Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Form AnnualReport 2020Angthong

Form AnnualReport 2020Angthong

Published by Yupaporn Chalermglin, 2021-01-22 03:16:40

Description: Form AnnualReport 2020Angthong

Search

Read the Text Version

รายงานประจาํ ปี 2563 (Annual Report) สาํ นกั งานสหกรณ์จงั หวดั อ่างทอง | ก

รายงานประจาํ ปี 2563 (Annual Report) สาํ นกั งานสหกรณ์จงั หวดั อ่างทอง | ก

รายงานประจาํ ปี 2563 (Annual Report) สํานกั งานสหกรณจ์ งั หวดั อา่ งทอง | สารจากสหกรณ์จังหวดั อา่ งทอง สํานักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง ในฐานะส่วนราชการซึ่งเป็นหน่วยงานภาครัฐประจําจังหวัด อ่างทอง ท่ีทําหน้าที่ให้การส่งเสริม สนับสนุนการดําเนินงานด้านต่างๆ ให้กับสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกร ภายในจังหวัดอ่างทอง โดยยึดกรอบแนวทางและตัวช้ีวัดการประเมินผลการปฏิบัติงาน ของกรมส่งเสริม สหกรณ์ ประจําปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 เพื่อพัฒนาสหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกร ใหม้ คี วามเข้มแขง็ สามารถทํา หนา้ ท่ีในการขับเคลื่อนแก้ไขปัญหาและพัฒนาเศรษฐกิจของชุมชน ให้ชมุ ชนสหกรณ์และชุมชนกลุ่มเกษตรกรมี ภูมิคุ้มกัน มีเศรษฐกิจท่ีดี ส่งผลให้ประชาชนภายในชุมชนมีความเป็นอยู่ท่ีดี เรียกได้ว่ากินดีอยู่ดีมีสันติสุขใน การดาํ เนนิ ชีวิต โดยอาศยั ความร่วมมือ จากทกุ ภาคส่วนในการบูรณาการรว่ มกนั ทํางานเพื่อพฒั นา แก้ไขปัญหา และอุปสรรคต่างๆ อย่างมีประสิทธิภาพ จนทําให้งานโครงการต่างๆประสบผลสาํ เร็จเป็นไปตามตวั ช้ีวัดและคา่ เป้าหมายท่ีต้ังไว้ ก่อให้เกิดประสิทธิผลสูงสดุ โดยยดึ ประโยชนข์ องทางราชการและประชาชนในจงั หวัดอ่างทอง เป็นสาํ คญั ในโอกาสน้ี ในนามผู้บริหารสํานักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง ต้องขอขอบคุณบุคลากรสํานักงาน สหกรณ์จังหวัดอ่างทอง ซ่ึงเป็นเสมือนฟันเฟืองท่ีสําคัญของเคร่ืองจักรที่ได้ร่วมกันทําหน้าท่ีขับเคลื่อนแผนงาน โครงการต่างๆภายใต้ภารกิจหน้าท่ีให้สําเร็จลุล่วงไปด้วยดี และขอขอบคุณคณะกรรมการดําเนินการและ เจ้าหน้าท่ีของสหกรณ์ เจ้าหน้าท่ีของกลุ่มเกษตรกร หน่วยงานราชการ ภาคเอกชน และประชาชนท่ัวไป ตลอดจนผู้ที่มีส่วนเก่ียวข้องทุกท่าน ท่ีได้ทุ่มเท แรงกายแรงใจ และให้ความร่วมมือในการขับเคลื่อนส่งเสริม สนับสนุน ผลักดัน พัฒนาแก้ไขปัญหาต่างๆให้กับสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกร ซ่ึงเป็นสถาบันเกษตรกรของ ประชาชนในจังหวดั อ่างทอง ใหส้ ามารถทาํ หน้าทเ่ี ป็นเครื่องมือที่สําคญั ในการขับเคลื่อนแก้ไขปัญหาและพัฒนา เศรษฐกิจเพอื่ ให้สงั คมความเปน็ อยู่ของคนในชมุ ชนต่างๆของจังหวดั อ่างทองดีข้นึ ท้ายสุดน้ี กระผมขอให้บุคลากรสํานักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่าน จงอย่าได้ย่อท้อต่อความเหน็ดเหนื่อยท่ีได้ร่วมแรงร่วมใจกันทํางานอย่างสุดความสามารถ และขอให้ร่วมกัน ขับเคลื่อนพัฒนากิจการของสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกรในจังหวัดอ่างทอง ให้มีความเจริญรุ่งเรืองยิ่งๆขึ้นไป เพ่ือได้เป็นที่พ่ึงให้กับมวลสมาชิก ทําหน้าที่ในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากได้อย่างยั่งยืน และ ขอให้ร่วมด้วยช่วยกันเผยแพร่ นําพาแนวคิดด้านการสหกรณ์ ให้มีการแพร่ขยายลงลึกสู่ประชาชนทั่วไปซึ่งเป็น ฐานรากของชมุ ชน สบื ตอ่ ไป (นายพิชยั ปานแกว้ ) สหกรณ์จงั หวัดอ่างทอง (มกราคม 2564)

รายงานประจําปี 2563 (Annual Report) สาํ นักงานสหกรณ์จงั หวัดอ่างทอง | ก บทสรุปผบู้ รหิ าร (Executive Summary) สํานักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง ซ่ึงเป็นหน่วยงานส่วนภูมิภาคของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ดําเนินการ ขับเคล่ือนงานส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกรให้มีตวามเข้มแข็งอย่างย่ังยืน ผลการปฏิบัติงาน ส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ของจังหวัดอ่างทองประจําปี ๒๕๖๓ ดําเนินงานตามแผนงานของ กรมสง่ เสริมสหกรณ์ ดังน้ี แผนงานพนื้ ฐานด้านการสรา้ งความสามารถในการแข่งขัน ผลผลิตสหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกรได้รับการ ส่งเสริมและพัฒนาตามศักยภาพ ผลการดําเนินการส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรให้มีความ เข้มแข็ง พบว่าอัตราการขยายตัวปริมาณธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรลดลงร้อยละ 2.24 เน่ืองจาก ประสบปัญหาภัยแล้งไม่สามารถทํานา ทําการเพาะปลูกได้ และจากสถานการณ์เกิดการระบาดโรคติดเชื้อ โคโรนา 2019 (COVID-19) ส่งผลให้การขนส่งผลผลิตไปจําหน่ายเกิดปัญหา ไม่มีพ่อค้ามารับซื้อผลผลิต ทางการเกษตร ในทางกลบั กันการดาํ เนนิ โครงการประชมุ เชิงปฏบิ ตั ิการพฒั นาศักยภาพการดาํ เนินงานของกลุ่ม เกษตรกร ระดับจังหวัดส่งผลให้กลุ่มเกษตรกรทเี่ ข้ารว่ มโครงการ จํานวน 3 กลุม่ มอี ัตราขยายตวั ปริมาณธุรกิจ เพ่ิมขึ้นร้อยละ 3 การแนะนําส่งเสริมใหเ้ กษตรกรและประชาชนทั่วไปสมัครใจเข้าร่วมเปน็ สมาชกิ ของสหกรณ์ จํานวน 474 รายเป็นไปตามเป้าหมาย การส่งเสริมให้กลุ่มเกษตรกรในจังหวัดอ่างทองเข้าถึงแหล่งเงินทุนใน การผลติ และการตลาด จํานวน 15 แห่ง กล่มุ เกษตรกรได้รบั เงินทนุ จาํ นวน 75,000,000 บาท ส่งผลใหก้ ล่มุ เกษตรกรสามารถจัดหาปจั จัยการผลิตทางการเกษตรที่มคี ุณภาพและราคายุตธิ รรม ตรงตามความประสงค์ของ เกษตรกรเอง และทําให้สมาชิกกลุ่มเกษตรกร จํานวน 807 ราย ลดต้นทุนการผลิตได้ อีกหนึ่งภารกิจที่สําคัญ ส่งเสริมและพัฒนาให้สหกรณ์เป็นองค์กรที่เข้มแข็งเป็นท่ีพ่ึงแก่มวลสมาชิก ในการให้สหกรณ์เป็นองค์กรท่ี สมารถบริหารงานภายใต้การกํากับดูแลกิจการที่ดเี ป็นสหกรณ์สขี าวด้วยธรรมาภบิ าล มีสหกรณ์ท่ีสนใจเข้ารว่ ม โครงการ จํานวน 15 สหกรณ์ ผ่านเกณฑ์การประเมินไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีสหกรณ์ผ่านเกณฑ์ 2 สหกรณ์ คือ สหกรณ์ออมทรัพย์สหภาพแรงงานไทยเรยอน จํากัด และสหกรณ์ออมทรัพย์สหภาพแรงงานไทยคาร์บอน แบล็ค จํากัด แผนงานพื้นฐานยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ผลผลิต ช่วยเหลอื ดา้ นหน้ีสนิ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร สาํ นกั งานสหกรณ์จงั หวัดอา่ งทอง ได้ขอเบกิ เงินชดเชยดอกเบี้ย ตามโครงการลดดอกเบ้ียเงินกู้ให้เกษตรกรสมาชิกสหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการ จํานวน 7 สหกรณ์ ได้รับจัดสรร เป็นเงินชดเชยดอกเบี้ยที่ขอเบิกทั้งสิ้น 1,923,628.22 บาท ทําให้สมาชิกสหกรณ์ จํานวน2,490 ราย ลดภาระดอกเบย้ี และลดตน้ ทนุ ในการประกอบอาชพี การเกษตร แผนงานยุทธศาสตร์เสริมสร้างพลังทางสังคม ดําเนินการจัดกิจกรรมคลินิกสหกรณ์เพื่อให้บริการแก่ เกษตรกร จํานวน 4 ครั้ง มีเกษตรกรเข้ารับบริการ จํานวน 500 ราย และโครงการสนับสนนุ เงินทุนเพื่อสรา้ ง ระบบนํ้าในไร่นาของสมาชิกสหกรณ์ สหกรณ์การเกษตรเข้าร่วม 2 สหกรณ์ คือ สหกรณ์การเกษตรโพธ์ิทอง จํากัด และสหกรณ์การเกษตรแสวงหา จํากัด มีสมาชิกสหกรณ์เข้าร่วมโครงการ จํานวน 100 ราย ทําให้ สมาชิกมีระบบนาํ้ ในไรน่ าครบ 100 ราย

รายงานประจาํ ปี 2563 (Annual Report) สํานกั งานสหกรณ์จงั หวัดอา่ งทอง | ก แนะนําส่งเสริมสหกรณ์ประมงและการแปรรูป จาํ กัด ใหส้ ามารถดําเนินธรุ กิจรวบรวมและแปรรปู ผลิตผล (ปลาช่อน) เพ่ือเข้าช่วยเหลือแก้ไขปัญหาด้านตลาดสินค้าเกษตรให้กับสมาชิกสหกรณ์ ซึ่งได้รับ ผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า(โควิด-19) โดยสหกรณ์ได้เข้ามาดําเนินธุรกิจรับซ้ือ ปลาสดจากสมาชกิ สหกรณ์นําไปแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อนําออกจาํ หน่ายในตลาดภายในประเทศ โดยผลจาก การดําเนนิ การสหกรณส์ ามารถรวบรวม (ปลาชอ่ น) จากสมาชกิ แปรรูปออกจําหน่ายได้ จาํ นวน 50 ตัน คดิ เป็น มูลคา่ ปลาสด 3,500,000 บาท คดิ เปน็ มูลค่าปลาแปรรูป 4,250,000 บาท แสดงให้เหน็ ถงึ การดาํ เนินธุรกิจ แปรรูปผลผลิตของสหกรณ์สามารถสรา้ งมลู ค่าเพ่มิ ให้กับผลิตผลทางการเกษตรของสมาชิกถึง 750,000 บาท ส่งผลให้เกษตรกรสมาชิกสามารถผ่านพ้นวิกฤตเศรษฐกิจในช่วงการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรน่า (โควิด-19) ไปได้ ผลสําเร็จจากการดาํ เนินงานจงั หวัดอ่างทองมีสหกรณ์ 29 แห่ง สมาชิก 68,663 คน กลุ่มเกษตรกร 49 กลุ่ม สมาชิก 2,425 คน ปริมาณธุรกิจของสหกรณ์ 10,814,195,409.33 บาท ปริมาณธุรกิจกลุ่ม เกษตรกร 23,308,294.59 บาท สหกรณ์มีผลกําไร 28 สหกรณ์ เป็นเงิน 315,052,924.06 บาท ขาดทุน 1 แห่ง เป็นเงิน 42,956.57 บาท กลุ่มเกษตรกรมีกําไร 48 กลุ่ม เป็นเงิน 555,529.85 บาท ขาดทุน 1 กลุ่ม เป็นเงิน 321,696.36 บาท ผลการจัดระดับช้ันสหกรณ์ สหกรณ์ชั้น 1 จํานวน 4 สหกรณ์ สหกรณ์ช้ัน 2 จํานวน 22 สหกรณ์ สหกรณ์ชั้น 3 จํานวน 1 สหกรณ์ และสหกรณ์ชั้น 4 จํานวน 3 สหกรณ์ สหกรณ์ไม่มีข้อบกพร่อง จํานวน 28 สหกรณ์ พบข้อบกพร่องเพียง 1 สหกรณ์ อยู่ในระหว่างดําเนินการแก้ ไข สหกรณ์ จากการดําเนินงานของสํานักงานสหกรณจ์ ังหวัดอ่างทอง ที่ผ่านมา อาศยั ความรว่ มมอื ร่วมแรง ร่วมใจ ในการขับเคล่ือนแผนงาน/โครงการต่างๆ ให้ประสบความสําเร็จตรงตามเป้าหมายท่ีได้วางไว้ เพื่อให้เกิด ประสิทธิภาพ และประสิทธิผลในการปฏบิ ัติงานให้มากที่สุด ส่ิงที่สําคัญคือ การสร้างความเข้มแข็ง ม่ันคง และ ยัง่ ยนื ของขบวนการสหกรณ์ ตอ่ ไป

รายงานประจาํ ปี 2563 (Annual Report) สาํ นักงานสหกรณ์จงั หวดั อ่างทอง | สารบญั ก 1 บทสรุปผู้บริหาร ๒ สว่ นท่ี 1 ข้อมลู ภาพรวมของหน่วยงาน ๓ ๗ 1.1 วสิ ัยทัศน์ พนั ธกจิ และอํานาจหนา้ ที่ของสํานักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง ๙ 1.2 โครงสร้างและอัตรากําลังของสํานักงานสหกรณ์จงั หวดั อา่ งทอง ๑๘ 1.3 แผนปฏบิ ัติงานและงบประมาณรายจ่ายประจําปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 ๑๙ 1.4 สรปุ ขอ้ มลู สหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกร ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ส่วนท่ี 2 ผลการดําเนนิ งาน ๒๓ 2.1. สรุปผลการปฏบิ ัตงิ านและผลเบกิ จ่ายงบประมาณ ตามแผนปฏิบตั ิงานและ ๔๑ งบประมาณรายจ่าย ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ๖๒ 2.2 ผลการปฏิบัตงิ านส่งเสรมิ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ประจําปีงบประมาณ ๖๖ ๖๗ พ.ศ. 2563 ๖๘ 2.3 ผลการปฏบิ ัติงาน/โครงการตามแผนปฏิบัติงานและงบประมาณรายจา่ ย ๖๙ ๗๑ ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ๗๖ 1) งาน/โครงการตามภารกิจ 2) โครงการตามนโยบายสําคญั สว่ นท่ี 3 รายงานการเงิน 3.1 งบแสดงฐานะการเงิน 3.2 งบแสดงผลการดาํ เนนิ งานทางการเงนิ 3.3 หมายเหตุประกอบงบการเงิน สว่ นท่ี 4 กิจกรรมเดน่ ของสํานกั งานสหกรณจ์ ังหวัดอา่ งทอง บรรณานุกรม

รายงานประจําปี 2563 (Annual Report) สํานกั งานสหกรณจ์ งั หวดั อ่างทอง | ๑ สว่ นท่ี 1 ขอ้ มูลภาพรวม ของหนว่ ยงาน

รายงานประจําปี 2563 (Annual Report) สํานกั งานสหกรณ์จงั หวดั อา่ งทอง | ๒ วิสัยทศั น์ พันธกจิ และอาํ นาจหน้าท่ีของหน่วยงาน วิสยั ทัศน์ สหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกรมคี วามเข้มแขง็ สามารถพ่งึ ตนเอง และเปน็ ทพี่ ่งึ ของสมาชกิ ไดอ้ ย่างยงั่ ยืน พนั ธกิจ พันธกจิ 1. สรา้ งองคค์ วามรเู้ พอ่ื ส่งเสริม เผยแพร่ เก่ียวกับอุดมการณ์ หลกั การและวิธกี าร สหกรณ์ อาํ นาจ 2. คมุ้ ครองระบบสหกรณ์ใหเ้ ข้มแข็งและ หนา้ ท่ี เปน็ ไปตามกฎหมายสหกรณ์ 3. พฒั นาขดี ความสามารถในการบรหิ าร จัดการ การดาํ เนินธุรกจิ และเทคโนโลยีให้ แก่สหกรณแ์ ละกลมุ่ เกษตรกร 4. เสริมสรา้ งโอกาสการเขา้ หาแหลง่ ทนุ ให้แก่สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร อํานาจหน้าท่สี าํ นกั งานสหกรณ์จงั หวดั (๑) ดาํ เนินการเก่ยี วกับงานด้านกฎหมายวา่ ด้วยสหกรณ์ กฎหมายวา่ ดว้ ย การจัดทดี่ ินเพ่ือการครองชพี และกฎหมายอน่ื ท่เี กีย่ วข้อง (2) สง่ เสรมิ และพฒั นางานสหกรณท์ ุกประเภทและกลมุ่ เกษตรกร (3) สง่ เสรมิ เผยแพร่ และให้ความรู้เกย่ี วกบั อุดมการณ์ หลกั การ และวิธกี ารสหกรณ์ ให้แกบ่ ุคลากรสหกรณ์ กลมุ่ เกษตรกร และประชาชนทัว่ ไป (4) ส่งเสรมิ และพฒั นาธรุ กจิ ของสหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกร (5) ปฏบิ ตั ิงานรว่ มกับหรอื สนับสนุนการปฏบิ ตั ิงานของหนว่ ยงานอืน่ ท่ีเก่ยี วข้องหรือ ท่ีได้รบั มอบหมาย

รายงานประจาํ ปี 2563 (Annual Report) สํานักงานสหกรณจ์ งั หวัดอ่างทอง | ๓ โครงสรา้ งและอตั รากําลังของสํานักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง โครงสรา้ งสํานักงานสหกรณ์จงั หวัดอา่ งทอง 1) ฝ่ายบริหารท่ัวไป จํานวน 9 อัตรา แยกเป็น นักจดั การงานท่วั ไปชํานาญการ ข้าราชการ 2 อตั รา นางสาวนิชาภา เน้ือเยน็ (หวั หนา้ ฝา่ ยบรหิ ารท่วั ไป) นางสาวกิง่ กานต์ อินทรอ์ ุไร เจ้าพนกั งานธรุ การชํานาญงาน ลกู จ้างประจํา 2 อัตรา พนักงานพมิ พ์ ส4 นางมนัสชยา สุปนั ณี พนกั งานขบั รถยนต์ นายเสนห่ ์ ภู่เจริญ พนักงานราชการ 5 อัตรา นกั วเิ คราะห์นโยบายและแผน นางสาวปภังกร พลพงษ์

รายงานประจาํ ปี 2563 (Annual Report) สาํ นกั งานสหกรณ์จงั หวัดอา่ งทอง | ๔ นางสาวยพุ าพร เฉลมิ กลิ่น นกั จดั การงานท่ัวไป นางสาวชดาษา แสงระยับ เจา้ พนกั งานธรุ การ นางสาวปาลกิ า เดชฤดี เจ้าพนักงานธุรการ นางสาวสุรรี ัตน์ ปัญญาวัน เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี 2) กลมุ่ ส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจดั การสหกรณ์ จํานวน 3 อตั รา แยกเป็น ข้าราชการ 2 อตั รา นายชยั ยทุ ธ กองเขต นักวิชาการสหกรณ์ชํานาญการ (ผ้อู าํ นวยการกลมุ่ สง่ เสริมและพฒั นาการบรหิ ารการจดั การสหกรณ)์ นางสาวนารีรัตน์ ภาคกนิ ร นกั วชิ าการสหกรณป์ ฏบิ ัติการ พนักงานราชการ 1 อัตรา นางทิพวรรณ สหวรรณางกรู นักวิชาการสหกรณ์ 3) กลมุ่ ส่งเสริมและพัฒนาธรุ กจิ สหกรณ์ จาํ นวน 3 อัตรา แยกเปน็ ข้าราชการ 2 อตั รา นายสนั ติ จนั ทร์สถานนท์ นักวิชาการสหกรณช์ ํานาญการ (ผอู้ าํ นวยการกลมุ่ ส่งเสริมและพฒั นาธรุ กจิ สหกรณ)์ นายเอกพจน์ เจริญพานนท์ นักวิชาการสหกรณช์ าํ นาญการ พนักงานราชการ 1 อตั รา นางสาวปัณณภสั ร์ ตนั ประดับสิงห์ นกั วิชาการมาตรฐานสนิ ค้า 4) กลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์ จาํ นวน 4 อัตรา แยกเป็น ข้าราชการ 2 อตั รา นายขจรยศ วลั ไพจิตร นกั วชิ าการสหกรณช์ าํ นาญการ (ผู้อาํ นวยการกลุ่มจดั ตงั้ และสง่ เสรมิ สหกรณ)์ นางสาวสรารตั น์ บุญวงค์ นักวชิ าการสหกรณ์ปฏบิ ตั ิการ พนกั งานราชการ 2 อตั รา นางสาวณรี นุช คงปรีชา เจ้าพนักงานส่งเสริมสหกรณ์ นางสาวกันยา จันทร์หอมหวล เจ้าพนกั งานสง่ เสริมสหกรณ์ 5) กลุ่มตรวจการสหกรณ์ จาํ นวน 3 อัตรา แยกเปน็ ขา้ ราชการ 2 อัตรา นางธนภร ชูพินิจ นกั วิชาการสหกรณช์ าํ นาญการ (ผ้อู าํ นวยการกลมุ่ ตรวจการสหกรณ์) นางสาวเด่นนภา สบื ไทย นติ ิกรปฏบิ ัติการ พนักงานราชการ 1 อัตรา ว่าท่ีร้อยตรพี ิเชษฐ์ เพชรทับ นิติกร 6) กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1 จํานวน 5 อตั รา แยกเป็น ขา้ ราชการ 4 อัตรา นางสาวรจนา สวัสด์ิจิตร นักวชิ าการสหกรณช์ าํ นาญการ (ผู้อาํ นวยการกลมุ่ สง่ เสริมสหกรณ์ 1) นางสาวสุพัตรา เทียมพนัส นักวิชาการสหกรณ์ปฏิบัตกิ าร

รายงานประจําปี 2563 (Annual Report) สาํ นักงานสหกรณ์จงั หวัดอ่างทอง | ๕ นายกิตติศักดิ์ ภวู โิ รจน์ นักวชิ าการสหกรณป์ ฏบิ ัตกิ าร นางสาวนุชนาถ วชิรศักดโิ์ สภานะ นกั วิชาการสหกรณป์ ฏบิ ัตกิ าร พนักงานราชการ 1 อตั รา นางสาวนติ ยา กลิ่นบาํ รุง นักวชิ าการสหกรณ์ 7) กล่มุ ส่งเสรมิ สหกรณ์ 1 จาํ นวน 5 อตั รา แยกเป็น ขา้ ราชการ 6 อตั รา นายบญุ ธรรม ปลกู งาม เจ้าพนักงานส่งเสรมิ สหกรณ์อาวุโส (ผอู้ าํ นวยการกล่มุ ส่งเสริมสหกรณ์ 2) นายวัชราคม ทพั ไชย เจ้าพนักงานส่งเสรมิ สหกรณ์อาวโุ ส นางสาวกชพร ศรีแผ้ว นกั วชิ าการสหกรณป์ ฏบิ ัติการ นางสาวสรณยี ์ โพธริ ตั น์ นกั วชิ าการสหกรณ์ปฏิบัตกิ าร นายวันเฉลิม จันทรป์ า นักวชิ าการสหกรณ์ปฏบิ ตั กิ าร นายคชพงษ์ คุ้มขํา นกั วิชาการสหกรณ์ปฏบิ ตั กิ าร พนกั งานราชการ 3 อตั รา วา่ ท่ีรอ้ ยเอกสาธิต เจรญิ ศิลป์ นกั วชิ าการสหกรณ์ นางนภารตั น์ รอดบาํ รุง นักวชิ าการสหกรณ์ นางสาวสวรรยา ผลเวช เจา้ พนักงานสง่ เสรมิ สหกรณ์

รายงานประจาํ ปี 2563 (Annual Report) สํานักงานสหกรณ์จงั หวัดอ่างทอง | ๖ อตั รากาํ ลงั ของสํานักงานสหกรณ์จังหวัดอา่ งทอง พนักงานราชการ ข้าราชการ ขา้ ราชการ 38% 57% ลูกจ้างประจํา พนักงานราชการ ลกู จา้ งประจํา 5% หน่วย : คน ประเภทอัตรากําลงั ชาย หญงิ รวม ขา้ ราชการ 10 11 21 ลกู จา้ งประจํา 1 1 2 พนกั งานราชการ 2 12 14 รวม 13 24 37 *** ข้อมูล ณ วนั ที่ 30 กนั ยายน 2563

รายงานประจาํ ปี 2563 (Annual Report) สํานกั งานสหกรณจ์ งั หวดั อ่างทอง | ๗ แผนปฏบิ ัตงิ านและงบประมาณรายจา่ ยประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 แผนปฏิบตั งิ าน ประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 1. แผนงานพน้ื ฐานด้านการสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขัน ผลผลิต : สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการสง่ เสรมิ และพัฒนาตามศักยภาพ กจิ กรรมหลัก : สง่ เสรมิ และพฒั นาสหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกร กจิ กรรมรอง : ส่งเสรมิ และพัฒนาสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกรให้มีความเข้มแขง็ - งานอาํ นวยการ - งานกาํ กบั ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์ - งานส่งเสรมิ และพัฒนาสหกรณ์ กจิ กรรมรอง : ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์/กล่มุ เกษตรกรให้มีความเข้มแขง็ ตามศักยภาพ - กิจกรรมสร้างความเข้มแขง็ ให้กับกลมุ่ เกษตรกรเพื่อเขา้ ถึงแหลง่ เงินทนุ ในการผลิต และตลาด - โครงการศูนยเ์ รยี นรเู้ พ่ิมประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร - โครงการประชมุ เชงิ ปฏิบตั กิ ารพัฒนาศักยภาพการดําเนนิ งานของกล่มุ เกษตรกร ระดบั จังหวดั - โครงการสหกรณ์สขี าวดว้ ยธรรมาภิบาล กิจกรรมหลัก : การพฒั นาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กิจกรรมรอง : ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกรใหม้ คี วามเข็มแขง็ ตามศักยภาพ (รายจา่ ย เพอื่ การลงทุนดา้ นเทคโนโลยีด้านสารสนเทศ) 2. แผนงานพ้ืนฐานยุทธศาสตร์เพือ่ สนับสนนุ ดา้ นการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ผลผลติ /โครงการ ช่วยเหลือด้านหนสี้ ินสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร กจิ กรรมหลัก : ช่วยเหลือดา้ นหน้สี ินสหกรณ/์ กลุม่ เกษตรกร กจิ กรรมรอง : ชว่ ยเหลอื ดา้ นหน้ีสินสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร 3. แผนงานยทุ ธศาสตร์เสริมสร้างพลงั ทางสงั คม ผลผลติ /โครงการ ส่งเสริมการดําเนินงานอันเนอื่ งมาจากพระราชดําริ กจิ กรรมหลกั : พฒั นาสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกรในพน้ื ท่โี ครงการอนั เน่ืองมาจากพระราชดําริ กจิ กรรมรอง : สง่ เสรมิ และพัฒนาสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกรในพื้นทโ่ี ครงการอนั เน่ืองมาจากพระราชดาํ ริ คลินิกเกษตรเคล่ือนท่ีในพระราชานเุ คราะห์ สมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวมหาวชริ าลงกรณ บดินทรเทพวรางกรู กิจกรรมรอง : ขบั เคลือ่ นปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และส่งเสริมการเกษตรตามแนวทางทฤษฎีใหม่ ในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ผลผลิต/โครงการ สนบั สนุนเงนิ ทุนเพ่ือสร้างระบบนา้ํ ในไร่นาของสมาชิกสถาบนั เกษตรกร ระยะท่ี ๒ 4. แผนงานบคุ ลากรภาครัฐ กจิ กรรมหลัก : คา่ ใช้จา่ ยบุคลากรภาครฐั กรมสง่ เสรมิ สหกรณ์

รายงานประจาํ ปี 2563 (Annual Report) สํานกั งานสหกรณจ์ งั หวดั อ่างทอง | ๘ งบประมาณรายจา่ ยประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 - 2563 แผนภูมิแสดงงบประมาณรายจ่ายประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕61- ๒๕๖3 จาํ แนกตามประเภทงบรายจ่าย ล้านบาท 4 3 2 1 0 เงนิ อดุ หนุน งบรายจา่ ยอนื่ งบบคุ ลากร งบดาํ เนนิ งาน งบลงทุน ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ประเภทงบรายจา่ ย ปี 2561 ปี 2562 หน่วย : ล้านบาท รวมท้ังสนิ้ 8,837,806.86 8,016,499.77 ปี 2563 งบบุคลากร 3,329,540.00 3,295,210.00 งบดาํ เนินงาน 3,658,060.00 3,816,094.19 8,172,771.18 งบลงทุน 1,478,900.00 895,800.00 3,431,040.00 เงินอดุ หนุน 371,306.86 2,436,402.96 งบรายจ่ายอน่ื (ถ้าม)ี 9,395.58 281,700.00 - - 2,023,628.22 -

รายงานประจาํ ปี 2563 (Annual Report) สาํ นักงานสหกรณ์จงั หวดั อ่างทอง | ๙ สรุปขอ้ มลู สหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกร ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ข้อมูลสถติ ิของสหกรณ์ ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 จาํ นวนสหกรณ์และจํานวนสมาชิกสหกรณ์ จํานวน จาํ นวนสมาชิก จาํ นวนสมาชกิ ทม่ี ี สว่ นร่วมในการ ประเภทสหกรณ์ สหกรณ์ รวมสมาชกิ สมาชกิ สมาชกิ ดาํ เนินธรุ กจิ ร้อยละ (แห่ง) ทัง้ หมด สามัญ สมทบ (คน) (คน) 23.18 (คน) (คน) 2,989 80.00 13,678 84.13 1. สหกรณ์การเกษตร 16 58,998 54,685 0 128 40.93 833 7,498 18.43 2. สหกรณป์ ระมง 2 160 160 0 228 33.90 608 113 3. สหกรณอ์ อมทรพั ย์ 6 8,912 4592 4,428 21,645 4. สหกรณ์บริการ 4 557 128 5. สหกรณ์เครดติ ยูเนย่ี น 1 613 5 รวม 29 63,852 59,601 ทม่ี า : รายงานประจาํ ปีของสหกรณใ์ นจงั หวัดอ่างทอง สถานะสหกรณ์ จาํ นวนสหกรณ์ (แห่ง) จาํ นวนสหกรณ์ ท้ังหมด ประเภทสหกรณ์ ดาํ เนินงาน/ หยดุ ดาํ เนนิ งาน/ เลกิ จัดตัง้ ใหม่ ธุรกจิ ธุรกจิ /ชาํ ระบญั ชี (1) + (2) + 1. สหกรณก์ ารเกษตร (1) (2) (4) (3) + (4) 2. สหกรณ์ประมง (3) - 3. สหกรณ์ออมทรัพย์ 16 - - 17 4. สหกรณบ์ ริการ 2 - 1 - 2 5. สหกรณเ์ ครดติ ยเู นีย่ น 6 - - - 6 4 - - - 6 1 - 2 - - - 31 รวม 29 - 3 ที่มา : กลุม่ จัดตัง้ และสง่ เสรมิ สหกรณ์ สาํ นกั งานสหกรณจ์ งั หวัดอ่างทอง

รายงานประจาํ ปี 2563 (Annual Report) สาํ นกั งานสหกรณจ์ งั หวัดอ่างทอง | ๑๐ ปรมิ าณธรุ กจิ ของสหกรณ์ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 ปรมิ าณ ปริมาณธรุ กจิ แยกตามประเภทการใหบ้ รกิ าร (ล้านบาท) ธุรกิจ ประเภทสหกรณ์ ของ รบั ฝากเงนิ ให้เงินกู้ จัดหาสินคา้ รวบรวม แปรรปู บริการ รวมทั้งสนิ้ สหกรณ์ มาจาํ หน่าย ผลผลติ ผลผลติ และอื่น ๆ 1. สหกรณ์การเกษตร (แหง่ ) 2. สหกรณ์ประมง 16 385.14 378.33 671.53 178.57 - 0.38 1,613.97 0.168 6.38 2.23 0.58 - 0.00 9.36 3. สหกรณอ์ อมทรัพย์ 2 1.87 0.00 0.00 - 0.00 9,185.31 6 0.006 7,312.82 0.00 - 0.66 0.79 4. สหกรณ์บริการ 4 0.00 0.12 0.0007 - 1 0.00 0.00 4.74 5. สหกรณ์เครดิต 4.74 0.00 ยูเนียน 29 2,257.8 7,702.39 673.77 179.16 - 1.05 10,814.19 รวมท้ังสิน้ ท่มี า : ข้อมลู จากงบการเงนิ ท่ีรบั รองจากผ้สู อบบญั ชี ผลการดําเนนิ งานของสหกรณ์ ผลการดําเนนิ งานปลี า่ สดุ ที่มีการปิดบัญชใี นปงี บประมาณ พ.ศ.2563 กาํ ไร (ขาดทุน) ผลการดําเนนิ งานในภาพรวม การดาํ เนินงานมีผลกําไร - ขาดทุน สุทธิ ประเภทสหกรณ์ (1) (2) (3) สหกรณท์ ี่มีผลกาํ ไร สหกรณ์ทข่ี าดทนุ ในภาพรวม (ล้านบาท) จํานวน รายได้ คา่ ใชจ้ า่ ย (4) (5) (6) (7) (5) – (7) จํานวน กําไร จาํ นวน ขาดทนุ สหกรณ์ (ล้าน (ลา้ น สหกรณ์ (ล้าน สหกรณ์ (ลา้ น (แห่ง) บาท) (แห่ง) บาท) (แหง่ ) บาท) บาท) 1. สหกรณ์การเกษตร 16 220.66 189.48 16 31.18 - - 31.18 2. สหกรณป์ ระมง - - 0.15 3. สหกรณอ์ อมทรพั ย์ 2 2.51 2.36 2 0.15 - - 283.61 4. สหกรณ์บรกิ าร 1 0.04 0.10 5. สหกรณเ์ ครดติ ยเู นีย่ น 6 500.25 216.63 6 283.61 - -- 0.04 315.05 รวมทงั้ สน้ิ 4 0.89 0.79 3 0.10 1 1- - 1 - 29 724.33 09.28 28 315.05 ทีม่ า : ขอ้ มูลจากงบการเงินทีร่ บั รองจากผสู้ อบบญั ชี

รายงานประจาํ ปี 2563 (Annual Report) สํานกั งานสหกรณ์จงั หวดั อา่ งทอง | ๑๑ ผลการจดั ระดับชัน้ สหกรณจ์ ําแนกตามประเภท ข้อมูล ณ วนั ท่ี 30 กันยายน 2563 ประเภทสหกรณ์ สหกรณ์ สหกรณ์ สหกรณ์ สหกรณ์ รวม ช้นั 1 ช้ัน 2 ช้นั 3 ชน้ั 4 สหกรณ์ภาคการเกษตร 2 16 - 1 18 1. สหกรณ์การเกษตร 2 14 - 1 17 2. สหกรณ์ประมง - 2- - 2 2 13 สหกรณ์นอกภาคการเกษตร 2 8 1 - 6 3. สหกรณอ์ อมทรัพย์ 24- - 1 2 6 4. สหกรณ์เครดติ ยเู นย่ี น - 1 - 3 32 5. สหกรณบ์ รกิ าร - 31 รวม 4 22 1 ทมี่ า : รายงานสรุปผลการจดั ระดบั ชน้ั สหกรณ์ ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กองแผนงาน ผลการจัดระดบั ช้ันสหกรณ์ เปรียบเทียบ 3 ปี (ปี พ.ศ. 2561 – 2563) ระดับช้นั ระดับช้ัน ระดับชัน้ ระดับช้ัน ณ วันที่ 30 กนั ยายน ณ วนั ที่ 31 ธนั วาคม ณ วนั ท่ี 30 กันยายน 2563 (แหง่ /ร้อยละ) 2561 (แห่ง/ร้อยละ) 2562 (แห่ง/ร้อยละ) 4/12.5% ชั้น 1 9/28.13% 4/12.5% ชน้ั 2 22/68.75% 27/84.38% 22/68.75% ชน้ั 3 - - 1/3.13% ชั้น 4 1/3.13% 1/3.13% 3/9.38% รวม 32 32 32 ทีม่ า : รายงานสรปุ ผลการจดั ระดบั ชน้ั สหกรณ์ ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กองแผนงาน กราฟแสดงผลการจดั ระดบั ช้ันสหกรณ์ ข้อมูล ณ วันท่ี 30 กนั ยายน 2563

รายงานประจําปี 2563 (Annual Report) สํานกั งานสหกรณ์จงั หวดั อา่ งทอง | ๑๒ ช้นั 1 ช้นั 2 ชั้น 3 ชนั้ 4 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563

สถานะทวั่ ไปของสหกรณ์ ปลี า่ สดุ ท่ีมกี ารปดิ บญั ชใี นปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 (บาท) ปริมาณธรุ กจิ แยกตามประเภทการให้บริการ (บาท) สหกรณ์ ผลการจดั ระดบั ช้นั ทุนดาํ เนินงาน กาํ ไร/(ขาดทุน) ปบี ญั ชี กาํ ไร/(ขาดทนุ ) ปบี ญั ชี แปรรูป รวมปริมาณธรุ กจิ ปลี า่ สุด ปรมิ าณธรุ กิจปบี ญั ชกี อ่ น รายงานประจําปี 2563 (Annual Report) สาํ นักงานสหกรณ์จงั หวดั อา่ งทอง | ๑๓ ปบี ญั ชี จาํ นวนสมาชกิ มาตรฐาน สหกรณ์ สถานะสหกรณ์ หนส้ี ิน ทนุ ของสหกรณ์ ค่าใช้จ่าย ล่าสดุ กอ่ นหนา้ ผลผลิต ทนุ เรือนหุ้น สนิ ทรัพย์ รายได้ รบั ฝากเงิน ให้เงินกู้ จัดหาสินคา้ มาจําหน่าย รวบรวมผลผลิต บริการและอน่ื ๆ (พ.ศ. 2563) หนา้ (พ.ศ. 2562) ผลการดําเนินงานของสหกรณ์ ในรอบปบี ญั ชลี า่ สุด ประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 (คน) ประจําปี 2563 ปี 2563 สหกรณ์ รวม 68,663 4,840,536,680.00 10,292,647,277.10 4,663,602,247.41 5,644,498,795.44 724,333,073.12 409,280,149.06 315,052,924.06 435,827,086.45 2,257,807,019.72 7,702,399,688.81 673,771,456.13 179,160,421.25 0.00 1,056,823.42 8,706,880,165.95 5,049,223,379.84 สหกรณ์การเกษตร รวม 58,998 368,327,880.00 1,295,206,541.13 807,747,757.45 480,950,883.68 220,668,244.30 189,483,346.11 31,184,898.19 154,271,033.30 385,141,279.69 378,332,751.64 671,538,922.13 178,576,466.75 0.00 388,701.86 1,613,978,122.07 1,370,024,705.88 1.ชมุ นุมสหกรณ์การเกษตรอา่ งทอง จก. 31.มี.ค. 10 2.สหกรณ์ผ้เู ลย้ี งและคา้ สตั วอ์ ่างทอง จก. 31.มี.ค. 859 ไมผ่ า่ น 2 ดําเนนิ ธุรกจิ 2,634,500.00 6,177,229.92 723,108.00 -1,053,778.08 261,447.63 -241,353.10 502,800.73 182,137.81 0.00 2,000,000.00 0.00 0.00 0.00 0.00 2,000,000.00 0.00 3.สหกรณก์ ารเกษตรเมอื งอา่ งทอง จก. 31.มี.ค. 786 ดมี าก 4.สหกรณ์การเกษตรปา่ โมก จก. 31.มี.ค. 627 ดมี าก 2 ดําเนินธุรกจิ 3,930,650.00 16,885,436.66 3,454,921.49 13,430,515.17 13,741,618.08 13,724,320.23 17,297.85 510,007.10 765,157.88 1,710,000.00 12,284,116.00 0.00 0.00 103,869.15 14,863,143.03 18,292,104.18 5.สหกรณก์ ารเกษตรบางเสด็จ จก. 31-ธ.ค. 196 ดีเลิศ 6. สก.ผเู้ ล้ยี งไก่ไขล่ มุ่ แมน่ ้ําน้อย 30-มิ.ย. 35 ดี 2 ดาํ เนนิ ธรุ กิจ 6,223,330.00 21,812,839.76 7,682,120.00 14,130,719.76 3,457,572.33 3,354,702.21 102,870.12 16,317.76 443,775.60 5,341,000.00 3,074,664.08 0.00 0.00 41,119.31 8,900,558.99 5,775,897.77 7. สหกรณ์การเกษตรกรโพธท์ิ อง จาํ กดั 30-มิ.ย. 5,141 B 8. สกก.แสวงหา จํากดั 31-มี.ค. 2,877 A 1 ดําเนินธุรกิจ 16,911,800.00 64,318,426.60 39,878,275.82 24,440,150.78 20,977,730.77 19,702,086.29 1,275,644.48 1,094,292.68 7,519,564.69 19,571,000.00 16,660,967.09 0.00 0.00 75,489.10 43,827,020.88 45,807,963.21 9.ส.การปลูกพชื ไรว่ งั น้าํ เย็น จาํ กดั 31-พ.ค. 85 A 10. สกก.วิเศษชัยชาญ 31-มี.ค. 3,065 C 2 ดาํ เนินธรุ กจิ 678,050.00 3,011,059.79 2,121,809.48 889,250.31 260,478.89 251,255.76 9,223.13 128,062,399.00 0.00 2,317,000.00 0.00 0.00 0.00 0.00 2,317,000.00 2,718,500.00 11. สกต.ธกส.อา่ งทอง 31-มี.ค. 21,527 A 12. สก.การปศสุ ัตว์อา่ งทอง 31-มี.ค. 21,527 C 2 ดาํ เนินการ 839,900.00 7,768,300.93 949,151.06 6,819,149.87 803,750.85 183,566.00 620,184.85 655,455.37 162,007.12 897,000.00 2,069,724.00 0.00 0.00 0.00 3,128,731.12 1,686,277.50 13. สหกรณก์ ารเกษตรไชโย จาํ กดั 31-มี.ค. 905 C 14. สหกรณ์สตรีไชโย จาํ กดั 31-ธ.ค. 34 B 2 ดําเนนิ การ 75,368,440.00 222,946,694.28 216,579,855.81 6,366,838.47 10,471,800.61 7,961,238.04 2,510,562.57 929,369.75 162,170,934.38 182,664,326.64 38,407,149.27 0.00 0.00 0.00 383,242,410.29 418,898,798.06 15. สกก.สามโก้ 31-มี.ค. 1,141 B 16. สหกรณ์โคเน้ืออ่างทอง จํากดั 31-ธ.ค. 183 F 2 ดาํ เนนิ การ 102,616,230.00 273,380,955.91 126,531,329.68 146,849,626.23 93,591,530.60 84,427,888.18 9,163,642.42 8,352,222.87 108,197,454.04 57,671,425.00 75,895,589.18 0.00 0.00 168,224.30 241,932,692.52 267,952,532.70 รวม 160 F สหกรณ์ประมง 30-พ.ย. 37 2 ดําเนินการ 1,401,460.00 2,204,044.82 9,056.97 2,194,987.85 142,607.31 131,948.28 10,659.03 10,659.03 0.00 1,160,000.00 0.00 0.00 0.00 0.00 1,160,000.00 1,151,565.00 1.สหกรณ์ประมงและการแปรรปู อ่างทอง จํากดั 30-มี.ค. 123 c 2. สก.ผ้เู พาะเลีย้ งสัตวน์ า้ํ อ่างทอง รวม 8,912 A 1 ดาํ เนนิ การ 111,594,670.00 531,554,151.71 345,934,442.78 185,619,708.93 22,963,454.20 9,718,083.08 13,245,371.12 10,427,008.97 92,336,147.00 79,006,000.00 444,205,943.98 0.00 0.00 0.00 615,548,090.98 222,107,324.53 สหกรณอ์ อมทรัพย์ 30-พ.ย. 4,550 1.สหกรณ์ออมทรพั ย์ครอู า่ งทอง จก. 30-ก.ย. 875 ดเี ลศิ 2 ดาํ เนนิ การ 24,565,390.00 40,386,436.45 4,847,146.86 35,539,289.59 4,016,346.80 2,530,640.05 1,485,706.75 1,621,560.99 0.00 0.00 28,743,490.06 178,576,466.75 0.00 0.00 207,319,956.81 292,962,541.75 2.สหกรณอ์ อมทรพั ย์ตาํ รวจอ่างทอง จก. 31-ธ.ค. 1,248 ดเี ลศิ 3. สหกรณอ์ อมทรัพย์สหภาพแรงงานไทยเรยอน จก. 31-ธ.ค. 1,142 ดีเลิศ 2 ดําเนินการ 1,139,850.00 9,919,946.93 1,547,312.76 8,372,634.17 739,902.56 863,113.40 -123,210.84 -257,707.53 1,384,385.54 2,100,000.00 6,528,947.96 0.00 0.00 0.00 10,013,333.50 8,370,365.44 4.สหกรณอ์ อมทรพั ยส์ าธารณสุขจงั หวัดอ่างทอง จก. ดีเลศิ 31-ธ.ค. 287 ดีเลิศ 1 ดาํ เนินการ 20,352,360.00 94,638,629.42 57,489,168.59 37,149,460.83 49,227,877.61 46,870,817.69 2,357,059.92 2,661,494.44 12,161,853.44 23,725,000.00 43,668,330.51 0.00 0.00 0.00 79,555,183.95 84,125,835.74 5.สหรณ์ออมทรัพยส์ หภาพแรงงานไทยคารบ์ อนแบล็ค จก 31-ธ.ค. 810 ดเี ลศิ 2 ดําเนนิ การ 71,250.00 202,387.95 58.15 202,329.80 12,126.06 5,040.00 7,086.06 5,815.06 0.00 170,000.00 0.00 0.00 0.00 0.00 170,000.00 175,000.00 6.สหกรณ์ออมทรพั ยโ์ รงพยาบาลอา่ งทอง จก. 557 ดี สหกรณบ์ รกิ าร 31-ธ.ค. 31 ดีมาก 2 ดาํ เนินการ - - - ----- - - - -- - - - 1. สหกรณบ์ รกิ ารพฒั นาชุมชนสทุ ธาวาส จก. 31-ธ.ค. 97 ไม่ผา่ น 2. สหกรณบ์ า้ นมน่ั คงเทศบาลป่าโมก จก ไมผ่ า่ น 2 ดาํ เนินการ - - - ----- - - - -- - - - 3. สหกรณ์บรกิ ารเมืองใหมช่ ัยมงคล จ.ก 31-ธ.ค. 400 4. สหกรณเ์ ดนิ รถอ่างทอง จก. 31-ธ.ค. 29 ไม่ผ่าน 1,781,160.00 7,203,966.56 26,645,493.86 2,520,138.45 2,518,066.94 2,365,040.46 153,026.48 179,810.06 168,834.00 6,384,000.00 2,231,834.00 583,954.50 0.00 0.00 9,199,788.50 7,971,024.50 สหกรณเ์ ครดิตยเู นยี น รวม 36 1. สค.บ้านบอ่ แร่ 3 ดาํ เนนิ งาน 346,800.00 2,890,266.20 24,477,419.68 412,846.52 2,323,230.24 2,276,952.06 46,278.18 22,133.90 0.00 2,484,000.00 2,231,834.00 0.00 0.00 0.00 4,715,834.00 2,248,116.00 31-ธ.ค. 36 2 ดาํ เนินการ 1,434,360.00 4,313,700.36 2,168,074.18 2,107,291.93 194,836.70 88,088.40 106,748.30 157,676.16 168,834.00 3,900,000.00 0.00 583,954.50 0.00 0.00 4,483,954.50 5,722,908.50 4,468,819,040.00 8,979,166,880.79 3,818,565,261.33 5,160,601,619.46 500,250,269.09 216,637,180.10 283,613,088.99 281,185,632.94 1,872,490,606.03 7,312,822,537.17 0.00 0.00 0.00 0.00 7,078,166,733.82 3,663,804,363.44 2 ดาํ เนินธุรกิจ 2,602,632,220.00 5,798,136,883.71 2,813,172,412.55 2,984,964,471.16 325,399,165.65 172,457,488.13 152,941,677.52 159,902,468.99 1,207,125,085.93 5,358,366,477.49 0.00 0.00 0.00 0.00 6,565,491,563.42 3,086,800,030.56 1 ดาํ เนินธรุ กิจ 361,650,540.00 903,961,312.65 450,829,057.10 453,132,255.55 64,119,401.95 20,399,810.44 43,719,591.51 41,771,030.42 127,118,250.40 385,556,920.00 0.00 0.00 0.00 0.00 512,675,170.40 577,004,332.88 2 ดาํ เนินธรุ กิจ 376,491,320.00 605,683,736.57 174,647,182.56 431,036,554.01 28,497,338.93 7,931,825.84 20,565,513.09 17,247,367.45 168,764,842.45 336,969,200.51 0.00 0.00 0.00 0.00 505,734,042.96 383,250,189.69 2 ดําเนนิ ธรุ กจิ 503,735,060.00 643,826,378.21 70,427,006.34 573,399,371.87 34,245,091.11 5,019,527.17 29,225,563.94 28,189,540.37 67,047,438.34 545,266,328.38 0.00 0.00 0.00 0.00 612,313,766.72 391,739,919.78 1 ดาํ เนินธรุ กิจ 251,281,720.00 406,573,443.77 122,627,960.08 283,945,483.69 19,271,150.79 5,304,003.59 13,967,147.20 12,587,821.20 118,281,401.14 299,913,756.00 0.00 0.00 0.00 0.00 418,195,157.14 383,250,189.69 2 ดาํ เนินธุรกจิ 373,028,180.00 620,985,125.88 186,861,642.70 434,123,483.18 28,718,120.66 5,524,524.93 23,193,595.73 21,487,404.51 184,153,587.77 386,749,854.79 0.00 0.00 0.00 0.00 570,903,442.56 508,297,992.67 1,608,600.00 11,069,888.62 10,643,734.77 426,153.85 896,492.79 794,582.39 101,910.40 190,610.15 6,300.00 120,000.00 700.00 0.00 0.00 668,121.56 795,121.56 487,121.66 2 ดําเนนิ ธุรกจิ 168,700.00 2,034,984.23 1,694,900.09 340,084.14 131,544.26 129,563.40 1,980.86 33,297.75 6,300.00 0.00 700.00 0.00 0.00 0.00 7,000.00 25,710.00 2 ดาํ เนินธุรกจิ 739,600.00 8,871,919.35 7,478,346.12 1,393,573.23 605,381.85 462,495.74 142,886.11 157,312.40 0.00 120,000.00 0.00 0.00 0.00 585,221.56 705,221.56 369,728.66 2 ดําเนนิ ธุรกิจ - - - ----- - - - -- - - - 2 ดาํ เนนิ ธุรกจิ 700,300.00 162,985.04 1,470,488.56 -1,307,503.52 159,566.68 202,523.25 -42,956.57 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 82,900.00 82,900.00 91,683.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 4,740,400.00 0.00 0.00 0.00 0.00 4,740,400.00 6,936,164.36 2 ดาํ เนินธุรกิจ - - - ----- - 4,740,400.00 - -- - 4,740,400.00 6,936,164.36

รายงานประจาํ ปี 2563 (Annual Report) สาํ นักงานสหกรณ์จงั หวดั อ่างทอง | ๑๔ ขอ้ มูลสถิติของกลมุ่ เกษตรกร ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 จาํ นวนกลมุ่ เกษตรกรและจาํ นวนสมาชกิ กลุ่มเกษตรกร จํานวน จํานวนสมาชิก จาํ นวนสมาชกิ ท่ีมี สว่ นรว่ มในการ ประเภทกล่มุ เกษตรกร กลุ่ม รวมสมาชกิ สมาชกิ สมาชกิ ดาํ เนินธรุ กจิ ร้อยละ เกษตรกร ทั้งหมด สามญั สมทบ (แห่ง) (คน) (คน) (คน) (คน) 37.47 50.61 1. กล่มุ เกษตรกรทํานา 37 1,898 1,898 - 755 10.29 - 167 59.55 2. กลมุ่ เกษตรกรทําสวน 6 335 335 46 61.65 - 53 3. กลุ่มเกษตรกรเลีย้ งสัตว์ 3 103 103 1,776 - 4. กลุ่มเกษตรกรอ่นื ๆ 1 89 89 - รวม 47 2,425 2,425 ท่ีมา : ข้อมูลจากงบการเงนิ ท่รี บั รองจากผสู้ อบบญั ชี สถานะกลุ่มเกษตรกร จาํ นวนกลมุ่ เกษตรกร (แหง่ ) จาํ นวนกล่มุ เกษตรกรทั้งหมด ประเภทกลมุ่ เกษตรกร ดําเนินงาน/ หยุด เลกิ จดั ต้งั ใหม่ ธรุ กจิ ดําเนินงาน/ /ชําระบัญชี (1) + (2) + (4) (3) + (4) (1) ธุรกจิ (3) - (2) - 40 - 7 1. กลมุ่ เกษตรกรทาํ นา 37 1 2 - 4 2. กลุ่มเกษตรกรทําสวน 6 1 - - 1 3. กลุ่มเกษตรกรเล้ียงสตั ว์ 3 - 1 4. กลุ่มเกษตรกรอื่น ๆ 1 - - 52 รวม 47 2 3 ที่มา : กลุม่ จัดต้ังและส่งเสริมสหกรณ์ สาํ นกั งานสหกรณ์จงั หวัดอ่างทอง

รายงานประจําปี 2563 (Annual Report) สํานกั งานสหกรณ์จงั หวัดอ่างทอง | ๑๕ ปรมิ าณธุรกิจของกลุ่มเกษตรกรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ปรมิ าณ ปริมาณธรุ กจิ แยกตามประเภทการใหบ้ ริการ (ลา้ นบาท) ธุรกิจ ประเภทสหกรณ์ ของ รบั ฝากเงิน ใหเ้ งินกู้ จดั หาสินค้า รวบรวม แปรรูป บรกิ าร รวมทงั้ ส้นิ สหกรณ์ มาจําหนา่ ย ผลผลิต ผลผลิต และอืน่ ๆ 1. กลมุ่ เกษตรกร (แห่ง) ทาํ นา 2. กลมุ่ เกษตรกร 38 0.026 11.88 5.96 0.00 - 0.45 18.33 ทาํ สวน 0.42 0.61 1.50 - 0.00 2.54 3. กลมุ่ เกษตรกร 6 0.00 1.30 0.14 0.00 - 0.00 1.45 เลย้ี งสตั ว์ 0.00 0.26 0.00 - 0.72 0.98 6. กลมุ่ เกษตรกรอื่น 3 0.00 13.61 6.98 1.50 - 1.17 23.30 รวมทั้งส้นิ 1 0.00 48 0.026 ท่ีมา : ขอ้ มูลจากงบการเงนิ ที่รบั รองจากผ้สู อบบัญชี ผลการดําเนนิ งานของกลมุ่ เกษตรกร ผลการดําเนินงานปีล่าสดุ ที่มกี ารปดิ บัญชใี นปีงบประมาณ พ.ศ.2563 กําไร (ขาดทนุ ) ผลการดําเนนิ งานในภาพรวม การดาํ เนนิ งานมผี ลกาํ ไร - ขาดทนุ สุทธิ ประเภท (1) (2) (3) กล่มุ เกษตรกร กลมุ่ เกษตรกร ในภาพรวม กล่มุ เกษตรกร จํานวน รายได้ คา่ ใช้จ่าย ท่มี ผี ลกําไร ทข่ี าดทุน (ลา้ นบาท) กล่มุ (ลา้ น (ล้าน (4) (5) (5) – (7) 1. กลมุ่ เกษตรกรทาํ นา เกษตรกร บาท) บาท) จาํ นวน กําไร (6) (7) 2. กลุ่มเกษตรกรทาํ สวน (แห่ง) กล่มุ (ล้าน จํานวน ขาดทนุ 0.47 3. กลุ่มเกษตรกรเลีย้ งสัตว์ เกษตรกร บาท) กลุ่ม (ลา้ น 0.03 4. กลุม่ เกษตรกรอืน่ ๆ 38 6.03 5.56 (แหง่ ) เกษตรกร บาท) 0.04 6 2.19 2.16 (แหง่ ) 0.32 รวมทงั้ ส้นิ 3 0.27 0.23 38 0.47 0.23 1 0.8 1.13 -- 48 9.31 9.08 6 0.03 -- 3 0.04 -- -0 1 0.32 47 0.55 1 0.32 ท่ีมา : ขอ้ มลู จากงบการเงนิ ที่รบั รองจากผ้สู อบบญั ชี

รายงานประจาํ ปี 2563 (Annual Report) สาํ นกั งานสหกรณ์จงั หวัดอ่างทอง | ๑๖ ผลการจัดระดบั ชนั้ กลุ่มเกษตรกรจําแนกตามประเภท ขอ้ มูล ณ วนั ที่ 30 กนั ยายน 2563 ประเภทกลุ่มเกษตรกร กลมุ่ กลมุ่ กลมุ่ กลุ่ม รวม เกษตรกร เกษตรกร เกษตรกร เกษตรกร ชนั้ 1 ช้ัน 2 ชนั้ 3 ชนั้ 4 1. กลุ่มเกษตรกรทาํ นา - 37 2 - 39 2. กลุม่ เกษตรกรทาํ สวน - 61- 7 3. กลมุ่ เกษตรกรเลย้ี งสัตว์ - 3 - - 3 6. กล่มุ เกษตรกรอน่ื ๆ - -1-1 รวม - 46 4 - 50 ท่ีมา : รายงานสรุปผลการจดั ระดบั ช้ันกลุ่มเกษตรกร ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กองพฒั นาสหกรณภ์ าคการเกษตรและ กล่มุ เกษตรกร กราฟแสดงผลการจดั ระดบั ช้ันกลมุ่ เกษตรกร ข้อมูล ณ วันท่ี 30 กันยายน 2563 93.88 0 8.16 0 ชัน้ 4 ชัน้ 3 ช้ัน 2 ชั้น 1

ผลการดําเนินงานของกลุม่ เกษตรกร ในรอบปบี ญั ชลี า่ สดุ ประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 ปรมิ าณธรุ กิจ แยกตามประเภทการให้บริการ (บาท) รายงานประจําปี 2563 (Annual Report) สํานักงานสหกรณจ์ งั หวัดอา่ งทอง | ๑๗ สํานกั งานสหกรณจ์ งั หวัดอา่ งทอง ผลการดําเนินงานของกลุ่มเกษตรกร ในรอบปีบญั ชลี า่ สดุ ประจําปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 สถานะท่วั ไปของกลุม่ เกษตรกร ปลี า่ สุดทมี่ กี ารปดิ บญั ชใี นปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 (บาท) กลมุ่ เกษตรกร ปบี ญั ชี ผลการจดั ระดบั ชั้นกล่มุ สถานะกลมุ่ ทุนเรอื นหุน้ สนิ ทรัพย์ ทนุ ดาํ เนนิ งาน รายได้ ค่าใช้จ่าย กําไร/(ขาดทนุ ) ปี กาํ ไร/(ขาดทุน) ปี ให้เงนิ กู้ จัดหาสนิ ค้ามา รวบรวมผลผลติ แปรรปู ผลผลติ บริการและอื่น ๆ รวมปรมิ าณธรุ กิจปี ปรมิ าณธรุ กิจปบี ญั ชี จํานวนสมาชิก มาตรฐาน เกษตรกร เกษตรกร หน้สี ิน ทุนของกลุ่มเกษตรกร บญั ชลี ่าสดุ บญั ชกี ่อนหน้า รบั ฝากเงิน จาํ หน่าย ล่าสุด (พ.ศ. 2563) ก่อนหน้า (พ.ศ. ปี 2563 2562) (คน) ประจาํ ปี 2563 กล่มุ เกษตรกร รวม 2,425 4,353,500.00 34,105,424.03 17,685,614.38 16,419,810.45 9,312,828.60 9,078,995.11 233,833.49 683,512.70 26,132.97 13,615,930.00 6,984,000.00 1,508,025.10 0.00 1,174,206.52 23,308,294.59 21,547,162.55 กลมุ่ เกษตรกรทาํ นา รวม 1,898 0.00 453,268.52 18,333,572.49 18,425,058.55 1.กลุม่ เกษตรกรทํานาปา่ งว้ิ 31-มี.ค. 92 ผ่าน 3,552,750.00 22,526,028.86 8,795,303.18 13,730,726.48 6,032,349.05 5,560,522.46 471,826.59 795,786.29 26,132.97 11,889,591.00 5,964,580.00 0.00 0.00 0.00 2. กลุ่มเกษตรกรทาํ นาตลาดกรวด 31-มี.ค. 51 ผ่าน 0.00 0.00 331,665.00 296,440.00 3. กลุ่มเกษตรกรทาํ นาหัวไผ่ 31-มี.ค. 28 ไมจ่ ัด 2 ดําเนินการ 142,150.00 788,359.78 39,625.00 748,734.78 17,545.12 16,439.40 1,105.72 -23,772.71 0.00 271,000.00 60,665.00 0.00 0.00 4,378.52 642,981.00 8,450.00 4. กลมุ่ เกษตรกรทาํ นาบา้ นแห 31-มี.ค. 38 ไม่จดั 0.00 0.00 45,500.00 5. กลุ่มเกษตรกรทํานาตาํ บลมหาดไทย 31-มี.ค. 102 ไมจ่ ดั 2 ดําเนนิ การ 223,100.00 645,362.86 1,048.00 644,314.86 31,006.68 5,632.00 25,374.68 6,559.21 0.00 642,981.00 0.00 0.00 0.00 0.00 4,378.52 62,600.00 6. กลุ่มเกษตรกรทาํ ไร่นาสวนผสมคลองวัว 30-เม.ย. 68 ไมจ่ ัด 0.00 0.00 116,600.00 7. กล่มุ เกษตรกรทาํ นาตาํ บลบางเสดจ็ 31-มี.ค. 111 ไมผ่ า่ น 2 ดาํ เนนิ การ 23,100.00 96,524.51 268.19 96,256.32 4,378.52 4,118.50 260.02 1,776.04 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 58,490.00 158,226.00 367,400.00 8. กลุ่มเกษตรกรทํานาโผงเผง 31-มี.ค. 54 ผา่ น 0.00 0.00 0.00 9. กลุ่มเกษตรกรทํานาตําบลสายทอง 31-มี.ค. 48 ผา่ น 2 ดําเนนิ การ 34,600.00 49,840.72 1,000.00 48,840.72 3,175.58 43,000.00 -39,824.42 78.38 0.00 60,000.00 56,600.00 0.00 0.00 0.00 0.00 10. กลุ่มเกษตรกรทาํ นานรสงิ ห์ 31-มี.ค. 112 ผา่ น 0.00 0.00 113,130.00 84,700.00 11. กล่มุ เกษตรกรทํานาเอกราช 31-มี.ค. 48 ไมจ่ ดั 2 ดําเนนิ การ 16,100.00 177,070.44 70,985.00 106,085.44 11,938.65 -19,086.46 31,025.11 7,677.84 0.00 158,226.00 0.00 0.00 0.00 0.00 280,000.00 270,000.00 12.กลุ่มเกษตรกรทาํ นาไผ่ดําพฒั นา 30-มิ.ย. 33 ผา่ น 0.00 0.00 66,435.00 60,000.00 13. กลุ่มเกษตรกรทาํ นายลี่ น้ 30-มิ.ย. 41 ผา่ น 2 ดําเนนิ การ 7,800.00 120,024.88 790.00 119,234.88 604.88 0.00 604.88 590.89 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 120,000.00 230,000.00 14. กลุ่มเกษตรกรทาํ นาสาวรอ้ งไห้ 30-มิ.ย. 37 ผ่าน 0.00 0.00 84,874.00 15.กลุ่มเกษตรกรทาํ นามว่ งเตี้ย 30-มิ.ย. 52 ผ่าน 3 ดาํ เนนิ การ 75,650.00 497,547.07 391,089.92 106,457.15 199,185.85 214,152.02 -14,966.17 -47,942.41 0.00 52,720.00 1,920.00 0.00 0.00 0.00 0.00 781,041.00 16. กลมุ่ เกษตรกรทํานาบางจกั 30-มิ.ย. 37 ผา่ น 0.00 0.00 810,000.00 640,000.00 17. กลุ่มเกษตรกรไรน่ าสวนผสมตาํ บลท่าชา้ ง 30-มิ.ย. 55 ผา่ น 2 ดําเนนิ การ 97,100.00 408,590.38 3,160.42 405,429.96 17,273.76 4,215.00 13,058.76 12,772.63 0.00 280,000.00 0.00 0.00 0.00 0.00 665,000.00 567,270.00 18.กลมุ่ เกษตรกรทํานาไผจ่ ําศลี 30-มิ.ย. 34 ผา่ น 0.00 168,400.00 695,975.00 1,490,773.00 19.กลุ่มเกษตรกรทาํ นาสีร่ อ้ ย 30-มิ.ย. 34 ผ่าน 2 ดําเนนิ การ 25,650.00 156,003.75 11,723.15 144,280.60 9,851.60 6,045.00 3,806.60 5,943.78 0.00 60,000.00 6,435.00 0.00 0.00 0.00 421,100.00 240,000.00 20. กลมุ่ เกษตรกรไร่นาสวนผสมไผ่วงพฒั นา 30-มิ.ย. 36 ไม่ผ่าน 0.00 0.00 215,000.00 425,485.00 21. กลุ่มเกษตรกรทาํ นามงคลธรรมนิมิต 31-มี.ค. 78 ผา่ น 2 ดําเนินการ 34,250.00 281,022.40 3,927.00 277,095.40 6,801.61 40.00 6,761.61 4,932.52 0.00 120,000.00 0.00 0.00 0.00 0.00 242,930.00 1,384,352.00 22. กลุ่มเกษตรกรทาํ นาตาํ บลราษฎรพฒั นา 31-มี.ค. 36 ผ่าน 0.00 0.00 894,100.00 23.กล่มุ เกษตรกรทาํ นาโพธมิ์ ่วงพนั ธ์ 31-มี.ค. 33 ผา่ น 2 หยุดดาํ เนินการ 23,650.00 41,776.52 3,525.08 38,251.44 209.48 0.70 208.78 204.81 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 360.00 24. กลมุ่ เกษตรกรทาํ นอบทม 31-มี.ค. 38 ผา่ น 0.00 0.00 720.00 360.00 25. กลมุ่ เกษตรกรทาํ นาหนองแมไ่ ก่ 31-มี.ค. 33 ผา่ น 2 ดําเนินงาน 88,700.00 854,190.86 400,000.00 454,190.86 24,243.56 0.24 24,243.32 23,029.74 0.00 810,000.00 0.00 0.00 0.00 0.00 480.00 1,134,645.00 26. กลมุ่ เกษตรกรทํานาคําหยาด 31-มี.ค. 31 ผา่ น 0.00 0.00 302,740.00 794,360.00 27. กลุ่มเกษตรกรทาํ นาบางระกาํ 31-มี.ค. 46 ผา่ น 2 ดาํ เนินงาน 219,050.00 1,044,202.56 0.00 1,044,202.56 40,782.14 6,900.00 33,882.14 29,988.30 0.00 665,000.00 0.00 0.00 0.00 222,000.00 852,060.00 350,000.00 28. กลุ่มเกษตรกรทํานาองครักษ์ 31-มี.ค. 39 ผ่าน 0.00 0.00 379,000.00 396,700.00 29. ก. ทาํ นาแสวงหา 31-มี.ค. 76 ผา่ น 2 ดําเนินงาน 168,000.00 1,129,594.47 892,490.23 237,104.24 260,722.07 245,894.52 14,827.55 9,433.86 0.00 460,000.00 235,975.00 0.00 0.00 0.00 547,475.00 394,519.00 30. ก.ทาํ นาบ้านพราน 31-มี.ค. 40 ผ่าน 0.00 0.00 300,599.00 159,520.00 31. กลมุ่ เกษตรกรทํานาไชยภมู ิ 31-มี.ค. 76 ผ่าน 2 ดาํ เนินงาน 100,250.00 1,049,665.96 700,000.00 349,665.96 351,751.37 346,919.00 4,832.37 14,597.82 0.00 71,000.00 350,100.00 0.00 0.00 0.00 190,000.00 1,056,130.00 32. กล่มุ เกษตรกรทาํ นาตรีณรงค์ 31-มี.ค. 59 ผา่ น 0.00 0.00 1,578,975.00 437,543.00 33. กลุ่มเกษตรกรทํานาชัยฤทธ์ิ 31-มี.ค. 44 ผ่าน 2 ดาํ เนินงาน 100,900.00 616,944.23 0.00 616,944.23 16,098.29 7,103.00 8,995.29 9,986.64 0.00 215,000.00 0.00 0.00 0.00 0.00 414,585.00 1,373,910.00 34. กลุ่มเกษตรกรทํานาเทวราช 31-มี.ค. 53 ผ่าน 0.00 0.00 1,810,735.00 590,000.00 35. กลมุ่ เกษตรกรทาํ นาชะไว 31-มี.ค. 36 ผา่ น 2 ดาํ เนินงาน 7,650.00 344,903.63 0.00 344,903.63 243,832.05 239,280.00 4,552.05 7,081.09 0.00 0.00 242,930.00 0.00 0.00 0.00 615,000.00 1,908,626.55 36. กลมุ่ เกษตรกรทํานาตําบลไชโย 31-มี.ค. 30 ผา่ น 0.00 0.00 2,562,682.97 710,000.00 37. กลุ่มเกษตรกรทาํ นาตําบลราชสถติ ย์ 31-มี.ค. 39 ผ่าน 2 ดาํ เนินงาน 287,350.00 1,071,561.22 502,750.00 568,811.22 704,617.32 661,463.93 43,153.39 9,083.51 0.00 220,000.00 505,700.00 0.00 0.00 0.00 740,000.00 982,500.00 38. ก.เกษตรกรทํานาห้วยราชคราม - 1,055,000.00 515,000.00 39. กลุ่มเกษตรกรไร่นาสวนผสมตาํ บลราํ มะสกั 31-มี.ค. -- 2 ดําเนนิ งาน 4,350.00 136,255.27 8,838.73 127,416.54 6,898.67 900.00 5,998.67 26,116.71 0.00 0.00 720.00 0.00 -- 595,000.00 261,000.00 กลมุ่ เกษตรกรทําสวน รวม 46 ผา่ น 0.00 0.00 285,000.00 130,000.00 1.กล่มุ เกษตรกรทําสวนตําบลจาํ ปาหล่อ 31 มี.ค 335 2 ดาํ เนนิ งาน 8,000.00 18,411.93 12,539.00 5,872.93 5,550.06 480.00 5,070.06 3,552.88 0.00 0.00 480.00 0.00 0.00 0.00 125,000.00 191,000.00 2.กลุ่มเกษตรกรทําสวนอา่ งทองครวั สขุ ภาพ 31-มี.ค. 59 ผา่ น 0.00 0.00 201,000.00 3. กลมุ่ เกษตรกรทาํ สวนตําบลยางชา้ ย 31-มี.ค. 62 ไม่จัด 2 ดาํ เนินงาน 82,850.00 726,914.65 0.00 726,914.65 305,806.53 305,352.00 454.53 13,677.12 0.00 0.00 302,740.00 0.00 - 4. กลุ่มเกษตรกรทาํ สวนตาํ บลทางพระ 31-มี.ค. 32 ผา่ น -- - 636,289.00 5. ก. แปลงใหญ่มะม่วง ต. บา้ นพราน อ.แสวงหา จ.อ่างทอง 30-มิ.ย. 74 ผา่ น 2 ดาํ เนนิ งาน 91,300.00 892,857.99 612,745.27 280,112.72 655,545.59 638,438.18 17,107.41 15,334.09 0.00 205,000.00 647,060.00 0.00 0.00 0.00 1,090,675.00 530,385.00 6. ก. แปลงใหญ่ไมม้ งคล ต.แสวงหา อ.แสวงหา จ.อ่างทอง 30-มิ.ย. 40 ไม่ผา่ น 0.00 0.00 2,538,744.10 120,000.00 7. กลมุ่ เกษตรกรทําสวนอา่ งทองกรีนฟาร์ม 30-พ.ย. 32 ผ่าน 2 ดาํ เนินงาน 91,400.00 425,193.28 0.00 425,193.28 15,016.81 3,575.00 11,441.81 13,417.15 0.00 379,000.00 0.00 0.00 0.00 0.00 กลมุ่ เกษตรกรเลีย้ งสตั ว์ รวม 36 ไม่ผ่านมาตรฐาน 0.00 0.00 155,000.00 - 31 ธค.62 103 2 ดําเนินงาน 26,750.00 741,209.51 400,000.00 341,209.51 494,187.61 486,911.25 7,276.36 5,046.09 0.00 58,900.00 488,575.00 0.00 0.00 0.00 - 114,421.00 1. ก.ผเู้ ลยี้ งนกกระทาและแปรรปู สนิ คา้ เกษตรอา่ งทอง 30-มิ.ย.-63 33 ผา่ น 0.00 0.00 295,964.00 31-มี.ค. 36 ผ่าน 2 ดาํ เนนิ งาน 23,850.00 178,083.83 591.00 177,492.83 274,112.31 270,140.00 3,972.31 4,403.54 0.00 40,179.00 260,420.00 0.00 0.00 0.00 122,000.00 2. กลมุ่ เกษตรกรเลย้ี งสตั วห์ ลกั แก้ว รวม 34 ผา่ น 0.00 0.00 753,719.00 0.00 31-มี.ค. 89 2 ดําเนินงาน 50,300.00 198,448.35 0.00 198,448.35 10,016.35 -651.00 10,667.35 7,239.77 0.00 190,000.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 3. กลมุ่ เกษตรกรเลย้ี งสตั วโ์ คกพุทรา 89 ไมผ่ า่ น 0.00 720,938.00 0.00 0.00 2 ดาํ เนนิ งาน 161,200.00 1,210,586.77 533,153.00 677,433.77 53,323.00 40,014.35 13,308.65 42,760.33 0.00 530,000.00 826,975.00 0.00 0.00 720,938.00 0.00 1,419,719.00 กลมุ่ เกษตรกรอื่น ๆ (ระบ)ุ ……… 1,508,025.10 30,000.00 1 ก.ทําไรน่ าสวนผสมแปลงใหญ่ตําบลวงั นํา้ เยน็ 2 ดาํ เนินงาน 118,450.00 522,489.89 0.00 522,489.89 121,538.00 79,387.60 42,150.40 42,733.19 0.00 414,585.00 0.00 0.00 1,449,040.00 807,550.00 30,000.00 582,169.00 2 ดาํ เนินงาน 87,150.00 1,232,341.73 537,281.39 695,060.34 1,813,955.92 1,756,578.00 57,377.92 51,241.76 0.00 0.00 1,810,735.00 0.00 708,040.00 1,172,000.00 711,000.00 1,172,000.00 2 ดาํ เนนิ งาน 140,500.00 1,021,197.67 500,146.25 521,051.42 18,422.10 4,100.00 14,322.10 11,667.76 0.00 615,000.00 0.00 0.00 986,938.00 986,938.00 2 ดาํ เนินธรุ กิจ 400,850.00 2,228,352.51 1,374,564.60 853,787.91 221,234.68 168,871.97 52,362.71 49,427.34 26,132.97 2,370,000.00 166,550.00 0.00 2 ดําเนินธุรกจิ 167,600.00 1,008,202.11 566,050.36 442,151.75 20,589.28 9,727.98 10,861.30 28,201.90 0.00 740,000.00 0.00 0.00 2 ดาํ เนินธุรกิจ 146,850.00 1,091,544.46 500,196.75 591,347.71 30,193.33 4,870.28 25,323.05 373,434.37 0.00 1,055,000.00 0.00 0.00 2 ดําเนินธุรกิจ 118,200.00 736,415.00 500,000.25 236,415.55 17,888.17 3,500.00 14,388.17 15,085.55 0.00 595,000.00 0.00 0.00 2 ดําเนนิ ธรุ กิจ 51,900.00 307,818.96 208,714.59 99,104.37 8,365.88 300.00 8,065.88 7,098.78 0.00 285,000.00 0.00 0.00 2 ดาํ เนนิ ธรุ กิจ 60,250.00 234,156.28 18,000.00 216,156.28 5,783.02 1,760.00 4,023.02 4,627.25 0.00 125,000.00 0.00 0.00 2 ดําเนินธุรกจิ 45,950.00 242,362.43 100.00 242,262.43 9,903.21 4,150.00 5,753.21 8,698.77 0.00 201,000.00 0.00 0.00 - ยังไมด่ ําเนินงาน - - - - - - - -- - - - 2 ดําเนนิ ธรุ กิจ 31,450.00 572,888.93 299,910.48 272,978.45 1,090,902.19 1,072,685.00 18,217.19 20,655.30 0.00 0.00 1,090,675.00 0.00 289,700.00 1,312,776.08 289,750.26 1,023,025.82 2,196,241.78 2,159,772.35 36,469.43 50,235.53 0.00 420,339.00 610,380.00 1,508,025.10 2 ดําเนนิ งาน 78,150.00 195,033.55 6.14 195,027.41 7,842.89 2,204.22 5,638.67 5,961.46 0.00 155,000.00 0.00 0.00 3 หยดุ ดําเนินงาน - - - - - - - -- - - - 2 ดาํ เนนิ ธุรกิจ 0.00 131,659.68 0.00 131,659.68 0.00 0.00 0.00 3,399.94 0.00 122,000.00 0.00 0.00 2 ดาํ เนนิ ธุรกิจ 115,550.00 610,721.36 27,394.95 583,326.41 627,363.44 613,545.00 13,818.44 40,874.13 0.00 143,339.00 610,380.00 0.00 2 ดาํ เนินธรุ กิจ 40,000.00 43,669.24 0.00 43,669.24 4,169.24 500.00 3,669.24 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 2 ดาํ เนินธรุ กิจ 16,000.00 22,541.07 0.00 22,541.07 44,736.07 38,195.00 6,541.07 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 2 ดําเนนิ ธุรกิจ 40,000.00 309,151.18 262,349.17 46,802.01 1,512,130.14 1,505,328.13 6,802.01 0.00 0.00 0.00 0.00 1,508,025.10 337,650.00 2,021,139.89 1,520.00 2,019,619.89 279,595.83 232,362.00 47,233.83 43,743.10 0.00 1,306,000.00 143,040.00 0.00 2 ดําเนนิ งาน 53,000.00 254,082.71 1,500.00 252,582.71 2,886.16 0.00 2,886.16 977.93 0.00 30,000.00 0.00 0.00 2 ดาํ เนินงาน 108,700.00 859,968.00 0.00 859,968.00 175,816.13 148,062.00 27,754.13 27,474.58 565,000.00 143,040.00 0.00 2 ดาํ เนนิ ธรุ กิจ 175,950.00 907,089.18 20.00 907,069.18 100,893.54 84,300.00 16,593.54 15,290.59 0.00 711,000.00 0.00 0.00 173,400.00 8,245,479.20 8,599,040.94 -353,561.74 804,641.94 1,126,338.30 -321,696.36 -206,252.22 0.00 0.00 266,000.00 0.00 3 ดาํ เนนิ งาน 173,400.00 8,245,479.20 8,599,040.94 -353,561.74 804,641.94 1,126,338.30 -321,696.36 -206,252.22 0.00 0.00 266,000.00 0.00

รายงานประจําปี 2563 (Annual Report) สาํ นักงานสหกรณจ์ งั หวดั อา่ งทอง | ๑๘ สว่ นท่ี 2 ผลการดําเนินงาน

รายงานประจําปี 2563 (Annual Report) สาํ นักงานสหกรณจ์ งั หวัดอา่ งทอง | ๑๙ สรปุ ผลการปฏิบัติงานและผลเบิกจ่ายงบประมาณ ตามแผนปฏบิ ัติงานและงบประมาณรายจา่ ยประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 แผนงาน/ผลผลติ / เป้าหมาย ผลการดาํ เนนิ งาน งบประมาณ ผลการเบกิ จา่ ย หมายเหตุ กิจกรรม (หนว่ ยนับ) ทไ่ี ด้รบั ประกอบ จดั สรร+ โอนเพ่ิม หนว่ ยนับ รอ้ ยละ บาท บาท รอ้ ยละ แผนงานพน้ื ฐานด้านการสร้างความสามารถในการแขง่ ขนั ผลผลิตสหกรณแ์ ละกลุม่ เกษตรกรได้รับการสง่ เสรมิ และพฒั นาตามศักยภาพ กจิ กรรมหลกั สง่ เสริมและพัฒนาสหกรณ์และกล่มุ เกษตรกร 1.กิจกรรมรองส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ/์ กล่มุ เกษตรกรใหม้ คี วามเข้มแข็ง 1.1 แนะนาํ ส่งเสรมิ และ 32 สหกรณ์ 32 100 1,925,300 1,925,300 100 พัฒนาสหกรณ์ตาม สหกรณ์ แผนการดาํ เนินงานของ สหกรณ์และแผนการ สง่ เสรมิ รายสหกรณ์ 1.2 แนะนาํ สง่ เสรมิ และ 50 50 100 พฒั นากลมุ่ เกษตรกรตาม กลุ่ม กลุ่ม แผนการดาํ เนนิ งานของ เกษตรกร เกษตรกร กลุ่มเกษตรกรและแผน การสง่ เสริมรายกลุม่ ฯ 1.3 เกษตรกรและ 474 ราย 474 ราย 100 ประชาชนทั่วไปสมคั รใจ เข้าร่วมเป็นสมาชิกของ สหกรณ์ 1.4 สหกรณ์ทนี่ ํามาจัด ไม่นอ้ ยกว่า รอ้ ยละ 68.96 เกณฑม์ าตรฐานสหกรณ์ ร้อยละ 80 55.17 1.5 รอ้ ยละของกลุ่ม ไมน่ อ้ ยกว่า รอ้ ยละ 107.95 เกษตรกรที่นํามาจัด รอ้ ยละ 80 86.36 มาตรฐานผ่านเกณฑ์ มาตรฐาน 1.6 สหกรณ์ที่นาํ มาจดั ชนั้ ไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 97.52 คณุ ภาพการควบคมุ ร้อยละ 86 83.87 ภายในระดบั พอใชข้ นึ้ ไป 1.7 รอ้ ยละของกลมุ่ ไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ รอ้ ยละ เกษตรกรมคี วามเข็มแข็ง รอ้ ยละ 23 216.66 216.66 1.8 สหกรณ์/กลุ่ม ไม่นอ้ ยกว่า ร้อยละ ร้อยละ เกษตรกรทม่ี สี ถานะ ร้อยละ 3 2.24 74.67 ดาํ เนินกจิ การปรมิ าณ ธุรกจิ เพม่ิ ข้ึนจากปีกอ่ น

รายงานประจําปี 2563 (Annual Report) สํานกั งานสหกรณ์จงั หวัดอา่ งทอง | ๒๐ แผนงาน/ผลผลติ / เป้าหมาย ผลการดําเนนิ งาน งบประมาณ ผลการเบิกจา่ ย หมายเหตุ กจิ กรรม (หน่วยนบั ) ทีไ่ ดร้ บั ประกอบ จดั สรร+ โอนเพม่ิ หน่วยนบั รอ้ ยละ บาท บาท ร้อยละ 1.9 สหกรณ/์ กลมุ่ ไมน่ ้อยกว่า รอ้ ยละ 100 เกษตรกรใชป้ ระโยชนจ์ าก รอ้ ยละ 80 100 อุปกรณ์/ส่ิงกอ่ สรา้ งท่ี ได้รับการสนบั สนนุ 1.10 สหกรณท์ มี่ ี สหกรณ์ 2 สหกรณ์ 2 100 ข้อบกพรอ่ งได้รบั การ แห่ง แห่ง กํากับ ดแู ล ตรวจสอบ และแก้ไขตามกฎหมาย/ ระเบียบ/ข้อบังคับ 2.กิจกรรมรอง : ส่งเสรมิ และพฒั นาสหกรณ/์ กล่มุ เกษตรกรใหม้ คี วามเข้มแขง็ ตามศกั ยภาพ 2.1 กจิ กรรมสรา้ งความ กลุ่ม 15 กลุ่ม 100 26,400 26,400 100 100 เข้มแขง็ ให้กบั กลุม่ เกษตรกร 100 100 เกษตรกรเพือ่ เขา้ ถึงแหล่ง 15 กลมุ่ 100 เงนิ ทนุ ในการผลติ และ ตลาด 2.2 โครงการศนู ย์เรยี นรู้ 7 ศพก. 7 ศพก. 100 4,600 4,600 เพิ่มประสิทธภิ าพการผลิต สนิ ค้าเกษตร 2.3 โครงการประชุมเชงิ กลุม่ กลุม่ 100 5,400 5,400 ปฏบิ ตั ิการพัฒนาศักยภาพ เกษตรกร เกษตรกร การดาํ เนนิ งานของกลมุ่ 3 กลุ่ม 3 กลุม่ เกษตรกร ระดบั จังหวดั 2.4 โครงการสหกรณ์ สหกรณ์ผ่าน สหกรณ์ 100 8,560 8,560 สขี าวดว้ ยธรรมาภิบาล เกณฑ์ ผา่ นเกณฑ์ ประเมิน 1 แห่ง สหกรณ์ สขี าวด้วย ธรรมาภิบาล 1 แห่ง กจิ กรรมหลกั : การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สาร กิจกรรมรอง : (รายจา่ ยเพอ่ื การลงทุนด้านเทคโนโลยีดา้ นสารสนเทศ) งบลงทนุ ดา้ นเทคโนโลยี เบิกจ่าย รอ้ ยละ 100 47,800 47,800 ด้านสารสนเทศ ร้อยละ 100 100

รายงานประจาํ ปี 2563 (Annual Report) สํานักงานสหกรณจ์ งั หวัดอา่ งทอง | ๒๑ แผนงาน/ผลผลิต/ เปา้ หมาย ผลการดาํ เนนิ งาน งบประมาณ ผลการเบิกจา่ ย หมายเหตุ กิจกรรม (หนว่ ยนบั ) ทไี่ ดร้ ับ ประกอบ จัดสรร+ โอนเพมิ่ หน่วยนบั ร้อยละ บาท บาท รอ้ ยละ แผนงานพ้ืนฐานยทุ ธศาสตรเ์ พื่อสนับสนนุ ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม ผลผลติ /โครงการ ช่วยเหลอื ดา้ นหนสี้ นิ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร กจิ กรรมหลัก : ชว่ ยเหลือด้านหนสี้ นิ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร กิจกรรมรอง : ชว่ ยเหลือดา้ นหนสี้ ินสหกรณ/์ กล่มุ เกษตรกร 2.ลดดอกเบีย้ ให้กับ สหกรณ์ 7 สหกรณ์ 100 1,923,628.22 1,923,628.22 100 สมาชิกสหกรณ/์ กลมุ่ แหง่ สมาชกิ 7 แห่ง เกษตรกร 2,490 ราย สมาชิก 2,490 ราย แผนงานยทุ ธศาสตรเ์ สริมสร้างพลังทางสังคม ผลผลิต/โครงการ ส่งเสริมการดําเนนิ งานอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดาํ ริ กจิ กรรมหลกั : พฒั นาสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกรในพืน้ ทโ่ี ครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชดําริ กิจกรรมรอง : สง่ เสรมิ และพัฒนาสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกรในพื้นทโ่ี ครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาํ รคิ ลินกิ เกษตรเคล่ือนท่ใี น พระราชานุเคราะห์ สมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั มหาวชริ าลงกรณ บดินทรเทพวรางกรู 1.คลินกิ เกษตรเคลือ่ นท่ีใน จัดกจิ กรรม จัด 100 25,100 25,100 100 พระราชานุเคราะห์ สมเด็จ 4 คร้งั กจิ กรรม พระเจ้าอยหู่ ัว 4 ครั้ง มหาวชริ าลงกรณบดนิ ทร เทพวรางกูร กจิ กรรมรอง : ขบั เคล่ือนปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และสง่ เสริมการเกษตรตามแนวทางทฤษฎใี หม่ในสหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกร 1.โครงการขบั เคลอ่ื น ปรมิ าณธุร ร้อยละ 74.67 157,800 157,800 100 ปรชั ญาของเศรษฐกจิ กิจเพม่ิ ขึ้น 2.24 พอเพียงในสหกรณ/์ กว่าปที ี่ผา่ น กลุ่มเกษตรกร มาร้อยละ 3 ผลผลิต/โครงการ สนบั สนนุ เงนิ ทนุ เพอื่ สรา้ งระบบน้ําในไรน่ าของสมาชกิ สถาบันเกษตรกร ระยะท่ี ๒ 1.โครงการ สนับสนุน 1.สมาชกิ 1.สมาชกิ 100 5,045,000 5,045,000 100 เงินทนุ เพ่ือสรา้ งระบบนํา้ เข้ารว่ ม เข้ารว่ ม ในไร่นาของสมาชกิ สถาบัน โครงการ โครงการ เกษตรกร ระยะที่ ๒ จาํ นวน จํานวน 100 ราย 100 ราย 2.ระบบนา้ํ 2.ระบบ ในไร่นาของ นํา้ ในไร่นา สมาชกิ มีน้ํา ของ ใช้ไม่นอ้ ย สมาชิกมี กวา่ รอ้ ยละ น้ําใชไ้ ม่ 80 น้อยกว่า รอ้ ยละ 80

รายงานประจาํ ปี 2563 (Annual Report) สาํ นกั งานสหกรณจ์ งั หวัดอา่ งทอง | ๒๒ แผนงาน/ผลผลิต/ เป้าหมาย ผลการดาํ เนนิ งาน งบประมาณ ผลการเบกิ จา่ ย หมายเหตุ กจิ กรรม (หน่วยนบั ) ท่ไี ดร้ บั บาท ร้อยละ ประกอบ จัดสรร+ หน่วยนบั รอ้ ยละ โอนเพม่ิ บาท แผนงานบุคลากรภาครฐั 4,141,300 กจิ กรรมหลัก : คา่ ใชจ้ า่ ยบคุ ลากรภาครัฐกรมส่งเสรมิ สหกรณ์ ค่าใชจ้ ่ายบุคลากรภาครฐั เบิกจา่ ย เบิกจ่าย 100 4,141,300 100 กรมสง่ เสรมิ สหกรณ์ ร้อยละ ร้อยละ 100 100 ข้อมลู ณ วนั ที่ 30 กันยายน 2563 ทมี่ า : ฝา่ ยบรหิ ารทัว่ ไป สาํ นักงานสหกรณจ์ งั หวัดอา่ งทอง

รายงานประจําปี 2563 (Annual Report) สาํ นักงานสหกรณจ์ งั หวดั อ่างทอง | ๒๓ ผลการปฏบิ ตั งิ านส่งเสริมสหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกร ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 อําเภอเมอื งอา่ งทอง ประกอบดว้ ย สหกรณ์ 13 แหง่ สมาชิก 11,085 คน กลุ่มเกษตรกร 8 แห่ง สมาชิก 486 คน ผลการเข้าแนะนํา ส่งเสริม และแก้ไขปญั หาสหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกร การเข้าแนะนํา ส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรตามระบบการส่งเสริมสหกรณ์ (CPS) ใน เขตอําเภอเมืองอ่างทอง การส่งเสริมและพัฒนาด้านองค์กร สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการพัฒนา ความเข้มแข็งตามศักยภาพ ด้านการดําเนินธุรกิจ ด้านการมีส่วนร่วมของสมาชิก ด้านการส่งเสริมธรรมาภิบาล และด้านการกํากับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์ ส่งผลให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีผล การดําเนินงานที่ดีข้ึน มีการส่งเสริมการออมให้กับสมาชิก และให้การช่วยเหลือสมาชิกในด้านเงินทุนในการ ประกอบอาชีพ พร้อมทั้งจัดหาปัจจัยการผลิตท่ีมีคุณภาพมาจําหน่ายแก่สมาชิก ทําให้สมาชิกสหกรณ์มีความ กินดีอยู่ดี เป็นไปตามวัตถุประสงค์ในการจัดต้ังสหกรณ์ พร้อมท้ังทําให้สหกรณ์มีระบบการบริหารงานเป็นไป ตามพระราชบัญญัติสหกรณ์ ข้อบังคับ ระเบียบและกฎหมายท่ีเก่ียวข้อง ส่งผลให้การเข้าแนะนําส่งเสริม สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ประสบความสาํ เรจ็ ดังน้ี ๑. กจิ กรรมดา้ นการส่งเสรมิ และพฒั นาองคก์ ร ๑.๑. กิจกรรมยกระดับผลการประเมินการจัดช้ันคุณภาพควบคุมภายใน (ให้สูงข้ึนจากเดิมอย่างน้อย 1 ระดบั ) ผลการดําเนินงาน สหกรณก์ ารเกษตรเมอื งอ่างทอง จาํ กดั และสหกรณ์บริการพัฒนาชุมชนสทุ ธาวาส จํากัด สามารถยกระดับผลการประเมินการจัดชั้นคุณภาพควบคุมภายในจากระดับพอใช้ เป็นระดับดี และ ยกระดับชุมนุมสหกรณ์การเกษตรอ่างทอง จํากัด จากผลการประเมินการจัดช้ันคุณภาพการควบคุมภายในอยู่ ในระดับพอใช้ (จากเดมิ ไม่มรี ะบบควบคุมภายใน) ๑.๒ กจิ กรรมยกระดับระดบั มาตรฐานของสหกรณ/์ กลุม่ เกษตรกร (ให้ผา่ นเกณฑ์อย่างน้อย 1 ระดับ) ผลการดําเนินงาน สามารถยกระดับมาตรฐานสหกรณ์จากระดับดี เป็นระดับดีมาก 1 แห่ง ได้แก่ สหกรณ์ การเกษตรเมืองอา่ งทอง จํากัด และยกระดับมาตรฐานสหกรณ์จากระดับดีมากเปน็ ระดบั ดีเลศิ 1 แหง่ ไดแ้ ก่ สหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดอ่างทอง จํากัด สําหรับกลุ่มเกษตรกร 8 กลุ่ม สามารถรักษาระดับผ่าน เกณฑ์มาตรฐานได้ 4 กล่มุ หยดุ ดาํ เนนิ ธุรกจิ 3 กลุม่ อยู่ระหวา่ งชําระบัญชี 1 กลุ่ม ๒. ดา้ นการพฒั นาการดําเนินธุรกจิ ๒.๑ กิจกรรมยกระดับการให้บริการสมาชิกของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ผลการดําเนินงานสามารถ พัฒนาการให้บริการสมาชิกได้ทั่วถึงจากเดิมร้อยละ 60 เพิ่มข้ึนสูงกว่าร้อยละ ๗๐ สหกรณ์จํานวน 5 แห่ง ได้แก่ สหกรณ์การเกษตรเมืองอ่างทอง จํากัด สหกรณ์ออมทรัพย์สหภาพแรงงานไทยเรยอน จํากัด สหกรณ์ ออมทรัพย์โรงพยาบาลอ่างทอง จํากัด สําหรับกลุ่มเกษตรกรสามารถรักษาระดับการให้บริการสมาชิกได้ร้อย ละ ๖๐ ท้งั 8 กลมุ่ ๒.๒ กิจกรรมยกระดับประสิทธิภาพการดําเนินธุรกิจของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ให้สูงข้ึนจากเดิม อย่างน้อย 1 ระดับ

รายงานประจําปี 2563 (Annual Report) สํานักงานสหกรณจ์ งั หวัดอ่างทอง | ๒๔ ๓. ดา้ นการกาํ กบั ดแู ล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์/กลุม่ เกษตรกร ๓.๑ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีการแก้ไขข้อสังเกตของผู้สอบบัญชแี ล้วเสร็จ ทําให้จังหวัดอ่างทองไม่ มขี อ้ สังเกตของผ้สู อบบญั ชที ี่เป็นสาระสาํ คัญท่ีกรมตรวจบญั ชสี หกรณ์แจง้ ใหก้ รมส่งเสรมิ สหกรณ์ต้องแกไ้ ข ๓.๒ ไม่มีสหกรณ์หรอื กล่มุ เกษตรกรใดในเขตอาํ เภอเมืองทีม่ ีข้อบกพร่องเพม่ิ มากขน้ึ ปัญหา/อุปสรรคในการดําเนนิ งานของสหกรณ์/กล่มุ เกษตรกร 1. สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ขาดความรู้ ความเข้าใจในระบบการบริหารงานสหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกร และไม่ตระหนกั ถึงความเปน็ เจา้ ของกจิ การ 2. สภาพปัญหาเร่ืองของภัยแล้งในพื้นท่ีจังหวัดอ่างทอง ทําการเกษตรได้ไม่ตามรอบการเพราะปลูก ส่งผลใหส้ มาชกิ มรี ายได้ที่ไมแ่ น่นอน 3. ปัญหาหนี้คา้ งชําระในสหกรณ์สมาชกิ ชําระหนส้ี นิ ไมไ่ ด้ตามกาํ หนด ทาํ ใหม้ ีการต้งั คา่ เผ่อื หน้สี งสัยจะ สูญสูง 4. สมาชิกส่วนใหญ่ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเป็นผู้สูงอายุ ส่งผลให้จํานวนสมาชิกลดลงอย่าง ตอ่ เน่ือง ข้อเสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ขปัญหา 1. สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ควรได้รับการอบรมเก่ียวกับระบบการบริหารงานสหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกรในด้านกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ เพื่อให้สมาชิกมีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงสิทธิและ หน้าทีข่ องตนและเข้ามามีสว่ นรว่ มในการดําเนินธุรกิจหรอื บรหิ ารงานสหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกร 2. ส่งเสรมิ เกษตรกรรุ่นใหม่ให้ความร้คู วามเขา้ ใจในระบบสหกรณ์ สิทธปิ ระโยชน์ท่ีจะได้รบั จากการเข้า ร่วมเป็นสมาชกิ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 3. การแนะนําเรื่อง การกําหนดมาตรการตดิ ตามหนี้ มาตรการปรบั ปรงุ โครงสร้างหน้ี หรือการ ดําเนนิ คดตี ามกฎหมาย ร่วมทั้งทบทวนหลักเกณฑ์การให้สินเชอื่ โดยคํานึงถึงความสามารถในการชําระหน้ีของ ลูกหนแี้ ละหลกั ประกันความเสี่ยงเป็นสาํ คญั อาํ เภอปา่ โมก ประกอบด้วย สหกรณ์ 3 แหง่ สมาชิก 920 คน กลุ่มเกษตรกร 5 แหง่ สมาชกิ 373 คน ผลการเขา้ แนะนํา สง่ เสรมิ และแกไ้ ขปญั หาสหกรณแ์ ละกลมุ่ เกษตรกร การเข้าแนะนํา ส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรตามระบบการส่งเสรมิ สหกรณ์ (CPS) ในเขตอําเภอ ป่าโมก ส่งผลให้สหกรณ์มีผลการดําเนินงานที่ดี โดยการช่วยเหลือสมาชิกท้ังทางด้านเงินทุนในการประกอบ อาชีพและสร้างที่อยู่อาศัย(สหกรณ์บ้านม่ันคง) พร้อมทั้งจัดหาปัจจัยการผลติ ที่มีคุณภาพมาจําหน่ายแก่สมาชิก ให้ความช่วยเหลอื แก่สมาชิกที่ประสบพิบัติภัย ช่วยเหลือสมาชกิ ที่ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID19) โดยการแจกถุงยังชีพ และการลดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ให้แก่สมาชิก ซึ่ง สามารถช่วยบรรเทาความเดือดร้อนของสมาชิกสหกรณ์ได้อย่างทัว่ ถึง สมาชกิ สหกรณ์มีความกนิ ดีอยู่ดี เป็นไป ตามวตั ถุประสงคใ์ นการจดั ตง้ั สหกรณ์ พรอ้ มท้งั ทําให้สหกรณม์ ีระบบการบรหิ ารงานเป็นไปตาม พระราชบญั ญัติ สหกรณ์ ข้อบงั คับ ระเบยี บและกฎหมายทีเ่ ก่ยี วข้อง สง่ ผลให้การเขา้ แนะนาํ ส่งเสริมสหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกร ประสบความสําเรจ็ ดงั น้ี

รายงานประจําปี 2563 (Annual Report) สํานักงานสหกรณจ์ งั หวัดอ่างทอง | ๒๕ ๑. กจิ กรรมดา้ นการสง่ เสรมิ และพฒั นาองคก์ ร ๑.๑ กิจกรรมยกระดับระดับมาตรฐานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร (ให้ผ่านเกณฑ์อย่างน้อย 1 ระดับ) ผลการดําเนินงาน สามารถยกระดับมาตรฐานสหกรณ์จากไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานเป็นระดับดี 1 แห่ง คือ สหกรณ์การเกษตรบางเสด็จ จํากดั สําหรับกลมุ่ เกษตรกรสามารถรักษามาตรฐานกล่มุ เกษตรกรได้ 3 กล่มุ ไม่ผ่านมาตรฐานเพียง 1 กลุ่ม และหยดุ ดําเนินธุรกจิ 1 กลมุ่ ๒. ดา้ นการพัฒนาการดาํ เนนิ ธุรกิจ ๒.๑ กิจกรรมยกระดับการให้บริการสมาชิกของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ผลการดําเนินงาน สามารถพัฒนาการให้บริการสมาชิกได้ท่ัวถึงจากเดิมร้อยละ 60 เพ่ิมขึ้นสูงกว่าร้อยละ ๗๐ได้แก่ สหกรณ์ การเกษตรบางเสดจ็ จาํ กดั สาํ หรบั กล่มุ เกษตรกรสามารถรักษาระดับการใหบ้ ริการสมาชิกได้ร้อยละ ๖๐ ท้งั 5 กลุ่ม ๓. ด้านการกํากับ ดูแล ตรวจสอบและคมุ้ ครองระบบสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ๓.๑ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีการแก้ไขข้อสังเกตของผู้สอบบัญชีแล้วเสร็จ ทําให้จังหวัด อา่ งทองไมม่ ขี ้อสงั เกตของผู้สอบบัญชีทีเ่ ป็นสาระสาํ คัญที่กรมตรวจบญั ชสี หกรณแ์ จง้ ให้กรมสง่ เสริมสหกรณ์ต้อง แกไ้ ข ๓.๒ ไม่มสี หกรณห์ รอื กลุม่ เกษตรกรใดทม่ี ขี ้อบกพร่องเพิ่มมากข้ึน ปัญหา/อุปสรรคในการดําเนินงานของสหกรณ/์ กล่มุ เกษตรกร สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ขาดความรู้ ความเข้าใจในระบบการบริหารงานสหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกร ไมต่ ระหนกั ถึงความเป็นเจา้ ของกิจการ 1. ไม่ใหค้ วามสําคัญในการปฏบิ ตั หิ นา้ ทสี่ มาชกิ ในฐานะเจ้าของกจิ การ เช่น การพิจารณาลงมตติ าม ระเบียบวาระต่าง ๆ ในที่ประชุมใหญ่สามัญประจําปี สมาชิกไม่มีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาสาระสําคัญและ จําเป็นที่ท่ีประชุมใหญ่เสนอให้พิจารณา จึงทําให้การออกเสียงในวาระต่างๆ ขาดความเข้าใจในประโยชน์ ผลกระทบ ผลดีเสยี ที่จะไดร้ บั จากการตดั สินใจ เชน่ ระเบียบวาระการอนุมตั ิค่าใช้จ่ายต่างๆ 2. สมาชิกสว่ นใหญข่ องสหกรณเ์ ปน็ ผู้สงู อายุ ไมส่ ามารถประกอบอาชีพได้ สง่ ผลให้จาํ นวนสมาชกิ ลดลงอยา่ งต่อเนื่อง 3. พืน้ ทท่ี ํากนิ ได้รับผลกระทบจากภัยธรรมชาติ สง่ ผลใหส้ มาชกิ มีรายได้ไม่แน่นอน 4. ปัญหาจากรายได้ท่ีลดลงของสมาชกิ อันเน่ืองจากการแพร่ระบาดเชือ้ ไวรสั ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปญั หา 1. สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ควรต้องได้รับการอบรมเกี่ยวกับระบบการบริหารงานสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกรในด้านกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ เพื่อให้สมาชิกมีความรู้ความเข้าใจ ความสําคัญและ จําเป็นในการเลือกผู้แทนสมาชิก กรรมการ มาควบคุมการบริหารงานสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในท่ีประชุม ใหญส่ ามญั ประจําปี และท่ีประชุมคณะกรรมการดาํ เนินการ 2. ส่งเสรมิ เกษตรกรรนุ่ ใหม่ให้ความรู้ความเขา้ ใจในระบบสหกรณ์ สิทธิประโยชนท์ ่จี ะไดร้ บั จากการ เข้าร่วมเป็นสมาชิกสหกรณ์ 3. กําหนดมาตรการตดิ ตามหนี้ มาตรการปรบั ปรุงโครงสร้างหนี้ หรือการดาํ เนนิ คดตี ามกฎหมาย

รายงานประจาํ ปี 2563 (Annual Report) สาํ นักงานสหกรณจ์ งั หวดั อ่างทอง | ๒๖ อําเภอสามโก้ ประกอบดว้ ย สหกรณ์ 2 แห่ง สมาชกิ 1,325 คน กลุม่ เกษตรกร 5 แห่ง สมาชกิ 245 คน ผลการเขา้ แนะนาํ ส่งเสรมิ และแก้ไขปญั หาสหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกร 1. สหกรณ์การเกษตรสามโก้ จํากัด เป็นสหกรณ์ขนาดใหญ่ ณ วันส้ินปีบัญชี 31 มีนาคม 2563 มี สมาชิกท้ังสิ้น 1,142 คน การดําเนินงานของสหกรณ์เกิดข้อบกพร่องมีการทุจริตปลอมแปลงสัญญาเงินกู้ ลูกหน้ีการค้าและเงินรับฝากพิเศษ แล้วไม่ทําบัญชี รวมมูลค่าความเสียหายท้ังสิ้นเบื้องต้นเป็นเงิน 146,761,094.61 บาท ณ ปีบัญชีส้ินสุด 31 มีนาคม 2563 สหกรณ์ได้ดําเนินการประชุมใหญ่สามัญ ประจาํ ปี เมอ่ื วันที่ 17 กนั ยายน 2563 ไดเ้ ลือกต้ังคณะกรรมการดําเนนิ การ จํานวน 9 คน ตามขอ้ บังคับของ สหกรณ์เข้ามาบริหารงาน สหกรณ์ได้ดําเนินการแก้ไขข้อบกพร่องของสหกรณ์โดยการร้องทุกข์แจ้งความ ดําเนินคดีกับผู้กระทําการทุจริตในสหกรณ์ขณะน้ีซึ่งคดีอยู่ในชั้นศาลทั้งหมดแล้วประมาณ 834 คดี ปัจจุบัน ศาลพิพากษาแล้วประมาณ 50 เปอร์เซนต์ของคดีท้ังหมด ตลอดจนดําเนินการฟื้นฟูปรับปรุงและพัฒนา สหกรณ์ตามแผนฟื้นฟูโดยการเร่งรัดติดตามหนี้จากสมาชิกที่มีหนี้ค้างและจ่ายเงินคืนเจ้าหน้ีต่างๆ เจ้าหนี้ตาม คําพิพากษา เจ้าหนี้เงินฝากออมทรัพย์พิเศษ เจ้าหนี้เงินฝากออมทรัพย์ การปิดบัญชีของสหกรณ์ ดําเนินการ ปิดบัญชี ปีบัญชี 31 มีนาคม 2561 และปีบัญชี 31 มีนาคม 2562 เสร็จแล้ว ส่วนปีบัญชี 31 มีนาคม 2563 อยรู่ ะหวา่ งการปิดบญั ชี 2. สหกรณ์โคเนื้ออ่างทอง จํากัด เป็นสหกรณ์ขนาดเล็กอยู่ใน อําเภอสามโก้ ณ วันส้ินปีบัญชี 31 มีนาคม 2562 มีสมาชิกทั้งสิ้น 183 ราย การปิดบัญชีสหกรณ์ยังไม่สามารถปิดบัญชีได้ 2 ปี คือปีบัญชี 31 ธันวาคม 2561 และปัญชี 31 ธันวาคม 2562 เน่ืองจากรายละเอียดต่างๆในการบันทึกบัญชี ยังไม่สมบูรณ์ อยรู่ ะหว่างการปรบั ปรงุ สหกรณ์ดาํ เนินธรุ กจิ ด้านสินเช่อื และจดั หาสนิ คา้ มาจาํ หน่ายแกส่ มาชกิ สหกรณม์ ีลกู หนี้ ค้างชําระเป็นจํานวนมากและค้างชําระเวลานาน สมาชิกขาดความศรัทธาสหกรณ์ สังเกตุได้จากการประชุม กลุ่มสมาชิกและการประชุมใหญ่สามัญประจําปี มีสมาชิกมาร่วมประชุมจํานวนน้อย สหกรณ์กู้เงินกองทุน พัฒนาสหกรณ์จํานวน 650,000 บาท สหกรณ์ยังไม่สามารถส่งชําระหนี้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ ได้ครบตาม สัญญาส่งชําระหน้ีได้เพียงบางส่วน ปัจจุบันยังคงค้างชําระหน้ีกองทุนพัฒนาสหกรณ์ สหกรณ์ได้ดําเนินการขอ ผอ่ นผันการสง่ ชําระหนก้ี องทนุ พฒั นาสหกรณ์ เปน็ รายเดือน เดอื นละ 15,000 บาท 3. กลุ่มเกษตรกรในอําเภอสามโก้ จํานวน 5 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มเกษตรกรทํานามงคลธรรมนิมิต กลุ่ม เกษตรกรทาํ นาตาํ บลราษฎรพัฒนา กลุ่มเกษตรกรทํานาโพธม์ิ ่วงพันธ์ กลมุ่ เกษตรกรทาํ นาอบทม กลมุ่ เกษตรกร ทําสวนครัวสุขภาพอ่างทอง กลุ่มเกษตรกรมีธุรกิจจัดหาสินค้ามาจําหน่ายแก่สมาชิกและธุรกิจสินเชื่อ ใน ภาพรวมกลมุ่ เกษตรกรดาํ เนินธุรกจิ ให้บรกิ ารสมาชกิ อยา่ งทัว่ ถงึ และเป็นผลดแี กส่ มาชิก ช่วยใหเ้ กษตรกรสมาชิก ลดต้นทุนการผลิตด้านการเกษตรได้ระดับหน่ึง ซ่ึงได้เข้าถึงแหล่งเงินทุนที่มีดอกเบ้ียต่ําจากกองทุนสงเคราะห์ เกษตรกรของกรมสง่ เสรมิ สหกรณ์ ซงึ่ สนบั สนนุ เปน็ ทนุ หมุนเวยี นใหก้ ลมุ่ เกษตรกร ปัญหา/อปุ สรรคในการดาํ เนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สมาชิกส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทําการเกษตร ทํานา ทําสวน ประสบปัญหาราคาผลผลติ ตกต่ํา ต้นทุน การผลิตสูงเน่ืองจากราคาปัจจัยการผลิตมีราคาสูง มีรายได้จากการทําการเกษตรไม่เพียงพอในการดํารงชีพ ทําให้เกิดปัญหาหนี้ค้างและสมาชิกมีหนี้ซ้ําซ้อนหลายทาง จึงทําให้ไม่สามารถส่งชําระหน้ีสหกรณ์ได้ สหกรณ์ ประสบปัญหาขาดสภาพคล่องทางการเงิน ทาํ ใหม้ ีหนี้คา้ งกองทนุ พฒั นาสหกรณ์

รายงานประจําปี 2563 (Annual Report) สาํ นักงานสหกรณจ์ งั หวดั อา่ งทอง | ๒๗ ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ขปัญหา 1. แนวทางการแก้ไขปญั หาเรอื่ งราคาผลผลิตทางการเกษตร รัฐบาลควรมแี นวทางแก้ไขปญั หาเร่อื ง ราคาผลผลิต จัดสรรงบประมาณเพ่ือแทรกแซงราคาผลผลติ ใหม้ ีราคาท่เี กษตรกรคุ้มทนุ และมกี ําไรจากการผลิต ท่ีดํารงชพี อยไู่ ด้ 2. เกษตรกรสมาชกิ ต้องมีการวางแผนการผลติ ทด่ี ี มีการลงบัญชคี รัวเรอื นเกีย่ วกับ รายรับ- รายจ่าย และมีการจดบนั ทึกบัญชีฟาร์มเพ่ือควบคมุ ต้นทนุ การผลติ ที่แท้จริง 3. รัฐบาลมีนโยบายส่งเสรมิ เงินทุนใหแ้ กส่ ถาบนั สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรใหม้ ากขึ้นเพียงพอตอ่ ความ ตอ้ งการและมีดอกเบยี้ ตํ่าเพ่อื ลดต้นทนุ ใหเ้ กษตรกรสมาชิกมีตน้ ทุนการผลติ ที่ต่ําลง 4. รฐั บาลควรมีนโยบายควบคมุ ราคาปจั จยั การผลติ ให้มีราคายุติธรรมและมรี าคาตํ่าเพ่ือชว่ ยลดต้นทนุ การผลิตให้กับเกษตรกรสมาชกิ 5. กรณปี ญั หาขอ้ บกพรอ่ งการทุจริตของสหกรณ์ควรปฏบิ ตั ิตามแผนฟื้นฟูกิจการสหกรณ์ท่ไี ด้รบั อนุมัติ จากที่ประชมุ ใหญ่ 5.1 ดาํ เนนิ การเรง่ รดั ติดตามหนจ้ี ากสมาชกิ ทีม่ หี นผี้ ิดสญั ญาและมหี น้ีค้างนาน 5.2 ติดตามอายัดทรัพย์จากผ้กู ระทาํ ความผิดหรือทุจริตต่อสหกรณ์ ตามคาํ พพิ ากษาของ ศาลพิพากษาแล้ว 5.3 ดําเนนิ การตามแผนงานการจ่ายเงินคืนใหก้ ับเจา้ หน้ตี ่างๆเพ่ือบรรเทาความเดือดร้อน ใหก้ ับเจ้าหนีต้ ่างๆ เชน่ เจ้าหนตี้ ามคําพพิ ากษา เจ้าหน้ีเงนิ ฝากออมทรัพยพ์ ิเศษ เจา้ หนเ้ี งนิ ฝากออมทรัพย์ 5.4 ดาํ เนินการถอนจํานองท่ีดนิ ใหก้ ับสมาชกิ ท่สี ง่ ชาํ ระหนี้ ครบตามสญั ญา อําเภอวิเศษชัยชาญ ประกอบด้วย สหกรณ์ 6 แห่ง สมาชิก 24,981 คน กลุ่มเกษตรกร 10 แหง่ สมาชกิ 431 คน ผลการเขา้ แนะนํา ส่งเสริม และแกไ้ ขปัญหาสหกรณแ์ ละกล่มุ เกษตรกร สหกรณ์มีการกําหนดระเบียบต่างๆ และการแก้ไขข้อบังคับของสหกรณ์ให้สอดคล้องกับระเบียบ นายทะเบียนสหกรณ์และประกาศกฎกระทรวง เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานของสหกรณ์ สหกรณ์ส่วน ใหญ่มีทุนภายในของสหกรณ์เพื่อเป็นทุนหมุนเวียน ในการดําเนินธุรกิจสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรได้ดําเนินการ แก้ไขปัญหาเร่ืองหนี้ค้างชําระได้บางส่วนและมีการติดตามหน้ีสินอย่างเคร่งครัด สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมี การดําเนนิ ธุรกิจสินเช่ือ ธรุ กิจการจดั หาสินค้ามาจําหนา่ ย การรวบรวมผลผลิต(ขา้ วเปลือก) การแปรรปู ผลผลิต (ปลาช่อนแดดเดียว) ในภาพรวมทกุ ธรุ กิจมีปริมาณทเ่ี พ่มิ ขนึ้ และมกี ารใหบ้ ริการสมาชิกได้ทัว่ ถึง มคี วามพึงพอใจ ในสหกรณ์ระดับอําเภอมีการออมทรัพย์ โดยการระดมถือหุ้นเพ่ิมและเงินฝากเพ่ิมข้ึนมีการโยงธุรกิจมากข้ึน รวมท้ังให้สามารถเข้าถึงแหลง่ เงินกู้ของรัฐ ได้แก่ เงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ เงินกู้กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร ทําให้สภาพคล่องในการดําเนินการมากข้ึน ส่งผลให้การเข้าแนะนําส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ประสบ ความสาํ เรจ็ ดังน้ี

รายงานประจําปี 2563 (Annual Report) สํานกั งานสหกรณ์จงั หวดั อา่ งทอง | ๒๘ ๑. กิจกรรมด้านการส่งเสริมและพฒั นาองค์กร ๑.๑. กิจกรรมรักษาหรือยกระดับสหกรณ์ท่ีมีประสิทธิภาพในการดําเนินธุรกิจระดับม่ันคงตาม มาตรฐานใหส้ งู ข้นึ ผลการดาํ เนนิ งาน สหกรณ์ผเู้ พาะเลยี้ งสัตวน์ ํา้ อ่างทอง จํากัด สามารถยกระดับสหกรณ์ที่มี ประสิทธิภาพในการดําเนินธุรกิจระดับม่ันคงตามมาตรฐานให้อยู่ในระดับมั่นคงดี และสหกรณ์ผู้เลี้ยงไก่ไข่ลุ่ม แมน่ ํ้านอ้ ย จํากดั สามารถยกระดบั สหกรณ์ที่มีประสิทธิภาพในการดําเนนิ ธรุ กจิ ระดบั ม่ันคงตามมาตรฐานให้อยู่ ในระดับม่ันคงดมี าก ๑.๒ กิจกรรมยกระดับมาตรฐานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ผลการดําเนินงาน สามารถรักษาระดับ มาตรฐานสหกรณ์อยู่ในระดับดีมาก และดีเลิศได้ 4 แห่ง คือ สหกรณ์การเกษตรวิเศษชัยชาญ จํากัด สหกรณ์ ประมงและการแปรรูปอ่างทอง จํากัด สหกรณ์ผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ําอ่างทอง จํากัด และสหกรณ์ผู้เลี้ยงไก่ไข่ลุ่ม แม่นํ้าน้อย จํากัด สําหรับกลุ่มเกษตรกรสามารถรักษามาตรฐานกลุ่มเกษตรกรได้ 9 กลุ่ม ไม่ผ่านมาตรฐาน เพียง 1 กล่มุ ๒. ดา้ นการพฒั นาการดาํ เนินธุรกจิ ๒.๑ กิจกรรมยกระดับการให้บริการสมาชิกของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ผลการดําเนินงานสามารถ พฒั นาการใหบ้ ริการสมาชิกได้ท่วั ถึงเพิ่มขึ้นสูงกว่าร้อยละ ๗๐ สหกรณ์จํานวน แห่ง ไดแ้ ก่ สหกรณ์การเกษตร วิเศษชัยชาญ จํากัด สหกรณ์ผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ําอ่างทอง จํากัด และสหกรณ์ประมงและการแปรรูปอ่างทอง จํากัด สําหรับกลุ่มเกษตรกรสามารถรักษาระดบั การให้บริการสมาชิกได้ร้อยละ ๖๐ ทั้ง 10 กลมุ่ ๓. ด้านการกํากบั ดแู ล ตรวจสอบและคมุ้ ครองระบบสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ๓.๑ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีการแก้ไขข้อสงั เกตของผู้สอบบัญชแี ลว้ เสร็จ ทําให้จังหวดั อ่างทองไม่ มีขอ้ สังเกตของผู้สอบบัญชที ่เี ปน็ สาระสําคัญที่กรมตรวจบญั ชีสหกรณแ์ จง้ ใหก้ รมสง่ เสรมิ สหกรณ์ต้องแก้ไข ๓.๒ ไม่มีสหกรณห์ รือกลุ่มเกษตรกรใดทม่ี ีข้อบกพร่องเพม่ิ มากข้นึ ปัญหา/อปุ สรรคในการดําเนินงานของสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร ในรอบปี 2563 สมาชิสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ของจังหวัดอ่างทองประสบภัยแล้งทําให้ผลิตผล น้อยลงกว่าทุกปี รวมถึงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (covid-19) ทําให้ สภาพเศรษฐกิจในครัวเรือนมีรายไดล้ ดลงไม่เพียงพอกับค่าใช้จา่ ย เป็นปญั หาในการสง่ ชําระหน้ีของสมาชิกและ ส่งผลกระทบโดยตรงกับธุรกิจของสหกรณ์ในพื้นที่ ในส่วนของสมาชิกท่ีมีหน้ีสินค้างเดิมบางรายที่รอการซื้อหน้ี แทนจากสํานักงานกองทุนฟื้นฟูและพัฒนาเกษตรกร เง่ือนเวลาในการรับซ้ือหน้ีของกองทุนทําให้สหกรณ์ ประสบปัญหามีหน้ีค้างชําระและสมาชกิ มหี น้ีซ้ําซอ้ นหลายทางทําให้ประสิทธภิ าพการชําระหนลี้ ดลง ข้อเสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ขปญั หา เจ้าหน้าท่ีส่งเสริมสหกรณ์ร่วมประชุมกลุ่มสมาชิกให้การศึกษาอบรม อุดมการณ์หลักการและวิธีการ สหกรณ์ ปลูกจิตสํานึกให้สมาชิกและศรัทธาสหกรณ์ รู้จักการช่วยเหลือตนเองและการช่วยเหลือซ่ึงกันและกัน อยา่ งจรงิ จัง รู้จักการรวมกลุ่มเพอ่ื ตอ่ รองราคาสินค้าเกษตรและปัจจัยการผลิตและการรวมตวั กนั เป็นแปลงใหญ่ เกษตรเพือ่ ลดตน้ ทุนการผลิตทางการเกษตรและส่งเสรมิ การดําเนินชวี ิตแบบเศรษฐกิจพอเพยี ง รู้จักใช้จา่ ยอยา่ ง ประหยดั ในช่วงที่จังหวัดอ่างทองประสบภาวะภัยแล้งและสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (covid-2019) ซึ่งสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ได้รับผลกระทบดังกล่าวทุกราย ทาง เจา้ หน้าท่ีส่งเสริมสหกรณ์ได้เขา้ แนะนําสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในพ้นื ทเี่ กี่ยวกับมาตรการให้ความช่วยเหลือด้าน หน้ีสินและการปรับโครงสร้างหนี้ของสหกรณ์ การพิจารณาให้ความเห็นชอบวงเงินกู้ยืมหรอื การคํ้าประกันเป็น

รายงานประจําปี 2563 (Annual Report) สํานกั งานสหกรณ์จงั หวดั อ่างทอง | ๒๙ กรณีพิเศษ แนวทางการประชุมใหญ่สามัญประจําปี การแนะนําเงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ เช่น โครงการ ส่งเสริมอาชีพสมาชิกสหกรณ์ที่ได้รับผลกระทบจากภัยแล้ง พร้อมสํารวจความต้องการความช่วยเหลือของ สมาชกิ สหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร ด้วย ในขณะเดียวกันได้เข้าร่วมแก้ไขปัญหาการถูกกดราคาจากพ่อค้าคนกลางท่ีรับซื้อปลาช่อนจากสมาชิก สหกรณ์ประมงและการแปรรูปอ่างทอง จํากัด โดยแนะนําให้ดําเนินธุรกิจรวบรวมและแปรรูปผลิตภัณฑ์ปลา จําหน่าย การหาแหล่งทุนกพส.เป็นการช่วยเหลือสมาชิกโดยตรงในการแก้ไขปัญหาที่ตรงจุด พร้อมแนะนํา วิธกี าร/ขน้ั ตอน ในการรวบรวม แปรรูป และการจดั จําหนา่ ยผลติ ภัณฑ์แปรรูปถึงผูบ้ รโิ ภคโดยตรงดว้ ย อาํ เภอแสวงหา ประกอบดว้ ย สหกรณ์ภาคการเกษตร 2 แห่ง สมาชิก 2,962 คน กลุม่ เกษตรกร 5 แห่ง สมาชกิ 269 คน ผลการเขา้ แนะนาํ สง่ เสรมิ และแก้ไขปัญหาสหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกร สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในพ้ืนที่อําเภอแสวงหา เป็นการปฏิบัติงานส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกรตามระบบการส่งเสริมสหกรณ์ มีการดําเนินงานที่เน้นเป็นไปเพ่ือประโยชน์แห่งมวล สมาชิกเป็นไปตามพ้ืนฐานหลักตามหลักการ อุดมการณ์ และวิธีการของสหกรณ์ สร้างการมีส่วนร่วม ของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ให้มีความเข้มแข็งสามารถพ่ึงตนเองได้ มีธรรมาภิบาลและการควบคุม ภายในเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ สามารถบริการให้เกิดความพึงพอใจแก่สมาชิก ให้ทันต่อสถานการณ์ ต่างๆที่เปลี่ยนแปลง สร้างความพึงพอใจและความเป็นธรรมให้เกิดข้ึนแก่ระบบสหกรณ์โดยส่วนรวม ทําให้คุณภาพชีวิตของสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรดีข้ึนอย่างต่อเน่ือง มีการวิเคราะห์สหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกรแบบมีส่วนร่วม การเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการ แนะนําส่งเสริม การตรวจการ สหกรณ์ การสร้างศูนย์เรียนรู้ การฝึกอบรม ประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ การศึกษาดูงาน การจัดทํา แผนกลยุทธ์สหกรณ์ สามารถพัฒนางานสหกรณ์ให้ดําเนินงานอย่างถูกต้องไม่ขัดต่อกฎหมายสหกรณ์ ข้อบังคับ ระเบียบ และรวมทั้งกฎหมายอื่นให้สามารถขับเคลื่อนไปได้ บรรลุวัตถุประสงค์ของการ จัดต้ังสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรแต่ละประเภท คือ สามารถให้บริการและแก้ปัญหาด้านเศรษฐกิจและ สังคมของสมาชิกได้ โดยให้ดําเนินการตามหลักการช่วยเหลือตนเอง และช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ท้ัง ในระดบั บุคคลและระดบั องค์กร สหกรณแ์ ละกลมุ่ เกษตรกรสามารถพง่ึ ตนเองไดอ้ ย่างมัน่ คงและยั่งยืน กลุ่มเกษตรกรในอําเภอแสวงหา ประกอบด้วยกลุ่มเกษตรกร จํานวน 5 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มเกษตรกรทํา นาแสวงหา กลุ่มเกษตรกรทํานาบ้านพราน กลุ่มเกษตรกรทําไร่นาสวนผสมแปลงใหญ่ตําบลวังน้ําเย็น กลุ่ม เกษตรกรแปลงใหญ่ไม้มงคล ตําบลแสวงหา และกลุ่มเกษตรกรแปลงใหญ่มะม่วง ตําบลบ้านพราน อําเภอ แสวงหา จังหวัดอ่างทอง กลุ่มเกษตรกรทําธุรกิจจัดหาสินค้ามาจําหน่าย ธุรกิจสินเชื่อ และให้บริการเก่ียวข้าว แกส่ มาชกิ สมาชิกไดร้ ับบรกิ ารท่ัวถึงและเป็นการอาํ นวยความสะดวกในเร่ืองปัจจัยการผลติ ช่วยลดต้นทุนใหแ้ ก่ สมาชิก ซึง่ สมาชิกมีความสนใจและร่วมดําเนินธรุ กจิ เป็นอย่างดีส่งผลให้การเขา้ แนะนาํ ส่งเสรมิ สหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกร ประสบความสําเร็จ ดังนี้

รายงานประจําปี 2563 (Annual Report) สํานกั งานสหกรณ์จงั หวัดอ่างทอง | ๓๐ ๑. กจิ กรรมด้านการส่งเสริมและพัฒนาองคก์ ร ๑.๑. กิจกรรมยกระดับระดบั มาตรฐานของสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร (ใหผ้ า่ นเกณฑ์อย่างน้อย 1 ระดบั ) ผลการดําเนินงานสามารถยกระดับมาตรฐานสหกรณ์จากไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานเป็นระดับดี 1 แห่ง คือ สหกรณ์การปลูกพืชไร่วังน้ําเย็น จํากัด และสามารถรักษาระดับมาตรฐานระดับดีเลิศได้ 1 แห่ง คือ สหกรณ์ การเกษตรแสวงหา จํากัด ๒. ด้านการพฒั นาการดําเนนิ ธรุ กจิ ๒.๑ กิจกรรมการให้บริการสมาชิกของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ผลการดําเนินงานสามารถรักษาการ ให้บริการสมาชิกได้ทั่วถึงเพิ่มขึ้นสูงกว่าร้อยละ ๗๐ ทั้ง 2 สหกรณ์ สําหรับกลุ่มเกษตรกรสามารถรักษาระดับ การใหบ้ รกิ ารสมาชกิ ไดร้ ้อยละ ๖๐ ท้ัง 10 กลุ่ม ๓. ดา้ นการกํากบั ดแู ล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ/์ กล่มุ เกษตรกร ๓.๑ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีการแก้ไขข้อสังเกตของผู้สอบบัญชีแล้วเสร็จ ทําให้จังหวดั อ่างทองไม่ มขี ้อสงั เกตของผูส้ อบบัญชที ่เี ปน็ สาระสําคญั ที่กรมตรวจบญั ชีสหกรณแ์ จ้งให้กรมสง่ เสรมิ สหกรณต์ ้องแกไ้ ข ๓.๒ ไม่มสี หกรณ์หรือกล่มุ เกษตรกรใดท่ีมีข้อบกพร่องเพ่มิ มากขึน้ ปัญหา/อปุ สรรคในการดําเนินงานของสหกรณ์/กล่มุ เกษตรกร 1.ปญั หาด้านบคุ ลากร 1.1 สมาชกิ สหกรณ์ สมาชิกสว่ นใหญข่ าดความรคู้ วามเข้าใจหลักการและปรัชญาสหกรณท์ ี่ เนน้ การรวมกล่มุ กนั เพื่อดําเนนิ ธุรกิจและจดั สรรกําไรจากการดําเนินงานที่เปน็ ธรรมกับสมาชกิ และไม่มีความสนใจ ในกจิ การของสหกรณท์ ้ังเรอื่ งการบรหิ าร การเงิน การตลาด และการหาผลติ ภัณฑ์ ซง่ึ โดยหลักการแล้วสมาชกิ สหกรณ์คือเจา้ ของสหกรณ์หรือเจ้าของกจิ การแต่กลับพบว่าเจา้ ของสหกรณ์กลับไมท่ ราบข้อมูลพื้นฐานของ สหกรณ์ เช่น ทุนสหกรณ์ ผลการดําเนินการ เปน็ ต้น เปน็ เพราะสมาชิก ยังขาดการมีสว่ นร่วมในการดําเนนิ งาน และไม่มาประชุม เนื่องจากขาดการประชาสมั พนั ธแ์ ละสมาชกิ อยูก่ ันกระจดั กระจาย ในบางกรณีพบว่าการมา เป็นสมาชิกสหกรณเ์ ปน็ ไปเพ่ือวตั ถปุ ระสงคอ์ ื่น เช่น ต้องการสินค้าราคาถูกๆ ต้องการกเู้ งิน เพื่อการต่อรอง ผลประโยชนท์ ่รี ัฐมอบใหผ้ า่ นสหกรณ์ เป็นต้น 1.2 คณะกรรมการสหกรณ์ มีจํานวนไม่มากท่ีจะเข้าใจหลักการบริหารจัดการ ส่วนใหญ่แล้ว ขาดความรู้ความเข้าใจในการจัดการหรือบริหารกิจการสหกรณ์ เพราะคณะกรรมการ คือสมาชิก สหกรณ์ น่ันเอง การหาผู้ท่ีมีคุณสมบัติเป็นคณะกรรมและผู้ตรวจสอบกิจการยากมากในบางสหกรณ์ การเลือก คณะกรรมการมีลักษณะเป็นระบบอุปถัมภ์ ไม่ได้เลือกบุคคลที่มีความรู้ความสามารถในบางสหกรณ์มี ข้อจํากัด ในการหาคณะกรรมการ เนือ่ งจากสมาชิกต้องใช้เวลาในการทําอาชีพของตน เช่น ทําไร่ ปลกู ขา้ ว โดยหลักการ แล้วคณะกรรมการต้องเป็นผู้กําหนดนโยบาย แต่ผู้กําหนดนโยบายไม่มีความรู้ในด้าน การจัดการ การตลาด และการเงนิ บญั ชี ทําใหน้ โยบายไม่มคี วามชดั เจน 2. ดา้ นการดาํ เนนิ ธุรกิจ สมาชกิ เปน็ เกษตรกรซึง่ ส่วนใหญ่ปลูก ข้าว อ้อยและพชื ผัก ในปจั จุบนั ประสบปัญหาภยั แล้ง และ ได้รบั ผลกระทบจากสภาวะเศษฐกิจตกต่ําจากการระบาดของเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 ประกอบกบั ปจั จยั การ ผลติ มีราคาสูง ทาํ ให้เกษตรกรประสบปญั หาขาดทุนในการปลกู พชื ดงั กล่าว จงึ ทําให้เกษตรไม่สมารถมีเงินมา ชาํ ระหน้สี หกรณไ์ ด้ตามกาํ หนด ทาํ ให้เกดิ หน้ีคา้ งกับสหกรณ์

รายงานประจําปี 2563 (Annual Report) สํานักงานสหกรณ์จงั หวดั อ่างทอง | ๓๑ ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา ควรสร้างความรู้ความเข้าใจในวิธีการดําเนินงานของสหกรณ์ท่ีจะประสบความสําเร็จได้ต้อง ได้รับความร่วมมือจากบุคลากรทั้ง 4 ส่วน สมาชิกสหกรณ์ต้องมีส่วนร่วม คณะกรรมการสหกรณ์ต้อง มีความรู้ความเข้าใจมีวิสัยทัศน์และนโยบายท่ีชัดเจน ฝ่ายจัดการต้องมีความโปร่งใสและมีทักษะการ บริหารการจัดการรวมถึงฝ่ายตรวจสอบกิจการต้องปฏิบัติหน้าท่ีด้วยความเที่ยงตรง ซึ่งท้ังหมดคือ หัวใจของการเจริญก้าวหน้าในสหกรณ์การเกษตร นอกจากนี้เมื่อใดก็ตามท่ีสหกรณ์การเกษตรสามารถ จัดการความรู้และใช้ข้อมูลสารสนเทศในด้านการจัดการทางธุรกิจ เม่ือน้ันจะทําให้การบริการเป็นไป อย่างครบวงจรตรงต่อความต้องการของสมาชิก และเพ่ิมประสิทธิภาพในการแข่งขันกับภาคเอกชน รวมไปถึงหน่วยงานของรัฐโดยตรงที่ดูแลสหกรณ์ ได้แก่กรมส่งเสริมสหกรณ์และกรมตรวจบัญชี สหกรณ์ จะต้องมีนโยบายท่ีชัดเจนและต่อเนื่องพัฒนาเจ้าหน้าท่ีให้มีความรู้ในวิทยาการสมัยใหม่และ ดูแลสหกรณ์อย่างใกล้ชิดและท่ัวถึง ให้ความสําคัญกับการบูรณาการระหว่าง 2 หน่วยงาน จะทําให้ การพฒั นาสหกรณ์มปี ระสิทธภิ าพและยง่ั ยืน สหกรณ์ส่งเสริมให้สมาชิกปลูกพืชที่ใช้น้ําน้อยเพื่อสร้างรายได้เสริมในระหว่างท่ีไม่สามารถทํานาได้ รวมถึงการหาแหล่งเงินทุนดอกเบี้ยต่ําให้สมาชิกได้ใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียนในการประกอบอาชีพและควรมี มาตรการชว่ ยเหลือด้านสนิ เช่ือแกส่ มาชกิ ทก่ี ู้เงินและประสบภัยธรรมชาติจนไม่สามารถชาํ ระเงินก้ไู ด้ อําเภอโพธ์ิทอง ประกอบดว้ ย สหกรณ์ภาคการเกษตร 2 แหง่ สมาชกิ 5,697 ราย กลมุ่ เกษตรกร 8 แหง่ สมาชิก 336 ราย ผลการเขา้ แนะนํา สง่ เสรมิ และแก้ไขปัญหาสหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกร อาํ เภอโพธิ์ทอง ประกอบด้วยสหกรณจ์ าํ นวน 2 แหง่ ได้แก่ สหกรณ์การเกษตรกรโพธทิ์ อง จาํ กัด และ สหกรณ์เครดติ ยูเนี่ยนบ้านบอ่ แร่ จาํ กัด และมีกลุ่มเกษตรกรจาํ นวน 8 แห่ง เป็นกลมุ่ เกษตรกรทาํ นา 4 แห่ง กลุ่มเกษตรกรทําไร่ 1 แห่ง กลุ่มเกษตรกรเลีย้ งสตั ว์ 1 แห่ง และกล่มุ เกษตรกรทาํ สวน 2 แหง่ ซ่ึงจากการเข้าไปแนะนําส่งเสริม ได้แนะนําให้ปฏิบัติตามกฏหมายสหกรณ์ พ.ร.บ.สหกรณ์ ประกาศ นายทะเบียน และกฏหมายอ่ืน ๆ ทเ่ี ก่ยี วข้อง ให้ดาํ เนินงานเป็นไปตามหลักการ อดุ มการณ์ และวธิ กี ารสหกรณ์ ซ่ึงทําให้สหกรณ์ / กลุ่มเกษตรกรในอําเภอโพธิ์ทอง สามารถปิดบัญชีและส่งงบการเงินให้ผู้สอบบัญชีรับรองได้ ภายใน 30 วัน และสามารถจัดประชุมใหญ่ได้ภายใน 150 วัน และมีการติดตามแก้ไขข้อสังเกตของผู้สอบ บญั ชอี ย่างตอ่ เนอื่ ง โดยมีกลมุ่ เกษตรกรผา่ นมาตรฐานจํานวน 8 แหง่ สหกรณผ์ า่ นมาตรฐานจํานวน 1 สหกรณ์ซึง่ สหกรณ์ มีกระบวนการการควบคุมภายในท่ดี ีขน้ึ นาํ หลกั สหกรณ์ธรรมภิบาลสีขาวมาใช้ และสมาชิกให้ความร่วมมือมาก ข้ึนส่งผลให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร มีทุนเรือนหุ้นเพ่ิมขึ้น สามารถนําทุนมาบริหารจัดการได้อย่างมี ประสิทธิภาพและมีแหล่งเงินทุน สําหรับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรท่ียังไม่มีเงินทุนหมุนเวียนท่ีเพียงพอ ก็ได้รับ การช่วยเหลือด้านเงินทุนจากเงินกู้ กองทุนพัฒนาสหกรณ์และกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร ทําให้สามารถมี เงินทุนหมุนเวียนในการทําธุรกิจเพ่ิมขึ้น พร้อมท้ังจัดหาปัจจัยการผลิตฎท่มีคุณภาพมาจําหน่ายแก่สมาชิกทําให้ สมาชิกสหกรณ์มีความกินดีอยู่ดี มีความร่วมมือร่วมใจของสมาชิก จึงทําให้ภาพรวมของพ้ืนท่ีอําเภอ โพธ์ิทอง ยังเป็นที่พึงพาของสมาชิกได้อย่างยั่งยืน ส่งผลให้การเข้าแนะนําส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ประสบ ความสาํ เรจ็ ดงั นี้

รายงานประจําปี 2563 (Annual Report) สํานกั งานสหกรณจ์ งั หวดั อ่างทอง | ๓๒ ๑. กิจกรรมด้านการส่งเสรมิ และพฒั นาองคก์ ร ๑.๑. กิจกรรมรักษาระดับมาตรฐานของสหกรณ์/กลุ่ม ผลการดําเนนิ งาน สหกรณ์การเกษตร โพธท์ิ อง จํากัด สามารถรักษาระดบั มาตรฐานสหกรณใ์ ห้อยู่ในระดับดีเลิศ สว่ นสหกรณ์เครดิตยเู นี่ยนบ้านบ่อแร่ จํากัด ไม่สามารถปิดบัญชีได้ตั้งแต่ ปี 2561 - 2563 ในปัจจุบันสามารถปิดบัญชีได้ของปี 2561 และปี 2562 กลุ่มเกษตรกรท้ัง 8 กล่มุ ผ่านเกณฑม์ าตรฐานท้ังหมด ๒. ด้านการพฒั นาการดําเนนิ ธรุ กิจ ๒.๑ กิจกรรมการให้บริการสมาชิกของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ผลการดําเนินงานสามารถ รักษาการให้บริการสมาชิกได้ท่ัวถึงเพิ่มข้ึนสูงกว่าร้อยละ ๗๐ จํานวน 1 สหกรณ์ คือ สหกรณ์การเกษตรโพธ์ิ ทอง จํากัด ส่วนสหกรณ์ สําหรับกลุ่มเกษตรกรสามารถรักษาระดับการให้บริการสมาชิกได้ร้อยละ ๖๐ ทั้ง 8 กลุ่ม ๓. ดา้ นการกาํ กับ ดูแล ตรวจสอบและค้มุ ครองระบบสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ๓.๑ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีการแก้ไขข้อสังเกตของผู้สอบบัญชีแล้วเสร็จ ทําให้จังหวัด อ่างทองไมม่ ขี ้อสังเกตของผสู้ อบบัญชที เ่ี ป็นสาระสําคัญที่กรมตรวจบัญชีสหกรณแ์ จ้งให้กรมส่งเสริมสหกรณ์ต้อง แก้ไข ๓.๒ ไม่มีสหกรณห์ รอื กลมุ่ เกษตรกรใดทม่ี ีขอ้ บกพร่องเพ่มิ มากขน้ึ ปญั หา/อปุ สรรคในการดาํ เนนิ งานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ปญั หาภายในองค์กร สหกรณท์ ั้ง 2 แหง่ ประสบปญั หาขาดทนุ สะสมมานาน ทําใหท้ ุนของสหกรณ์ไม่สามารถคุ้มครองหนี้สิน ได้ท้ังหมด ทําให้ไม่มีเสถียรภาพทางการเงิน ไม่สามารถจ่ายคืนเงินทุนเรือนหุ้นแก่สมาชิกได้ สหกรณ์มีความ ยากลําบาก ใน การเก็บหนี้สินของลูกหน้ีที่ค้างนาน โครงสร้างด้านบุคลการยังไม่เอื้อต่อการเจริญเติบโตของ กลมุ่ เกษตรกร สมาชิกยงั ไม่เขา้ ใจบทบาทหน้าทีข่ องสมาชกิ และมสี ว่ นร่วมในการทาํ ธรุ กจิ ทําใหป้ รมิ าณสมาชิก ท่ีร่วมทําธุรกิจไม่เป็นไปตามแผนการดําเนินงาน กลุ่มเกษตรกรไม่มีการจัดจ้างเจ้าหน้าที่ ไม่สามารถดําเนินการ ได้อย่าง มีประสิทธิภาพเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกลุม่ เกษตรกร คณะกรรมการท่ีได้รับมอบหมายขาดความรู้เกี่ยวกับระเบียบ ข้อบังคับและกฎหมายอื่นที่เก่ียวข้อง กรรมการบางคนหรือบางส่วนยังไม่มีความรู้ ความเข้าใจและยังขาดทักษะในการวิเคราะห์การเงินเพ่ือการ วางแผนงานของกลมุ่ เกษตรกร และผู้ตรวจสอบกจิ การมีความรแู้ ละประสบการณ์ไม่เพยี งพอ สําหรบั สหกรณเ์ ครดิตยเู นียนในพื้นท่ี ปัจจบุ นั ไมส่ ามารถปดิ บัญชีไดแ้ ละไมป่ ฏบิ ตั ิตามระเบียบ และ ข้อบงั คับ เจ้าหน้าที่และคณะกรรมการขาดความรอู้ ย่างมาก ซึง่ อาจจะทําให้เกิดความเสยี หายไดใ้ นอนาคต ปญั หาภายนอกองค์กร ภาวะการระบาดของไวรัส โควิด-19 เศรษฐกจิ ชะลอตวั ปญั หาภัยแล้ง ปัจจยั การผลิตทางการเกษตร ต่าง ๆ มีราคาแพง ราคาผลผลิตทางการเกษตรมรี าคาตกต่ํา สง่ ผลให้สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ไดผ้ ลผลติ ไม่เป็นไปตามที่ต้องการ รายได้ไม่เพียงพอต่อการใช้จ่าย จึงทําให้ไม่สามารถชําระหน้ีกับสหกรณ์หรือกลุ่ม เกษตรกรได้ตรงตามกําหนด จนตอ้ งผิดนดั ชาํ ระหนี้ ภาวะตลาดสินค้ามีการแข่งขันสูง มีห้างสรรพสินค้าขนาดใหญ่ เพิ่มมากข้ึนส่งผลกระทบต่อสหกรณ์ และร้านค้าทั่วไปต้องประสบปัญหาด้านการจัดหาสินค้ามาจําหน่าย และค่านิยมของคนในสังคมในปัจจุบัน จะนิยมชมชอบในสินค้าของดีแต่ราคาถูกและมีของแถมแบบลดแลกแจกแถม ทําให้สินค้าของสหกรณ์ไม่ สามารถแข่งขันสูก้ ับสินค้าของเอกชนท่วั ไปได้

รายงานประจาํ ปี 2563 (Annual Report) สํานกั งานสหกรณจ์ งั หวัดอา่ งทอง | ๓๓ ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา 1. สง่ เสรมิ ให้สมาชกิ มคี วามรคู้ วามเข้าใจ เกยี่ วกบั บทบาทหน้าที่ และ สทิ ธิประโยชน์ท่ีจะได้รับจาก การเข้ารว่ มเปน็ สมาชกิ สหกรณ์ เพ่อื ปลูกจิตสาํ นึกในเรื่องความเป็นเจา้ ของ และการร่วมมือกนั พัฒนาองค์การ 2. ใหค้ วามรู้แก่คณะกรรมการ ในเรือ่ งการบริหาร การบญั ชี กฏหมายสหกรณ์ ระเบยี บ ขอ้ บงั คับ และกฏหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับสหกรณ์ / กลุ่มเกษตรกร และปลูกฝ่ังจิตสํานึกในการรักองค์การ และการมี สว่ นร่วมด้านเศรษฐกจิ และสงั คมขององคก์ ร 3. แนะนําให้สหกรณ์ ตรวจสอบการเกิดข้อบกพร่อง /ข้อสังเกต จากการดําเนินงาน เพื่อหาแนว ทางแกไ้ ขตอ่ ไป 5. แนะนําใหส้ หกรณ์ดําเนินการตามแผนการดําเนินงาน หรือแผนฟ้ืนฟู โดยเรง่ รัดการตดิ ตามหน้ี ค้างนานอย่างต่อเน่ือง และกําหนดมาตรการติดตามหน้ี ปรับปรุงโครงสร้างหนี้ หรือการดําเนินคดีตาม กฎหมาย รวมท้ังทบทวนหลักเกณฑ์การให้สินเชื่อโดยคํานึงถึงความสามารถในการชําระหน้ีของลูกหน้ีและ หลักประกันความเส่ียงเป็นสําคัญให้ความสําคัญกับ ผู้ตรวจสอบกิจการสหกรณ์ โดยให้ได้รับความรู้ผ่านการ อบรมหลักสูตร \"ผ้ตู รวจสอบกิจการสหกรณ์\" หลกั สตู รข้นั สงู อยา่ งต่อเนอ่ื ง อําเภอไชโย ประกอบดว้ ย สหกรณ์ภาคการเกษตร 2 แหง่ สมาชิก 940 คน กล่มุ เกษตรกร 8 แห่งสมาชกิ 373 คน ผลการเข้าแนะนาํ ส่งเสริม และแก้ไขปญั หาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เขา้ แนะนําสง่ เสรมิ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในเขตอําเภอไชโย ให้กาํ หนดระเบยี บและแก้ไขข้อบังคับ ให้สอดคล้องกับระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ และใช้เป็นแนวทางในการดําเนินงานของสหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกร ที่ผ่านมาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในเขตอําเภอไชโยมีการดําเนินงานเป็นไปตามพระราชบัญญัติ สหกรณ์ ระเบียบ ข้อบังคบั และกฎหมายทีเ่ กย่ี วข้อง สหกรณ์ในเขตอาํ เภอไชโยใชท้ นุ ภายในของสหกรณเ์ ป็นทุน หมุนเวียนในการดําเนินธรุ กิจ สมาชิกของสหกรณ์ส่วนใหญ่มวี ินยั ทางการเงินจึงทําให้สหกรณ์ประสบปญั หาหนี้ คา้ งชาํ ระน้อยมากเมื่อเทียบกับปรมิ าณธรุ กิจของสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกรมีทั้งหมด 7 กล่มุ ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน กรมส่งเสริมสหกรณ์ทงั้ 7 กลุม่ แตป่ ระสบปญั หาเร่ืองเงนิ ทุนหมุนเวยี นไมเ่ พยี งพอเพื่อใช้ในการดาํ เนินธรุ กิจ จึง แนะนําให้กลุ่มเกษตรกรกู้เงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร ซึ่ง ณ ปัจจุบันกลุ่มเกษตรกรเติบโตและเข้มแข็งข้ึน เน่ืองจากมีทุนดําเนินงานเพ่ิมข้ึนอย่างรวดเร็วจากที่ผ่านมา ซ่ึงเกิดจากผลกําไรจากการดําเนินธุรกิจและการ ระดมหุน้ จากสมาชกิ ของกล่มุ เกษตรกร และคาดหวังวา่ ในอนาคตกลุ่มเกษตรกรจะเข้มแข็งขึน้ จนสามารถใช้ทุน หมุนเวียนของตนเองในการดําเนินธุรกิจเพื่อสนองความต้องการของสมาชิกได้อย่างเพียงพอโดยไม่ต้องพ่ึงพา เงินทุนจากแหล่งเงินทุนภายนอก ส่งผลให้การเข้าแนะนําส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ประสบ ความสําเร็จ ดังน้ี ๑. กิจกรรมด้านการสง่ เสริมและพัฒนาองคก์ ร ๑.๑. กิจกรรมรักษาระดับมาตรฐานของสหกรณ์/กลุ่ม ผลการดําเนินงาน สามารถรักษาระดับ มาตรฐานสหกรณ์ให้อย่ใู นระดับดีเลิศ ทั้ง 2 สหกรณ์ คือ สหกรณก์ ารเกษตรไชโย จํากดั และสหกรณ์สตรีไชโย จํากัด สําหรับกลุ่มเกษตรกร 8 กลุ่ม รักษามาตรฐานกลุ่มเกษตรกรได้ 7 กลุ่มตามเป้าหมาย ไม่ผ่านเพียง 1 กลุม่ คอื กลมุ่ เกษตรกรทาํ สวนอ่างทองกรีนฟาร์ม เนือ่ งจากปดิ บัญชไี มไ่ ด้

รายงานประจําปี 2563 (Annual Report) สาํ นกั งานสหกรณจ์ งั หวัดอ่างทอง | ๓๔ ๒. ดา้ นการพฒั นาการดําเนินธุรกจิ ๒.๑ กิจกรรมการให้บริการสมาชิกของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ผลการดําเนินงานสามารถรักษาการ ให้บริการสมาชิกได้ทั่วถึงเพ่ิมขึ้นสูงกว่าร้อยละ ๗๐ จํานวน 2 สหกรณ์ สําหรับกลุ่มเกษตรกรสามารถรักษา ระดับการให้บริการสมาชิกได้รอ้ ยละ ๖๐ ได้ 7 กลุ่ม ๓. ดา้ นการกํากับ ดแู ล ตรวจสอบและคุม้ ครองระบบสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร ๓.๑ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีการแก้ไขข้อสงั เกตของผู้สอบบัญชีแล้วเสร็จ ทําให้จังหวดั อ่างทองไม่ มขี ้อสงั เกตของผสู้ อบบัญชที เ่ี ปน็ สาระสาํ คญั ท่ีกรมตรวจบญั ชสี หกรณแ์ จง้ ใหก้ รมสง่ เสรมิ สหกรณต์ ้องแกไ้ ข ๓.๒ ไมม่ ีสหกรณ์หรือกลุ่มเกษตรกรใดทม่ี ีข้อบกพร่องเพิ่มมากขึน้ ปญั หา/อปุ สรรคในการดาํ เนินงานของสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร ในปที ี่ผ่านมาพื้นทอ่ี ําเภอไชโย ประสบปัญหาภัยแล้งทําให้ผลผลิตทางการเกษตรเสยี หาย และบางสว่ น สมาชิกไม่สามารถทําการเกษตรได้ตามปกติ จึงส่งผลกระทบต่อปริมาณธุรกิจและปัญหาหนี้ค้างชําระเพ่ิมข้ึน จากปที ผี่ ่านมา สมาชิกของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรส่วนใหญ่ขาดความรู้เกี่ยวกับระบบสหกรณ์ จุดประสงค์ของการ สมัครเป็นสมาชิกเพียงเพื่อต้องการกู้เงินจากสหกรณ์ ไม่เข้าใจถึงสิทธิและหน้าท่ีของสมาชิก จึงไม่ได้ให้ ความสําคัญและไม่ได้ตระหนักรู้ว่าตนน้ันมีฐานะเป็นเจ้าของกิจการ ไม่ได้ให้ความสนใจในการบริหารงาน สหกรณ์ของคณะกรรมการดําเนินการ ขาดการมีส่วนร่วม โดยไม่ให้ความสําคัญกับการเข้าร่วมประชุมต่างๆ ตามที่สหกรณน์ ัดหมาย จงึ ทําให้ไมค่ ่อยทราบความเคลอ่ื นไหวขององค์กรที่ตนสงั กดั กลุ่มเกษตรกรส่วนใหญ่กรรมการไม่เข้าใจถึงบทบาทและหน้าที่ของตน ละเลยและขาดการมีส่วนร่วม ในการบริหารงานกลุ่มเกษตร โดยให้บุคคลใดบคุ คลหนง่ึ เป็นผมู้ ีอาํ นาจตัดสนิ ใจในบรหิ ารงานเพียงผ้เู ดียว ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ขปญั หา สมาชกิ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ต้องได้รับการอบรมเพ่อื ให้ทราบถงึ วตั ถุประสงค์และประโยชน์ของการ รวมกลมุ่ รวมทั้งใหค้ วามรเู้ กย่ี วกบั สทิ ธิและหนา้ ท่ีของตนเองในฐานะสมาชิกซงึ่ เปน็ เจา้ ของกิจการ เพอ่ื ให้คอย สอดส่องความเคล่ือนไหวและคอยกํากบั ดูแลการดําเนนิ งานของสหกรณ์ รวมทั้งกรรมการของสหกรณแ์ ละกลมุ่ เกษตรกรควรประชาสัมพนั ธใ์ หท้ ราบถึงข้อดแี ละประโยชน์ของการเป็นสมาชกิ สหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร เพ่ือจงู ใจให้คนรุน่ ใหมส่ นใจสมัครเป็นสมาชกิ เพื่อจะไดเ้ ปน็ กําลังสาํ คญั ในการพฒั นาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ใหเ้ ติบโต และกา้ วหนา้ ต่อไปในอนาคต

รายงานประจําปี 2563 (Annual Report) สํานักงานสหกรณจ์ งั หวดั อ่างทอง | ๓๕ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรท่ีสะทอ้ นผลสําเรจ็ ของการปฏิบตั งิ านตามภารกิจของสํานกั งานสหกรณจ์ งั หวดั อา่ งทอง ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 1.สหกรณผ์ ู้เล้ยี งและค้าสตั ว์อ่างทอง จํากดั ผลงานความสําเร็จ สหกรณผ์ เู้ ลยี้ งและคา้ สัตว์อา่ งทอง จาํ กัด มสี มาชิก 862 ราย ประเภทสหกรณ์การเกษตร ปีบัญชีของสหกรณ์ 31 มีนาคม ธรุ กิจหลักของสหกรณ์ : ธรุ กิจสินเช่ือ ธุรกจิ จดั หาสินค้ามาจาํ หนา่ ย ระดับมาตรฐานสหกรณ์ (ขอ้ มลู ผลประเมินล่าสดุ ณ วนั ที่ 31 สิงหาคม 2563) : ดมี าก ระดบั ชน้ั สหกรณ์ (ข้อมูล ณ วนั ท่ี 30 กนั ยายน 2563 : ชน้ั 2 เป็นสหกรณ์ที่ได้รับการพัฒนาให้เปน็ องค์กรหลักระดับอําเภอ ท้ังในด้านการบริหารจัดการองค์กรและ การดําเนินธุรกิจอันจะส่งผลต่อความเข้มแข็งของสหกรณ์ โดยสหกรณ์จัดทําแผนพัฒนาองค์กร เร่ิมตั้งแต่การ สร้าง ความเข้าใจในบทบาทและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของสมาชิก การพัฒนากรรมการสหกรณ์และผู้นํากลุ่ม สมาชิก การเพ่ิมประสิทธิภาพของฝ่ายจัดการและการพัฒนาการให้บริการแก่สมาชิก และการวางระบบการ บริหารงานสหกรณ์โดยยึดหลักธรรมาภิบาล ซึ่งช่วยยกระดับการดําเนินงานของสหกรณ์ให้เกิดความเข้มแข็ง และสร้างความเชื่อมั่นแก่สมาชิกและชุมชน โดยสหกรณ์ดําเนินธรุ กิจ จัดหาสินค้ามาจําหน่ายและให้สนิ เช่อื กบั สมาชกิ ปัจจยั แหง่ ความสาํ เรจ็ สํานักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง โดยกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1 ได้เข้าปฏิบัติงาน โดยช่วยแนะนํา ส่งเสรมิ ผลกั ดันให้สหกรณ์ดาํ เนนิ งานตามแผนการดาํ เนินงานประจําปีของสหกรณ์ ดงั นี้ • ด้านการส่งเสริมและพฒั นาองค์กร 1. รกั ษาเปา้ หมายสหกรณท์ ่ีผา่ นเกณฑม์ าตรฐานในระดับดีมาก 2. รกั ษาสหกรณ์ท่ีมผี ลการประเมินการจดั ชัน้ คณุ ภาพการควบคุมภายในให้อยูใ่ นระดับดีมาก งานทีด่ ําเนินการ : 1. ศึกษาขอ้ มลู พ้ืนฐานของสหกรณ์ย้อนหลังและเปรียบเทียบกับเกณฑช์ วี้ ดั ระดับมาตรฐานสหกรณ์ แต่ละข้อ พรอ้ มขบวนการควบคมุ ภายใน 2. ช้ีแจงทําความเขา้ ใจเกณฑ์มาตรฐานทกุ ขอ้ และร่วมวเิ คราะห์ขอ้ มูลพืน้ ฐาน กับสหกรณแ์ ละ เจ้าหนา้ ที่เพอ่ื หาแนวทางในการดําเนนิ งาน 3. แนะนําส่งเสริม การปฏิบัติงานของสหกรณใ์ ห้ผา่ นเกณฑม์ าตรฐานแต่ละข้อ 4. ติดตามประเมินผลอยา่ งตอ่ เนื่อง นําเสนอทปี่ ระชมุ คณะกรรมการดําเนนิ การ ผลที่ได้จากการดําเนนิ งาน : 1. สหกรณ์ได้รับการประเมินมาตรฐานในระดับดมี าก 2. ผลการประเมนิ การจัดชน้ั คณุ ภาพการควบคมุ ภายในอยู่ในระดบั ดี

รายงานประจาํ ปี 2563 (Annual Report) สํานกั งานสหกรณจ์ งั หวัดอ่างทอง | ๓๖ • ด้านการพัฒนาการดาํ เนินธรุ กิจ พัฒนาและเพ่ิมศักยภาพการดําเนินธรุ กจิ ของสหกรณ์ โดยแนะนาํ ส่งเสรมิ สหกรณใ์ ห้เพม่ิ ปริมาณการมีส่วนรว่ มของสมาชิกในการรว่ มทาํ ธรุ กจิ กับสหกรณ์ใหม้ ากกวา่ ร้อยละ 60 งานทด่ี าํ เนนิ การ : ได้เข้ารว่ มประชุมคณะกรรมการดําเนินการ/ตรวจเยย่ี มแนะนาํ เพื่อชแี้ จงรายละเอียดในการ ให้บริการของสมาชิกและการรักษาประสิทธิภาพการดําเนินธุรกิจของสหกรณ์ โดยเน้นจากความต้องการของ สมาชิกเป็นสําคัญพร้อมแนะนําให้ปฏิบัติตามแผนงานงานประจําปี ควรมีการรายงานผลให้คณะกรรมการ ดําเนินการในการประชุมทุกเดือนเพื่อรับทราบความเคล่ือนไหวและหาทางแก้ไข ถ้าเกิดปัญหาอุปสรรคในการ ดาํ เนินงานแตล่ ะชว่ งดว้ ย ผลทไี่ ด้จากการดําเนินงาน : 1. สหกรณ์มสี มาชกิ ที่มาใชบ้ ริการ รอ้ ยละ 73.43 2. สหกรณ์สามารถรักษาประสทิ ธภิ าพการดําเนินธรุ กจิ ให้อยูใ่ นระดบั มนั่ คง • ดา้ นการกาํ กับ ดูแล ตรวจสอบและคมุ้ ครองระบบสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร แนะนําสง่ เสริมสหกรณใ์ นการกํากับ ดูแล ตรวจสอบให้สหกรณ์ปฏิบตั ิตามข้อบังคับ ระเบียบ งานทดี่ ําเนนิ การ : แนะนําส่งเสริมการดําเนินงานสหกรณ์ให้เป็นไปตามข้อบังคับ ระเบียบ และกฎหมายท่ี เก่ียวข้องผ่านการประชุมคณะกรรมการประจําเดือน และแนะนําให้มีการดําเนินกรแก้ใขตามข้อสังเกตของ ผ้สู อบบญั ชี ผลท่ไี ดจ้ ากการดําเนนิ งาน : จากการเข้าแนะนาํ ส่งเสริมสหกรณ์ ในรอบปีบญั ชขี องสหกรณไ์ ม่พบการกระทําที่เป็นการ ฝ่าฝืนต่อกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับหรือกฎหมายอ่ืน ๆ ท่ีเกี่ยวข้อง ประกอบกับไม่พบรายงานข้อสังเกต ขอ้ บกพรอ่ ง จากการรายงานของผูส้ อบบญั ชี 2.สหกรณก์ ารเกษตรป่าโมก จาํ กัด ผลงานความสําเร็จ สหกรณ์การเกษตรป่าโมก จํากัด เป็นสหกรณ์ระดับอําเภอที่มีสมาชิก ท้ังสิ้นจํานวน 627 ราย (ขอ้ มูล ณ วนั ท่ี 31 มีนาคม 2563) ดําเนินธุรกจิ จดั หาสนิ ค้ามาจําหน่าย และใหส้ นิ เช่ือ ผลการดาํ เนินงาน ที่โดดเด่นของสหกรณ์ สหกรณ์จัดหาปัจจัยการผลิต และสินค้าอุปโภคบริโภคมาจําหน่ายตามความต้องการ ของสมาชิก โดยใหบ้ ริการจดั สง่ ถงึ บ้านสมาชกิ โครงการพัฒนาศักยภาพสหกรณ์การเกษตรระดับอําเภอ สหกรณ์การเกษตรป่าโมก จํากัด เข้าร่วม โครงการ เพื่อพฒั นาศักยภาพของสหกรณ์ใหส้ ามารถรองรับการปรับตัวของเศรษฐกิจ และรูปแบบการดําเนิน ชีวิตท่ีเปลี่ยนไปของสมาชิก โดยการเช่ือมโยงกับ ร้านค้าประชารัฐ โรงพยาบาล โรงเรียน และวัดในพ้ืนที่ สามารถตอบสนองความต้องการของสมาชิกได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นที่พึ่งของสมาชิกได้อย่างดี ด้วย ความร่วมมือกันของคณะกรรมการดาํ เนินงาน เจา้ หนา้ ท่ี และสมาชกิ ของสหกรณ์

รายงานประจําปี 2563 (Annual Report) สาํ นักงานสหกรณ์จงั หวัดอ่างทอง | ๓๗ ปจั จัยแห่งความสําเร็จ สํานักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทองได้เข้าแนะนําส่งเสริม ให้สหกรณ์การเกษตรป่าโมก จํากัด เป็น สหกรณ์ระดับอําเภอ เป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจของชุมชนโดยการเชื่อมโยงธุรกิจกับร้านค้าประชารัฐ โรงพยาบาล โรงเรียน และวัดในพื้นท่ี ร่วมถึงการให้บริการสมาชิกโดยการบริการส่งสินค้าถึงบ้านสมาชิก ส่งผลให้สหกรณ์มีปริมาณธุรกิจจัดหาสินค้ามาจําหน่าย เพ่ิมข้ึนจากปีก่อน (2562) ร้อยละ 2.68 มีปริมาณ สมาชกิ ท่ีรว่ มทาํ ธุรกิจกบั สหกรณ์ รอ้ ยละ 84.87 ของจาํ นวนสมาชิกทั้งหมด

รายงานประจําปี 2563 (Annual Report) สํานกั งานสหกรณจ์ งั หวดั อ่างทอง | ๓๘ 3. สหกรณ์ประมงและการแปรรูปอา่ งทอง จาํ กัด ผลงานความสาํ เร็จ สหกรณ์ประมงและการแปรรูปอ่างทอง จํากัด จัดตั้งขึ้นเพื่อแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของ เกษตรกรผู้ประกอบอาชีพเลี้ยงปลาช่อนจําหน่าย แต่ถูกกดราคารับซ้ือจากพ่อค้าคนกลางและการลักลอบนํา ปลาช่อนจากประเทศเพ่ือนบ้านมาจําหน่ายในพื้นท่ี สหกรณ์ได้รับการจดทะเบียนเป็นสหกรณ์ประเภทสหกรณ์ ประมง เม่ือ 16 กุมภาพันธ์ 2560 ปัจจุบันมีสมาชิก 37 ราย ในระยะแรกสหกรณ์ดําเนินธุรกิจสินเชื่อเพียง อย่างเดียว ต่อมาได้รับการสนับสนุนจากสํานักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทองในการเข้าถึงแหล่งทุน คือ กองทุน พัฒนาสหกรณ์ ซึ่งสหกรณ์ได้กู้ยืมมาใช้ขยายในธุรกิจต่างๆ ได้แก่ ธุรกิจสินเชื่อ ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจําหน่าย และธุรกิจรวบรวมแลละแปรรูป ทําให้สมาชิกของสหกรณ์สามารถลดต้นทุนในการผลิตซึ่งเป็นการช่วยเหลือ สมาชิกโดยตรง ในขณะเดียวกันสหกรณ์มีการสง่ เสรมิ ให้สมาชิกระดมทนุ ภายใน ได้แก่ การระดมหนุ้ ของสมาชิก ทําให้สหกรณ์มีอัตราการเติบโตในทุนเรือนหุ้นทุกปี ณ วันท่ี 30 พฤศจิกายน 2563 มีทุนเรือนหุ้น จํานวน 474,600 บาท ทําให้มีสภาพคล่องมากข้ึน ในช่วงต้นปี 2563 เกิดสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเช้ือ ไวรัสโคโรนา 2019 (covid-19) สมาชิกได้รับความเดือดร้อนจากการกดราคาของพ่อค้าคนกลาง สหกรณ์ ได้รบั คําแนะนาํ จากเจ้าหนา้ ท่สี ํานักงานสหกรณจ์ ังหวัดอ่างทองในการทําธรุ กิจรวบรวมและแปรรูปในการแก้ไข ปัญหาอย่างยั่งยืนมีขบวนการวางแผนการผลิตและจัดการทางตลาดตั้งแต่ต้นน้ําถึงปลายนํ้า ทําให้สหกรณ์ สามารถผลติ ปลาช่อนแดดเดยี วส่งขายท่ัวประเทศให้แก่ประชาชนได้บรโิ ภคอาหารโปรตีนท่ีมีคุณภาพและราคา ยตุ ธิ รรมเปน็ ของดีเมอื งอา่ งทอง ปัจจัยแหง่ ความสําเร็จ 1. สหกรณเ์ กิดธรุ กจิ ในการรวบรวมและแปรรปู เปน็ ปลาชอ่ นแดดเดยี ว เปน็ การแกไ้ ขปัญหาท่สี มาชิก ถูกกดพ่อค้าคนกลางกดราคาในช่วงโรคระบาดโควิด 2019 โดยสหกรณไ์ ดด้ าํ เนินการรวบรวมปลาชอ่ นแดด เดียวจากสมาชิก ดงั นี้ จาํ นวนปลาท่รี วบรวมทั้งหมด 42,448 กโิ ลกรัม - สง่ จาํ หน่ายพ่อคา้ ปลานอกพนื้ ที่ 13,290 กิโลกรัม - นําเข้าแปรรูปเปน็ ปลาชอ่ นแดดเดยี ว 28,158 กโิ ลกรมั ในการทําธุรกิจแปรรูปเป็นปลาแดดเดยี ว สหกรณส์ ามารถผลิตไดจ้ ํานวน 17,544 แพ็ค โดยสหกรณไ์ ดร้ ับการ สนับสนุนจากสํานักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทองและส่วนราชการในจังหวัดร่วมกันประชาสัมพันธ์และนําไปจัด จําหน่ายหลากหลายช่องทางได้แก่ การจัดจําหน่ายถึงผู้บริโภค การจัดจําหน่ายออนไลน์ และการใช้วิธีการ เช่ือมโยงธุรกิจโดยการแลกเปลยี่ นสนิ ค้าระหว่างสหกรณ์ด้วยกัน ได้สินค้า คือ ข้าว ล้ินจ่ี ทําให้สามารถบรรเทา

รายงานประจําปี 2563 (Annual Report) สาํ นกั งานสหกรณจ์ งั หวัดอ่างทอง | ๓๙ ปญั หาความเดือดร้อนได้ ในขณะเดียวกนั ทางสํานักงานสหกรณจ์ ังหวัดอา่ งทองได้แนะนําให้สหกรณ์รจู้ ักวิธีการ วางแผนการผลิตปลาและการเตรียมจดั จาํ หน่ายปลาแดดเดยี วให้ต่อเนื่องเพ่ือเป็นการเพิ่มรายได้แกส่ มาชิกและ เป็นภูมิคุม้ กนั ปัญหาการถูกกดราคาจากพ่อค้าด้วย 2.สหกรณ์ได้ระดมทุนภายในโดยการซื้อหุ้นเพิ่มของสมาชิกจากบัญชี 2561 มีมูลค่าหุ้น 233,900 บาทและในปีบัญชี 2562 มีมูลค่าหุ้น 364,800 บาท ปีบัญชี 2563 มีมูลค่าหุ้น 474,600 บาท ซึ่งเกิด จากความร่วมมือของสมาชิก ในขณะเดียวกันสหกรณ์ได้ขอกู้เงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ ในปี 2563 เป็น จาํ นวนเงนิ 3,400,000 บาท เพ่อื ใช้เปน็ ทุนให้สมาชิกกู้ประกอบอาชีพและใช้เป็นทนุ ในการจัดหาอาหารปลา มาจาํ หนา่ ยแกส่ มาชกิ ในราคายุตธิ รรมดว้ ย 3. คณะกรรมการดําเนินการมีการประชุมหารือเพ่ือแก้ไขปัญหาด้านธุรกิจ มีการประสานกับหน่วยงาน ต่างๆ มากขึ้นและนํามาชี้แจงต่อที่ประชุมประจําเดือน เพ่ือรับทราบความเคล่ือนไหวและหาวิธีแก้ไขปัญหา รว่ มกันอันเป็นวิธีท่ีดใี นการรว่ มมือรว่ มใจ 4. สหกรณก์ ารเกษตรแสวงหา จํากัด ผลงานความสาํ เร็จ เป็นสหกรณ์ระดับอําเภอที่ได้ผา่ นการคัดเลือกพัฒนาให้ เป็นองค์กรหลักระดับอําเภอ ตามโครงการ 1 สหกรณ์ 1 อําเภอ สร้างความเข้มแข็งสร้างประโยชน์แก่ เกษตรกรสมาชิกได้อย่างแท้จริง ไม่ว่าจะเป็นการ ให้บริการแก่สมาชิกได้อย่างมีประสิทธิผลสูงสุด และ ดําเนินธุรกิจอย่างมีประสิทธิภาพเพ่ือขับเคล่ือนให้ สหกรณก์ ารเกษตรแสวงหา จาํ กัด กา้ วหน้าตอ่ ไป พร้อมกบั สมาชิกของสหกรณม์ ีความเป็นอยู่ที่ดยี ิ่งขน้ึ พร้อมทั้ง ขับเคลื่อนทําหน้าที่เป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจและสังคมของชุมชน พร้อมท้ังช่วยต่อยอดนโยบายของรัฐบาลใน การดูแลและส่งเสริมความรู้ เทคโนโลยีท่ีทันสมัยแก่สมาชิกเกษตรกร ผลผลิตหลักของสหกรณ์ได้แก่ ข้าว สหกรณ์มจี าํ นวนสมาชิก ทงั้ หมด 2,877 คน แยกเปน็ สมาชกิ สามัญ 1,989 คน และ สมาชิกสมทบ999 คน ธุรกิจของ สหกรณ์ได้แก่ 1. ธุรกิจสินเช่ือ มูลค่า 212,729,899.74 บาท 2. ธุรกิจรับฝากเงินมูลค่า 107,900,895.40 บาท 3. ธุรกจิ จดั หาสินค้ามาจําหน่าย มลู ค่า 75,895,589.18 บาท โครงการสนับสนุนเงินทุนเพื่อสร้างระบบนํ้าในไร่นาของสมาชิกสถาบันเกษตรกรระยะที่ 2 ได้รับ เงินทุนสนับสนุนจากกรมสง่ เสริมสหกรณ์ กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร จํานวน 1,900,000 บาท เพ่ือส่งเสรมิ การจัดระบบนํา้ ในไร่นาของเกษตรกรให้มีความย่ังยืน มีแหล่งนาํ้ ในฟาร์มของตนเอง ลดการพึง่ พานํ้าจากระบบ ชลประทานและแหล่งนํ้าธรรมชาติ เพื่อสร้างโอกาสในการทําเกษตรกรรม และลดความเส่ียงจากการ ขาดแคลนนํ้า ซึง่ มีเกษตรกรในโครงการ 38 ราย ปัจจัยแห่งความสาํ เรจ็ สาํ นักงานสหกรณจ์ งั หวัดอ่างทอง ไดเ้ ขา้ ร่วมประชุมคณะกรรมการ และประชุมกลุม่ สมาชิก ชี้แจงทาํ ความเขา้ ใจกบั คณะกรรมการและสมาชิกถึงนโยบายต่าง ๆ ของรฐั บาลทลี่ งสูส่ หกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ทําให้การ นาํ นโยบายสโู่ ครงการปฏบิ ตั จิ รงิ เกิดผลสัมฤทธ์ใิ นระดับพื้นท่ี

รายงานประจําปี 2563 (Annual Report) สาํ นกั งานสหกรณ์จงั หวดั อ่างทอง | ๔๐ 5. สหกรณ์การเกษตรโพธิท์ อง จํากัด ผลงานความสําเร็จ สหกรณ์การเกษตรโพธิ์ทอง จํากัด เป็นสหกรณ์ท่ีได้รับคัดเลือกให้เป็นสหกรณ์ระดับอําเภอ ตามโครงการพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตร เป็นองค์กรหลักระดับอําเภอ (1 สหกรณ์ 1 อําเภอ) มีสมาชิก จํานวน 5,141 คน ดาํ เนินธุรกจิ 3 ดา้ นได้แก่ ธรุ กจิ จัดหาสนิ ค้ามาจาํ หน่าย ธรุ กจิ สินเชือ่ และธรุ กจิ รวบรวม ผลิตผล สหกรณ์ได้มีการแก้ไขปัญหาการทุจริตสหกรณ์ ต้ังแต่ปี พ.ศ. ๒๕๔๙ โดยคณะกรรมการดําเนินการ ฝ่ายจัดการ และสมาชิก ร่วมกันดําเนินธุรกิจของสหกรณ์อยู่ในทิศทางที่ดีข้ึนเรื่อยๆ ปีบัญชี 2562 สิ้นสุด 30 มิถุนายน 2563 มีกําไรสุทธิ 2,510562.57 บาท อีกท้ังยังไม่รับการคัดเลือกให้เป็นศูนย์กลางในการ กระจายสินค้า โดยมีสินค้าอุปโภค และบริโภคราคาถูกเพื่อช่วยเหลือสมาชิก รวมถึงการให้บริการสมาชิก โดยการบริการส่งสินคา้ ถึงบ้านสมาชกิ โดยในปี 2562 มีปริมาณธุรกิจรวม 355,591,989.14 บาท สหกรณก์ ารเกษตรโพธิ์ทอง จํากัด เป็นศนู ย์กลางในการกระจายสนิ ค้า และบริการสง่ สนิ คา้ ให้สมาชิกถึง ท่ีบ้าน มีสมาชิกท่ีเข้าร่วมโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ทําให้สมาชิกมีเงินออมมากข้ึน โดยสามารถเพิ่ม รายได้จากการนําผลผลติ ที่เหลือจากการบริโภคไปจาํ หน่าย และลดรายจ่าย เพื่อสร้างเงินออม อีกท้ังสหกรณ์ฯ ยังให้ความสําคัญกับการแก้ไขติดตาม เร่งรัดหน้ีจากสมาชิก เพ่ือแก้ปัญหาหนี้ค้างชําระของสหกรณ์ ทําให้เก็บ หน้ีไดเ้ พิม่ มากขึน้ ปรมิ าณหนส้ี ินค้างชาํ ระลดลง สมาชกิ เอง มีความเป็นอยทู่ ด่ี ีขึ้น ปจั จัยแห่งความสาํ เรจ็ สหกรณ์การเกษตรโพธ์ิทอง จํากัด เป็นสหกรณ์ขนาดใหญ่ ทฎ่มีความพร้อมมีอุปกรณ์ทางการตลาด ที่สามารถดําเนินธุรกิจเพื่อบริการสมาชิก ให้มีความกินดีอยู่ดีได้ และคณะกรรมการและเจ้าหน้าท่ีมี การ แบ่งแยกส่วนงานและกําหนดความรับผิดชอบของเจ้าหน้าที่อย่างเหมาะสม มีความสามารถในการบริหารและ แก้ไขปญั หา โดยสหกรณ์ได้จัดให้มีการประชุมคณะกรรมการประจําเดือนและประชุมคณะกรรมการอื่น ๆ เป็น ประจํา ประชุมกฎล่ม สมาชิกเพื่อแจ้ง ข่าวสารให้กับสมาชิกได้รับทราบผลการดําเนินงานของสหกรณ์ และ รับทราบ รับฟังปัญหาของสมาชิก และนําข้อมูลมาเพ่ือวิเคราะห์ และปรับปรุงแก้ไข การบริการ อีกท้ังยังเป็น ศนู ยก์ ลางทางเศรษฐกิจของชมุ ชน ท่ใี หบ้ รกิ ารสมาชิกไดต้ รงใจท่สี ุด

รายงานประจาํ ปี 2563 (Annual Report) สาํ นกั งานสหกรณ์จงั หวดั อ่างทอง | 41 ผลการปฏบิ ตั ิงาน/โครงการตามแผนปฏบิ ตั งิ านและงบประมาณรายจ่าย ประจําปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 งาน/โครงการตามภารกจิ การชําระบัญชีสหกรณ์/กลุม่ เกษตรกรในปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 1. การดาํ เนินการชาํ ระบญั ชีสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ๑.๑ จดั ทาํ แผนปฏบิ ัตงิ านการชําระบญั ชีสหกรณ/์ กลุม่ เกษตรกร ๑.๒ ประชุมช้ีแจงและซกั ซ้อมความเขา้ ใจในขัน้ ตอนการชาํ ระบัญชสี หกรณ/์ กลุม่ เกษตรกร ๑.๓ ประชุมตดิ ตามความก้าวหน้าในการชาํ ระบัญชีของสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร 2. รายช่อื สหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกรท่ีอยรู่ ะหวา่ งการชาํ ระบญั ชี ณ วันที่ 30 กนั ยายน 2563 : สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ข้ันตอนการชําระบัญชี ความก้าวหน้า/ขั้นตอน ณ วันที่ 1 ต.ค. 2562 ณ วันท่ี 30 กันยายน 2563 1. สหกรณผ์ เู้ ลย้ี งนกกระทา อา่ งทอง จาํ กัด ดําเนนิ การจัดการทรพั ย์สนิ อยู่ระหว่างขั้นตอนที่ 6 2. กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ และหนีส้ นิ (ดําเนินการจดั การทรัพย์สินหนส้ี นิ ) แสวงหา ดําเนนิ การจัดการทรพั ย์สนิ อยรู่ ะหวา่ งข้ันตอนท่ี 6 3.กล่มุ เกษตรกรทํานายางซา้ ย และหนส้ี ิน (ดาํ เนนิ การจดั การทรัพย์สินหนีส้ นิ ) ดาํ เนินการจัดการทรพั ย์สิน อยู่ระหว่างขน้ั ตอนท่ี 6 4.สหกรณบ์ รกิ ารตลาดสนิ ค้า และหน้ีสิน (ดําเนินการจดั การทรัพยส์ ินหนีส้ นิ ) เกษตรปลอดภัยชาวอา่ งทอง ผู้สอบบัญชีตรวจสอบ รับรอง อยรู่ ะหวา่ งขั้นตอนท่ี 4 การตรวจ จํากดั งบดุล ม.80 รบั รองงบดุลตาม ม.80 โครงการพฒั นาศักยภาพการดาํ เนนิ งานของกลุม่ เกษตรกร ระดับจงั หวดั 1. วตั ถุประสงค์/เปา้ หมาย/พ้ืนที่ดาํ เนนิ งานโครงการ 1) เพ่ือพัฒนาบคุ ลากร ผู้นาํ กลุ่มเกษตรกรใหม้ คี วามรู้ ความสามารถ ด้านการดําเนินธุรกิจ การพัฒนาองค์กรกล่มุ เกษตรกรและมีอุดมการณ์ร่วมกนั ของกลมุ่ เกษตรกร 2) เพ่ือส่งเสริมให้กลุ่มเกษตรกรพฒั นาศกั ยภาพการดาํ เนินงาน โดยเน้นการมีส่วนร่วม เปา้ หมาย กลุ่มเปา้ หมายประกอบด้วย - กรรมการและสมาชิกกลมุ่ เกษตรกรทํานาไชยภมู ิ 3 คน - กรรมการและสมาชิกกลุม่ เกษตรกรทํานาชัยฤทธิ์ 3 คน - กรรมการและสมาชกิ กลุ่มเกษตรกรทํานาตรีณรงค์ 3 คน

รายงานประจาํ ปี 2563 (Annual Report) สํานกั งานสหกรณ์จงั หวดั อ่างทอง | 42 - ข้าราชการและพนักงานราชการ สาํ นกั งานสหกรณ์ 3 คน จังหวดั อา่ งทอง รวม 12 คน พนื้ ทดี่ าํ เนนิ งานโครงการ อําเภอไชโย จังหวัดอ่างทอง 2. ผลการดําเนินงาน 1) คัดเลือกกลุ่มเกษตรกรท่ีมีศักยภาพการพัฒนาการดําเนินงานเข้าร่วมโครงการ จํานวน 3 กลุ่ม เพ่อื ขับเคลอ่ื นพฒั นาเป็นกลมุ่ เกษตรกรตน้ แบบ ได้แก่ - กรรมการและสมาชิกกล่มุ เกษตรกรทาํ นาไชยภมู ิ 3 คน - กรรมการและสมาชกิ กลุ่มเกษตรกรทํานาชยั ฤทธ์ิ 3 คน - กรรมการและสมาชกิ กลุม่ เกษตรกรทาํ นาตรีณรงค์ 3 คน ร่วมกับข้าราชการและพนกั งานราชการ สํานักงานสหกรณ์จงั หวดั อ่างทอง 3 คน 2) จัดประชุมเชิงปฏิบัติการขับเคล่ือนการพัฒนาศักยภาพการดําเนินงานของกลุ่มเกษตรกร ประเมินศักยภาพจัดทําแผนพัฒนาองค์กรและแผนพัฒนาธุรกิจระดับจังหวัด ระหว่างวันที่ 21 – 22 กรกฎาคม 2563 ณ หอ้ งประชุมสาํ นกั งานสหกรณจ์ งั หวดั อ่างทอง 3) ขับเคล่ือนการดําเนินงานตามแผนพัฒนาของกลุ่มเกษตรกรโดยพิจารณาจาก สภาพแวดล้อมภายในและภายนอกของกลุม่ เกษตรกร เพอ่ื นําไปส่คู วามเข้มแข็งของกลมุ่ เกษตรกร 4) ติดตามและรายงานผลการดาํ เนินงานตามโครงการ 3. ผลลพั ธ์ ผลลัพธ์เชิงปรมิ าณ กลุ่มเกษตรกรไดร้ ับการพฒั นาศกั ยภาพการดาํ เนนิ งานสงู ขึ้นและมีการจัดทําแผนงานการ ขับเคลื่อนสร้างความเข้มแข็ง 1 แผนงาน ผลลัพธเ์ ชิงคณุ ภาพ 1) บุคลากรผู้นํากลุ่มมีความเข้าใจด้านการดําเนินธุรกิจและการพัฒนาองค์กรกลุ่มเกษตรกร มากข้ึน 2) ทําให้สมาชิกกลุ่มเกษตรกรมีความเชื่อมั่นในกลุ่มเกษตรกร เกิดการมีส่วนร่วมในธุรกิจของ กล่มุ เพม่ิ มากขนึ้ 3) สมาชกิ กล่มุ เกษตรกรมีความเปน็ อยูท่ ดี่ ขี ้ึน 4. ปญั หา/อุปสรรค ในการดําเนินงาน และแนวทางแก้ไข - ไม่มี -

รายงานประจําปี 2563 (Annual Report) สาํ นักงานสหกรณ์จงั หวดั อ่างทอง | 43 5. ภาพถ่ายแสดงการดาํ เนินกิจกรรมของงาน/โครงการ การประชมุ เชงิ ปฏบิ ัตกิ ารโครงการพัฒนาศกั ยภาพการดาํ เนนิ งานของกลมุ่ เกษตรกร ระดับจงั หวดั ณ สํานกั งานสหกรณ์จงั หวดั อา่ งทอง โครงการประชุมเชิงปฏบิ ตั ิการ “คณะทํางานระดับจงั หวัดแก้ไขปญั หาในการ ดาํ เนนิ งานของสหกรณ์และกลุม่ เกษตรกรทม่ี ีขอ้ บกพร่อง 1. วัตถุประสงค/์ เปา้ หมาย/พ้ืนทดี่ าํ เนนิ งานโครงการ วตั ถุประสงค์ 1. เพ่ือประมวลข้อบกพร่องและข้อร้องเรียนต่างๆ ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรท่ีอยู่ใน ความรบั ผิดชอบของจงั หวัด 2. เพ่อื กาํ หนดแผนงานและแนวทางในการดําเนินการแก้ไขข้อบกพร่อง เพอื่ ใหผ้ ทู้ เ่ี กย่ี วข้องมี ความรู้ ความเขา้ ใจทกั ษะในการปฏิบัตงิ าน 3. เพ่ือตรวจสอบ ดูแล และติดตามผลการแก้ไขข้อบกพร่อง และติดตามเฝ้าระวังมิให้เกิด ขอ้ บกพร่องขนึ้ อีก เป้าหมาย คณะทํางานระดับจังหวัดแก้ไขปัญหาในการดําเนินงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มี ข้อบกพร่อง จํานวน 20 คน โดยดําเนินการจัดประชุมคณะทํางาน เพ่ือหารือแนวทางการแก้ไข ข้อบกพรอ่ งตามคาํ ส่ังนายทะเบียนสหกรณ์ และแลกเปลี่ยนความคิดเหน็ เพ่ือเปน็ แนวทางในการแก้ไข ขอ้ บกพรอ่ ง จํานวน 4 ครั้ง ดงั น้ี

รายงานประจาํ ปี 2563 (Annual Report) สํานกั งานสหกรณ์จงั หวัดอ่างทอง | 44 ครง้ั ท่ี 1 จดั ในเดือน ธันวาคม 2562 คร้ังที่ 2 จดั ในเดอื น มีนาคม 2563 ครั้งที่ 3 จัดในเดอื น มิถนุ ายน 2563 ครง้ั ที่ 4 จัดในเดอื น สิงหาคม 2563 ซ่ึงผ้เู ข้าร่วมประชุมประกอบดว้ ยๆ (1) สหกรณจ์ งั หวัดอ่างทอง (2) ผู้อํานวยการ ธกส. สาขาอ่างทอง (3) หวั หนา้ สํานกั งานตรวจบัญชสี หกรณอ์ ่างทอง (4) เกษตรและสหกรณ์จงั หวดั อา่ งทอง (5) อัยการจังหวัดอ่างทอง (6) ผบู้ ังคับการตาํ รวจภูธรจงั หวดั อา่ งทอง (7) ผอู้ ํานวยการกลุ่มวชิ าการสาํ นักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง (8) ผู้อาํ นวยการกลมุ่ ส่งเสรมิ สหกรณ์ 1,2 (9) ผู้แทนสหกรณ์ท่ีเกย่ี วข้อง 2. ผลการดาํ เนนิ งาน สหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกรทมี่ ขี อ้ บกพร่อง ไดร้ บั คาํ แนะนําจากคณะทํางานฯในการตดิ ตามผล ความคบื หน้าทางคดีจากผบู้ ังคับการตํารวจภธู รจังหวดั และอยั การจังหวัด ทป่ี รึกษาคณะทํางาน ด้าน การดําเนินการตามกฎหมาย และผลความคืบหน้าการดําเนินคดีสําหรับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรท่ี ทุจริต หรือประมาทเลินเล่อเป็นเหตุให้ได้รับความเสียหาย โดยได้รับคําแนะนําจากคณะทํางานฯ ใน การปฏิบัติตามพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2542 และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม ข้อบังคับ คําส่ัง คําแนะนํา และระเบียบนายทะเบียนหสกรณ์ ตลอดจนได้รับแนวทางการปฏิบัติงานท่ีเป็นการป้องกันมิให้เกิด ขอ้ บกพร่องเพ่มิ ข้ึน 3. ผลลพั ธ์ ผลลพั ธ์เชิงปริมาณ คณะทํางานระดับจังหวัดแก้ไขปัญหาในการดําเนินงานของสหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกรที่มีข้อบกพร่องจํานวน 20 คน รวมท้ังข้าราชการ พนักงานราชการสํานักงานสหกรณ์ จงั หวดั อ่างทองท่ีเกย่ี วข้อง ผลลพั ธเ์ ชิงคุณภาพ 1. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเป้าหมาย มีการกําหนดแผนการติดตามผลการแก้ไข ขอ้ บกพรอ่ งอย่างชัดเจน 2. สหกรณ์และกล่มุ เกษตรกรเป้าหมาย สามารถตดิ ตาม และตรวจสอบผลการแก้ไข ข้อบกพร่อง เฝา้ ระวงั การเกดิ ขอ้ บกพร่องของสหกรณ์ได้ 3. ท่ีประชุมคณะทํางานฯ มีการอภิปรายถึงข้อบกพร่องของสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร แต่ละแห่ง รวมท้ังรับทราบผลการแก้ไขข้อบกพร่อง ทําให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีการดําเนินการ แกไ้ ขข้อบกพร่องตามคําสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ และสร้างความเขา้ ใจอันดีระหว่างสํานักงานสหกรณ์ จงั หวัดอ่างทองกบั สหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกรท่ีมีข้อบกพร่อง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook