช้เพ่ือการเกษตรหรือการพฒั นาแหล่งนํ้าสามารถมี นํ้าใชใ้ นไร่นาได้จรงิ รอ้ ยละ 80 ๓. สมาชิกกลุ่มเป้าหมายสามารถลดความเสี่ยงท่ีเกิดจากภัยแล้ง การขาดแคลนนํ้าเพ่ือใช้เพื่อ การเกษตรหรอื มีระบบนา้ํ ใช้เพือ่ การเกษตรรอ้ ยละ 80 ผลลพั ธ์เชงิ คณุ ภาพ 1. เกษตรกรมีโ อ ก าส ว า ง แผ น ก ารผ ลิ ต ก่ อนห รื อหลั ง ฤดู ก าล ได้ เนื่องจ า ก มี แหล่งน้าํ ตน้ ทุน ส่งผลให้ผลผลติ ทยอยออกสู่ตลาดในระยะเวลาที่เหมาะสม 2. ลดภาระหนี้สินที่เกิดความเส่ียงจากการทําการเกษตรตามระบบธรรมชาติ มาเป็น การเกษตรมรี ะบบน้ําในพ้ืนท่ีของตนเอง ลดการพงึ่ พาการบริหารจัดการนา้ํ จากระบบชลประทานหรือ แหล่งน้ําตามธรรมชาติ

รายงานประจําปี 2563 (Annual Report) สาํ นกั งานสหกรณ์จงั หวัดอ่างทอง | 53 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการดําเนนิ งาน และแนวทางแก้ไข ไมม่ ี 5. ภาพถ่ายแสดงการดําเนนิ กิจกรรมของโครงการ สาํ รวจความเหมาะสมของพื้นที่สมาชกิ เพื่อจับพิกัดการขุดสระน้ํา/เจาะบอ่ บาดาล 100 แหง่ ประชมุ ช้ีแจงโครงการสนับสนนุ เงนิ ทุนเพื่อสร้างระบบนํา้ ในไร่นาฯ ระยะที่ 2 แก่ผู้แทนสหกรณ์ สหกรณ์การเกษตรโพธิท์ อง จํากดั และ สหกรณ์การเกษตรแสวงหา จาํ กดั

รายงานประจาํ ปี 2563 (Annual Report) สํานกั งานสหกรณจ์ งั หวดั อ่างทอง | 54 ประชมุ คณะกรรมการพจิ ารณาเงินก้กู องทุนสงเคราะหเ์ กษตรกร โครงการสนบั สนุนเงินทนุ เพ่อื สรา้ งระบบนาํ้ ในไรน่ าของสมาชิกสถาบันเกษตรกร ระยะท่ี 2 ระดับจังหวัด คร้ังที่ 1/๒๕๖3 วันที่ 31 กรกฎาคม 2563

รายงานประจําปี 2563 (Annual Report) สํานกั งานสหกรณ์จงั หวดั อ่างทอง | 55 โครงการส่งเสรมิ สหกรณส์ ีขาวด้วยธรรมาภิบาล 1. วัตถุประสงค์ สํานักงานสหกรณ์จงั หวัดอ่างทอง กรมส่งเสรมิ สหกรณ์ มหี นา้ ท่ีสง่ เสรมิ และพฒั นาให้สหกรณ์ เปน็ องค์กรที่เข้มแข็งเปน็ ท่ีพึ่งแก่มวลสมาชิก ในการส่งเสริมใหส้ หกรณ์เป็นองค์กรที่สมารถบรหิ ารงาน ไปสเู่ ป้าหมายอย่างมปี ระสิทธภิ าพ ภายใตก้ ารกาํ กบั ดูแลกจิ การที่ดเี ป็นสหกรณ์สีขาวด้วยธรรมาภิบาล ตามแผนยุทธศาสตร์ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ โดยยึดหลักธรรภิบาล 9 หลัก คือ 1) หลักประสิทธิผล 2) หลักประสิทธิภาพ 3) หลักการตอบสนอง 4) หลักภาระรับผิดชอบ 5) หลักความโปร่งใส 6) หลกั การมสี ว่ นรว่ ม 7) หลักการมอบอํานาจ 8) หลกั นิติธรรม 9) หลักความเสมอภาค ๑.เพื่อส่งเสรมิ พัฒนาสหกรณใ์ หม้ กี ารบริหารจัดการด้วยการนาํ หลักธรรมาภบิ าลมา ปฏิบตั ิถือใชอ้ ย่างเคร่งครดั และดําเนนิ งานโดยยึดหลักความเปน็ สหกรณ์ ๒.เพอ่ื ให้สหกรณต์ ระหนักถึงคุณคา่ และคุณประโยชน์ของธรรมาภิบาล และมีการปฏิบัติ ในทกุ ระดบั ท้งั สมาชิก กรรมการ และเจ้าหนา้ ท่สี หกรณ์ เป้าหมาย/พ้ืนทีด่ าํ เนินการ สหกรณ์ประเภทออมทรัพย์ จํานวน 6 สหกรณ์ สหกรณ์ภาคการเกษตร จํานวน 8 สหกรณ์ และสหกรณ์เครดติ ยูเนยี น จาํ นวน 1 สหกรณ์ รวมท้งั สนิ้ 15 สหกรณ์ 2. ผลการดาํ เนินงาน กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์ร่วมกับเจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ แนะนําส่งเสริมสหกรณ์และเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการสหกรณ์ให้ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ และ จํานวน 15 สหกรณ์ คณะทํางานสง่ เสริมธรรมาภบิ าลทาํ การตรวจประเมินธรรมาภบิ าลเบือ้ งตน้ รว่ มกบั สหกรณ์ จํานวน 15 สหกรณ์ ผลการตรวจประเมนิ คร้ังที่ 1 ดงั น้ี 1. สหกรณ์การเกษตรแสวงหา จาํ กัด 36.38 คะแนน 2. สหกรณ์การเกษตรผูเ้ ลี้ยงและคา้ สตั วอ์ า่ งทอง จาํ กัด 27.57 คะแนน 3. สหกรณก์ ารเกษตรไชโย จํากดั 35.83 คะแนน 4. สหกรณก์ ารเกษตรป่าโมก จํากดั 38.86 คะแนน 5. สหกรณ์การเกษตรวเิ ศษชยั ชาญ จาํ กัด 42.18 คะแนน 6. สหกรณก์ ารเกษตรโพธทิ์ อง จาํ กดั 34.63 คะแนน 7. สหกรณก์ ารเกษตรบางเสดจ็ จาํ กัด 26.48 คะแนน 8. สหกรณเ์ ครดติ ยูเน่ียนบ้านบอ่ แร่ จํากดั 28.62 คะแนน 9. สหกรณอ์ อมทรัพยโ์ รงพยาบาลอ่างทอง จาํ กัด 37.26 คะแนน 10. สหกรณอ์ อมทรพั ย์ครูอา่ งทอง จํากดั 46.15 คะแนน 11. สหกรณ์ออมทรัพยส์ าธารณสุขอา่ งทอง จาํ กดั 40.81 คะแนน 12. สหกรณอ์ อมทรัพยต์ ํารวจอ่างทอง จํากัด 44.50 คะแนน 13. สหกรณอ์ อมทรพั ย์สหภาพแรงงานไทยคาร์บอน จํากัด 60.25 คะแนน 14. สหกรณ์ออมทรัพย์สหภาพแรงงานไทยเรยอน จํากดั 85.82 คะแนน 15. สหกรณ์การเกษตรปศสุ ัตวอ์ ่างทอง จาํ กดั 32.98 คะแนน

รายงานประจาํ ปี 2563 (Annual Report) สํานักงานสหกรณ์จงั หวดั อ่างทอง | 56 หลักการประเมิน การผ่านการประเมินต้องไดค้ ะแนนรวม ต้ังแต่รอ้ ยละ 85 ข้ึนไป และต้อง ได้คะแนนในแต่ละหลักไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ดังนั้น มีสหกรณ์ผ่านการประเมินธรรมาภิบาล ประจําปี 2563 คร้ังท่ี 1 จาํ นวน 1 แหง่ คอื สหกรณอ์ อมทรัพย์สหภาพแรงงานไทยเรยอน จํากัด ได้ คะแนน 85.82 คะแนน 3.ผลลพั ธ์ ผลลพั ธ์เชิงปริมาณ สหกรณ์ทีเ่ ข้าร่วมโครงการผา่ นเกณฑป์ ระเมินสหกรณ์สีขาวดว้ ยธรรมาภบิ าล จํานวน 1 แหง่ ผลลพั ธ์เชิงคุณภาพ ๑.พฒั นาสหกรณ์ใหม้ ีการบรหิ ารจัดการดว้ ยการนาํ หลกั ธรรมาภิบาลมาปฏบิ ัติถือใช้อย่าง เคร่งครดั และดําเนินงานโดยยึดหลักความเปน็ สหกรณ์ ๒.สหกรณ์ตระหนักถึงคุณค่าและคุณประโยชน์ของธรรมาภิบาล และมีการปฏบิ ตั ิในทุกระดบั ท้ังสมาชกิ กรรมการ และเจ้าหนา้ ทสี่ หกรณ์ 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการดําเนินงาน และแนวทางแก้ไข ๑. การกาํ หนด ทบทวน ระเบียบ ขอ้ บงั คับตา่ ง ๆ ของสหกรณ์ทีถ่ ือใชป้ ฏิบตั อิ าจไมเ่ ป็นธรรม ไม่ทนั สมัย ไม่เปน็ ท่ยี อมรบั ของทุกฝ่ายทเ่ี กยี่ วข้อง มีการเลือกปฏิบัติ และอาจเปิดโอกาสใหฝ้ า่ ยใดฝ่าย หนึ่งใช้ อาํ นาจเพียงฝา่ ยเดยี ว ๒. คณะกรรมการสหกรณ์ ยังไม่เห็นความสําคญั ในการทจ่ี ะนาํ หลกั ธรรมาภิบาลมาปฏิบตั ถิ ือ ใชอ้ ยา่ งเคร่งครดั และดาํ เนนิ งานโดยยดึ หลกั ความเปน็ สหกรณ์ 5. ภาพถา่ ยแสดงการดาํ เนินกจิ กรรมของโครงการ คณะทาํ งานตรวจประเมินธรรมาภิบาลทําการตรวจประเมนิ ธรรมาภบิ าล คร้ังท่ี 2

รายงานประจาํ ปี 2563 (Annual Report) สํานกั งานสหกรณจ์ งั หวัดอ่างทอง | 57 ประชุมคณะทาํ งานส่งเสริมธรรมาภิบาลสหกรณ์ คร้งั ท่ี 2/๒๕๖3 วนั ท่ี 15 กันยายน ๒๕๖3 ประชุมคณะทาํ งานตรวจประเมินธรรมาภิบาล ครงั้ ท่ี 2/๒๕๖3 วันที่ 16 กันยายน ๒๕๖3

รายงานประจาํ ปี 2563 (Annual Report) สํานักงานสหกรณ์จงั หวัดอ่างทอง | 58 โครงการลดดอกเบี้ยเงนิ ก้ใู ห้เกษตรกรสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1. วตั ถุประสงค์ ด้วยท่ีเกษตรกรไทยในช่วงที่ผ่านมาประสบปัญหาหลายด้านไม่ว่าจะเป็นปัญหา จากภัยธรรมชาติ ราคาปัจจัยการผลิตที่นับวันจะสูงขึ้นเร่ือย ๆ ราคาพืชผลการเกษตรตกตํ่า ทําให้ เกษตรกรทําการผลิตมีรายได้ไม่คุ้มค่าใช้จ่าย ปัญหาหนี้สินภาคเกษตรจึงอยู่ในระดับสูง โดยเฉพาะ อย่างยิ่งเกษตรกรรายย่อยที่ได้รับผลกระทบทางการเงินมากไม่สามารถใช้หนี้ได้ ดังนั้น เพื่อเป็นการ แบ่งเบาภาระหนี้สินให้เกษตรกรในส่วนสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ลดต้นทุนในการผลิต และมีรายได้เพียงพอต่อการใช้จ่ายในครัวเรือนและเหลือพอในการชําระหน้ี กรมส่งเสริมสหกรณ์ จงึ ได้กาํ หนดโครงการลดดอกเบ้ียเงินกใู้ หแ้ ก่เกษตรกรสมาชกิ สหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกรขนึ้ เพอื่ ช่วยเหลือ สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร และสอดคล้องกับนโยบายภาครัฐในการแก้ไขปัญหาความยากจนให้ เกษตรกร มีวตั ถุประสงค์ ดังน้ี 1. เพ่ือลดภาระดอกเบี้ยและลดต้นทุนในการประกอบอาชีพการเกษตรแก่สมาชิก สหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร 2. เพอ่ื ให้สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ทป่ี ระกอบอาชีพการเกษตรมโี อกาสนําเงิน สว่ นที่ได้รับการชว่ ยเหลือไปฟื้นฟปู ระกอบอาชพี ตลอดจนมีเงนิ ทุนไว้ใช้จา่ ยในครวั เรือน เป้าหมาย/พนื้ ทด่ี ําเนนิ การ สหกรณก์ ารเกษตรป่าโมก จํากดั สหกรณ์การเกษตรวเิ ศษชยั ชาญ จํากัด สหกรณ์ การเกษตรโพธท์ิ อง จํากดั สหกรณ์การเกษตรแสวงหา จํากัด สหกรณ์การเกษตรเมืองอา่ งทอง จํากัด สหกรณ์ผเู้ พาะเลีย่ งสัตวน์ า้ํ อ่างทอง จํากดั และสกก.ผู้เล้ียงและคา้ สตั ว์อ่างทอง จาํ กัด 2. ผลการดําเนินงาน สาํ นกั งานสหกรณจ์ งั หวัดอ่างทอง ได้ขอเบิกเงนิ ชดเชยดอกเบ้ียตามโครงการลดดอกเบ้ียเงินกู้ ให้เกษตรกรสมาชิกสหกรณ์ท่ีเข้าร่วมโครงการฯ ที่ได้รับจัดสรรในปี 2563 จํานวน 7 แห่ง เป็นเงิน ชดเชยดอกเบี้ยท่ีขอเบิกท้ังส้ิน 1,923,628.22 บาท เมื่อวันที่ 15 เมษายน 2563 กรมส่งเสริม สหกรณ์ ได้ดําเนินการตรวจสอบรายชื่อสมาชิกท่ีได้รับการชดเชยดอกเบ้ียตามโครงการลดดอกเบี้ย เงินกู้ให้เกษตรกรสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ปรากฏว่า ข้อมูลสมาชิกมีความคลาดเคล่ือน กลุ่ม ส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์ ขอส่งคืนเงินชดเชยดอกเบี้ยตามโครงการลด ดอกเบ้ียเงินกู้ให้เกษตรกรสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 จํานวน 6 สหกรณ์ เปน็ เงิน 8,572.81 บาท ดงั นั้น สหกรณ์ได้รับเงินชดเชยดอกเบี้ย 1,915,055.41 บาท รายละเอียด ดังนี้ ๑. สหกรณก์ ารเกษตรป่าโมก จาํ กดั จํานวน 92,956.95 บาท ๒. สหกรณก์ ารเกษตรวิเศษชัยชาญ จํากัด จํานวน 438,091.48 บาท ๓. สหกรณ์การเกษตรโพธิ์ทอง จาํ กดั จาํ นวน 612,993.14 บาท ๔. สหกรณก์ ารเกษตรแสวงหา จาํ กัด จาํ นวน 710,913.19 บาท ๕. สหกรณ์การเกษตรเมืองอา่ งทอง จํากดั จํานวน 29,730.29 บาท ๖. สหกรณ์ผู้เพาะเลีย่ งสตั ว์นํ้าอ่างทอง จาํ กดั จํานวน 2,577.79 บาท ๗. สกก.ผู้เลยี้ งและคา้ สตั วอ์ า่ งทอง จาํ กัด จํานวน 27,792.57 บาท

รายงานประจาํ ปี 2563 (Annual Report) สํานกั งานสหกรณ์จงั หวัดอ่างทอง | 59 3.ผลลพั ธ์ ผลลพั ธ์เชิงปรมิ าณ 1. สมาชิกสหกรณ์ท่ีมีหน้ีเงินกู้ในวัตถุประสงค์เพ่ือการเกษตรได้รับลดภาระดอกเบี้ยและลด ตน้ ทุนในการประกอบอาชีพการเกษตรแกส่ มาชิกสหกรณ์ 7 สหกรณ์ จํานวน 2,490 ราย ๒. ตน้ ทนุ การผลิตของสมาชิกลดลงรอ้ ยละ 3 ผลลัพธเ์ ชงิ คุณภาพ ลดตน้ ทนุ ในการผลติ และมรี ายได้เพยี งพอต่อการใช้จ่ายในครวั เรอื นและเหลือพอในการชําระหน้ี การสนบั สนนุ เงินทุนสหกรณโ์ ดยกองทนุ พัฒนาสหกรณ์ 1. วัตถุประสงค์ กองทุนพัฒนาสหกรณ์ (กพส.) ได้ตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ.2542 โดยโอน เงินทุนหมุนเวียนส่งเสริมการสหกรณ์มาเป็นของกองทุนพัฒนาสหกรณ์ ต่อมาเม่ือปี พ.ศ.2545 ได้มีพระราชกฤษฎีกาแกไ้ ขบทบัญญตั ิใหส้ อดคล้องกับการโอนอํานาจหน้าท่ีของส่วนราชการใหเ้ ป็นไป ตามพระราชบญั ญัตปิ รับปรงุ กระทรวง ทบวง กรม พ.ศ.2545 จึงโอนกองทุนพฒั นาสหกรณ์ไปต้ังไว้ ท่กี รมสง่ เสริมสหกรณ์ ต้งั แต่วนั ที่ 6 ตลุ าคม 2545 เปน็ ต้นมา วัตถุประสงค์การสนบั สนุนเงินทนุ สหกรณโ์ ดยกองทนุ พัฒนาสหกรณ์ ดังน้ี 1. เพื่อให้สหกรณ์กู้ยืมสําหรับเป็นทุนหมุนเวียนในการดําเนินธุรกิจ ได้แก่ เป็นทุนให้สมาชิก กูย้ ืม หรือ จดั หาสนิ คา้ มาจําหนา่ ย หรอื รวบรวมผลผลติ (1) กรณขี อกู้เงินเพอื่ นาํ ไปดําเนินธรุ กิจจัดหาสินคา้ มาจาํ หน่าย หรือรวบรวมผลผลติ จะต้องมีสมาชิกทําธุรกิจกับสหกรณ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของจํานวนคนท้ังหมด (สมาชิกและ บุคคลภายนอก) ที่มาทําธุรกิจกับสหกรณ์ในแตล่ ะวัตถุประสงค์ที่ขอกู้ โดยพิจารณาจากผลการดําเนิน ธุรกจิ ของสหกรณ์ปีใดปหี น่ึงในรอบ 4 ปบี ัญชีทีผ่ า่ นมา (2) ในการพิจารณาจํานวนคนที่ทําธุรกิจกับสหกรณ์ตาม (1) ให้ยกเว้นกรณีที่ สหกรณ์ขอกูเ้ พื่อดาํ เนินธุรกจิ สถานีบรกิ ารน้ํามันของสหกรณ์ (3) กรณีอื่นๆ นอกเหนือจากที่ระเบียบฯ กําหนด ให้จังหวัดพิจารณาในเบื้องต้น พร้อมท้ังให้ความเห็น หากเห็นสมควรให้สหกรณ์กู้เงิน ให้นําเสนอคณะกรรมการบริหาร กพส. พจิ ารณาเป็นกรณีไป 2. เพือ่ ลงทุนในทรพั ย์สิน แต่ต้องอยภู่ ายใตห้ ลักเกณฑ์ ดงั น้ี (1) ให้กู้ได้ไม่เกิน 80% ของวงเงินลงทุนในทรัพย์สิน และสหกรณ์ต้องสมทบการ ลงทุน ไม่น้อยกว่า 20% ของวงเงินลงทุนยกเว้นกรณีสหกรณ์ขอกู้เพ่ือสร้างสํานักงานให้กู้ได้ ไม่เกิน 70% ของวงเงินลงทุนสร้างสํานักงาน และสหกรณ์ต้องสมทบการลงทุน ไม่น้อยกว่า 30% ของวงเงินลงทุน (2) ในกรณีที่สหกรณ์ได้รับการสนับสนุนเงินทุนภายใต้โครงการเงินกู้เพื่อปรับ โครงสร้างภาคเกษตรและสามารถบริจาคเงินได้ตามกําหนดในหนังสือยินยอมบริจาค ให้มีสิทธิ กู้เงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ไปลงทุนเพ่ิมเติมในปัจจัยพ้ืนฐาน โดยไม่ต้องสมทบการลงทุนและ คิดดอกเบี้ยในอตั ราร้อยละ 1 ตอ่ ปี

รายงานประจําปี 2563 (Annual Report) สํานกั งานสหกรณจ์ งั หวัดอ่างทอง | 60 เปา้ หมาย/พ้นื ทดี่ าํ เนนิ การ สหกรณ์การเกษตรโพธิ์ทอง จํากัด สหกรณ์ผู้เพาะเลี้ยงสัตว์นํ้าอ่างทอง จํากัด สหกรณ์ วิเศษชยั ชาญ จํากดั สหกรณ์ประมงและการแปรรูปอ่างทอง จํากัด สหกรณก์ ารเกษตรแสวงหา จาํ กัด และสหกรณ์การเกษตรบางเสดจ็ จาํ กัด 2. ผลการดําเนนิ งาน กองทุนพัฒนาสหกรณ์ระดับจังหวัดอ่างทอง ท่ีได้รับจัดสรรให้ดําเนินการ สหกรณ์จํานวน 6 แห่ง 15 สัญญา เป็นเงิน 28.700 ล้านบาท โครงการปกติ 13.0๐๐ ล้านบาท โครงการพิเศษ 15.700 ล้านบาท และติดตามเร่งรัดหน้ีเงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ที่ถึงกําหนดชําระจํานวนสหกรณ์ 6 แหง่ 12 สัญญา เป็นเงิน 30.544 ลา้ นบาท และขอขยายเวลาชาํ ระหนี้ 1 แหง่ 1 สัญญา เปน็ เงิน 1.900 ลา้ นบาท โดยคณะอนุกรรมการพิจารณาเงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ระดับจังหวัด ได้จัดประชุม พิจารณาอนุมัติเงินกู้ คร้ังที่ 1 เมื่อวันที่ 17 มิถุนายน ๒๕๖3 จํานวน 4 สหกรณ์ 8 สัญญา เป็นเงิน 19,600,000 บาท และขอขยายเวลาชําระหนี้เงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ จํานวน 1 สหกรณ์ 1 สัญญา เป็นเงิน 1,900,000 บาท ประชุมพจิ ารณาเงนิ กู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ระดบั จังหวัด ครงั้ ท่ี 1 เมือ่ วันท่ี 17 มถิ นุ ายน 2563 คณะอนุกรรมการพิจารณาเงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ระดับจังหวัด จัดประชุมพิจารณาอนุมัติ เงนิ กู้ คร้งั ที่ 2 เมอ่ื วันที่ ๑7 กรกฎาคม ๒๕๖3 จํานวน 1 สหกรณ์ 1 สัญญา เป็นเงิน 1,000,000 บาท ประชุมพิจารณาเงินกูก้ องทนุ พฒั นาสหกรณร์ ะดับจังหวดั ครงั้ ท่ี 2 เมื่อวนั ที่ 17 กรกฎาคม 2563

รายงานประจาํ ปี 2563 (Annual Report) สาํ นกั งานสหกรณ์จงั หวัดอ่างทอง | 61 คณะอนุกรรมการพิจารณาเงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ระดับจังหวัด จัดประชุมพิจารณาอนุมัติ เงินกู้ ครง้ั ที่ 3 เม่ือวนั ท่ี ๑3 สงิ หาคม ๒๕๖3 จํานวน 2 สหกรณ์ 4 สัญญา เปน็ เงนิ 8,100,000 บาท ประชุมพจิ ารณาเงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณร์ ะดับจงั หวัด ครั้งที่ 3 เมอ่ื วันท่ี 13 สิงหาคม 2563 อนุมัตเิ งนิ กู้ กพส. 6 สหกรณ์ 15 สญั ญา ดังนี้ ที่ ช่อื สหกรณ์ วตั ถปุ ระสงค์ จาํ นวน(บาท) ดบ.(%) วนั อนุมัติ วนั โอน 1 สกก.โพธท์ิ อง จก. เปน็ ทุนใหส้ มาชกิ กู้ 5,000,000 3 29 มิ.ย.63 28 มิ.ย.64 3,000,000 1 29 มิ.ย.63 28 มิ.ย.64 สกก.โพธ์ิทอง จก. เพ่อื จดั หาปัจจยั การผลิต 1,800,000 1 29 มิ.ย.63 28 มิ.ย.64 1,300,000 1 29 มิ.ย.63 28 มิ.ย.64 สกก.โพธทิ์ อง จก. เพอื่ พัฒนาอาชพี 2,000,000 1 2 ก.ค.63 ๑ ก.ค.64 1,000,000 1 29 ก.ค.63 28 ก.ค.64 สกก.โพธทิ์ อง จก. ใหส้ มาชกิ ภัยแล้งก้ยู ืม 5,๐00,000 2.50 9 d.ค. 62 8 ก.ค.64 9 ก.ค. 63 8 ก.ค. 64 2 ส.ผ้เู พาะเลี้ยงสตั วน์ ้าํ เปน็ ทนุ หมนุ เวยี น 500,000 1 9 ก.ค. 63 8 ก.ค. 64 1,000,000 3 28 ส.ค. 63 ๑0 ส.ค.64 ส.ผูเ้ พาะเลีย้ งสัตว์น้าํ จัดหาปจั จัยการผลติ 2,000,000 3 28 ส.ค. 63 ๑0 ส.ค.64 3,000,000 1 3 สกก.วิเศษชยั ชาญ จดั หาสนิ ค้ามาจาํ หนา่ ย 1,300,000 1 28 ส.ค. 63 ๑0 ส.ค.64 1,800,000 1 28 ส.ค. 63 ๑0 ส.ค.64 4 ส.ประมงและแปรรปู จัดหาสนิ ค้ามาจาํ หนา่ ย 28,700,000 ส.ประมงและแปรรูป ดําเนนิ ธุรกิจรวบรวม 5 สกก.บางเสด็จ จก เป็นทุนใหส้ มาชกิ กู้ 6 สกก.แสวงหา จัดหาปัจจัยการผลิต สกก.แสวงหา ให้สมาชกิ ภยั แลง้ กยู้ มื สกก.แสวงหา พัฒนาอาชีพ รวม กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์ แจ้งหนังสือเตือนสหกรณ์ให้ชําระหนี้ ก่อนถึงกําหนด 60 วัน คร้ังท่ี 1 และก่อนถึงกําหนด 30 วัน ครั้งที่ 2 และติดตามเร่งรัดหน้ีโดย กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ ผลปรากฏว่า สหกรณ์ชําระได้ตามสัญญา 6 แห่ง และขอขยายเวลาชําระหนอ้ี ีก 1 แห่ง และมีสหกรณท์ ีม่ ีหน้คี ้างชาํ ระ ๒ แห่ง

รายงานประจําปี 2563 (Annual Report) สํานกั งานสหกรณ์จงั หวัดอ่างทอง | 62 ตารางการชําระหนข้ี องสหกรณ์ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ที่ ช่ือสหกรณ์ จาํ นวน(บาท) ครบกําหนด วนั ทีช่ าํ ระ หมายเหตุ 17 ส.ค. 63 17 ส.ค. 63 1 สกก.แสวงหา จก. 4,500 ,000 17 ส.ค. 63 17 ส.ค. 63 1 ก.ค. 63 15 มิ.ย. 63 สกก.แสวงหา จก. 1,766,000 1 ก.ค. 63 15 มิ.ย. 63 1 ก.ค. 63 15 ม.ิ ย. 63 2 สกก.โพธ์ิทอง จก. 5,000,000 1 ก.ค. 63 25 ม.ิ ย. 63 1 ก.ค. 63 8 พ.ค. 63 สกก.โพธ์ิทอง จก 4,500,000 1 ก.ค. 63 ขยายเวลา สกก.โพธ์ิทอง จก 2,348,000 1 ก.ค. 63 1 ก.ค. 63 27 พ.ค. 63 3 ส.ผู้เพาะเลี้ยงสตั วน์ า้ํ อ่างทอง จก 2,000,000 17 ส.ค. 62 1 มิ.ย. 63 31 ก.ค. 62 11 ส.ค. 63 4 ส.ประมงและการแปรรูปอา่ งทอง จก 500,000 7 พ.ค. 59 ค้างชาํ ระ 31 ก.ค. 58 ค้างชาํ ระ ส.ประมงและการแปรรูปอา่ งทอง จก 1,900,000 ค้างชาํ ระ 5 สกก.วเิ ศษชยั ชาญ จก 5,000,000 สกก.วเิ ศษชยั ชาญ จก 2,130,000 6 สกก.บางเสด็จ จาํ กัด 2,000,000 7 ส.โคเนื้ออ่างทอง จาํ กดั 547,937.74 8 สกก.สามโก้ จาํ กัด 3,000,000 สกก.สามโก้ จํากัด 2,000,000 รวม 37,191,937.74 3.ผลลัพธ์ ผลลพั ธ์เชิงปริมาณ สหกรณ์จํานวน 6 แห่ง 15 สัญญา เป็นเงิน 28.700 ล้านบาท โครงการปกติ 13.0๐ ลา้ นบาท โครงการพเิ ศษ 15.70 ลา้ นบาท ผลลพั ธเ์ ชงิ คณุ ภาพ สหกรณ์กู้ยืมสําหรับเป็นทุนหมุนเวียนในการดําเนินธุรกิจ ได้แก่ เป็นทุนให้สมาชิกกู้ยืม หรือ จดั หาสินค้ามาจาํ หนา่ ย หรือรวบรวมผลผลติ โครงการตามนโยบายสาํ คัญ โครงการประชมุ เชิงปฏบิ ตั กิ ารสร้างเครอื ขา่ ยลูกหลานเกษตรกรกลับบา้ น 1. วัตถปุ ระสงค/์ เปา้ หมาย/พ้ืนท่ีดําเนนิ งานโครงการ : วตั ถุประสงค์ 1) เพื่อช้ีแจงโครงการ ทําความเข้าใจกับผู้ร่วมโครงการ และเตรียมความพร้อมในการ ขบั เคลือ่ นโครงการ

รายงานประจําปี 2563 (Annual Report) สํานกั งานสหกรณจ์ งั หวัดอ่างทอง | 63 2) เพ่ือส่งเสริมให้มีเครือข่ายและส่งเสริมการเรียนรู้ระหว่างผู้เข้าร่วมโครงการ สถาบัน เกษตรกร และหน่วยงานภาคใี นพ้ืนที่ เปา้ หมาย ผสู้ มคั รเข้าร่วมโครงการนําลูกหลานเกษตรกรกลับบ้าน สานต่ออาชีพการเกษตร หนว่ ยงาน ภาคี/สถาบันเกษตรกรในโครงการ และเจา้ หนา้ ทส่ี ํานักงานสหกรณจ์ ังหวัดอ่างทอง จํานวน 35 คน พ้นื ที่ดาํ เนนิ โครงการ โครงการฟาร์มตัวอย่างตามพระราชดําริฯ หนองลาด ตําบลท่าข้าม อําเภอค่ายบางระจัน จังหวดั สิงหบ์ รุ ี 2. ผลการดําเนนิ งาน 1) ประสานงานกับผู้สมัครเข้าโครงการนําลูกหลานเกษตรกรกลับบ้าน สานต่ออาชีพ การเกษตร หน่วยงานภาคีและสถาบันเกษตรกร เพ่ือเข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างเครือข่าย ลูกหลานเกษตรกรกลบั บ้าน 2 ) จัดประชุมเชิงปฏิบัติการส ร้าง เครอื ขา่ ยลกู หลานเกษตรกรกลบั บา้ นและศึกษาดู งาน ณ โครงการฟารม์ ตวั อยา่ งตามพระราชดําริฯ หนองลาด ตําบลท่าข้าม อําเภอค่ายบางระจัน จังหวดั สงิ ห์บรุ ี โดยมีกจิ กรรมหลกั 5 กจิ กรรม ดงั น้ี - กิจกรรมพบปะระหว่างผู้เข้าร่วม โครงการ หนว่ ยงานภาคี และสถาบนั การเกษตร - กจิ กรรมวธิ กี ารปรงุ ดินเพาะกล้าและ ดินปลกู - กิจกรรมการศกึ ษาการทําเกษตรอนิ ทรีย์ เกษตรผสมผสาน - กิจกรรมดา้ นปศสุ ตั ว์ (การเลีย้ งไกด่ ้วยอาหารหมัก, การเลีย้ งแพะ) - กิจกรรมด้านประมง (การเลย้ี งปลานลิ แดง, ปลานิลดํา) ในการนีม้ ีตวั แทนจากสถาบันเกษตรกรและหน่วยงานภาคเี ข้าร่วมโครงการ ดงั นี้ - สหกรณ์การเกษตรเมอื งอ่างทอง จํากัด - สหกรณ์การเกษตรปา่ โมก จํากัด - สหกรณก์ ารเกษตรวเิ ศษชัยชาญ จาํ กดั - สหกรณ์การเกษตรไชโย จํากัด - ตัวแทนจากสํานักงานประมงจังหวัด อ่างทอง - ตัวแทนจากสํานักงานปศุสัตว์จังหวัด อา่ งทอง - ตัวแทนจากสํานักงานเกษตรจังหวัด อา่ งทอง

รายงานประจําปี 2563 (Annual Report) สํานกั งานสหกรณ์จงั หวดั อ่างทอง | 64 - ตวั แทนจากโครงการชลประทานอ่างทอง การจัดโครงการในครั้งน้ีทําให้ตัวแทนจากสหกรณ์ ได้พบปะกับสมาชิกที่มีพื้นที่เข้าร่วม โครงการในเขตดําเนนิ งานของสหกรณน์ ้ันๆ เกดิ การแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ ประโยชน์ทจ่ี ะได้รบั ในการเป็น สมาชกิ สหกรณ์ รวมถึงขนั้ ตอนการสมคั รเขา้ เป็นสมาชิกสหกรณด์ ้วย ส่วนหน่วยงานภาคีได้ให้ความรู้ที่เก่ียวกับงานของแต่ละหน่วยงาน ซ่ึงเป็นข้อมูลที่เป็น ประโยชน์ สมาชิกสามารถนําไปต่อยอดในการทํา การเกษตรตอ่ ไปได้ 4) ขับเคลื่อนการดําเนินการสร้างเครือข่าย ลูกหลานเกษตรกรกลบั บ้าน 5) ติดตามและรายงานผลการสร้างเครือข่าย ลูกหลานเกษตรกรกลับบ้าน 3. ผลลพั ธ์ ผลลัพธ์เชิงปรมิ าณ สมาชิกในโครงการเข้าไปติดต่อสมัครเป็นสมาชิกสหกรณ์การเกษตรในเขตพ้ืนที่เพิ่มขึ้น จาํ นวน 5 ราย ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1) ผู้เข้ารว่ มโครงการ สถาบันเกษตรกรและหน่วยงานภาคีสามารถร่วมมือขบั เคลื่อนโครงการได้ 2) เกษตรกรรนุ่ ใหม่มโี อกาสได้รับองค์ความร้แู ละเกิดแรงบันดาลใจในการพัฒนาอาชีพเกษตร 3) การขบั เคล่อื นโครงการนาํ ลกู หลานเกษตรกรกลับบา้ น สานตอ่ อาชีพการเกษตร ในปี 2564 – 2565 เป็นไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพมากข้นึ 4. ปญั หา/อปุ สรรค ในการดําเนินงาน และแนวทางแก้ไข ปญั หา/อปุ สรรค ในการดาํ เนนิ การ 1) สมาชิกในโครงการบางส่วนยงั อาศยั หรอื ทาํ งานอยู่ต่างจังหวดั ไมส่ ามารถเดินทางมาเขา้ รว่ มโครงการได้ 2) สมาชิกในโครงการสว่ นมากยังไม่ได้ดาํ เนนิ การสมัครเข้าเป็นสมาชกิ สหกรณ์การเกษตรใน พนื้ ที่ อาจทาํ ใหย้ ากต่อการขบั เคลอื่ นโครงการ 3) การติดต่อ สื่อสารกับสมาชิกในโครงการบางรายเป็นไปได้ยาก เน่ืองจากการเปล่ียนทอ่ี ยู่ หรือการเปลยี่ นเบอร์โทรศัพท์ แนวทางการแก้ไข 1) ชีแ้ จง้ เงอ่ื นไขหรือแนวทางการขับเคลอื่ นโครงการขั้นต่อไป โดยสมาชกิ ในโครงการต้องสมัคร เขา้ เปน็ สมาชกิ สหกรณ์การเกษตรในพน้ื ที่ เนือ่ งจากกจิ กรรมของโครงการทีจ่ ะดําเนินการต้องผ่านทาง สหกรณก์ ารเกษตรในพน้ื ที่ 2) สร้างเครือข่าย Social Media เชน่ กรุป๊ ไลน์ เพอื่ ใหง้ า่ ยต่อการตดิ ต่อ ส่อื สาร รวมถึงการแจ้ง ขา่ วสารตา่ งๆ ของโครงการ

รายงานประจําปี 2563 (Annual Report) สาํ นกั งานสหกรณ์จงั หวัดอ่างทอง | 65 กจิ กรรมวธิ กี ารปรงุ ดินเพาะกล้าและดนิ ปลกู กิจกรรมการทําเกษตรอินทรยี ์ เกษตรผสมผสาน

รายงานประจาํ ปี 2563 (Annual Report) สํานกั งานสหกรณจ์ งั หวัดอ่างทอง | 66 สว่ นท่ี 3 รายงานการเงิน

รายงานประจาํ ปี 2563 (Annual Report) สาํ นักงานสหกรณจ์ งั หวัดอ่างทอง | 67 งบการเงินประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ณ วนั ท่ี 30 กันยายน 2563 สนิ ทรพั ย์ งบแสดงฐานะการเงนิ (1) 5,000.00 สนิ ทรพั ย์หมนุ เวยี น (2) 32,280.00 เงนิ ทดรองราชการ สินทรพั ยไ์ ม่หมุนเวียน เงินฝากคลงั 1040.00 ลูกหนีเ้ งินยืม 53,352.00 หน้ีสนิ ค้างรบั จากกรมบัญชีกลาง 91,672.00 หน้ีสนิ หมนุ เวียน รวมสนิ ทรัพยห์ มุนเวียน 2,296,067.57 หนี้สนิ ไม่หมนุ เวียน อาคาร (สทุ ธิ) 1,205,916.72 ครุภณั ฑ์ (สุทธิ) 3,501,984.29 ทุน รวมสนิ ทรพั ย์ไม่หมนุ เวียน 3,593,656.29 รวมสินทรัพย์ 53,800.00 เจ้าหนกี้ ารค้า-บคุ คลภายนอก 3,516.00 สาธารณูปโภคค้างจ่าย 32,280.00 เงินประกนั อื่น 89,596.00 รวมหนีส้ ินหมนุ เวียน 5,000.00 เงนิ ทดรองราชการรับจากคลัง - 5,000.00 ดาํ เนินงาน 94,596.00 รวมหนสี้ ินไม่หมุนเวียน รวมหนสี้ นิ 1,567,150.00 2,392,161.62 ทนุ ของหนว่ ยงาน (460,251.33) รายได้ สงู /(ตํ่า) กวา่ ค่าใชจ้ า่ ยสะสม 3,499,060.29 รายได้ สงู /(ตํ่า) กว่าคา่ ใช้จา่ ยสทุ ธิ 3,593,656.29 รวมส่วนทนุ รวมหน้สี นิ และทุน

รายงานประจาํ ปี 2563 (Annual Report) สาํ นกั งานสหกรณจ์ งั หวดั อ่างทอง | 68 งบแสดงผลการดําเนินงานทางการเงนิ สําหรบั ปี สิน้ สดุ วันท่ี 30 กนั ยายน 2563 รายไดจ้ ากการดําเนนิ งาน (4) 4,200.00 รายได้คา่ ธรรมเนยี มอื่น 0.81 รายได้ไม่ใช่ภาษีอน่ื รายได้จากงบบคุ ลากร 3,431,040.00 รายไดจ้ ากงบลงทนุ 281,700.00 รายไดจ้ ากงบดําเนนิ งาน รายไดจ้ ากงบอดุ หนุน 2,436,402.96 รายไดจ้ ากงบกลาง 2,023,628.22 รายได้สรก.รบั เงนิ นอก รายไดป้ รับเงนิ ฝากคลัง 112,802.00 รายได้ระหวา่ งกนั ในกรม 13,440.00 รวมรายไดจ้ ากการดาํ เนนิ งาน 13,440.00 43,006.50 คา่ ใช้จ่ายจากการดําเนนิ งาน 8,359,660.49 คา่ ใชจ้ า่ ยงบบคุ ลากร (3) 3,431,040.00 ค่าใชจ้ ่ายงบดาํ เนินงาน 2,377,876.18 คา่ ใชจ้ า่ ยงบกลาง ค่าใช้จ่ายงบอุดหนุนท่ัวไป 112,802.00 (5) ค่าใชจ้ ่ายงบรายจ่ายอน่ื 2,015,055.41 คา่ ใช้จ่ายอ่ืน 51,767.62 รวมค่าใช้จ่ายจากการดําเนินงาน 831,370.61 รายได้ สงู /(ตา่ํ )กวา่ คา่ ใช้จ่ายสทุ ธิ 8,819,911.82 -460,251.33

รายงานประจาํ ปี 2563 (Annual Report) สาํ นักงานสหกรณจ์ งั หวดั อ่างทอง | 69 หมายเหตุประกอบงบการเงิน 813,800.00 สาํ หรับปี ส้ินสดุ วนั ท่ี 30 กันยายน 2563 -84,863.37 6,279,800.00 หมายเหตุที่ 1 อาคาร (สุทธิ) -5,263,037.93 อาคารพกั อาศัย 1,288,213.00 คา่ เส่ือมสะสม-อาคารพักอาศัย -1,288,209.00 อาคารสํานักงาน 978,849.00 ค่าเสอื่ มสะสม - อาคารสาํ นักงาน -428,484.13 อาคารเพอ่ื ประโยชนอ์ ื่น 2,296,067.57 คา่ เสอ่ื มสะสม - อาคารเพื่อประโยชน์อ่ืน สิ่งปลูกสร้าง 664,479.00 ค่าเสือ่ มสะสม - ส่ิงปลกู สรา้ ง -426,682.09 4,304,800.00 หมายเหตุท่ี 2 ครุภัณฑ์ (สุทธ)ิ -3,572,131.62 ครภุ ณั ฑ์สาํ นกั งาน 240,159.21 คา่ เส่ือมสะสม - ครุภัณฑส์ ํานักงาน -202,252.50 ครภุ ัณฑ์ยานพาหนะ 408,500.00 คา่ เสื่อมสะสม - ครภุ ณั ฑย์ านพาหนะ -319,616.16 ครภุ ัณฑไ์ ฟฟ้าและวิทยุ 776,799.83 คา่ เสื่อมสะสม - ครุภัณฑ์ไฟฟ้าและวิทยุ -678,881.93 ครุภณั ฑ์โฆษณา ค่าเสอ่ื มสะสม - ครภุ ัณฑโ์ ฆษณา 14,600.00 ครภุ ัณฑค์ อมพิวเตอร์ -14,598.00 ค่าเส่ือมสะสม - ครุภณั ฑ์คอมพิวเตอร์ 12,000.00 ครภุ ณั ฑง์ านบ้านงานครวั -1,259.02 ค่าเสื่อมสะสม - ครุภณั ฑ์งานบา้ นงานครัว 1,205,916.72 โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ ค่าเสอ่ื มสะสม - โปรแกรมคอมพิวเตอร์

รายงานประจาํ ปี 2563 (Annual Report) สํานกั งานสหกรณจ์ งั หวัดอ่างทอง | 70 หมายเหตุท่ี 3 ค่าใชจ้ า่ ยงบบคุ ลากร 3,431,040.00 คา่ ตอบแทนพนักงานราชการ 3,431,040.00 หมายเหตุท่ี 4 ค่าใช้จา่ ยงบดําเนินงาน 16,160.00 คา่ ลว่ งเวลา 108,612.00 เงนิ สมทบประกันสงั คม 418,800.00 คา่ เชา่ บ้าน เงินสมทบกองทนุ เงินทดแทน 6,243.00 ค่าใชจ้ า่ ยฝึกอบรม-ภายนอก 27,000.00 เบีย้ เลีย้ ง 133,440.00 คา่ ที่พัก 5,930.00 คา่ ใชจ้ า่ ยเดินทางภายในประเทศ 23,655.00 ค่าวสั ดุ 167,206.00 ค่าซอ่ มแซมและบาํ รุงฯ 98,392.88 คา่ เช้ือเพลิง 138,741.50 คา่ จา้ งเหมาบริการ-บุคคลภายนอก 756,642.26 ค่าไฟฟา้ 121,201.75 ค่าประปาและนํา้ บาดาล 13,226.27 ค่าโทรศพั ท์ 67,258.12 ค่าสอ่ื สารและโทรคมนาคม 19,260.00 คา่ ไปรษณีย์และขนสง่ 47,147.40 ครภุ ณั ฑ์ตาํ่ กว่าเกณฑ์ 9,000.00 ค่าใชจ้ ่ายในการประชุม 140,260.00 คา่ ประชาสมั พันธ์ 48,300.00 คา่ ตอบแทนการปฏิบตั ิงาน 11,400.00 2,377,876.18 หมายเหตุที่ 5 ค่าใช้จา่ ยงบอุดหนนุ ท่วั ไป อดุ หนนุ ดําเนินงานธรุ กจิ อืน่ 2,015,055.41 2,015,055.41

รายงานประจําปี 2563 (Annual Report) สํานักงานสหกรณ์จงั หวดั อ่างทอง | 71 สว่ นท่ี 4 กจิ กรรมเด่นของ สสจ.อ่างทอง

รายงานประจาํ ปี 2563 (Annual Report) สํานักงานสหกรณจ์ งั หวัดอ่างทอง | 72 กจิ กรรมเดน่ ของสสจ.อา่ งทอง ในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 การแก้ไขปัญหาดา้ นเศรษฐกิจ จากผลกระทบการแพร่ระบาด โรคไวรสั โควิด-2019 สหกรณ์ประมงและการแปรรูปอ่างทอง จํากัด เป็นสหกรณ์ประเภท ประมง มีสมาชิกทั้งสิ้น 42 ราย ประกอบอาชีพเลี้ยงปลาช่อน โดยจําหน่ายปลาช่อนสดให้กับร้านอาหาร ผู้ประกอบการโต๊ะ จีน และพ่อค้าประจํา แต่เมื่อเกิดการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ระบาด จึงได้รับผลกระทบยอด การส่ังซ้ือปลาช่อนสดลดลงเป็นอย่างมาก ทําให้ปลาช่อนที่สมาชิกสหกรณ์เลี้ยงไว้ไม่มีตลาดรับซื้อ ส่วนหนึ่งมีโตเกินขนาดท่ีตลาดต้องการ ปริมาณปลาช่อนของสมาชิกท่ีไม่สามารถจําหน่ายได้ จํานวน ท้ังสิ้น 41,448 กิโลกรัม สํานักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง จึงได้จัดประชุมคณะกรรมการสหกรณ์ และเจ้าหน้าท่ี และได้เชิญหน่วยงานราชการในจงั หวัดอ่างทอง หารือร่วมกันเพ่ือแก้ไขปัญหาดังกล่าว ข้อสรปุ แนวทางการแก้ไขดังน้ี 1. หาพ่อค้าจากตา่ งจังหวัดเพ่ือรับซ้อื ปลาช่อนสด โดยตกลงร่วมกนั ระหวา่ งผผู้ ลติ (สมาชกิ สหกรณ์) กับ ผู้รบั ซื้อ (พ่อค้า) โดยพอ่ ค้ารับซ้ือปลาช่อนสด ประกันราคาที่กโิ ลกรมั ละ 70 บาท 2. สหกรณด์ ําเนนิ การแปรรปู ปลาชอ่ นเป็นปลาชอ่ นแดดเดียว ของดเี มืองอา่ งทอง เพอ่ื เพ่มิ มลู คา่ และยืดอายุการเก็บรกั ษา ซึง่ จะเปน็ ปลาชอ่ นขนาดใหญ่นํ้าหนกั ประมาณ 5 ขีดขึน้ ไป เป็นการสร้างอัตลักษณใ์ หเ้ ปน็ ทนี่ ่าจดจาํ รสชาตอิ รอ่ ย เนื้อฟู ช้นิ ใหญ่ เตม็ คาํ ด้านการตลาด ปลาชอ่ นแดดเดยี ว ของดีเมืองอา่ งทอง เมอื่ สหกรณ์ดาํ เนินการแปรรูปไดผ้ ลติ ภัณฑ์ที่มคี ุณภาพและเป็นทต่ี ้องการของตลาด สาํ นักงานสหกรณ์จงั หวดั อา่ งทอง จงึ ไดป้ ระสานหาช่องทางการตลาดในกระจายสนิ ค้าสหกรณ์ (ปลาช่อนแดดเดยี ว) ดังนี้ 1. จําหนา่ ยปลาช่อนแดดเดียว โดยการเชื่อมโยงเครือขา่ ยผ่านขบวนการสหกรณ์ จาํ หน่ายในราคาแพ็คละ 1 กิโลกรมั /ราคา 200 บาท (ขนสง่ โดยรถห้องเย็น) ดงั นี้ ภาคเหนอื จํานวน 3,021 แพ็ค เปน็ เงนิ ทง้ั สิน้ 604,200 บาท ภาคอสี าน จาํ นวน 2,310 แพ็ค เปน็ เงินทั้งสิน้ 462,000 บาท ภาคกลาง จํานวน 732 แพค็ เปน็ เงนิ ทงั้ สน้ิ 146,400 บาท ภาคตะวันออก จํานวน 80 แพค็ เปน็ เงนิ ท้ังส้นิ 16,000 บาท รวมเปน็ เงินทัง้ สน้ิ 1,226,800 บาท 2. จําหน่ายผา่ นบรษิ ัท อสทม. จํากัด (มหาชน) ช่อง 9 รายการ ตลาดนดั รชั ดา โดยจําหน่ายเป็น SET แบ่งออกเป็น 2 แบบ ดังน้ี 2.1 SET A บรรจแุ พ็คละ 1 กโิ ลกรัม จาํ นวน 2 แพค็ ราคา 560 บาท 2.2 SET B บรรจุแพค็ ละ 1 กโิ ลกรมั จาํ นวน 4 แพค็ ราคา 1,000 บาท เริม่ จําหนา่ ยตง้ั แตว่ นั ที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 จนถงึ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2563 สรปุ ผลการจาํ หนา่ ยดังน้ี SET A จํานวน 168 ชุด รวมเป็น 336 แพค็ เปน็ เงนิ ทั้งส้ิน 94,080 บาท

รายงานประจําปี 2563 (Annual Report) สํานักงานสหกรณ์จงั หวัดอ่างทอง | 73 SET B จาํ นวน 105 ชดุ รวมเป็น 420 แพ็ค เป็นเงนิ ท้งั สิ้น 105,000 บาท รวมทั้งสิน้ 199,080 บาท 3. กิจกรรมความร่วมมือแลกเปลย่ี นสินค้าสหกรณ์ เพ่อื กระจายสนิ คา้ บรรเทาความเดอื ดร้อนดา้ นการตลาด การจาํ หนา่ ยสินคา้ ของ สมาชกิ สหกรณ์ ท่ีไดร้ ับผลกระทบในสถานการณ์ การแพรร่ ะบาดของเชอ้ื ไว้โคโรนา 2019 1. ปลาชอ่ นแดดเดียว สหกรณ์ประมงและการแปรรูปอ่างทอง จาํ กัด จงั หวัด อา่ งทอง แลกกับข้าวหอมมะลิ กล่มุ เกษตรกรทาํ นาปะเคียบ จังหวัดบุรรี มั ย์ ปลาชอ่ นแดดเดยี ว จํานวน 1,000 กิโลกรัม แลกกบั ขา้ วหอมมะลิ จาํ นวน 5,400 กโิ ลกรัม 2. ปลาชอ่ นแดดเดยี ว สหกรณ์ประมงและการแปรรูปอ่างทอง จํากัด จังหวดั อ่างทอง แลกกับ ลนิ้ จ่ี สหกรณ์การเกษตรปฏริ ูปทด่ี นิ ทา่ วังผา จาํ กดั จังหวดั นา่ น ปลาชอ่ นแดดเดยี ว จํานวน 600 กโิ ลกรมั แลกกับ ลิ้นจ่ี จาํ นวน 2,090 กโิ ลกรัม สรุป จากสถานการณ์การแพร่ระบาดจากโรคไวรัสโควิด-2019 ทําให้สมาชิกสหกรณ์ไม่ สามารถจําหน่ายผลผลิตได้ ราคาปลาตกต่ํา ในขณะที่ปลาเร่ิมจําหน่ายได้ แต่เม่ือได้รับการช่วยเหลือ จากหน่วยงานภาครฐั ทําให้สามารถติดต่อประสานช่องทางจําหนา่ ยได้หลายชอ่ งทางได้แก่ พ่อค้าเข้า มารับซื้อสินค้าจากแหล่งผลิตโดยตรง การแปรรูปปลาช่อนสดเป็นปลาช่อนแดดเดียว จําหน่ายโดยใช้ วิธีการเช่ือมโยงเครือข่ายกระจายสินค้าผ่านขบวนการสหกรณ์ และการสั่งซ้ือสินค้าผ่านออนไลน์ จึง เปน็ ผลสาํ เรจ็ ในการแกไ้ ขปญั หาในครง้ั นี้ ภาพประกอบกิจกรรมเดน่ ในรอบปี 2563 ภาพกจิ กรรม : ประชุมหารือเพ่ือหาแนวทางการแก้ไข

รายงานประจําปี 2563 (Annual Report) สาํ นักงานสหกรณจ์ งั หวดั อ่างทอง | 74 ภาพกิจกรรม : จาํ หน่ายปลาสดให้กบั พอ่ ค้าท่ีมารับซ้อื สินค้าจากแหลง่ ผลิต โดยตรง

รายงานประจาํ ปี 2563 (Annual Report) สํานักงานสหกรณ์จงั หวัดอ่างทอง | 75 ภาพกิจกรรม : จําหนา่ ยสนิ คา้ ภายใต้ แบรนด์ ปลาชอ่ นแดดเดยี วของดเี มอื งอา่ งทอง

รายงานประจําปี 2563 (Annual Report) สาํ นักงานสหกรณจ์ งั หวัดอ่างทอง | 76 บรรณานุกรม กลมุ่ จดั ตั้งและส่งเสรมิ สหกรณ์ สํานกั งานสหกรณ์จังหวดั อ่างทอง.(2563) ทะเบยี นสหกรณ์2563. กลมุ่ จัดตง้ั และสง่ เสรมิ สหกรณ์ สาํ นกั งานสหกรณจ์ ังหวดั อ่างทอง.(2563) ทะเบียนกลุ่มเกษตรกร2563. กลุ่มติดตามและประเมินผล กองแผนงาน กรมสง่ เสริมสหกรณ์. (2563). ผลการประเมิน การปฏิบัติงานของสาํ นักงานสหกรณ์จังหวัด กลุ่มส่งเสรมิ และพัฒนาธรุ กิจสหกรณ์ สาํ นกั งานสหกรณจ์ ังหวัดอา่ งทอง.(2563) ปรมิ าณธุรกจิ สหกรณ์ กลุ่มส่งเสรมิ และพฒั นาธุรกจิ สหกรณ์ สํานกั งานสหกรณจ์ ังหวดั อา่ งทอง.(2563) ปรมิ าณธรุ กจิ กลมุ่ เกษตรกร กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ สาํ นักงานสหกรณ์จังหวัดอา่ งทอง. (2563). งบเปรียบเทียบสหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกร กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ ๑,๒ สํานกั งานสหกรณจ์ ังหวัดอา่ งทอง, ๒๕๖๓; งบการเงนิ ของสหกรณ์ ประจําปงี บประมาณ พ.ศ.๒๕๖๒ กลุ่มเกษตรกรทาํ นาตําบลมหาดไทย. (2562). รายงานประจําปีกล่มุ เกษตรกรทํานาตําบลมหาดไทย. อ่างทอง; กลมุ่ เกษตรกรทาํ นาตาํ บลมหาดไทย. กล่มุ เกษตรกรทาํ นาตลาดกรวด. (2562). รายงานประจําปีกลุ่มเกษตรกรทาํ นาตลาดกรวด.อ่างทอง; กล่มุ เกษตรกรทาํ นาตลาดกรวด กลมุ่ เกษตรกรทํานาหัวไผ่. (2562). รายงานประจาํ ปกี ลุม่ เกษตรกรทํานาหวั ไผ่. อา่ งทอง; กลุ่มเกษตรกรทาํ นาหวั ไผ่ กลุ่มเกษตรกรทํานาปา่ งว้ิ . (2562). รายงานประจาํ ปีกลุม่ เกษตรกรทาํ นาปา่ งวิ้ อ่างทอง; กลุ่มเกษตรกรทาํ นาปา่ งวิ้ . กลมุ่ เกษตรกรทาํ นาตรีณรงค์. (2562). รายงานประจําปีกลมุ่ เกษตรกรทํานาตรีณรงค์ อ่างทอง; กลุ่มเกษตรกรทาํ นาตรณี รงค์. กลุ่มเกษตรกรทาํ นาชะไว. (2562). รายงานประจําปีกลุ่มเกษตรกรทํานาชะไว อ่างทอง; กลมุ่ เกษตรกรทํานาชะไว. กลุ่มเกษตรกรทํานาไชยภมู ิ. (2562). รายงานประจาํ ปีกลุ่มเกษตรกรทํานาไชยภมู ิ อ่างทอง; กลุ่มเกษตรกรทาํ นาไชยภูมิ. กลุ่มเกษตรกรทาํ นาเทวราช. (2562). รายงานประจําปีกลุ่มเกษตรกรทาํ นาเทวราช อ่างทอง; กล่มุ เกษตรกรทํานาเทวราช. กลมุ่ เกษตรกรทาํ นาชยั ฤทธิ์. (2562). รายงานประจําปีกลุ่มเกษตรกรทาํ นาชัยฤทธิ์ อ่างทอง; กลุ่มเกษตรกรทาํ นาชัยฤทธ์ิ. กลุม่ เกษตรกรทาํ นาราชสถติ ย์. (2562). รายงานประจาํ ปีกล่มุ เกษตรกรทํานาราชสถิต อ่างทอง; กลมุ่ เกษตรกรทํานาราชสถติ ย์. กลมุ่ เกษตรกรทาํ นาตาํ บลไชโย. (2562). รายงานประจาํ ปีกลมุ่ เกษตรกรทํานาตําบลไชโย อา่ งทอง; กล่มุ เกษตรกรทาํ นาตาํ บลไชโย. กลุ่มเกษตรกรทํานาบางระกาํ . (2562). รายงานประจําปีกล่มุ เกษตรกรทาํ นาบางระกาํ อ่างทอง; กลุ่มเกษตรกรทาํ นาบางระกาํ .

รายงานประจาํ ปี 2563 (Annual Report) สาํ นักงานสหกรณจ์ งั หวัดอ่างทอง | 77 กลุ่มเกษตรกรทํานายางซา้ ย. (2562). รายงานประจาํ ปกี ลุ่มเกษตรกรทาํ นายางซา้ ย อ่างทอง; กลมุ่ เกษตรกรทาํ นายางซา้ ย. กลุ่มเกษตรกรทาํ นาองครกั ษ์. (2562). รายงานประจาํ ปกี ล่มุ เกษตรกรทาํ นาองครักษ์ อ่างทอง; กลมุ่ เกษตรกรทาํ นาองครักษ์. กลุ่มเกษตรกรทํานาหนองแม่ไก่. (2562). รายงานประจําปีกลุ่มเกษตรกรทาํ นาหนองแม่ไก่ อา่ งทอง; กลุ่มเกษตรกรทํานาหนองแม่ไก่. กลมุ่ เกษตรกรทาํ นาคําหยาด. (2562). รายงานประจําปีกลมุ่ เกษตรกรทํานาคาํ หยาด อา่ งทอง; กลมุ่ เกษตรกรทาํ นาคาํ หยาด. กลุ่มเกษตรกรทาํ นาไผ่จาํ ศลี . (2562). รายงานประจําปกี ลุ่มเกษตรกรทํานาไผ่จําศลี อ่างทอง; กลมุ่ เกษตรกรทาํ นาไผ่จาํ ศลี . กลมุ่ เกษตรกรทาํ นาบางจัก. (2562). รายงานประจาํ ปีกลุ่มเกษตรกรทาํ นาบางจกั อ่างทอง; กลุ่มเกษตรกรทํานาบางจกั . กลมุ่ เกษตรกรทาํ นาสาวร้องไห้. (2562). รายงานประจําปีกล่มุ เกษตรกรทาํ นาสาวรอ้ งไห้ อ่างทอง; กลุ่มเกษตรกรทาํ นาสาวร้องไห้. กลมุ่ เกษตรกรทาํ นาย่ลี น้ . (2562). รายงานประจาํ ปกี ลมุ่ เกษตรกรทาํ นายี่ลน้ อ่างทอง; กล่มุ เกษตรกรทาํ นายล่ี ้น. กลุ่มเกษตรกรทาํ นามว่ งเต้ยี . (2562). รายงานประจําปีกลุ่มเกษตรกรทาํ นาม่วงเต้ยี อ่างทอง; กลุม่ เกษตรกรทํานามว่ งเตีย้ . กลุ่มเกษตรกรทาํ นาสี่ร้อย. (2562). รายงานประจําปกี ลมุ่ เกษตรกรทํานาส่ีร้อย อา่ งทอง; กลมุ่ เกษตรกรทํานาส่รี อ้ ย. กลุม่ เกษตรกรทาํ นาตาํ บลไผ่ดําพัฒนา. (2562). รายงานประจาํ ปีกลมุ่ เกษตรกรทํานา ตําบลไผด่ าํ พฒั นา อา่ งทอง; กลมุ่ เกษตรกรทํานาตําบลไผ่ดาํ พัฒนา. กลุ่มเกษตรกรทํานาโพธมิ์ ว่ งพันธ์. (2562). รายงานประจาํ ปกี ลมุ่ เกษตรกรทํานาโพธิ์ม่วงพนั ธ์ อา่ งทอง; กลมุ่ เกษตรกรทํานาโพธ์มิ ่วงพันธ์. กลมุ่ เกษตรกรทาํ นาอบทม. (2562). รายงานประจาํ ปีกลุ่มเกษตรกรทาํ นาอบทม อ่างทอง; กลมุ่ เกษตรกรทาํ นาอบทม กลุ่มเกษตรกรทํานามงคลธรรมนมิ ติ ร. (2562). รายงานประจําปกี ลุ่มเกษตรกรทํานามงคลธรรมนมิ ิต อ่างทอง; กลมุ่ เกษตรกรทํานามงคลธรรมนิมติ ร. กลมุ่ เกษตรกรทาํ นาตําบลราษฎรพัฒนา. (2562). รายงานประจําปีกลุ่มเกษตรกรทํานาตาํ บลราษฎร พฒั นา อา่ งทอง; กลมุ่ เกษตรกรทาํ นาตําบลราษฎรพัฒนา. กลุ่มเกษตรกรทาํ นาแสวงหา. (2562). รายงานประจําปกี ลุ่มเกษตรกรทาํ นาแสวงหา อ่างทอง; กลุ่มเกษตรกรทาํ นาแสวงหา. กลมุ่ เกษตรกรทาํ นาบา้ นพราน. (2562). รายงานประจาํ ปีกลุม่ เกษตรกรทํานาบา้ นพราน อา่ งทอง; กลมุ่ เกษตรกรทาํ นาบา้ นพราน. กลมุ่ เกษตรกรทําไรน่ าสวนผสมคลองววั . (2562). รายงานประจาํ ปีกลมุ่ เกษตรกรทาํ ไร่นาสวนผสม คลองววั อ่างทอง; กลุ่มเกษตรกรทาํ ไรน่ าสวนผสมคลองววั . กลมุ่ เกษตรกรไร่นาสวนผสมตาํ บลท่าชา้ ง. (2562). รายงานประจําปกี ลมุ่ เกษตรกรไรน่ าสวนผสม ตาํ บลท่าชา้ ง อ่างทอง; กลมุ่ เกษตรกรไรน่ าสวนผสมตาํ บลท่าช้าง

รายงานประจาํ ปี 2563 (Annual Report) สาํ นกั งานสหกรณจ์ งั หวดั อ่างทอง | 78 กลุ่มเกษตรกรทาํ นาโผงเผง. (2562). รายงานประจาํ ปีกลุ่มเกษตรกรทาํ นาโผงเผง อา่ งทอง; กลมุ่ เกษตรกรทาํ นาโผงเผง. กลุ่มเกษตรกรทํานานรสิงห์. (2562). รายงานประจําปีกลุ่มเกษตรกรทาํ นานรสงิ ห์ อา่ งทอง; กลมุ่ เกษตรกรทํานานรสงิ ห์. กลมุ่ เกษตรกรทํานาตาํ บลสายทอง. (2562). รายงานประจําปีกลุ่มเกษตรกรทาํ นาตาํ บลสายทอง อ่างทอง; กลุ่มเกษตรกรทํานาตําบลสายทอง. กลมุ่ เกษตรกรทํานาตําบลป่าโมก. (2562). รายงานประจําปีกล่มุ เกษตรกรทํานาตําบลป่าโมก อา่ งทอง; กลมุ่ เกษตรกรทํานาตําบลปา่ โมก. กลุ่มเกษตรกรทาํ นาตาํ บลบางเสดจ็ . (2562). รายงานประจําปีกลมุ่ เกษตรกรทํานาตาํ บลบางเสด็จ อา่ งทอง; กลุ่มเกษตรกรทํานาตําบลบางเสดจ็ . กลมุ่ เกษตรกรทํานาบา้ นแห. (2562). รายงานประจาํ ปีกลุ่มเกษตรกรทํานาบ้านแห อ่างทอง; กลมุ่ เกษตรกรทํานาบ้านแห. กลมุ่ เกษตรกรไร่นาสวนผสมไผ่วงพฒั นา. (2562). รายงานประจําปีกลมุ่ เกษตรกรไรน่ าสวนผสม ไผ่วงพฒั นา อา่ งทอง; กลุ่มเกษตรกรไร่นาสวนผสมไผ่วงพัฒนา. กลุ่มเกษตรกรทํานาเอกราช. (2562). รายงานประจําปีกลุ่มเกษตรกรทาํ นาเอกราช อา่ งทอง; กลมุ่ เกษตรกรทํานาเอกราช. กลุ่มเกษตรกรทาํ สวนตาํ บลทางพระ. (2562). รายงานประจาํ ปกี ลมุ่ เกษตรกรทาํ สวนตาํ บลทางพระ อา่ งทอง; กล่มุ เกษตรกรทาํ สวนตาํ บลทางพระ. กลมุ่ เกษตรกรทาํ สวนตาํ บลยางซ้าย. (2562). รายงานประจําปกี ลมุ่ เกษตรกรทําสวนตําบลยางซา้ ย อา่ งทอง; กลุ่มเกษตรกรทาํ สวนตาํ บลยางซ้าย. กลุ่มเกษตรกรทาํ สวนตาํ บลจําปาหลอ่ . (2562). รายงานประจาํ ปีกลุม่ เกษตรกรทําสวนตาํ บล จาํ ปาหล่อ อ่างทอง; กลมุ่ เกษตรกรทําสวนตาํ บลจําปาหล่อ. กล่มุ เกษตรกรผู้เลย้ี งสัตว์นกกระทาและแปรรปู สนิ คา้ เกษตรอ่างทอง. (2562). รายงานประจาํ ปี กล่มุ เกษตรกรผ้เู ล้ียงสัตวน์ กกระทาและแปรรปู สนิ คา้ เกษตรอ่างทอง อา่ งทอง; กลุ่มเกษตรกร ผูเ้ ลย้ี งสัตวน์ กกระทาและแปรรูปสนิ ค้าเกษตรอา่ งทอง. กลุ่มเกษตรกรเล้ยี งสัตวโ์ คกพุทรา. (2562). รายงานประจําปกี ลุ่มเกษตรกรเลีย้ งสตั ว์โคกพทุ รา อ่างทอง; กลุ่มเกษตรกรเลีย้ งสัตว์โคกพทุ รา. กล่มุ เกษตรกรเลย้ี งสตั วต์ าํ บลรํามะสกั . (2562). รายงานประจําปกี ลุ่มเกษตรกรเล้ียงสตั วต์ ําบล รํามะสกั อ่างทอง; กล่มุ เกษตรกรเลย้ี งสัตว์ตําบลรํามะสัก. กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตวห์ ลกั แก้ว. (2562). รายงานประจาํ ปีกล่มุ เกษตรกรเลี้ยงสัตว์หลักแกว้ อ่างทอง;กลุม่ เกษตรกรเลี้ยงสัตว์หลักแก้ว. กลมุ่ เกษตรกรเลยี้ งสัตว์แสวงหา. (2562). รายงานประจําปกี ล่มุ เกษตรกรเลย้ี งสตั ว์แสวงหา อ่างทอง; กลุม่ เกษตรกรเล้ียงสตั วแ์ สวงหา. ชมุ นมุ สหกรณก์ ารเกษตรอา่ งทอง จาํ กัด. (2562). รายงานประจําปชี ุมนุมสหกรณ์การเกษตรอา่ งทอง จํากดั อา่ งทอง; ชมุ นุมสหกรณ์การเกษตรอา่ งทอง จํากัด. ฝ่ายบริหารทว่ั ไป สาํ นักงานสหกรณจ์ ังหวดั อา่ งทอง. (2562). งบการเงนิ ประจําปีงบประมาณ จังหวัดอา่ งทอง อ่างทอง; ฝา่ ยบริหารท่วั ไป สหกรณ์การเกษตรเมืองอ่างทอง จาํ กดั . (2562). รายงานประจาํ ปสี หกรณ์การเกษตรเมืองอ่างทอง

รายงานประจําปี 2563 (Annual Report) สาํ นกั งานสหกรณจ์ งั หวัดอ่างทอง | 79 จํากัด อา่ งทอง; สหกรณก์ ารเกษตรเมืองอา่ งทอง จาํ กัด. สหกรณส์ ตรีไชโย จาํ กดั . (2562). รายงานประจาํ ปสี หกรณส์ ตรไี ชโย จํากดั อา่ งทอง; สหกรณ์สตรี ไชโย จาํ กดั . สหกรณก์ ารเกษตรไชโย จํากดั . (2562). รายงานประจาํ ปีสหกรณ์การเกษตรไชโย จํากดั อา่ งทอง; สหกรณก์ ารเกษตรไชโย จํากัด. สหกรณ์ผเู้ ลีย้ งไก่ไข่ลุ่มแมน่ าํ้ น้อย จํากดั . (2562). รายงานประจาํ ปสี หกรณผ์ เู้ ลี้ยงไก่ไขล่ ุ่มแมน่ ํ้าน้อย จํากัด อา่ งทอง; สหกรณผ์ ู้เลย้ี งไก่ไขล่ มุ่ แมน่ าํ้ น้อย จํากัด. สหกรณก์ ารเกษตรโพธทิ์ อง จํากัด. (2562). รายงานประจําปสี หกรณก์ ารเกษตรโพธิท์ อง จาํ กดั อา่ งทอง; สหกรณก์ ารเกษตรโพธิ์ทอง จํากดั . สหกรณ์การเกษตรกรวเิ ศษชยั ชาญ จาํ กัด. (2562). รายงานประจําปีสหกรณ์การเกษตรกร วเิ ศษชยั ชาญ จํากดั อ่างทอง; สหกรณก์ ารเกษตรกรวเิ ศษชยั ชาญ จาํ กัด. สหกรณ์การเกษตรเพอ่ื การตลาดลูกค้า ธกส. จํากัด. (2562). รายงานประจาํ ปสี หกรณ์การเกษตร เพอื่ การตลาดลูกคา้ ธกส. จาํ กัด อา่ งทอง; สหกรณ์การเกษตรเพ่ือการตลาดลูกคา้ ธกส. จาํ กดั . สหกรณ์การปลูกพชื ไรว่ งั น้าํ เย็น จาํ กดั . (2562). รายงานประจาํ ปสี หกรณ์การปลกู พชื ไร่วงั นา้ํ เย็น จํากดั อ่างทอง; สหกรณก์ ารปลูกพชื ไร่วังนา้ํ เย็น จํากัด. สหกรณ์การเกษตรแสวงหา จํากดั . (2562). รายงานประจําปสี หกรณ์การเกษตรแสวงหา จาํ กัด อ่างทอง; สหกรณ์การเกษตรแสวงหา จํากดั . สหกรณโ์ คเน้อื อ่างทอง จํากดั . (2562). รายงานประจาํ ปีสหกรณ์โคเนอ้ื อา่ งทอง จํากัด อ่างทอง; สหกรณโ์ คเน้ืออ่างทอง จาํ กัด. สหกรณก์ ารปศุสัตว์อ่างทอง จํากัด. (2562). รายงานประจําปสี หกรณก์ ารปศสุ ัตวอ์ ่างทอง จาํ กัด อ่างทอง; สหกรณ์การปศุสตั ว์อา่ งทอง จาํ กัด. สหกรณ์การเกษตรผูเ้ ล้ียงและค้าสัตวอ์ า่ งทอง จํากัด. (2562). รายงานประจาํ ปีสหกรณ์การเกษตร ผ้เู ลย้ี งและค้าสัตวอ์ า่ งทอง จาํ กัด อา่ งทอง; สหกรณ์การเกษตรผู้เล้ยี งและค้าสตั ว์อ่างทอง จาํ กัด. สหกรณ์การเกษตรบางเสดจ็ จํากัด. (2562). รายงานประจาํ ปีสหกรณก์ ารเกษตรบางเสด็จ จํากัด อ่างทอง; สหกรณ์การเกษตรบางเสดจ็ จํากัด. สหกรณ์การเกษตรปา่ โมก จํากัด. (2562). รายงานประจําปีสหกรณก์ ารเกษตรป่าโมก จํากดั อา่ งทอง;สหกรณ์การเกษตรป่าโมก จาํ กัด. สหกรณผ์ ู้เพาะเล้ียงสตั วน์ ํ้าอา่ งทอง จํากัด. (2562). รายงานประจาํ ปสี หกรณผ์ ้เู พาะเลี้ยงสัตวน์ ํ้า อา่ งทอง จํากัด อ่างทอง; สหกรณ์ผเู้ พาะเลี้ยงสตั วน์ ํา้ อ่างทอง จาํ กดั . สหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวดั อา่ งทอง จํากดั . (2562). รายงานประจําปีสหกรณอ์ อมทรัพย์ สาธารณสขุ จังหวดั อ่างทอง จํากดั อ่างทอง; สหกรณ์ออมทรพั ย์สาธารณสขุ จงั หวัดอ่างทอง จํากัด. สหกรณ์ออมทรัพยต์ าํ รวจอ่างทอง จาํ กัด. (2562). รายงานประจําปสี หกรณ์ออมทรัพย์ตาํ รวจ อ่างทอง จาํ กัด อ่างทอง; สหกรณอ์ อมทรพั ยต์ ํารวจอา่ งทอง จํากดั . สหกรณ์ออมทรัพย์ครูอา่ งทอง จาํ กดั . (2562). รายงานประจําปีสหกรณ์ออมทรัพย์ครูอ่างทอง จาํ กัด อ่างทอง; สหกรณ์ออมทรัพย์ครอู ่างทอง จํากดั . สหกรณอ์ อมทรัพย์สหภาพแรงงานไทยเรยอน จํากัด. (2562). รายงานประจําปสี หกรณ์ออมทรัพย์ สหภาพแรงงานไทยเรยอน จํากัด อา่ งทอง; สหกรณอ์ อมทรัพยส์ หภาพแรงงานไทยเรยอน จาํ กดั . สหกรณ์ออมทรัพยโ์ รงพยาบาลอ่างทอง จาํ กดั . (2562). รายงานประจําปสี หกรณ์ออมทรพั ย์

รายงานประจาํ ปี 2563 (Annual Report) สาํ นักงานสหกรณ์จงั หวัดอ่างทอง | 80 โรงพยาบาลอา่ งทอง จํากดั อา่ งทอง; สหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลอ่างทอง จาํ กัด. สหกรณอ์ อมทรัพย์สหภาพแรงงานไทยคาร์บอนแบลค็ จาํ กัด. (2562). รายงานประจําปีสหกรณ์ ออมทรพั ย์สหภาพแรงงานไทยคาร์บอนแบล็ค จํากดั อ่างทอง; สหกรณอ์ อมทรัพยส์ หภาพ แรงงานไทยคาร์บอนแบล็ค จํากดั . สหกรณอ์ า่ งทองเดนิ รถ จาํ กัด. (2562). รายงานประจําปีสหกรณ์อ่างทองเดินรถ จํากัด อา่ งทอง; สหกรณอ์ ่างทองเดินรถ จํากัด. สหกรณ์บรกิ ารพัฒนาชมุ ชนสุทธาวาส จาํ กัด. (2562). รายงานประจําปีสหกรณบ์ รกิ ารพัฒนาชุมชน สุทธาวาส จํากดั อา่ งทอง; สหกรณบ์ ริการพัฒนาชุมชนสทุ ธาวาส จาํ กัด. สหกรณบ์ รกิ ารเมืองใหมช่ ยั มงคล จํากดั . (2562). รายงานประจาํ ปีสหกรณบ์ ริการเมืองใหม่ชัยมงคล จาํ กัด อา่ งทอง; สหกรณ์บรกิ ารเมืองใหมช่ ัยมงคล จาํ กัด. สหกรณบ์ รกิ ารการตลาดสินค้าเกษตรปลอดภยั ชาวอ่างทอง จํากัด. (2562). รายงานประจําปี สหกรณ์ บรกิ ารการตลาดสนิ ค้าเกษตรปลอดภยั ชาวอ่างทอง จํากดั อา่ งทอง; สหกรณ์บริการ การตลาดสินคา้ เกษตรปลอดภัยชาวอ่างทอง จํากัด. สหกรณบ์ ้านมนั่ คงเทศบาลป่าโมก จํากดั . (2562). รายงานประจาํ ปสี หกรณ์บ้านม่นั คงเทศบาล ป่าโมก จํากดั อ่างทอง; สหกรณบ์ ้านม่ันคงเทศบาลป่าโมก จํากดั . สหกรณ์บรกิ ารสหภาพแรงงานไทยเรยอน จํากัด. (2562). รายงานประจาํ ปีสหกรณ์บรกิ ารสหภาพ แรงงานไทยเรยอน จาํ กัด อ่างทอง; สหกรณ์บรกิ ารสหภาพแรงงานไทยเรยอน จาํ กดั . สหกรณเ์ ครดิตยเู นยี่ นบ้านบอ่ แร่ จาํ กดั . (2562). รายงานประจาํ ปสี หกรณ์เครดิตยเู น่ียนบ้านบอ่ แร่ จํากัด อ่างทอง; สหกรณ์เครดิตยเู นย่ี นบ้านบ่อแร่ จาํ กัด.

รายงานประจาํ ปี 2563 (Annual Report) สาํ นกั งานสหกรณจ์ งั หวัดอ่างทอง | 81 สาํ นักงานสหกรณ์จงั หวัดอ่างทอง 50 ถนนอ่างทอง – สงิ ห์บรุ ี ตาํ บลย่านซ่อื อาํ เภอเมอื งอา่ งทอง จงั หวัดอา่ งทอง 14000 โทรศัพท/์ โทรสาร 0-3561-1021 และ 0-3561-3460 http://webhost.cpd.go.th/angthong/


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook