Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พระราชประวัติสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช

พระราชประวัติสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช

Published by นายสุชิน หมอกชัย, 2020-09-10 00:15:30

Description: พระราชประวัติสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช

Search

Read the Text Version

พระราชประวัตสิ มเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช พระราชปณธิ าน สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช อนั ตวั พอ่ ช่อื วา่ พระยาตาก ทนทุกข์ยากกชู้ าติพระศาสนา ถวายแผ่นดนิ ให้เป็นพุทธบชู า แดพ่ ระศาสดาสมณะพระพทุ ธโคดม ใหย้ ืนยงคงถว้ นห้าพนั ปี สมณะพราหมณช์ ีปฏบิ ตั ิให้พอสม เจริญสมถะวิปัสนาพอ่ ชนื่ ชม ถวายบงั คมรอยพระบาทพระศาสดา คดิ ถงึ พอ่ พอ่ อยคู่ กู่ บั เจา้ ชาติของเราคงอยู่คพู่ ระศาสนา พุทธศาสนาอยยู่ งคู่องคก์ ษตั รา พระศาสดาฝากไวใ้ หค้ กู่ นั สมเดจ็ พระเจ้าตากสินมหาราช หรือ สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบรุ ี ทรงมีพระนามเดิมว่า “สิน” (ชื่อจนี เรียกว่า “เซิ้นเซ้ินซนิ ) พระราช สมภพเม่อื วนั อาทติ ยท์ ี่ ๑๗ เมษายน พ.ศ. ๒๒๗๗ พระราชบดิ าเป็นชาวจีนแตจ้ ิว๋ ชื่อ “นายไหฮอง” ไดส้ มรสกบั หญงิ ไทยช่ือ”นางนกเอ้ยี ง” ในชว่ งรชั สมยั พระเจา้ อยู่หวั บรมโกศ (สมเด็จพระธรรมราชาธิราชท่ี ๓) ซ่ึงเจา้ พระยาจกั รีไดข้ อไปอุปการะเป็นบตุ รบุญธรรมต้งั แตค่ ร้งั เยาวว์ ยั คร้ันอายุ ๕ ปี เจา้ พระยาจกั รีไดน้ าไปฝากเรียนกบั พระอาจารยท์ องดี วดั โกษาวาส (วดั คลงั ) ทรงศึกษาหนงั สือขอมและหนงั สือไทยจนจบ บริบรู ณ์ ตลอดจนศึกษาพระไตรปิฎกจนแตกฉาน ตอ่ มาเม่ืออายุครบ ๑๓ ปี เจา้ พระยาจกั รีไดน้ าตวั เด็กชายสิน ไปถวายตวั เป็นมหาดเลก็ ใน สมเดจ็ พระเจา้ อย่หู วั บรมโกศและไดท้ รงโปรดเกลา้ ฯ ให้ทาราชการกับหลวงศักด์นิ ายเวร ซ่ึงเป็ นบุตรของเจ้าพระยาจกั รี เม่ือมีเวลาว่างจะศึกษา หาความรู้ กับอาจารย์ชาวจนี อาจารย์ชาวญวน และ อาจารย์ชาวแขก จนเชี่ยวชาญและส่ือสารได้อย่างคล่องแคล่วท้งั ๓ ภาษา คร้นั เมื่ออายคุ รบ ๒๑ ปี ไดอ้ ุปสมบท ณ วดั โกษาวาส ทรงดารงอยูใ่ นสมณเพศได้ ๓ พรรษา จึงลาสิกขา และกลบั มารบั ราชการ ตามเดมิ ดว้ ยความฉลาด รอบรูข้ นบธรรมเนียมตลอดจนภารกิจตา่ งๆ อยา่ งดี สามารถทางานต่างพระเนตรพระกรรณได้ จนไดร้ บั พระกรุณา โปรดเกลา้ ฯ ใหเ้ ป็นมหาดเลก็ รายงานราชการท้งั หลายในกรมมหาดไทย และ กรมวงั ศาลหลวง คร้นั พ.ศ. ๒๓๐๑ สมเดจ็ พระเจา้ อย่หู ัวบรมโกศเสดจ็ สวรรคต สมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั อุทมุ พรเสด็จข้ึนครองราชยไ์ ด้ ๓ เดือนเศษ ก็ถวาย ราชสมบตั ิแกส่ มเดจ็ พระเชษฐาธิราช “สมเด็จพระบรมราชาท่ี ๓” (สมเดจ็ พระเจา้ เอกทศั น)์ สมเดจ็ พระเจา้ เอกทศั นท์ รงโปรดเกลา้ ฯ ให้นายสิน มหาดเลก็ รายงาน เป็นขา้ หลวงเชิญทอ้ งตราพระราชสีห์ไปชาระความท่ีหวั เมอื งฝ่ายเหนือ ซ่ึงปฏบิ ตั ริ าชการไดร้ ับความดคี วามชอบมาก จงึ ทรง พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เป็ นหลวงยกกระบตั ร เมืองตาก ช่วยราชการพระยาตาก คร้ันพระยาตากถงึ แก่กรรม ก็ทรงโปรดให้เลอ่ื นเป็ น “พระยา ตาก ปกครองเมืองตาก”

ในปี พ.ศ. ๒๓๐๗ พมา่ ยกกองทพั มาตีหัวเมืองปักษใ์ ตข้ องไทย โดยมีมงั มหานรธาเป็นแม่ทพั เมอื งทางใตไ้ ดอ้ ย่างง่ายดาย ตเี ร่ือยตลอด หวั เมืองทางใตจ้ นถึงเมืองเพชรบรุ ี จนกรุงศรีอยธุ ยาได้ส่งกองทัพไทย มีพระยาโกษาธบิ ดกี ับพระยาตากไปรักษาเมืองเพชรบุรีไว้ จนตพี ม่าแตก ถอยไปทางด่านสิงขร ตอ่ มาปี พ.ศ. ๒๓๐๘ พม่ายกกองทพั มาตไี ทยอกี พระยาตากได้มาช่วยรักษาพระนครไว้ได้ จงึ ได้ปูนบาเหน็จความดีความชอบ ได้รับ โปรดเกล้าให้เลอ่ื นเป็ น “พระยาวชิรปราการ เจ้าเมืองกาแพงเพชร” แตย่ งั ไมท่ นั ไดป้ กครองเมืองกาแพงเพชร ก็เกิดศกึ กบั พมา่ คร้ังสาคญั จงึ ถูก เรียกตวั ใหเ้ ขา้ รับราชการในกรุง เพ่อื ป้องกนั พระนคร จนถึงปี พ.ศ. ๒๓๐๙ ขณะทีไ่ ทยกบั พม่ากาลงั รบกนั อย่างดุเดือด พระยาวชิรปราการ เกิด ทอ้ แทใ้ จหลายประการคอื ๑. พระยาวชิรปราการ คุมทหารออกไปรบนอกเมอื งจนไดช้ ยั ชนะยึดค่ายพม่าได้ แตท่ างผรู้ กั ษาพระนครไมส่ ่งกาลงั ไปหนุน ทาให้ พม่าสามารถยดึ ค่ายกลบั คนื ได้ ๒. ขณะที่ยกทพั เรือออกรบร่วมกบั พระยาเพชรบรุ ี พระยาวชิรปราการ เหน็ วา่ พม่ามีกาลงั มากกว่าจึงห้ามมใิ หพ้ ระยาเพชรบรุ ีออกรบ แต่พระยาเพชรบรุ ี ฝืนออกรบ จนพา่ ยแพแ้ ก่พมา่ จนตวั ตายในสนามรบ พระยาวชิรปราการ ถกู กล่าวหาวา่ ทอดท้งิ ให้พระยาเพชรบรุ ีเป็นอนั ตราย ๓. กอ่ นเสียกรุง ๓ เดอื น พม่ายกทพั เขา้ ปลน้ พระนคร ทางดา้ นทีพ่ ระยาวชิรปราการรกั ษาอยู่ เห็นจวนตวั จึงยิงปืนใหญข่ ดั ขวาง โดย มไิ ดข้ ออนุญาตจากศาลาลูกขนุ จงึ ถูกฟอ้ งชาระโทษภาคทณั ฑ์ ดว้ ยสาเหตุดงั กลา่ ว พระยาวชิรปราการเห็นว่าขืนอย่ชู ่วยป้องกันพระนครต่อไป กไ็ ม่มีประโยชน์อันใด และเช่ือว่ากรุงศรีอยธุ ยาต้อง เสียแก่พม่าในคร้ังนเ้ี ป็ นแน่ ดังน้นั ในช่วงพลบค่าวนั เสาร์ ขนึ้ ๔ คา่ เดอื นย่ี ปี จอ อัฐศก (พ.ศ. ๒๓๐๙) พระยาวชิรปราการได้พาเหล่าทหารเอกคือ พระเชียงเงิน หลวงพรหมเสนา หลวงพิชัยราชา (ต่อมาเป็ นพระพิชัยดาบหกั ) หลวงราชเสน่หา ขุนอภยั ภกั ดี พร้อมสมัครพรรคพวกประมาณ ๕๐๐ นาย ตีฝ่าวงลอ้ มออกจากคา่ ยพชิ ยั ม่งุ ออกไปจากทศิ ตะวนั ออกเฉียงใต้ ตอี อกมาทางบา้ นหนั ตรา (ทุง่ หัตรา อาเภออทุ ยั จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา ในปัจจบุ นั ) กองทพั พมา่ บางส่วนไดไ้ ล่ติดตามมาทนั ทบ่ี า้ นขา้ วเม่า บา้ นส้มบณั ฑติ (ในเขตอาเภออุทยั ) และต่อสู้กนั จนถึง เทยี่ งคนื พม่าก็ถอยทพั กลบั ไป พระยาวชิรปราการจงึ พากองกาลงั มุ่งหนา้ ยึดจนั ทบุรีซ่ึงเป็นเมอื งใหญ่เพื่อใชเ้ ป็นฐานท่ีมน่ั เจา้ เมอื งจนั ทบรุ ีมยิ อม สวามภิ กั ด์ิ พระยาตาก (พระยาวชิรปราการ) จึงตอ้ งใชจ้ ิตวิทยาในดา้ นการรบมาใชก้ บั แม่ทพั นายกอง ฟ้ืนฟขู วญั กาลงั ใจของไพร่พล เพอ่ื ตอ้ งการ รบให้ชนะ โดยส่ังให้ทุบ หมอ้ ขา้ วหมอ้ แกง พร้อมเปล่งวาจา “เราจะตเี มืองจนั ทบรุ ีในคา่ วนั นี้ เม่ือกองทัพหุงข้าวเยน็ กินเสร็จแล้ว ท้งั นายไพร่ให้เททงิ้ อาหารที่เหลอื และต่อยหม้อเสียให้หมดหมาย ไปกินข้าวเช้าด้วยกันที่ในเมืองเอาพรุ่งนี้ ถ้าตเี อาเมืองไม่ได้ในค่าวันน้กี จ็ ะตายเสียด้วยกันให้หมดทเี ดียว” คร้นั ถงึ เวลาค่า พระยาตากจงึ ไดส้ ัง่ ใหท้ หารไทยจีนลอบเขา้ ไปอยู่ ตามสถานท่ีท่ไี ดว้ างแผนไวแ้ ลว้ ให้คอยฟังสัญญาณเขา้ ตเี ขา้ เมอื ง พรอ้ มกนั มิใหส้ ่งเสียงจนกว่าจะเขา้ เมอื งได้ พอไดฤ้ กษเ์ วลา ๓ นาฬิกา พระเจา้ ตากก็ข้ึนคอชา้ งพงั ครี ีบญั ชรพร้อมยงิ ปืนสญั ญาณ แจง้ แก่เหล่า ทหารเขา้ ตเี มืองพรอ้ มกนั ทรงไสชา้ งเขา้ พงั ประตเู มือง จนยึดเมืองไดส้ าเร็จ

คร้นั ถึง พ.ศ. ๒๓๑๐ พม่ากย็ กทพั ตพี ระนคร นบั เป็นเวลาที่พม่าล้อมค่ายอย่ถู ึง ๑ ปี ๒ เดือน กรุงศรีอยุธยาจงึ เสียแก่พม่า ในรัชสมยั พระเจา้ เอกทศั น์ ถอื เป็นพระมหากษตั ริยอ์ งคส์ ุดทา้ ยของกรุงศรีอยธุ ยา หลงั จากเสียกรุงศรีอยธุ ยาแลว้ บา้ นเมืองเกิดแตกแยก หวั เมอื งตา่ งๆ ต้งั ตวั เป็นใหญ่ตา่ งคนต่างรวมสมคั รพรรคพวกต้งั เป็นก๊กต่างๆ ไดแ้ ก่ กก๊ สุก้พี ระนายกอง กก๊ พระยาพษิ ณุโลก ก๊กพระเจ้าฝาง กก๊ เจา้ พระยานครศรีธรรมราช และกก๊ เจา้ พิมาย พระยาวชิรปราการไดจ้ ดั เตรียม กองทพั อยู่เป็นเวลา ๓ เดอื น กย็ กกองทพั เรือเขา้ มาทางปากน้าเจา้ พระยา จนตเี มืองธนบรุ ีแตก จบั นายทองอนิ ประหาร แลว้ เลยไปตคี ่ายโพธ์ิสาม ตน้ แตกยบั เยิน สุก้พี ระนายกองตายในทรี่ บ ขับไล่พม่าออกไปพ้นแผ่นดินไทยสาเร็จ ในปี พ.ศ.๒๓๑๐ ซ่ึงใช้เวลากู้อิสรภาพกลับคนื จากพม่า ภายในเวลา ๗ เดอื นเท่าน้นั จากน้นั พระยาตาก (พระยาวชิรปราการ) จึงยกทพั กลบั มากรุงธนบรุ ี ทรงสถาปนากรุงธนบุรีเป็นราชธานี และปราบดาภเิ ษกขึน้ เป็ น พระมหากษตั ริย์ เม่ือวนั ท่ี ๒๘ ธันวาคม พ.ศ. ๒๓๑๑ ทรงพระนามว่า “สมเดจ็ พระบรมราชาที่ ๔” แต่ประชาชนนยิ มเรียกพระนามว่า “พระเจ้า ตากสิน” จากน้นั ทรงยกกองทพั ไปปราบปรามก๊กต่าง ๆ ทต่ี ้งั ตวั เป็นชุมนุมอสิ ระไดแ้ ก่ ชุมนุมเจา้ พมิ าย ชมุ นุมเจา้ พระยานครศรีธรรมราช ชุมนุมเจา้ พระยา พษิ ณุโลก และชมุ นุมเจา้ พระฝาง (เป็นชุมนุมสุดทา้ ย) ยอ้ นมาเม่อื คร้ังกรุงศรีอยธุ ยาเสียแกพ่ ม่า ในปี พ.ศ. ๒๓๑๐ เจ้าพระฝาง เมืองสวางคบรุ ี ซ่องสุมผ้คู นได้หลายเมือง ต้ังตวั เป็ นเจ้า แต่ไมย่ อมสึกจากพระ เปลยี่ นสี จวี รจากสีเหลืองเป็ นสีแดง นับเป็ นชุมนุมใหญ่ฝ่ ายเหนือ ประชาชนเรียกกนั ว่า “เจ้าพระฝาง” ล่วงมาถงึ ปี ขาล พ.ศ. ๒๓๑๓ หลงั จากการสถาปนากรุงธนบรุ ีเป็นราชธานีแลว้ มีขา่ วมาถึงกรุงธนบรุ ีวา่ เมื่อเดือน ๖ ปีขาล เจา้ พระฝาง ให้ส่งกาลงั ลงมาลาดตระเวณถึงเมืองอุทยั ธานี และเมืองชยั นาท เป็นทานองว่าจะคดิ ลงมาตีกรุงธนบรุ ี สมเด็จพระเจา้ กรุงธนบรุ ีจึงมรี ับส่ังให้ เตรียมกองทพั จะยกไปตีเมืองเหนอื ในปีน้นั ขณะน้นั พวกฮอลนั ดาจากเมืองยะกะตรา (จาร์กาตา) ส่งปื นใหญม่ าถวาย และแขกเมืองตรงั กานู กน็ า ปืนคาบศลิ าเขา้ มาถวาย จานวน ๒,๐๐๐ กระบอก พอเหมาะแก่พระราชประสงคข์ องสมเด็จพระเจา้ กรุงธนบรุ ี ทจี่ ะใชท้ าศกึ ตอ่ ไปในคร้ังน้ี สมเดจ็ พระเจา้ กรุงธนบรุ ีเสด็จพระราชดาเนินโดยกระบวนทพั เรือ ยกกาลงั ออกจากกรุงธนบรุ ี เมือ่ วนั เสาร์ แรม ๑๔ คา่ เดอื น ๘ ไปประชุม พล ณ ท่ีแห่งใดไมป่ รากฏหลกั ฐาน จดั กาลงั เป็ น ๓ ทพั ทพั ท่ี ๑ สมเดจ็ พระเจา้ กรุงธนบุรีเสดจ็ พระราชดาเนินไปโดยขบวนเรือมกี าลงั พล ๑๒,๐๐๐ คน ทพั ที่ ๒ พระยาอนุชิตราชา ซ่ึงได้เล่ือนขึน้ เป็ นพระยายมราช ถือพล ๕,๐๐๐ คน ยกไปทางบกขา้ งฟากตะวนั ออกของแมน่ ้าแคว ใหญ่ กองทพั ท่ี ๓ พระยาพิชัย ถือพล ๕,๐๐๐ คน ยกไปทางขา้ งฟากตะวนั ตก ฝ่ายเจา้ พระยาฝาง เม่ือทราบว่ากองทพั กรุงธนบรุ ียกกาลงั ข้ึนไปดงั กล่าว จงึ ให้หลวงโกษา (ยงั ) คุมกาลงั มาต้งั รับอย่ทู ่เี มืองพิษณโุ ลก ฝ่ ายกองทัพหลวงของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ยกขนึ้ ไปถึงเมืองพิษณโุ ลก เมื่อ วนั เสาร์ แรม ๒ คา่ เดือน ๙ สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีมีรับสั่งให้ เข้าปล้นเมืองในคา่ วันน้นั กไ็ ด้เมืองพษิ ณุโลก หลวงโกษา (ยงั ) หนไี ปเมืองเมืองสวางคบุรี สมเด็จพระเจา้ กรุงธนบุรีไดเ้ มอื งพษิ ณุโลกแลว้ กองทพั ทีย่ กไปทางบกยงั ข้นึ ไปไม่ถึงท้งั สองทพั ดว้ ยเป็นฤดฝู นหนทางลาบาก พระองคป์ ระทบั ทเี่ มืองพิษณุโลกอยู่ ๙ วนั กองทพั พระยายมราช จึงเดินทางไปถงึ และตอ่ มาอีก ๒ วนั กองทพั พระยาพชิ ยั ราชาจึงยกมาถึง เม่ือกาลงั พร้อมแลว้ สมเดจ็ พระเจ้ากรุงธนบุรีจึงทรงให้กาลงั ทางบก รีบยกตามข้าศกึ ทีแ่ ตกหนไี ปยงั สวางคบุรี พร้อมกันท้งั สองทาง รับกาลงั ทางเรือให้คอยเวลาน้าเหนอื หลากลงมาก่อน ดว้ ยทรงพระราชดาริว่า ใน เวลาน้นั น้าในแม่น้ายังน้อย หนทางต่อไปลาน้าแคบ และตล่ิงสูง ถ้าข้าศึกยกกาลังมาดักทางเรือจะเสียเปรียบข้าศกึ ทรงคาดการณ์ว่าน้าจะหลาก ลงมาในไม่ช้า และก็เป็ นจริงตามน้นั สมเดจ็ พระเจ้ากรุงธนบุรี กเ็ สด็จพระราชดาเนนิ ยกกาลงั ทางเรือขึน้ ไปจากเมืองพิษณุโลก

สมเด็จพระเจา้ กรุงธนบุรีทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ โปรดกระหมอ่ มให้พระยาพิชัยราชา คมุ ทพั ไปทางตะวนั ตก ให้พระยายมราช (กรม พระราชวงั บวรมหาสุรสิงหนาท ในรัชกาลที่ ๑) คมุ ทพั ไปทางตะวนั ออก สองทัพสมทบกนั โจมตีเมืองสวางคบุรี สภาพเมืองสวางคบรุ ี ท่ีมนั่ เจา้ พระฝาง ไมม่ ีกาแพง มแี ต่ระเนียดไมข้ อนสักถมเชงิ เทินดิน เจ้าพระฝางสู้ได้สามวนั กแ็ ตกพ่ายหนี พาลูกช้างพงั เผือกหนไี ปด้วย กองทัพพระเจ้ากรุงธนบุรีตดิ ตามไป ได้ช้างพังเผือก คนื ตัวเจ้าพระฝางหายสาบสูญไป จึงเป็ นอันปราบชุมนมุ เจ้าพระฝาง ชุมนมุ สุดท้ายหลังกรุงศรีอยธุ ยาแตกลงสาเร็จ และเมือ่ ปราบชุมนมุ เจ้าพระฝางได้แล้ว ก็เท่ากับได้เมอื ง เหนือกลบั มาท้งั หมด พระองคไ์ ดป้ ระทบั ณ ค่ายหาดสูง เมืองสวางคบุรี ทรงจดั การปกครองเมืองเหนืออย่ตู ลอดฤดนู า้ เกลยี้ กล่อมราษฎรท่ีแตกฉานซ่าน เซ็น ให้กลับมาอย่ตู ามภูมลิ าเนาเดมิ จดั การสารวจไพร่พลในเมืองเหนือท้งั ปวง พบว่า เมืองพิษณุโลกมพี ลเมือง ๑๕,๐๐๐ คน เมืองสวรรคโลก มี ๗,๐๐๐ คน เมอื งพชิ ยั รวมท้งั เมอื ง สวางคบรุ ี มี ๙,๐๐๐ คน เมืองสุโขทยั มี ๕,๐๐๐ คน เมอื งกาแพงเพชร และเมอื งนครสวรรค์ มีเมืองละ ๓,๐๐๐ คนเศษ และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ชาระคณะสงฆ์หวั เมืองเหนือ แลทรงพระกรุณาให้เยบ็ จวี รสบงให้ได้พนั ไตร ทรงบวชพระสงฆ์ฝ่ าย เหนือ และดารัสให้กรมสังฆการีลงมาอาราธนารับพระราชาคณะกบั พระสงฆ์อนั ดบั ณ กรุงธนบุรี ๕๐ รูป ขนึ้ ไปบวชพระสงฆ์ไว้ ณ หัวเมือง เหนือ ทกุ ๆ เมือง แลเม่ือคราวประทับ ณ เมืองสวางบุรีน้นั ทรงโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาวัดค้งุ สาเภาริมแม่นา้ น่านโบราณ ใต้เมืองสวางคบรุ ี อันเป็ นวัดท่ีมีพระภกิ ษสุ งฆ์ จาพรรษามาต้ังแต่สมัยอยธุ ยา เปลยี่ นนามให้เป็ น \"วดั ค้งุ ตะเภา\" พรอ้ มท้งั ทรงให้สรา้ งศาลาบอกมลู ฯ ข้ึนในคราวเดยี วกนั น้นั เพ่อื ให้เป็นท่พี านักส่ังสอนของพระสงฆ์ผูท้ รงภมู ิธรรมที่ทรงอาราธนานิมนต์มาจากกรุงธนบุรี และ เพอื่ ให้เป็นทรี่ วมราษฎรในภูมลิ าเนาเดมิ ที่แตกฉานซ่านเซ็นไปเม่อื คร้ังเสียกรุงฯ โดยท่ีวดั คุง้ ตะเภาเป็นวดั ในชุมชนที่มีท่ีต้งั อยเู่ หนือสุดทา้ ยพระราชอาณาเขตกรุงธนบรุ ีใน สมยั น้นั โดยโปรดให้พระพิมลธรรมไปอยู่ ณ เมืองสวางคบรุ ี ให้พระธรรมโดคมไปอยู่ ณ เมืองพิชัย ให้พระธรรมเจดยี ์ไปอยู่ ณ เมืองพิษณุโลก ให้พระพรหมมุนไี ปอยู่ ณ เมืองสุโขทัย ให้พระเทพกวี ไปอยู่ ณ เมอื งสวรรคโลก และให้พระโพธิวงษ์ไปอยู่ ณ เมอื งศรีพนมมาศท่งุ ย้งั เพื่อสั่งสอนในข้อพระวนิ ยั สิกขาบท กับให้เก็บรวบรวม พระไตรปิ ฎกลงมาเป็ นฉบบั สร้างใหม่ ณ กรุงธนบรุ ีด้วย คร้นั วนั ศกุ ร์ เดือน ๑๑ แรม ๑๐ คา่ เสดจ็ พระราชดาเนินกระทาการสมโภชพระมหาธาตเุ มืองฝาง ๓ วนั ทรงมพี ระราชศรัทธาเปลือ้ ง พระภูษาทรงสะพกั ออกจากพระองค์ถวายทรงพระมหาธาตุ แล้วให้ปฏิสังขรณ์พระอารามและพระมหาธาตุให้บรบิ รู ณ์ดังเก่า จากน้นั จงึ เสดจ็ พระราชดาเนินไปยงั เมอื งทงุ่ ยง้ั สมโภชพระแท่นศิลาอาสน์ ๓ วนั เสดจ็ ไปสมโภชพระมหาธาตุเมืองสวรรคโลก ๓ วนั คร้งั วนั ศกุ ร์ ข้นั ๓ ค่า เดอื น ๑๒ จงึ เสด็จไปเมอื งพิษณุโลก สมโภชพระมหาธาตุ พระพทุ ธชินราช และพระพทุ ธชินสีห์ ๓ วนั จากน้นั ไดท้ รงต้งั ขา้ ราชการซ่ึงมบี าเหนจ็ ความชอบในการสงครามคร้ังน้นั คอื พระยายมราช ใหเ้ ป็นเจา้ พระยาสุรสีห์พษิ ณวาธิราช อยู่ สาเร็จราชการเมืองพษิ ณุโลก พระยาพชิ ยั ราชา ใหเ้ ป็นเจา้ พระยาพชิ ยั ราชา สาเร็จราชการเมืองสวรรคโลก พระยาสีหราชเดโชชัย ให้เป็ นพระยา พชิ ัย ครองเมืองพิชัย (ต่อมาเป็ นพระยาพชิ ัยดาบหัก) พระยาทา้ ยน้า ให้เป็นพระยาสุโขทยั พระยาสุรบดนิ ทร์ เมอื งชยั นาท ให้เป็นพระยา กาแพงเพชร พระยาอนุรกั ษภ์ ธู ร ให้เป็นพระยานครสวรรค์ เจา้ พระยาจกั รี (แขก) น้นั ออ่ นแอในสงคราม มีรบั สง่ั ให้เอาออกเสียจากตาแหน่งสมุ หนายก พระยาอภยั รณฤทธ์ิ ให้เป็นพระยายมราช และใหบ้ ญั ชาการกระทรวงมหาดไทยแทนสมหุ นายกดว้ ย สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบรุ ีทรงจัดระเบียบ การเมืองการปกครองเมืองเหนือ ตลอดฤดนู า้ ปี ขาล พ.ศ.๒๓๑๓ แล้วจงึ เสดจ็ กรีธาทพั กลบั กรุงธนบรุ ี และโปรดใหร้ บั นางพระยาเศวตกริ ิณีอนั ไดจ้ ากเมืองฝางน้ันลง มาดว้ ย เม่ือถึงกรุงธนบรุ ีแลว้ ให้มงี านสมโภชสามวนั

โดยทรงใช้เวลารวบรวมอาณาเขตปราบชุมนมุ อสิ ระต่าง ๆ อยู่ ๓ ปี คือต้งั แต่ พ.ศ. ๒๓๑๑ – พ.ศ. ๒๓๑๓ จนกอบก้เู อกราช รวมเป็ นพระราชอาณาจกั รเดียว ดังเดิม สมเด็จพระเจา้ ตากสิน มหาราช ทรงกชู้ าติ ตราตราก ยากหนกั หนา ไทยรวมชาติ พลิกฟ้ืน กลบั คนื มา สถาปนา กรุงธนบรุ ี ศรีแผ่นดนิ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ทรงครองราชย์เป็ นเวลา ๑๕ ปี จงึ ทรงสวรรคตเมื่อ วันเสาร์ เดือน ๕ แรม ๙ ค่า จศ. ๑๑๔๔ ปี ขาล ตรง กบั วันท่ี ๖ เมษายน พ.ศ. ๒๓๒๕ สิริพระชนมายไุ ด้ ๔๘ พรรษา พระองค์ทรงเป็ นพระมหากษัตริย์ที่ทรงพระปรีชาสามารถ กอบกปู้ ระเทศชาติ ให้เป็ นเอกราชอสิ รภาพตราบเท่าทกุ วนั นี้ ประชาราษฎร์ผสู้ านึกในพระมหากรุณาธิคณุ ต่างยกยอ่ งถวายพระเกยี รติพระองคท์ ่านวา่ “มหาราช” คณะสงฆ์ ขา้ ราชการ พ่อคา้ ประชาชนชาวบา้ นวดั คุง้ ตะเภา ทุกหมเู่ หล่าไดพ้ ร้อมใจกนั น้อมราลกึ ในพระเกียรติประวตั ิ เกยี รติยศและเกียรตคิ ณุ ให้ปรากฏกบั อนุชนรุ่นหลงั ตราบเทา่ ทุกวนั น้ี พระตรามหาเดช พระสรรเพชร์เสด็จท้งั พลพล ปราบทกุ ข์เมทนยี ดล มากพร้อม ประกาศสถติ ย์ชน กลับต้งั วัดค้งุ ตะเภาน้อม ปลุกให้คงเขษม คาถาบชู าสมเดจ็ พระเจ้าตากสินมหาราช นะโม ตสั สะ ภะคะวะโต อะระหะโต สมั มา สัมพทุ ธธัสสะ (3จบ) โอมสิโน ราชาเทวะ นะมามิหัง ชะยะ ตุภะวงั สพั พะ ศตั รูวินาส สนั ติ(3-9จบ) เกร็ด: ทีม่ าของคาถาบชู าสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช จากพงศาวดารธนบุรี ฉบบั พนั จนั ทนมุ าศ (เจมิ ) \"...กำหนดพิชัยสงครำม แล้วพระรำชทำนเกนหัดถอื ปื น ๔๐ คน ลกู หำบ ๔๐ คน ม้ำต้นม้ำหน่ึง แก่เจ้ำพระยำนครสวรรค์ แล้วพระรำชทำนทหำร กองนอก ถอื ปื น ๑๕๐ ลกู หำบ ๑๕๐ คน ให้หลวงอภัยสรเพลงิ ไปเข้ำกองเจ้ำพระยำนครสวรรค์ แล้วถอดพระธำมรงค์เพช็ ร์องค์หนงึ่ พระรำชทำน เจ้ำพระยำนครสวรรค์ แล้วพระรำชทำนพรว่ำ ชยตุ ภวัง สัพพสัตรู วินำสสันติ ในทันใดนั้นเป็นอัศจรรย์ มหำเมฆยัง ฝอยฝนให้ตกลงมำหน่อย หนึ่ง...\" ____________ . (๒๕๑๒). พระราชพงศาวดารกรุงธนบุรี จดหมายเหตรุ ายวนั ทพั สมยั กรุงธนบรุ ี. พิมพค์ ร้งั ที่ ๑. (กรุงเทพฯ : องค์การคา้ ครุ สุ ภา). หนา้ ๖๗