91 ทาให้เกิดบรรยากาศของการทางานเป็นทีมท่ีเป็นกัลยาณมิตรที่ดีต่อกัน และสิ่งสาคัญท่ีสุดคือ ครูผู้สอนท่ีเป็นกลุ่มผู้ร่วมศึกษาค้นคว้า เกิดความตระหนักและเห็นความสาคัญของการพัฒนาทักษะ กระบวนการคดิ อนั จะส่งผลโดยตรงตอ่ การพัฒนาการเรยี นรใู้ นโอกาสต่อไป ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังปฏิบัติการพัฒนาครดู ้าน ทักษะกระบวนการคิด ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอขุนหาญ ปีการศึกษา 2562/2563 เพื่อเป็นการติดตามผลการพัฒนาครูด้านทักษะกระบวนการคิด ศูนย์ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอขุนหาญ ในปีการศึกษา 2563 พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยรวมมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 โดย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในปีการศึกษา 2562 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 74.82 และปีการศึกษา 2563 มี ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 76.29 เมื่อพิจารณาเป็นรายวิชา พบว่า รายวิชาภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา การใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจาวัน 1 สุขศึกษา ศิลปศึกษา ทักษะการประกอบอาชีพ ภาษาอังกฤษพ้ืนฐาน ช่องทางการเข้าสู่อาชพี มผี ลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนในปกี ารศึกษา 2563 สูงกวา่ ปี การศกึ ษา 2562 การอภิปรายผล การพัฒนาครูด้านทักษะกระบวนการคิด ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยอาเภอขุนหาญ ตามหลักการวจิ ัยเชิงปฏิบัติการ โดยใช้การประชุมเชงิ ปฏิบัตกิ ารและการ นิเทศภายใน ผลจากการศกึ ษาคน้ คว้าทีป่ รากฏน้นั สามรถอภิปรายผลในประเด็นทส่ี าคัญ ดังน้ี 1. การพัฒนาในวงรอบท่ี 1 โดยการประชุมเชิงปฏิบัติการ ซ่ึงเป็นการประชุม ฝึกปฏิบัติการโดยใช้เทคนิคการฝึกอบรมที่เน้นทั้งทางด้านทฤษฎีและปฏิบัติ เป็นการพบปะพูดคุยให้ คาแนะนาปรึกษาหารอื กัน ระหว่างผู้ท่ีมีประสบการณ์ในงานนั้นและผู้สนใจท่ีจะแก้ปัญหาพัฒนางาน ร่วมกัน การประชุมในลกั ษณะน้ีจะมีส่วนเสริมสร้างให้ผู้รับการประชุมฝึกอบรมเอาส่ิงท่ีตนเรียนรู้ไปสู่ การปฏิบัติร่วมกัน ซ่ึงจะมีส่วนเสริมสร้างให้ผู้รับการประชุมได้นาเอาองค์ความรู้ที่ได้มาประยุกต์ใช้ใน การปฏิบัติงานเพ่ือแก้ปัญหา หรือพัฒนางานของตนเองให้เกิดประสิทธิภาพ ผู้ปฏิบัติมีความม่ันใจใน การปฏิบัติงานและมีเจตคติที่ดีต่อองค์กร และการนิเทศภายใน เป็นกิจกรรมที่ผู้นิเทศและผู้รับการ นิเทศได้ร่วมมือร่วมใจกันคิดปฏิบัติ เพ่ือให้เกิดการพัฒนา โดยการปรับปรุงแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ท่ีมีอยู่ ในหน่วยงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ การพัฒนาในวงรอบท่ี 1 เป็นการจัด กิจกรรม เพ่ือให้ผู้ร่วมศึกษาค้นคว้าท้ัง 9 คน มีความรู้ความเข้าใจ สามารถทาการพัฒนาทักษะ กระบวนการคิดทั้ง 5 ขั้นตอน พบว่า การสารวจและวิเคราะห์ปัญหา การกาหนดวิธีการแก้ปัญหา การนาวิธีการและนวัตกรรมไปใช้ และการสรุปผลการเขียนรายงานการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด ทง้ั 9 คน มีความรคู้ วามเขา้ ใจมากข้นึ และเกิดความมั่นใจในการนาความรู้ไปปฏิบัตจิ ริง ส่วนปัญหาท่ี พบคือ การพัฒนาวิธีการแก้ปัญหาหรือนวัตกรรม ผู้ร่วมศึกษาค้นคว้าสามารถสร้างนวัตกรรมได้ แต่ ข้ันตอนการหาคุณภาพยังไม่ม่ันใจ เนื่องจากขาดประสบการณ์ในการพัฒนาทักษะ และการนา นวัตกรรมหรือวิธีการไปใช้ กลุ่มผู้ร่วมศึกษาค้นคว้าสามารถนานวัตกรรมที่สร้างขึ้นไปใช้แก้ปัญหากับ ผู้เรียนได้ แต่การเก็บรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลยังต้องได้รับคาชี้แนะจากผู้เช่ียวชาญ สอดคล้องกับ หัถยา เคราะห์ดี (2561 : 157-164) ได้ศึกษาการพัฒนาทักษะความคิดสร้างสรรค์และ
92 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ด้วยกระบวนการศึกษาช้ันเรียน (Lesson Study) โดยใช้รูปแบบการสอน Synectics รายวิชา ส 23102 สังคมศกึ ษา สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยมีความมุ่งหมาย เพ่ือพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะความคิดสร้างสรรค์ และพัฒนาผลสัมฤทธิ์ ทางการ เรียน ด้วยกระบวนการศึกษาช้ันเรียน (Lesson Study) โดยใช้รูปแบบการสอน Synectics กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ใน การวจิ ัยเปน็ นักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ห้องเรยี นท่ี 1 ท่ีกาลังศึกษาภาคเรยี น ท่ี 2 ปีการศึกษา 2558 โรงเรียนน้าพองศึกษา จานวน 30 คน โดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือท่ีใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) เครื่องมือท่ีใช้ ในการทดลองปฏิบัติการ ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการศึกษาช้ันเรียน (Lesson Study) โดยใช้รูปแบบ การสอน Synectics สาระเศรษฐศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 เร่ือง เศรษฐกิจกับการพัฒนาประเทศจานวน 6 แผน 2) เคร่ืองมือทใี่ ช้ในการสะทอ้ นผลการวิจัย ไดแ้ ก่ แบบบนั ทึกการรว่ มสร้างแผนการจัดการเรยี นรู้ แบบบันทึกผลการจัดการเรียนรู้ แบบบันทึกการสังเกตชั้นเรียน แบบบันทกึ การสะท้อนการสังเกตช้ัน เรียน แบบสัมภาษณ์ผู้เรียน 3) เคร่ืองมือที่ใช้ในการประเมินผลการวิจัย ได้แก่ แบบทดสอบวัด ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน และแบบประเมินทักษะความคิดสร้างสรรค์ ผลการวิจัยพบว่า 1) การใช้ กระบวนการศึกษาชั้นเรียน (Lesson Study) ซึ่งประกอบไปด้วย 3 ข้ันตอน คือ 1. ขั้นวางแผนการ สอนร่วมกัน (Planning) 2. ข้ันนาไปใช้และสังเกตการสอนร่ วมกัน (Implementing and Observing) 3. ขน้ั การอภปิ รายผลสะท้อนผลบทบาทรว่ มกัน (Discussing and Reflecting) เป็นการ พฒั นาการจัดการเรยี นการสอนที่อาศัยความร่วมมือกันระหว่างผู้วิจัย ผู้ช่วยวิจัย และนักเรยี น ในการ พัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ เพื่อให้เกิดการจัดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพในชั้นเรียน อีกทั้งนาไปสู่ การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์และผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียน อีกด้วย 2) ผลการพัฒนา ทักษะความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนด้วยกระบวนการศึกษาช้ันเรียน (Lesson Study) โดยใช้ รูปแบบการสอน Synectics พบว่า นักเรียนผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80.00 และมีคะแนนเฉล่ียร้อยละ 73.33 ซ่ึงสูงกว่าเกณฑ์ที่กาหนดไว้ 3) ผลการพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ด้วยกระบวนการศึกษา ชั้นเรียน (Lesson Study) โดยใช้รูปแบบการสอน Synectics พบว่า มีนักเรียนที่ทดสอบผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 73.33 และมีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 77.11 ซ่งึ สูงกว่าเกณฑ์ทก่ี าหนดไว้ 2. การพัฒนาครูในวงรอบท่ี 2 วางเป้าหมายเพื่อให้บุคลากรท่ีมีความรู้ สามารถ พัฒนาวิธีการแก้ปัญหาหรือกาหนดนวัตกรรม และการนานวัตกรรมหรือวิธกี ารไปใช้ ซึ่งสอดคล้องกับ พัชรี นาคผง (2562 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาการพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนช้ัน มธั ยมศึกษาปีที่ 1 ท่ีจัดการเรียนรโู้ ดยใชป้ ัญหาเป็นฐานรว่ มกบั เทคนิค STAD โดยมีความมุง่ หมายเพ่ือ 1) เปรียบเทียบผลการเรียนรู้เรื่อง พลังงานความร้อน ของนักเรียนช้ัน มัธยมศึกษาปีท่ี 1 ก่อนและ หลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับเทคนิค STAD 2) เปรียบเทียบผลการเรียนรู้ เร่ือง พลังงานความร้อน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 หลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ร่วมกับเทคนิค STAD กับเกณฑ์ร้อยละ 80 3) ศึกษาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีท่ี 1 หลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับเทคนิค STAD 4) เปรียบเทียบ ทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 หลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ร่วมกับเทคนิค STAD เทียบกับเกณฑ์ร้อยละ 70 และ 5) ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนชั้น มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 ที่มตี ่อการจดั การเรียนรู้โดยใช้ ปัญหา เป็นฐานร่วมกับเทคนคิ STAD การวิจัยคร้ังนี้ เป็นวจิ ัยเชงิ ทดลอง (Experimental Research) โดยมีแบบแผนการวจิ ัยแบบกลมุ่ เดียว สอบกอ่ นและ
93 สอบหลัง (One-Group Pretest-Posttest Designs) โดยทดลองกับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนวัดทุ่งคอก (สุวรรณสาธุกิจ) จานวน 28 คน ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 เครื่องมือท่ี ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับเทคนิค STAD 2) แบบทดสอบวัดผลการเรยี นรู้ 3) แบบสอบถามความคิดเห็น การวเิ คราะหข์ อ้ มูลใช้ ค่าร้อยละ คา่ เฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที (t-test) แบบ Dependent และแบบ one sample t-test ผลการศึกษาพบว่า 1) ผลการเรียนรู้เรือ่ ง พลังงานความร้อนของนกั เรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 ทจ่ี ดั การเรียนรู้โดยใชป้ ัญหาเป็นฐานร่วมกับเทคนิค STAD หลังเรียนสูงกว่ากอ่ นเรียนอย่างมีนยั สาคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 2) ผลการเรียนรู้เรื่อง พลังงานความร้อนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 ท่ีจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับเทคนิค STAD หลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 80 3) ทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน รว่ มกับเทคนิค STAD อยู่ในระดับดี 4) ทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หลัง การจดั การเรียนรโู้ ดยใช้ปญั หาเป็นฐานร่วมกับเทคนคิ STAD สงู กว่าเกณฑร์ ้อยละ 70 5) ความคิดเห็น ของนักเรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 1 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานรว่ มกบั เทคนิค STAD โดยภาพรวมอยู่ในระดับเห็นด้วยมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า นักเรียนเห็นด้วยมากในด้าน บรรยากาศการเรียนร้เู ป็นลาดับหน่งึ รองลงมาคอื ด้านการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้และด้านประโยชน์ที่ ไดร้ บั ตามลาดบั 3. ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนก่อนและหลังปฏิบัติการพัฒนาครูด้าน ทักษะกระบวนการคิด ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอขุนหาญ ปีการศึกษา 2562/2563 เพื่อเป็นการติดตามผลการพัฒนาครูด้านทักษะกระบวนการคิด ศูนย์ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอขุนหาญ ในปีการศึกษา 2563 พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยรวมมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 โดย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในปีการศึกษา 2562 มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 74.82 และปีการศึกษา 2563 มี ค่าเฉล่ียเท่ากับ 76.29 เมื่อพิจารณาเป็นรายวิชา พบว่า รายวิชาภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา การใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจาวัน 1 สุขศึกษา ศิลปศึกษา ทักษะการประกอบอาชีพ ภาษาอังกฤษพื้นฐาน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในปีการศึกษา 2563 สูงกว่าปีการศึกษา 2562 นั่นแสดงให้เห็นว่า กระบวนการพัฒนาครูในการพัฒนาครูด้านทักษะกระบวนการคิด ศูนย์การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอขุนหาญ ให้มีความร้คู วามสามารถในการจัดกิจกรรมการ เรียนการสอนตามแนวทางปฏิรูป ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ สามารถพัฒนาครูในสถานศึกษาให้มี ศกั ยภาพที่สงู ขึน้ นอกจากนี้กลุ่มเป้าหมายและผู้ศึกษาค้นคว้ายังได้ทราบถึงสภาพปัญหาท่ีแท้จริง ของการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดของตนเอง และในภาพรวมของสถานศึกษา ได้มีโอกาส ปรึกษาหารือ แสดงความคิดเห็นแลกเปล่ียนเรียนรู้ร่วมกันเพ่ือหาแนวทางแก้ปัญหา และพัฒนา ร่วมกนั ทาให้เกิดบรรยากาศของการทางานเป็นทีมที่เป็นกัลยาณมิตรที่ดีต่อกัน และสิ่งสาคัญท่ีสุดคือ ครูผู้สอนที่เป็นกลุ่มเป้าหมายร่วมกันศึกษาค้นคว้า เกิดความตระหนักและเห็นความสาคัญของการ พฒั นาทักษะกระบวนการคิด อันจะส่งผลโดยตรงต่อการพัฒนากระบวนการเรียนรแู้ ละเกิดประโยชน์ ต่อผูเ้ รียนในโอกาสตอ่ ไป
94 ข้อเสนอแนะ 1. ข้อเสนอแนะในการนาไปใช้ 1.1 กลยุทธ์ที่เหมาะสมท่ีสุดในการพัฒนาเรื่องน้ี คือ การประชุมเชิงปฏิบัติการ เพราะผู้เข้ารับการประชุม จะได้รับความรู้ท้ังจากการบรรยาย และการฝึกปฏิบัติ ไปพรอ้ มกัน จุดเด่น ของการประชุมเชิงปฏิบัติการ เป็นการเพิ่มพูนความรู้ ประสบการณ์เกิดการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ของสมาชิกในการประชุม ส่งเสริมให้ทุกคนได้แสดงออกอย่างเต็มท่ี และส่งเสริมความร่วมมือในการ ทางานของบุคลากรในองค์กรในกรณีที่เป็นการประชุมเพ่ือแก้ปัญหาในการปฏิบัติงานได้ข้อมูลเป็น ปัจจุบันแก้ปัญหาได้รอบคอบยิ่งขึ้น แต่การประชุมเชิงปฏิบัติการจะมีจุดด้อยคือ ผู้ดาเนินการประชุม ต้องมีความรู้และประสบการณ์ สามารถนาการประชุมไปสู่จุดหมายอย่างมีประสิทธิภาพ เนื่องจาก ผู้เข้าร่วมประชุมมีอิสระในการแสดงออกทางความคิด บางครั้งทาให้ยากต่อการหาข้อยุติ รวมทั้ง ผู้เข้าร่วมประชุมต้องมีความรู้ความสามารถและประสบการณ์เกี่ยวกับเน้ือหาตามสมควร ซ่ึงจะมี ความสาคัญต่อผลการประชุมด้วย ส่วนการนิเทศนั้นผู้นิเทศต้องเป็นผู้ที่ทุกคนยอมรับ ว่ามีความรู้ ความสามารถและความเชย่ี วชาญโดยเฉพาะจะทาให้ผ้รู ับการนเิ ทศเกิดความเช่อื ม่ันย่ิงขึ้น 1.2 การพัฒนาทักษะกระบวนการคิด เป็นกระบวนการเชิงระบบ (System Approach) ที่สอดแทรกอยู่ในการปฏิบัติกิจกรรมการเรียนการสอนปกติอยู่แล้ว ครูควรมีการพัฒนา ทักษะกระบวนการคิดอย่างต่อเนื่อง จะทาให้เกิดการสร้างองค์ความรู้ท่ีหลากหลายมากย่ิงข้ึน มีความน่าเช่ือถือ สามารถนาไปแก้ปัญหาในชั้นเรียนได้อย่างมีคุณภาพและพัฒนาตนเองไปสู่ การเป็นครูมอื อาชพี 1.3 การพัฒนาครูด้านการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด มีความจาเป็นอย่างยิ่ง สาหรับครู สถานศึกษา ควรมีการกาหนดนโยบาย และยุทธศาสตร์ในการพัฒนาครูด้านการพัฒนา ทักษะกระบวนการคดิ ให้ชัดเจนและต่อเนื่อง 1.4 สถานศึกษาและหน่วยงานทางการศึกษา ควรมีการพัฒนาเครือข่ายเพื่อ ร่วมมือในการพัฒนาครูด้านการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดอย่างเป็นระบบและมีการจัดกิจกรรม เพอ่ื เผยแพร่ผลงานอยา่ งตอ่ เนื่องสมา่ เสมอ
95 2. ข้อเสนอแนะสาหรบั การทาวิจัยตอ่ ไป 2.1 กลยุทธ์ที่ใช้ในการพัฒนาบุคลลากรมีหลายกลยุทธ์ แต่ละกลยุทธ์มีความ เหมาะสมตามความต้องการท่ีจะพัฒนาในแต่ละด้าน ควรเลือกกลยุทธ์ให้ตรงกับเป้าหมายของ การพัฒนา เช่น การประชมุ เชิงปฏิบัตกิ าร การศึกษาดูงาน การนเิ ทศ 2.2 การวิจัยปฏิบัติการ (Action Research) จะต้องมีการทางานเป็นทีม มีการวางแผนร่วมกันเพ่ือกาหนดกรอบการศึกษาและกลยุทธ์ในการพัฒนา และความต้องการในการ วิจัยเปน็ ทมี ผรู้ ว่ มศกึ ษาคน้ คว้าตอ้ งมคี วามยนิ ดี สมัครใจและสนใจท่ีจะทาการวจิ ยั ไมใ่ ชก่ ารบังคับ 2.3 กลยุทธ์ท่ีใช้ในการพัฒนาบุคลากร คือ การนิเทศ โดยผู้เชี่ยวชาญจะเป็นการ นิเทศกลุ่มเป้าหมายพร้อมกันทุกคน จะทาให้ประหยัดเวลาในการนิเทศและทุกคนได้แลกเปล่ียน เรยี นรูป้ ัญหาและวธิ ีการแก้ปญั หาร่วมกัน รสู้ ภาพปัญหาทแี่ ท้จริง และสามารถแกป้ ัญหาไดถ้ ูกตอ้ ง 2.4 การพัฒนาครูด้านทักษะกระบวนการคิด จะต้องเน้นข้ันตอนท่ี 3 คือ การ พัฒนาวิธกี ารหรือนวัตกรรมในการแก้ปัญหา และขน้ั ตอนท่ี 4 การนานวตั กรรมหรอื วธิ กี ารไปใช้ แล้ว นาข้อมูลมาวิเคราะห์ ให้ผู้ร่วมศึกษาค้นคว้า ได้รับการนิเทศและได้รับคาแนะนาอย่างต่อเน่ืองจนเกิด การเรียนรู้และเกิดทักษะในการปฏิบัติอย่างแท้จริง สองข้ันตอนนี้จึงถือว่าสาคัญท่ีสุดในการพัฒนา ทกั ษะกระบวนการคิด
บรรณานกุ รม
97 บรรณานุกรม กมล ภปู่ ระเสริฐ. การบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา. พมิ พ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : เมธาทิปส์, 2545. กรองทอง จุลริ ัชนีกร, ธนิก คุณเมธีกุล, ขวัญศิริ เจรญิ ทรพั ย์. “การพัฒนาทักษะการใชค้ วามคิด สร้างสรรค์ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ให้กบั นักศกึ ษาครศุ าสตร์ ชั้นปีที่ 3 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ราไพพรรณี จงั หวดั จันทบุรี.” วารสารปารชิ าต. Vol 31 No 3 (2018) : May-October 2018; 1-13 กอบกลุ จงกลน.ี แนวทางพัฒนาการการวจิ ัยเชิงปฏิบัตกิ ารในชน้ั เรยี น. ปริญญานพิ นธ์ การศึกษามหาบัณฑติ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2545. กติ ติยาภรณ์ พลิ าสมบัติ. การพฒั นาบคุ ลากรดา้ นการวจิ ัยในชน้ั เรยี น โรงเรียนบ้านหนองพลวง อาเภอประทาย จงั หวัดนครราชสีมา. ปรญิ ญานพิ นธ์การศึกษามหาบัณฑติ มหาวทิ ยาลัย มหาสารคาม, 2554. กิตติศักดิ์ สมพล. การพัฒนาบุคลากรเก่ียวกับการวิจยั ในชัน้ เรียนโรงเรียนอรพมิ วิทยา ก่งิ อาเภอ เมืองยาง จังหวดั นครราชสีมา. ปริญญานพิ นธ์การศกึ ษามหาบัณฑติ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม, 2551. เกศินี ชวิ ปรีชา. “การพัฒนาขา้ ราชการครูส่เู ส้นทางปฏริ ปู การศึกษา,” วารสารขา้ ราชการครู. 21(2) : 32–35 ; ธันวาคม–มกราคม, 2543–2544. คณะกรรมการการประถมศกึ ษาแหง่ ชาติ, สานักงาน. การบรหิ ารบคุ คลสาหรับบรหิ ารสถานศึกษา โครงการพัฒนาการบรหิ ารบุคคล. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์คุรสุ ภาลาดพรา้ ว, 2541. . แผนงานพฒั นาการศึกษา ฉบับที่ 8 พ.ศ. 2540 – 2544. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์ คุรสุ ภาลาดพร้าว, 2540. คณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน, สานกั งาน. มาตรฐานการเรยี นรู้และตัวชีว้ ดั กลุม่ สาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภมู ศิ าสตร์ ในกลุ่มสาระการเรยี นร้สู งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษา ข้ันพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์ชมุ นมุ สหกรณก์ ารเกษตร แห่งประเทศไทย จากดั , 2560 : คานา. คณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาต,ิ สานักงาน. สรุปสาระสาคัญแผนพฒั นา เศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติฉบับทสี่ บิ สอง พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔. กรุงเทพฯ : สานักงานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ. 2559. คนงึ นจิ กองผาพา. การพฒั นาบคุ ลากรในโรงเรียนอาชีวศกึ ษาเอกชน สังกดั สานักงาน คณะกรรมการการศกึ ษาเอกชน เทศบาลเมอื ง จังหวดั ขอนแก่น. ปรญิ ญานพิ นธ์ การศึกษามหาบัณฑิต มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม, 2543. จันทรา สงวนนาม. เอกสารประกอบการเรียนชดุ ท่ี 2 เร่อื ง การอบรมบคุ ลากรทางการศกึ ษา. มหาสารคาม : มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม, 2545. จีระพา อนุ่ แกว้ . การพัฒนาบคุ ลากรด้านการจัดการเรียนรู้โดยบูรณาการหลกั ปรชั ญา ของเศรษฐกิจ พอเพียง โรงเรยี นบ้านดาน อาเภอขนุ หาญ จงั หวัดศรีสะเกษ. ปรญิ ญานพิ นธ์การศกึ ษามหาบณั ฑติ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม, 2555. ไฉไล กองเกดิ . การพัฒนาบคุ ลากรดา้ นการจัดการเรยี นรู้แบบคละชนั้ โรงเรียนบ้านหนองยาง อาเภอหนองสองหอ้ ง จงั หวดั ขอนแก่น. ปรญิ ญานพิ นธก์ ารศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลยั มหาสารคาม, 2555.
98 ชารี มณศี รี. การนิเทศการศกึ ษา. พมิ พ์ครัง้ ที่ 3. กรุงเทพฯ : บรู พาสาส์น, 2538. ฐรี ะ ประวาลพฤกษ.์ การพฒั นาบคุ คลและการฝกึ อบรม. กรงุ เทพฯ : หนว่ ยศึกษานิเทศก์ สานักงาน สภาสถาบนั ราชภัฏ, 2538. ธรี ะยุทธ พง่ึ เทยี ร. “พุทธศาสนากบั การพฒั นาสังคมและเศรษฐกจิ ,” พุทธจักร. 52(5) (พ.ค.41) หนา้ 46-51. ธีรยุทธ์ หลอ่ เลศิ รตั น์. เอกสารการสอนชุดวิชาการศึกษาบคุ ลากรภาครัฐหน่วยท่ี 8-15. พมิ พ์ครั้งท่ี 11. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธิราช, 2543. นพดล ทองโสภิต. โครงการหมบู่ า้ นอสี านเขียว มหาวิทยาลัยขอนแกน่ ประจาปี 2534. ขอนแกน่ : มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ , 2534. นารีรตั น์ ตง้ั สกุล. ความต้องการในการพัฒนาบุคลากรโดยกระบวนการบรหิ ารตามทัศนะ ของผบู้ ริหารและครูผูป้ ฏบิ ัติการสอน โรงเรียนมธั ยมศึกษาสังกดั กรมสามญั ศึกษา จังหวดั นครพนม. ปรญิ ญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑติ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม, 2542. บญุ ชมุ ศรสี ะอาด. การวจิ ยั เบอ้ื งตน้ . พิมพ์ครง้ั ท่ี 6. กรุงเทพฯ : สวุ ีรยิ าสาส์น, 2543. ปฏิรูปการศกึ ษา, สานกั งาน. พระราชบัญญตั ิการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2542 : พระราชกฤษฎกี า การจัดต้งั สานักงานปฏิรปู การศกึ ษา พ.ศ.2542. กรงุ เทพฯ : สานักงานปฏริ ปู การศึกษา, 2543. ประนอม สรุ สั วด.ี ภาษาองั กฤษกบั เด็กไทยในระดบั ประถมศึกษา. พิมพ์คร้ังที่ 2. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย, 2534. ประวติ เอราวรรณ์. การวิจัยในช้นั เรียน. กรุงเทพฯ : ดอกหญา้ วชิ าการ, 2542. . การวจิ ยั ปฏิบัติการในชั้นเรียน. กรงุ เทพฯ : ดอกหญา้ วชิ าการ, 2545. ปริศนา เสรบ่ าง. ความต้องการพัฒนาครูอาจารย์ของวิทยาลยั อาชวี ศกึ ษา สงั กดั อาชีวศกึ ษา ในภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื . ปริญญานพิ นธก์ ารศึกษามหาบณั ฑิต มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม, 2541. พชรวิทย์ จนั ทร์ศริ สิ ิร. การพัฒนาสมรรถนะทางการบรหิ าร. มหาสารคาม : มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม, 2554. พนสั หนั นาคนิ ทร์. ประสบการณ์ในการบรหิ ารบคุ ลากร. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์แหง่ จฬุ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, 2542. พยอม วงศส์ ารศรี. องคก์ ารและการจัดการ. กรุงเทพฯ : คณะวิทยาการจัดการ วทิ ยาลัยครู สวนดุสิต, 2538. พชั รี นาคผง. การพัฒนาทักษะการคดิ วิเคราะห์ของนักเรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 ทีจ่ ัดการเรยี นรู้ โดยใช้ปัญหาเป็นฐานรว่ มกบั เทคนิค STAD. ศึกษาศาสตรมหาบณั ฑิต มหาวิทยาลัย ศิลปากร, 2562. พิชญะ กนั ธยิ ะ. การพฒั นาทกั ษะการคดิ วิเคราะหโ์ ดยใช้การจัดการเรยี นรแู้ บบบนั ได 5 ขัน้ วิชาวิทยาศาสตร์ ของนกั เรยี นช้นั มัธยมศกึ ษาตอนต้น. ครุศาสตรมหาบณั ฑติ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชียงใหม่, 2559. มหาวิทยาลยั มหาสารคาม. การบรหิ ารทรัพยากรมนุษยแ์ ละทรพั ยากรการศึกษา. มหาสารคาม : อภชิ าตกิ ารพิมพ์, 2540. มหาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมาธริ าช. ประมวลสาระชุดวชิ าการนเิ ทศการสอนในระดบั มธั ยมศกึ ษา 21724 หนว่ ยท่ี 1-3, 4-7, 8-11, 12-15 = Supervision at the elementary education level. นนทบรุ ี : มหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช, 2536. เมธี ปิลันธนานนท์. การบริหารงานบคุ คลในวงการศกึ ษา. พิมพค์ ร้ังที่ 2. กรุงเทพฯ : โอ เอส พริน้ ตง้ิ เฮา้ ส์, 2529.
99 ยาใจ พงษบ์ ริบรู ณ์. “ การวจิ ัยเชงิ ปฏบิ ตั ิการ,” วารสารศึกษาศาสตร์. 17(2) : 11–15 ; มกราคม, 2537. รับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศกึ ษา (องค์กรมหาชน), สานกั งาน. รายงานการประเมนิ คุณภาพภายนอกสถานศกึ ษาระดบั การศึกษาขั้นพนื้ ฐาน โรงเรยี นบ้านคาสมงิ . อุบลราชธานี : โรงเรยี นบา้ นคาสมิง, 2550. ราชกจิ านุเบกษา. พระราชบญั ญัตกิ ารศึกษาแหง่ ชาติ (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๖๒. กรงุ เทพฯ : ราชกจิ านุเบกษา, 2562. วัชระ โพธ์ิสาขา. การพฒั นาบุคลากรเกีย่ วกับการทาวจิ ยั ชนั้ เรียน โรงเรียนบ้านหวั ขวั อาเภอคาเข่ือนแก้ว จังหวดั ยโสธร. ปรญิ ญานพิ นธ์การศกึ ษามหาบัณฑิต มหาวทิ ยาลัย มหาสารคาม, 2548. วนั เพ็ญ นนั ทะศร.ี “การพัฒนาทกั ษะความคิดสรา้ งสรรค์ของนักศกึ ษาดว้ ยการเขยี นแผนท่ี ความคดิ (Mind Map) โดยมคี วามมุ่งหมายเพื่อเปรียบเทียบทักษะความคิดสร้างสรรค์ ของนักศึกษาด้วยการเขียนแผนที่ความคิด (Mind Map).” วารสารบัณฑติ ศึกษา. มกราคม - มีนาคม 2560; 43-50. วาสนา ประวาลพฤกษ.์ ระบบและกลไกการประกันคณุ ภาพอดุ มศึกษาในสหราชอาณาจกั ร. กรงุ เทพฯ : สว่ นวจิ ัยและพฒั นา สานกั มาตรฐานอดุ มศกึ ษา ทบวงมหาวทิ ยาลยั , 2541. วชิ าการ, กรม. การวิจยั เพ่อื พัฒนาการเรยี นรู้ตามหลักสตู รสถานศกึ ษาข้ันพื้นฐาน. กรงุ เทพ : โรงพิมพ์ครุ สุ ภาลาดพรา้ ว, 2545. . นักวางแผนวิจัยปฏิบตั กิ าร. กรงุ เทพ : โรงพมิ พ์ครุ สุ ภาลาดพร้าว, 2538. . เอกสารประกอบหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2544. กรุงเทพฯ : กรมวิชาการ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, 2544. วจิ ิตร อาวะกลุ . การฝกึ อบรม. พมิ พค์ ร้ังท่ี 2. กรงุ เทพฯ : ศูนย์หนังสอื จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั , 2542. ศริ ิกาญจน์ โกสมุ . การวจิ ัยในชัน้ เรียน. กรงุ เทพฯ : สานักงานปฏริ ูปการศึกษา (สปศ.), 2545. สนอง เครอื มาก. ค่มู ือสอบและปฏบิ ตั ริ าชการ. ม.ป.ท. : ม.ป.พ., 2538. สมเกียรติ ศรจี กั รวาล. การวางแผนและการจดั ประชุมทางวชิ าการ. พมิ พ์ครงั้ ที่ 3. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2542. สมคดิ บางโม. เทคนคิ การฝกึ อบรมและการประชมุ . พมิ พค์ ร้ังท่ี 3. กรุงเทพฯ : อกั ษรไทย, 2544. สมนึก ภทั ทยิ ธนี. การวัดผลการศกึ ษา. พิมพ์คร้ังท่ี 3. กาฬสินธุ์ : ประสานการพมิ พ,์ 2544. สมบัติ บญุ ประคม. “ครกู ับการวจิ ัยในชั้นเรียน การวิจัยเชิงปฏิบัตกิ าร (Action Research) ทางเลือกใหม่ท่ีสนใจ,” ประชาศึกษา. 52(3) : 3-9 ; กุมภาพนั ธ–์ มนี าคม, 2545. สราวธุ จนั ปุ่ม. การพัฒนาครูด้านการวิจัยในชนั้ เรยี นโรงเรียนบา้ นนาอดุ ม อาเภอนคิ มคาสร้อย จังหวดั มกุ ดาหาร. ปริญญานพิ นธก์ ารศกึ ษามหาบัณฑิต มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม, 2547. สหชาติ ไชยรา. การพัฒนาบุคลากรของศนู ย์อบรมเด็กกอ่ นเกณฑใ์ นวัด อาเภอหนองบวั ลาภู จังหวัดหนองบวั ลาภู. ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑติ มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม, 2544. สพุ พตั สกลุ ดี. การพฒั นาความคดิ สรา้ งสรรค์ของนกั เรียนระดบั อนุบาล 1 โดยผ่านการเล่านทิ าน. ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลยั ธุรกิจบณั ฑติ ย์, 2560. สรุ สหี ์ ไชยกนั ยา. “การพฒั นาทกั ษะความคิดสรา้ งสรรคว์ ิชาวทิ ยาศาสตร์ เรื่อง ปฏิสมั พันธ์ในระบบ
100 สุริยะ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 ด้วยรูปแบบการจดั การเรยี นรูแ้ บบความคิดสร้างสรรค์ เป็นฐาน.” วารสารมหาวทิ ยาลัยราชภฏั รอ้ ยเอด็ . Vol 12 (2018) : Special Issue : July; 157-164 สุวมิ ล วอ่ งวานชิ . การวจิ ัยปฏิบตั กิ ารในชั้นเรยี น. กรงุ เทพฯ : ศูนยห์ นังสือจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, 2544. สริ ยิ าภรณ์ คงพินิจ. การพฒั นาบุคลากรด้านการวจิ ยั ในชน้ั เรียน โรงเรียนบ้านปลัด อาเภอ พลับพลาชัย จังหวัดบรุ รี มั ย์. ปริญญานพิ นธ์การศกึ ษามหาบัณฑติ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม, 2549. สิรลิ กั ษณ์ ทองสะอาด. การพฒั นาบคุ ลากรดา้ นการวดั และประเมนิ ผลโดยใช้โปรแกรม ระบบสารสนเทศงานทะเบยี นวัดผล (Bookmark 2551 Version 1 Beta 1) โรงเรียน บ้านผือพิทยาสรรค์ อาเภอบา้ นผอื จังหวดั อุดรธานี. ปรญิ ญานพิ นธก์ ารศึกษา มหาบัณฑติ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2555. หนว่ ยศึกษานิเทศก,์ กรมสามญั ศกึ ษา. ปัญหาการนิเทศการศึกษาโดยระบบเครือขา่ ยการนิเทศ ของศึกษานเิ ทศกแ์ ละ ครูผรู้ ว่ มนิเทศ หน่วยศกึ ษานเิ ทศก์ กรมสามัญศกึ ษา เขตการศกึ ษา 9. กรุงเทพฯ : หนว่ ยศึกษานเิ ทศก์ กรมสามัญศึกษา, 2542. หถั ยา เคราะหด์ ี. “การพฒั นาทักษะความคิดสร้างสรรค์และผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน ด้วยกระบวน การศึกษาช้นั เรยี น (Lesson Study) โดยใช้รูปแบบการสอน Synectics รายวิชา ส 23102 สังคมศึกษา สาหรับนกั เรยี นชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 3.” วารสารศกึ ษาศาสตร์ ฉบับวิจยั บัณฑิตศึกษา มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น. Vol 11 No 4 (2017) : October- December; 243-253. อนนั ต์ ศรอี าไพ. การบรหิ ารทรพั ยากรบุคคลทางการศึกษา. มหาสารคาม : คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม, 2550. อรัญญา สุธาสโิ นบล. “การวิจัยเชิงปฏบิ ัติการ (Action Research),” วิชาการ. 4(6) : 66-69 ; มิ.ย, 2544. อุทมุ พร จามรมาน. การวจิ ัยของคร.ู กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั , 2537. เอกวิทย์ แกว้ ประดิษฐ์. เทคโนโลยกี ารศึกษา : หลักการและแนวคิดสกู่ ารปฏิบัติ. สงขลา : ภาควชิ า เทคโนโลยีและส่ือสารการศึกษา มหาวทิ ยาลัยทักษณิ , 2545. Cherrie, L. Kassem. Implementation 0f School –wide Approach to Critical Thinking Instruction. New York : Ramapo College and Company, 2000. Kwang San, Steven Tan, Michael Chia Yong Hwa and Quek Jin Jong. Infusing Thinking Skill and Processes into Secondary Physical Education, In Teacher’s Handbook on Teachnin Thinking Skills Across Disciplines. P. 176, 2000 McCoy. Tomas Michael. “Developing Local Improvement Plans in High schools Using action Research.” Dissertation Abstracts International. DATE : 2002. Mingucci. Monica Macolin. “Action research as ESL Teacher Professional Development.” Dissertation Abstracts International. DATE : 2001. Patchen, Terri Renee. “Beyond opposition :An ethnographic Study of adolescent Latina/ethno graphic study of classroom participation: A case study.” Masters Abstracts international. DATE : 2002. Stephen Kemmis and Robin McTaggart. The Action Research Render. Victoria : Deakin University Press, 1988.
101 Swartz, Robert, J. “Towards Developing and Implementing A Thinking Curriculum,” Keynote Address Presented at the First Annual Thinking Qualities Initiative Conference Hong Kong. June, 23, 2000. Watamura, Kathleen patricia. “Child - centered Learning versus Direct Instruction in Mathematics in the Elementary Classroom,” Dissertation Abstracts International. DATE:2000. Windie, Linda Marie. “Skill Performance Assessment and need for Further Professional Development of Student Affairs Mid-managers,” Dissertation Abstracts International. 59(4) : 1039-A ; October, 2003.
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก เครื่องมอื ทใ่ี ช้ในการศึกษาค้นควา้
104 แบบสงั เกตพฤติกรรมของผูร้ ่วมศึกษาค้นคว้า คาชแ้ี จง แบบสังเกตฉบบั น้ี ใช้สาหรับสังเกตพฤติกรรมของผูร้ ่วมศึกษาค้นคว้าในการพัฒนาครดู ้าน ทกั ษะกระบวนการคิด ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอขนุ หาญ ระหว่าง ประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ าร ผู้สงั เกต............................................................................................................................................... ผถู้ กู สังเกต............................................................................................................................. ............. วนั ที่..............เดอื น.............................................................พ.ศ......................................................... รายการพฤติกรรมทีส่ ังเกต ผลการสังเกต/ข้อเสนอแนะ 1. ความสนใจและตง้ั ใจทจ่ี ะรบั การพัฒนา .............................................................................. 2. การมสี ว่ นรว่ มและแสดงความคิดเห็นใน .............................................................................. กลมุ่ .............................................................................. 3. ใหค้ วามรว่ มมือในการปฏบิ ตั ิกิจกรรมกลุ่ม .............................................................................. .............................................................................. 4. การแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ในกลุ่ม .............................................................................. .............................................................................. 5. การให้คาแนะนาเกี่ยวกับความร้คู วามเข้าใจ .............................................................................. เรอ่ื งการพฒั นาทกั ษะกระบวนการคิดกบั .............................................................................. คนอนื่ .............................................................................. .............................................................................. 6. การซกั ถามปัญหา ขอ้ สงสัยในระหว่างการ .............................................................................. ฝกึ ปฏิบตั กิ ิจกรรม ข้อเสนอแนะเพม่ิ เติม ............................................................................................................................................................ .... ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... ............................................................... ................................................................................... .............. (ลงช่อื )....................................................ผู้สงั เกต/บันทกึ (.................................................)
105 แบบสังเกตพฤตกิ รรมผู้ร่วมศกึ ษาค้นคว้า คาชี้แจง แบบสงั เกตฉบับน้ี ใชส้ าหรับผ้ศู ึกษาค้นควา้ สงั เกตพฤติกรรมของผูร้ ว่ มศกึ ษาคน้ ควา้ ใน ระหว่างการพฒั นาทักษะกระบวนการคิด ผสู้ งั เกต.............................................................................................................................................. ผู้ถูกสังเกต............................................................................................................................. ............ วันที่.........................เดือน.................................................................พ.ศ.......................................... ลาดับท่ี พฤติกรรมทีส่ งั เกต ผลการสังเกต/ข้อเสนอแนะ 1. มีความตงั้ ใจในการทางานและพฒั นาตนเอง 2. มีความรับผิดชอบในงานทีม่ อบหมาย 3. มีความคดิ รเิ ริม่ สรา้ งสรรค์ในการพฒั นาทกั ษะ กระบวนการคดิ 4. จัดหาสอื่ อุปกรณ์ เคร่ืองมือท่ีใช้ในการพฒั นาทกั ษะ กระบวนการคดิ 5. มกี ารวิเคราะห์ วิจัย เพื่อพฒั นาการเรียนการสอน 6. จดั กจิ กรรมได้หลากหลาย เอ้ือตอ่ การพฒั นาการเรียน การสอน 7. มีการศึกษาหาความรู้ดว้ ยตนเอง การอา่ นหนังสอื สืบคน้ จากแหล่งเรยี นรู้ 8. เห็นความสาคัญของการพฒั นาทักษะกระบวนการคดิ 9. มกี ารสารวจและวิเคราะหป์ ญั หาก่อนการดาเนนิ การ พัฒนาทักษะกระบวนการคิด 10. มกี ารกาหนดปัญหาและเป้าหมายในการพัฒนาทชี่ ัดเจน มกี ารวางแผนในการพฒั นาทักษะกระบวนการคิด 11. มเี คา้ โครงการพัฒนาทกั ษะกระบวนการคิด 12. มกี ารพฒั นาทักษะกระบวนการคดิ 13. มกี ารปรึกษาหารือสนทนากบั กลุ่มผูร้ ่วมศึกษา 14. เขยี นรายงานการพัฒนาทักษะกระบวนการคดิ ขอ้ เสนอแนะเพ่ิมเติม ............................................................................................................ .................................................... ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................................................. ... ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... (ลงช่ือ)..............................................ผสู้ ังเกต (.........................................)
106 แบบสมั ภาษณผ์ รู้ ว่ มศกึ ษาคน้ ควา้ เรื่อง การพัฒนาครูด้านทักษะกระบวนการคิด ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อาเภอขุนหาญ คาช้ีแจง แบบสัมภาษณ์ฉบับน้ี ใช้สาหรับสัมภาษณ์ผู้ร่วมศึกษาค้นคว้าโดยผู้ศึกษาค้นคว้าเป็นผู้ สัมภาษณ์ เพ่ือศึกษาเก่ียวกับความรู้ความเข้าใจ และความสามารถในการเขียนเค้าโครงการพัฒนา ทกั ษะกระบวนการคิด แบง่ ออกเป็น 2 ตอน คอื ตอนที่ 1 ข้อมูลเบ้ืองต้นเก่ยี วกบั การสัมภาษณ์ ตอนที่ 2 รายการสัมภาษณ์ ตอนที่ 1 ข้อมลู เบื้องต้นเก่ียวกับการสมั ภาษณ์ 1. สมั ภาษณ์คร้งั ท.่ี .............วนั ท่ี.............เดือน.....................................พ.ศ............ 2. สถานท่ีสมั ภาษณ์................................................................................................ 3. ผ้สู มั ภาษณ.์ ......................................................................................................... 4. ผู้ใหส้ มั ภาษณ.์ .................................................................................................... ตอนที่ 2 รายการสมั ภาษณ์ 1. ทา่ นมีการวิเคราะหป์ ญั หาการเรียนการสอนอย่างไร ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... 2. ทา่ นไดด้ าเนินการวเิ คราะห์ปญั หาการจดั การเรยี นรใู้ นชั้นเรียนแลว้ ทา่ นดาเนินการอย่างไรต่อไป ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................ ................................................................. ... 3. ท่านใชเ้ หตผุ ลอะไรบ้าง ในการเลอื กปญั หาการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด ........................................................................................................................ ........................................ ............................................................................................................................. ................................... ......................................................................................................................................................... ....... 4. การกาหนดปญั หาการพฒั นาทกั ษะกระบวนการคิดของครู ควรมาจากอะไร ........................................................................................ ........................................................................ ............................................................................................................................. ................................... .................................................................................................................................................... ............ 5. กระบวนการและขั้นตอนในการเขียนเค้าโครงการพฒั นาทกั ษะกระบวนการคิด ประกอบดว้ ย ขัน้ ตอนอะไรบา้ ง และแตล่ ะขั้นตอนดาเนนิ การอย่างไร ............................................................................................................................. ................................... ......................................................................................... ................................................................ ....... ............................................................................................................................. ...................................
107 6. ท่านพบอุปสรรคหรือปัญหาในการเขียนเค้าโครงการพัฒนาทักษะกระบวนการคดิ อย่างไร ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... 7. ท่านสามารถนาเค้าโครงการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดไปใชป้ ระโยชน์ในการจดั การเรยี นรู้ อย่างไร ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ 8. ท่านสามารถนานวัตกรรมไปใช้ประโยชนใ์ นการจัดการเรียนรูไ้ ด้อย่างไร ....................................................................................................... ......................................................... ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ 9. การเขยี นรายงานการพัฒนาทกั ษะกระบวนการคิด ควรมอี งคป์ ระกอบอะไรบ้าง ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... 10. จากการประชุมเชิงปฏิบัตกิ ารท่านได้แนวคดิ และหลกั การในการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด อย่างไร ................................................................................................................................. ............................... ................................................................................................... ............................................................. ............................................................................................................................. ................................... 11. ทา่ นคดิ ว่าในการเขียนเค้าโครงการพัฒนาทกั ษะกระบวนการคิด ขั้นตอนใดที่เปน็ ปัญหาสาหรบั ทา่ นมากทส่ี ุด เพราะเหตใุ ด ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................................. ................... ............................................................................................................... ................................................. 12. การดาเนินการพฒั นาทักษะกระบวนการคดิ มขี ้นั ตอนและวธิ ีการดาเนนิ อยา่ งไรบ้าง ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ 13. ทา่ นไดน้ าความรู้ ความเขา้ ใจ ที่ได้จากการประชุมเชงิ ปฏิบตั ิการในเร่อื งการพัฒนาทักษะ กระบวนการคิดไปใชป้ ระโยชน์การดาเนินการพฒั นาทักษะกระบวนการคดิ อย่างไร .................................................................................................................................. .............................. .................................................................................................... ............................................................ ............................................................................................................................. ...................................
108 แบบสมั ภาษณ์ผู้รว่ มศกึ ษาค้นคว้า เร่ือง การพัฒนาครูด้านทักษะกระบวนการคิด ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศยั อาเภอขนุ หาญ คาชแ้ี จง แบบสัมภาษณฉ์ บบั นใ้ี ช้สาหรบั การสัมภาษณ์ผ้รู ว่ มศึกษาค้นควา้ โดยใชก้ ระบวนการนิเทศ ภายในเพื่อนาข้อมูลไปใช้ประโยชนใ์ นการพฒั นาการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการพัฒนาทักษะ กระบวนการคดิ และวางแผนในการพฒั นา แบ่งออกเปน็ 2 ตอน คือ ตอนท่ี 1 ข้อมลู เบอื้ งตน้ เก่ยี วกบั การสมั ภาษณ์ ตอนท่ี 2 รายการสัมภาษณ์ ตอนท่ี 1 ข้อมูลเบ้ืองตน้ เกี่ยวกับการสมั ภาษณ์ ตอนที่ 1 ข้อมูลเบื้องตน้ เกีย่ วกบั การสมั ภาษณ์ 1. สมั ภาษณค์ รั้งท.่ี .............วนั ท่ี.............เดือน.....................................พ.ศ............ 2. สถานที่สมั ภาษณ์................................................................................................ 3. ผู้สมั ภาษณ.์ ......................................................................................................... 4. ผใู้ หส้ ัมภาษณ.์ .................................................................................................... ตอนท่ี 2 รายการสัมภาษณ์ 1. การสารวจและวิเคราะหป์ ัญหา 1.1 ท่านดาเนนิ การอยา่ งไร ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... 1.2 ผลการดาเนนิ งาน ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................. ............................................................................... ............................................................................................................................. ................................... .............................................................................................................................................. .................. 1.3 ปญั หาและอุปสรรค ...................................................................................... .......................................................................... ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................... .............
109 2. การกาหนดประเดน็ ปัญหาหรือพฒั นา 2.1 ท่านดาเนินการอย่างไร ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... 2.2 ผลการดาเนินงาน ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ 2.3 ปญั หาและอุปสรรค ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... 3. การพัฒนาวธิ กี ารหรือนวัตกรรมในการแกป้ ัญหา 3.1 ทา่ นดาเนินการอยา่ งไร ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. .................................. 3.2 ผลการดาเนนิ งาน ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. .................................. ............................................................................................................................. .................................. 3.3 ปัญหาและอุปสรรค ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................. ...................................................................................... .......................................................................
110 4. การนาวิธกี ารหรือนวัตกรรมไปแก้ปญั หา 4.1 ทา่ นดาเนินการอย่างไร ........................................................................................................ ........................................................ ............................................................................................................................. ................................... ....................................................................................................................................................... ........ 4.2 ผลการดาเนินงาน ............................................................................................................... ................................................. ............................................................................................................................. ................................... ...................................................................................................................................................... .......... ............................................................................................................................. .................................. 4.3 ปญั หาและอุปสรรค ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... 5. การสรปุ และรายงานผล 5.1 ท่านดาเนินการอย่างไร ...................................................................................................................................................... .......... ......................................................................................................................... ....................................... ............................................................................................................................. ................................... 5.2 ผลการดาเนินงาน ............................................................................................................................................................ .... ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... .............................................................. ............................................................................................. .... 5.3 ปัญหาและอปุ สรรค ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... ..................................................................... .................................................................................. ........ ............................................................................................................................. ...................................
111 แบบประเมนิ ผลงานการเขยี นรายงานการพัฒนาทกั ษะกระบวนการคิดของผู้รว่ มศึกษาค้นควา้ ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอขุนหาญ ......................................................................................................................... .................................... คาช้แี จง ผศู้ กึ ษาคน้ คว้าหรือผ้เู ชี่ยวชาญประเมินผลงานจากรายงานการพฒั นาทักษะกระบวนการคดิ ของกลุม่ ผู้รว่ มศึกษาคน้ คว้าตามหัวข้อที่กาหนดแลว้ ลงคะแนนในช่อง คะแนน โดยแบง่ ระดบั คะแนน 5 ระดบั คือ 5 หมายถงึ ระดับคณุ ภาพดีมาก 4 หมายถึง ระดบั คณุ ภาพดี 3 หมายถงึ ระดับคณุ ภาพปานกลาง 2 หมายถงึ ระดบั คุณภาพพอใช้ 1 หมายถึง ระดับคุณภาพต้องปรับปรงุ เกณฑ์การประเมนิ ระดับคุณภาพเฉล่ยี 4.51 - 5.00 หมายถงึ ระดับคุณภาพดีมาก 3.51 - 4.50 หมายถงึ ระดับคณุ ภาพดี 2.51 - 3.50 หมายถงึ ระดับคุณภาพปานกลาง 1.51 - 2.50 หมายถงึ ระดับคณุ ภาพพอใช้ 1.00 - 1.50 หมายถึง ระดับคุณภาพต้องปรบั ปรุง ตอนที่ 1 ข้อมลู ท่ัวไป ผู้รว่ มศกึ ษาค้นควา้ คนที่....................................................................................................................... เรือ่ งที่พัฒนาทักษะกระบวนการคิด .................................................................................................. วันท่ี..............................เดือน....................................................................พ.ศ....................................
112 ตอนท่ี 2 ข้อมูลจากการประเมิน ระดบั คุณภาพ ระดับ การประเมนิ 5 4 3 2 1 รวม คุณภาพ 1. การกาหนดปัญหา/ประเดน็ พฒั นา เฉลี่ย 1.1 หวั ขอ้ การพัฒนาทักษะกระบวนการคิดมี ความชัดเจน กะทัดรัด 1.2 หัวขอ้ การพัฒนาทักษะกระบวนการคดิ ครอบคลุมปัญหาและเนื้อหาสาระหรือประเดน็ ของปัญหา 1.3 ช้ปี ัญหาได้ชัดเจน 1.4 วิเคราะห์ปัญหาได้สอดคล้องตามหลักการ 1.5 แสดงใหเ้ ห็นถงึ ความสาคญั หรอื ความจาเป็น ของการพฒั นาทกั ษะกระบวนการคดิ ได้เหมาะสม 2. ขั้นการกาหนดวิธีการแก้ปญั หาหรือพฒั นา 2.1 วตั ถปุ ระสงค์ของการพัฒนาทักษะ กระบวนการคดิ มีความชัดเจนสอดคล้องกบั ปัญหา การพัฒนาทกั ษะกระบวนการคดิ 2.2 วตั ถปุ ระสงคข์ องการพฒั นาทักษะ กระบวนการคดิ ครอบคลมุ ปัญหาและตอบคาถาม การพัฒนาทักษะกระบวนการคดิ 2.3 เลือกหรอื กาหนดวิธกี ารแกป้ ญั หาหรือพฒั นา ไดอ้ ย่างเหมาะสม 3. วิธีการดาเนนิ การพัฒนาทกั ษะกระบวนการ คดิ และเก็บขอ้ มลู 3.1 ออกแบบและวางแผนการพฒั นาทกั ษะ กระบวนการคดิ ได้ชดั เจนสอดคลอ้ งกับ วตั ถปุ ระสงค์การวิจยั 3.2 เคร่อื งมือมีคณุ ภาพ น่าเชอื่ ถอื เหมาะสมกบั กลมุ่ ตัวอยา่ งลักษณะของข้อมูล 3.3 เลอื กกลุ่มตัวอยา่ งได้ถูกตอ้ ง เหมาะสมและ เป็นตวั แทนทดี่ ี 3.4 วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลมีข้นั ตอนถกู ต้อง และเหมาะสม
113 ระดับคุณภาพ ระดับ การประเมนิ 5 4 3 2 1 รวม คุณภาพ เฉล่ีย 4. การวิจัยขอ้ มลู / แปลผล 4.1 ชัดเจน สอดคลอ้ งกับปัญหาการพัฒนาทกั ษะ กระบวนการคดิ 4.2 การวิเคราะหข์ ้อมูลถูกต้องตรงประเด็น 5. การสรปุ และรายงานผล 5.1 เสนอการพฒั นาทกั ษะกระบวนการคิดได้ ครอบคลุม 5.2 สรุปผลการพฒั นาทกั ษะกระบวนการคิดได้ ถกู ต้อง ชัดเจนและสอดคลอ้ งกับวัตถปุ ระสงค์ 5.3 อภิปรายผลไดส้ มเหตุสมผลแสดง ความสมั พันธ์ระหวา่ งขอ้ คน้ พบกับทฤษฎีและ ผลงานการพัฒนาทักษะกระบวนการคดิ ท่ี เกยี่ วขอ้ งได้ชดั เจน รวมคะแนน สรปุ .................................................................................................. .............................................................. ............................................................................................................................. ................................... ...................................................................................................................................................... ......... ( ลงชอ่ื )................................................ผู้ประเมนิ (.............................................) ตาแหน่ง..................................................
114 แบบทดสอบก่อนและหลงั การประชมุ เชิงปฏิบัติการ เรอ่ื งการพฒั นาครดู า้ นทกั ษะกระบวนการคดิ ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอขุนหาญ 1. จุดหมายทชี่ ัดเจนท่สี ุดของการพฒั นาทักษะกระบวนการคิดคอื อะไร ก. เพอ่ื สารวจปัญหาในช้นั เรียน ข. เพ่ือทดลองนวัตกรรมในชั้นเรียน ค. เพื่อพฒั นานวัตกรรมใช้ในการสอนใหม้ ากที่สุด ง. เพื่อพัฒนานวัตกรรมทจ่ี ะแกป้ ัญหาการเรียนการสอนในช้นั เรียน 2. การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกบั การพฒั นาทักษะกระบวนการคิดมปี ระโยชน์อยา่ งไร ก. ชว่ ยกาหนดกรอบความคดิ และสมมุติฐาน ข. ชว่ ยกาหนดปญั หาการพฒั นาทกั ษะกระบวนการคดิ ค. ช่วยกาหนดแบบแผนการพัฒนาทักษะกระบวนการคดิ และการดาเนินการพัฒนาทักษะ กระบวนการคิด ง. หลีกเลยี่ งการทาวิจยั ซา้ ซ้อนกับผอู้ น่ื 3. นวตั กรรมทางการศกึ ษาหมายถึงอะไร ก. สงิ่ ประดษิ ฐ์แปลกใหม่ทล่ี งทุนด้วยราคาสูง ข. เทคนคิ วธิ กี ารแก้ปัญหาทางการศกึ ษาท่ัวไปท่ีใชไ้ ดผ้ ลดเี สมอมา ค. รปู แบบและกระบวนการสอนท่นี ามาใช้แกป้ ญั หาเฉพาะเรือ่ ง ง. สงิ่ ประดษิ ฐแ์ ละรปู แบบวิธีสอนท่ีนามาใชจ้ ัดการเรียนการสอนได้อยา่ งสะดวกและประหยดั 4. ตัวบ่งชค้ี วามสาเรจ็ วา่ นวตั กรรมแก้ปัญหาไดค้ ือข้อใด ก. ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนเทา่ น้ัน ข. ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนหรือเจตคติ ค. ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน หรือเจตคติ หรือนิสยั ในการเรียนอย่างใดอยา่ งหนงึ่ ง. คณุ ลกั ษณะใดก็ไดส้ ะท้อนวา่ นวตั กรรมที่นามาทดลองนัน้ ใชไ้ ด้ผล 5. การเลือกใช้สถิตเิ พ่อื วิเคราะห์ข้อมูล ตอ้ งพจิ ารณาส่ิงใด ก. วตั ถุประสงค์ของการพัฒนาทักษะกระบวนการคดิ ข. ลกั ษณะของข้อมลู ที่รวบรวมได้ ค. ขอ้ ตกลงเบือ้ งตน้ ของสถติ ิน้นั ๆ ง. วตั ถปุ ระสงค์ของการวิจยั ลักษณะข้อมูลท่รี วบรวมไดแ้ ละข้อตกลงของสถติ เิ บ้ืองตน้ นั้น 6. ข้อความใดทีส่ อดคล้องกบั กระบวนการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดน้อยท่ีสุด ก. เปน็ การทางานท่ีเปน็ ระบบ เพื่อแก้ปัญหาและพฒั นาการเรียนการสอน ข. เป็นการแกป้ ัญหาและพฒั นาการผู้เรยี นพรอ้ มกบั การเรยี นการสอนปกติ ค. เปน็ การใหผ้ ูเ้ รียนได้เรียนรูโ้ ดยกระบวนการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด ง. เปน็ การศึกษาเพอ่ื กาหนดทฤษฎีทางการศกึ ษา
115 7. ข้ันตอนการพฒั นาทกั ษะกระบวนการคิดตามข้อใดควรดาเนินการก่อน ก. การเก็บรวบรวมข้อมูล ข. การวิเคราะหป์ ัญหา ค. วางแผนแกป้ ัญหา ง. จดั กิจกรรมแก้ปัญหา / พัฒนา 8. ขอ้ ความใดทก่ี ลา่ วสอดคล้องกับการพฒั นาทกั ษะกระบวนการคดิ มากที่สุด ก. การพัฒนาทกั ษะกระบวนการคิดต้องทานอกเวลาเรยี นเท่านนั้ ข. ผู้สอนต้องใช้กระบวนการพัฒนาทกั ษะกระบวนการคดิ ไปพัฒนาผ้เู รียนทุกคน ค. ผเู้ รียนทุกคนต้องได้รับการพัฒนาเตม็ ศักยภาพ ง. การพัฒนาทกั ษะกระบวนการคิดต้องพฒั นา / แก้ปญั หาผเู้ รียนตามศักยภาพและสภาพ ปญั หา 9. กิจกรรมใดในกระบวนการพัฒนาทกั ษะกระบวนการคิด์ทส่ี อดคล้องกับการประเมินผลมากทสี่ ดุ ก. การวิเคราะหป์ ัญหา ข. การวางแผนแกป้ ัญหา ค. การจัดกิจกรรมแก้ปญั หา ง. การสรุปผลการวิจัย 10. กระบวนการพฒั นาทักษะกระบวนการคิดขอ้ ใดถ้าดาเนนิ การผดิ พลาด จะมผี ลใหก้ ารวจิ ัยขาด ความน่าเชอ่ื ถือแม้กระบวนการอืน่ จะดหี มด ก. การวางแผน ข. การศกึ ษาข้อมูลที่เก่ียวข้อง ค. การเก็บรวบรวมข้อมูล ง. การวิเคราะห์ข้อมูล 11. ข้อความใดท่ีกล่าวถูกต้องที่สุด ? ก. การพัฒนาทักษะกระบวนการคิดอาศัยประสบการณต์ รงของผ้ศู ึกษา ข. การพัฒนาทกั ษะกระบวนการคดิ ทุกประเภทจาเป็นต้องใชส้ ถติ ิช้นั สงู ค. ผ้บู รหิ ารสถานศึกษาตอ้ งทาการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดทางการศึกษาเทา่ น้ัน ง. การพฒั นาทกั ษะกระบวนการคดิ ต้องดาเนนิ การเฉพาะครผู ู้สอนเพยี งคนเดยี ว 12. สภาพปญั หาใดเหมาะสมที่จะเปน็ ปัญหาการพฒั นาทักษะกระบวนการคดิ น้อยท่สี ุด ก. ด.ช.เก่ง และ ด.ช.ไก่ อ่านจับใจความไม่ได้ ข. คณุ ภาพการศึกษาของโรงเรียนตา่ กวา่ เป้าหมาย ค. น้อยซึมเศรา้ ไม่ค่อยพดู คุยกบั เพือ่ นในชนั้ เรยี น ง. นักเรยี นชั้น ป. 2 ทกุ คนอ่านออกเสยี งควบกลา้ ไม่ชัดเจน 13. ขอ้ ใดมีความจาเป็นน้อยท่ีสุดในการพัฒนาทักษะกระบวนการคดิ ก. วัตถุประสงค์การพัฒนาทกั ษะกระบวนการคิด ข. ประโยชนท์ ีค่ าดวา่ จะไดร้ บั ค. เคร่อื งมอื ในการเก็บรวบรวมข้อมลู ง. สมมตุ ิฐานการพฒั นาทักษะกระบวนการคิด
116 14. เครื่องมือเก็บข้อมูลไมเ่ หมาะสมในการเก็บข้อมลู คุณลักษณะของนักเรียน ก. ขอ้ ทดสอบเลอื กตอบ ข. แบบสังเกตพฤติกรรม ค. แบบสอบถาม ง. แบบประเมนิ พฤตกิ รรม 15. กระบวนการใดเป็นขนั้ ตอนสุดทา้ ยของการพฒั นาทักษะกระบวนการคดิ ก. ปรับนวัตกรรม ข. เก็บรวบรวมข้อมูล ค. สรปุ ผล / อภิปรายผล ง. วิเคราะห์ข้อมลู 16. ขอ้ ใดไม่ใชล่ กั ษณะของการพฒั นาทักษะกระบวนการคิด ก. ครูผู้สอนเปน็ ผูศ้ ึกษา ข. เปน็ การแกป้ ัญหา / พฒั นาการเรียนการสอน ค. วิจัยไปพร้อม ๆ กับการปฏิบัติการสอนปกติ ง. เปน็ การศึกษาจากกลุม่ ตวั อยา่ ง 17. การเขยี นชอ่ื เรื่องการพัฒนาทักษะกระบวนการคดิ ส่วนใหญ่ไม่กล่าวถึงเร่ืองใด ก. กลุม่ ประชากร / กลุ่มตวั อยา่ ง ข. ระยะเวลาการพฒั นาทักษะกระบวนการคดิ ค. วิธกี ารพฒั นาทกั ษะกระบวนการคดิ ง. สภาพปัญหา 18. การทาเคา้ โครงการพฒั นาทักษะกระบวนการคดิ เปรียบเสมือนกระบวนการใด ก. การออกแบบเส้ือผ้า ข. การตดั เยบ็ เสื้อผา้ ค. การตกแต่งเสอ้ื ผ้า ง. การทดลองสวมเสื้อผ้า 19. การกาหนดปญั หาการพัฒนาทกั ษะกระบวนการคดิ ควรได้มาจากแหล่งใด ก. นักวชิ าการ ข. เอกสารวจิ ยั ท่ัวไป ค. งานการพัฒนาทักษะกระบวนการคดิ ดีเดน่ ง. การจดั การเรยี นการสอน 20. ประเดน็ สาคญั ที่จะบอกได้ว่าการแก้ปัญหาและการพัฒนาการเรียนการสอนเปน็ การพฒั นา ทกั ษะกระบวนการคิด คือข้อใด ก. การเขยี นรายงานครบ 5 บท ข. การใช้สถติ ิสอดคลอ้ งกับข้อมูล ค. กระบวนการดาเนินการเป็นระบบ ง. มกี ารศึกษาเอกสารและทฤษฎที ่เี ก่ยี วข้อง .............................................................
ภาคผนวก ข ค่าอานาจจาแนกและคา่ ความเชอื่ ม่นั ของแบบสอบถาม
118 แสดงค่าอานาจจาแนกรายข้อของแบบสอบถามและค่าความเช่ือม่ันของแบบสอบถาม ขอ้ ที่ r 1.1 .75 1.2 .72 1.3 .74 1.4 .72 1.5 .72 2.1 .49 2.2 .45 2.3 .80 3.1 .80 3.2 .45 3.3 .45 3.4 .49 4.1 .72 4.2 .80 5.1 .77 5.2 .72 5.3 .72 ค่าความเช่อื มน่ั ของแบบสอบถาม (ค่าสมั ประสทิ ธิ์แอลฟา) ถามเทา่ กับ .87
ภาคผนวก ค หนังสือราชการท่ีเก่ยี วขอ้ ง
120
121
122
123
124
125
126
ภาคผนวก ง รายชอื่ ผู้เชี่ยวชาญ
128 รายชอื่ ผู้เชี่ยวชาญ 1. นายวรนิ ทร์ วิรุณพันธ์ ผอู้ านวยการเช่ยี วชาญ สานกั งานส่งเสรมิ การศึกษา 2. นายสมัย นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจงั หวดั อดุ รธานี 3. นายสจุ นิ แสงใส ผอู้ านวยการเช่ียวชาญ ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและ 4. รศ.ดร.อดุ มพนั ธ์ การศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอเพญ็ สานักงานส่งเสริม 5. ดร.วรนนั ท์ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัด อุดรธานี หล้าคา ผู้อานวยการเช่ยี วชาญ โรงเรยี นไพรบึงวิทยาคม องค์การบรหิ ารส่วนจงั หวดั ศรสี ะเกษ พชิ ญป์ ระเสรฐิ อดีตคณบดีคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั ศรสี ะเกษ ขันแขง็ ผู้อานวยการชานาญการพเิ ศษ โรงเรียนมัธยมดสุ ติ าราม การศกึ ษาดษุ ฎีบัณฑิต การวจิ ยั ทางการศึกษา
ภาคผนวก จ บทคดั ย่องานวจิ ัยผรู้ ่วมศกึ ษาค้นควา้
130 ชื่อเรื่อง การพฒั นาความสามารถในการอ่านภาษาไทยของนักศกึ ษา ผู้ร่วมศกึ ษาคน้ คว้า ระดับประถมศึกษา โดยใช้แบบฝกึ นายภาณุวัฒน์ มณี บทคัดยอ่ การวิจัยคือการค้นหาความรู้อย่างมีระบบ และแบบแผน เพื่อให้เกิดความก้าวหน้าทาง วิชาการ และเกิดประโยชน์โดยตรงต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในช้ันเรียน การวิจัยในคร้ังนี้มี จุดมุ่งหมายให้นักศึกษาระดับประถมศึกษา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อาเภอขุนหาญ อ่านภาษาไทยได้คล่องขึ้นและผ่านเกณฑ์การอ่านท่ีครูตั้งไว้ เครื่องมือท่ีใช้เป็นแบบ บันทึกการอา่ นภาษาไทยแล้วนาผลมาวิเคราะหเ์ ปรยี บเทียบ ก่อนและหลังการฝกึ อา่ น ผลการศึกษาค้นคว้าพบว่า ก่อนการฝึกนักศึกษาท้ัง 7 คน ไม่สนใจการอ่านภาษาไทย ขาดความกระตือรือร้น และอ่านภาษาไทยไม่คล่อง ครูจึงได้นาชุดแบบฝึกการอ่านภาษาไทยจานวน 10 ชุด ให้นักศึกษาท้ัง 7 คน ได้ฝึกอ่านทุกวันในช่วงเวลาพักเที่ยงวัน ภายหลังการฝึกครูได้นาผล การบันทึกการอา่ นภาษาไทย มาเปรยี บเทียบ หลงั การฝกึ ปรากฏวา่ นักศึกษาท้ัง 7 คน อ่านภาษาไทย ได้คล่องข้ึน มีความสนใจมีความกระตือรือร้นในการเรียนภาษาไทยย่ิงขึ้นผ่านเกณฑ์การอ่านทุกคน ส่งผลใหผ้ ลสัมฤทธ์ิ รายวิชาภาษาไทย ระดบั ประถมศึกษาสงู ขึน้
131 ชอ่ื เรอ่ื ง การพฒั นาทักษะการอ่านและการเขยี นตามมาตราตัวสะกดของนักศึกษา ผ้รู ่วมศกึ ษาคน้ คว้า ระดบั ประถมศึกษา โดยใชช้ ดุ ฝึกทกั ษะการอา่ นและการเขยี นตามมาตรา ตัวสะกด นายฉลองภพ ศิริม่วง บทคดั ย่อ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในชั้นเรียน ทมี่ ีนักศึกษา จานวน 10 คน ในจานวนท้ังหมด 38 คน ยงั ขาดทักษะในการอ่านภาษาไทย จะทาให้การเรยี นการสอนดาเนินไปดว้ ยยากลาบาก การแก้ปัญหา โดยการวิจัยจะทาให้นักศึกษาทุกคนมีความพร้อมท่ีจะเรียนรู้วิชาต่าง ๆ ได้ นักศึกษา 10 คน ใน จานวน 38 คน ระดับประถมศึกษา ยังขาดทักษะในการอ่านและเขียนภาษาไทยจุดประสงค์ในการ วิจัย เพ่ือให้นักศึกษาจานวน 10 คน ระดับประถมศึกษา มีทักษะในการอ่านและการเขียนตัวสะกด ตามมาตราแม่ กก แม่กบ และแม่กน ได้ ครูผู้สอนต้องใช้แบบประเมินเพื่อเปรียบเทียบผลการอ่าน และการเขียนตัวสะกดก่อนและหลังการฝึก จะทาให้นักศึกษาทั้ง 10 คน สามารถอ่านตัวสะกดตามที่ มีปัญหาได้ การวิจัยพบว่า ก่อนการฝึกนักศึกษากลุ่มเป้าหมายอ่านและเขียนตัวสะกดใน แม่กก แม่กบ และแม่กน ไม่ได้ ครูผู้สอนจึงให้นักศึกษากลุ่มเป้าหมายฝึกอ่านและเขียนตัวสะกดในภาษาไทยท้ัง 3 มาตราตามเวลาที่กาหนด ผลปรากฏว่านักศึกษากลุ่มเป้าหมายมีความสนใจสามารถอ่านและเขียน ตามชุดฝึกท่ีครูมอบหมายได้ ทาให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาภาษาไทย ระดับประถมศึกษา สงู ข้นึ
132 ชอื่ เรอื่ งวิจัย การพัฒนาทักษะการแกโ้ จทย์ปัญหา การคูณและการหารของนักศกึ ษา ผู้รว่ มศึกษาคน้ คว้า ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น นางสาววภิ าภรณ์ ปักปน่ิ บทคัดยอ่ จากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เร่ืองการแก้โจทย์ปัญหา เร่ือง การคูณ การหารของ นักศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จานวน 10 คน แก้โจทย์ปัญหากลุม่ สาระคณิตศาสตรไ์ มไ่ ด้ ทาให้ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ต่ากว่าเป้าหมายของ สถานศึกษา การวิจัยคร้ังน้ีมีจุดมุ่งหมายเพ่ือให้นักศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จานวน 10 คน สามารถแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ได้ โดยการใช้แบบประเมินผลก่อนและหลังเรียน แล้ว วิเคราะห์เปรียบเทียบความแตกต่าง จากการศึกษาค้นคว้า พบว่า ก่อนการวิจัย นักศึกษาระดับ มัธยมศึกษาตอนต้น จานวน 10 คน ไม่สามารถแก้โจทย์ปัญหาวิชาคณิตศาสตร์ได้ ทาให้ผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ต่ากว่าเกณฑ์ของสถานศึกษา เม่ือ ครผู ้สู อนนาแบบฝึกทักษะในการแก้ปญั หา โดยใช้ตารางวเิ คราะห์บนั ไดขั้นท่ี 1 ให้แกโ้ จทยป์ ัญหา การ คณู และการหาร ภายหลังการฝึก พบวา่ นักศึกษาระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น มีทักษะสามารถแก้โจทย์ ปัญหาการคูณและการหารได้ ทาให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาคณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษา ตอนต้น สงู ขึ้น
133 ช่อื เรือ่ ง การพัฒนาการอ่านและการเขียนของนักศึกษาระดบั ประถมศกึ ษา ผรู้ ่วมศึกษาคน้ ควา้ โดยใช้แบบฝกึ ทกั ษะการอ่านและการเขยี นคาควบกล้า นางแก้วมณี บวั เขียว บทคดั ย่อ ในสงั คมปัจจุบันมีการพัฒนาและการเปลยี่ นแปลงทุก ๆ ดา้ นอย่างรวดเรว็ โดยเฉพาะภาษาท่ี ใช้ในการส่ือสาร ทาให้ทุกประเทศในโลกต้องปรับปรุงภาษาและการสื่อสารของตนเองให้เข้ากับการ เปล่ียนแปลงตลอดเวลา เพ่ือให้ภาษาและการส่ือสารกับกลุ่มประเทศอื่นๆ ได้สะดวกและรวดเร็วข้ึน การพัฒนาการเปล่ียนแปลงดังกลา่ วจะเป็นประโยชน์ต่อประเทศชาติมากน้อยเพียงใด หากประชาชน ยังไม่มีความรู้ ความเข้าใจในการพัฒนา และปรับตัวไม่ทันต่อการเปลี่ยนแปลง ก็จะไม่เกิดประโยชน์ ต่อการพัฒนามากนัก รัฐบาลจึงตระหนักถึงความเปล่ียนแปลงที่จะพัฒนาประชากรให้มีความรู้ ความสามารถเท่าทันการเปลี่ยนแปลงได้ รฐั บาลจงึ มนี โยบายเปลี่ยนแปลงหลกั สูตร กศน. พทุ ธศักราช 2551 ทาให้รายวิชาภาษาไทยต้องปรับวิธีเรียนเปล่ียนวิธีสอนไปด้วย ศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอขุนหาญ นักศึกษาระดับประถมศึกษา จานวน 24 คน ขาดทักษะในการ อ่านและการเขียนคาควบกล้า ทาให้ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนรายวิชาภาษาไทยต่ากว่าเป้าหมายของ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอขุนหาญ ครูผู้สอนจึงได้ใช้แบบทดสอบ วัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนรายวิชาภาษาไทย เร่ือง การอ่านและการเขียนคาควบกล้าระดับ ประถมศึกษา ชนิด 4 ตัวเลือกจานวน 30 ข้อ เพื่อทดสอบผลสัมฤทธ์ิก่อนและหลังการฝึกตาม ระยะเวลาที่กาหนด ผลการศกึ ษาค้นคว้า พบว่า ก่อนการฝึกนกั ศึกษาท้ัง 24 คน มที ักษะในการอ่านและการเขยี น คาควบกล้าต่ากว่าเกณฑ์ที่กาหนด หลังจากท่ีครูผู้สอนใช้แบบฝึกทักษะการอ่านและการเขียนคาควบ กล้าระดับประถมศึกษา จานวน 10 ชดุ ภายในเวลา 10 ช่ัวโมง ผลปรากฏว่า ทักษะการอ่านและการ เขียนคาควบกลา้ มีนกั ศกึ ษาผา่ นเกณฑ์จานวน 19 คน สว่ นอกี 5 คน ยังไมผ่ ่านเกณฑ์ที่กาหนดจะต้อง มีการฝึกทักษะการอ่านและการเขียนคาควบกล้าต่อไป การศึกษาค้นคว้าในคร้ังนี้ส่งผลให้ครูผู้สอน สามารถสอนรายวิชาภาษาไทยไดส้ ะดวกขึ้นและผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นสูงข้นึ
134 ชื่อเรือ่ งวิจยั การพัฒนาการอ่านคาควบกล้าโดยชดุ ฝึกทกั ษะระดับมัธยมศกึ ษา ผ้รู ่วมศึกษาค้นคว้า ตอนปลาย นางสทิ ติ ย์ วันเพง็ บทคัดย่อ การอ่านและการเขยี นวชิ าภาษาไทย ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย มักมปี ัญหาโดยเฉพาะการ เขียนและการอ่านคาควบกล้า จะออกเสียงไม่ชัดเจน ครูผู้สอนจึงนากระบวนการวิจัยในช้ันเรียนมา แก้ปัญหาเพ่ือให้นักศึกษาสามารถอ่านและเขียนคาควบกล้าได้ถูกต้อง นักศึกษากลุ่มเป้าหมายคือชั้น ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย จานวน 14 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบทดสอบก่อนและหลังการฝึก แล้ว นาผลการทดสอบมาเปรียบเทียบก่อนและหลังการฝึกครูผู้สอนจะได้นาผลการวิจัยไปประยุกต์ใช้ใน การจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนรายวิชาภาษาไทยต่อไป ผลการวิจัยพบว่า ก่อนการฝึกนักศึกษาท้ัง 14 คน มีทักษะในการอ่านและการเขียนคาควบ กล้าต่ากว่าเกณฑ์ที่ต้ังไว้ ครูผู้สอนจึงนาเอาชุดฝึกการอ่านและการเขียนคาควบกล้ากลุ่มสาระ ภาษาไทยให้นักศึกษาฝึกอ่านและฝึกเขียนอย่างต่อเน่ือง โดยใช้เวลา 10 ช่ัวโมง ผลปรากฏว่า นักศึกษาผ่านเกณฑ์ที่ครตู ั้งไว้ 11 คน ส่วนอีก 3 คน ยังไม่ผ่านเกณฑ์ ซ่ึงครูผู้สอนต้องทาการฝกึ ต่อไป จากการพัฒนาดังกล่าว ทาให้นกั ศึกษาทุกคน สนกุ สนานกบั การเรียนรู้ภาษาไทยทาให้มีความพร้อมที่ จะเรยี นกลุ่มสาระภาษาไทยมากขนึ้
135 ชือ่ เรอ่ื งวจิ ยั การพัฒนาทักษะกระบวนการคดิ โดยใชแ้ บบฝกึ เสรมิ ทักษะ รายวิชา ผู้ร่วมศึกษาค้นควา้ สังคมศึกษา ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ นางสาวสาวิตรี แกว้ กันหา บทคดั ย่อ การจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนรายวิชาสังคมศกึ ษา ในปจั จุบนั พบว่า นักศึกษาไมช่ อบเรียนรายวิชา สังคมศึกษา เกิดความเบื่อหน่าย ครูสอนไม่น่าสนใจ ทาให้นักศึกษาสอบไม่ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ ซ่ึงเป็นปัญหาท่ตี อ้ งไดร้ ับการแกไ้ ขอย่างตอ่ เน่ืองและจริงจงั ครูผสู้ อนจึงนากระบวนการวิจัยในชนั้ เรียน มาแกป้ ัญหาเพอ่ื ให้นกั ศึกษาสามารถเรียนรายวิชาสังคมศกึ ษา ได้อยา่ งถูกตอ้ ง นักศึกษากลุ่มเป้าหมาย คอื ชั้นระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จานวน 18 คน เครื่องมือท่ีใช้เป็นแบบฝึกเสริมทักษะ แล้วนาผลการ ทดสอบมาเปรียบเทียบก่อนและหลังการฝึกครูผู้สอนจะได้นาผลการวิจัยไปประยุกต์ใช้ในการจัด กิจกรรมการเรยี นการสอนรายวิชาสงั คมศกึ ษาต่อไป ผลการวิจัยพบว่า ก่อนการฝึกนักศึกษาทั้ง 18 คน มีทักษะการเรียนรู้รายวิชาสังคม ศึกษา ต่ากว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ ครูผู้สอนจึงนาเอาแบบฝึกเสริมทักษะ ให้นักศึกษาฝึกทักษะอย่างต่อเน่ือง โดยใช้เวลา 10 ช่ัวโมง ผลปรากฏว่า นักศึกษาผ่านเกณฑ์ที่ครูต้ังไว้ 16 คน ส่วนอีก 2 คน ยังไม่ผ่าน เกณฑ์ ซ่ึงครูผู้สอนต้องทาการฝึกต่อไปจากการพัฒนาดังกล่าว ทาให้นักศึกษาทุกคน สนุกสนานกับ การเรยี นรู้รายวิชาสังคมศกึ ษาทาให้มคี วามพร้อมท่ีจะเรยี นรายวิชาสังคมศึกษามากขึ้น
136 ช่ือเรื่องวจิ ยั การจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ โดยใชท้ ักษะกระบวนการคิด ผูร้ ่วมศกึ ษาค้นคว้า ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย นายชัยวัฒน์ วนั เพง็ บทคัดย่อ การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์อย่างมีคุณภาพ คือ การสอนให้ผู้เรียนได้รับความรู้ และมี ทักษะในการค้นคว้าหาความรู้และแก้ปัญหาต่าง ๆ ด้วยตนเองโดยใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ปลูกฝัง อบรมให้เกิดคา่ นิยม และเจตคติเชงิ วทิ ยาศาสตรท์ ี่เหมาะสมต่อการเปล่ียนแปลงตา่ ง ๆ ได้ ครูผู้สอนจึง นากระบวนการวิจัยในชั้นเรียนมาแก้ปัญหาเพ่ือให้นักศึกษาสามารถมีทักษะในการค้นคว้าหาความรู้ และแก้ปัญหาต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง นักศึกษากลุ่มเป้าหมายคือชั้นระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จานวน 15 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบทดสอบก่อนและหลังการฝึก แล้วนาผลการทดสอบมา เปรียบเทียบก่อนและหลังการฝึกครูผู้สอนจะได้นาผลการวิจัยไปประยุกต์ ใช้ในการจัดกิจกรรมการ เรยี นการสอนรายวิชาวทิ ยาศาสตร์ตอ่ ไป ผลการวิจัยพบว่า ก่อนการฝึกนักศึกษาทั้ง 15 คน มีทักษะในการค้นคว้าหาความรู้และ แก้ปัญหาต่าง ๆ ด้วยตนเองโดยใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ต่ากว่าเกณฑ์ท่ีตั้งไว้ ครูผู้สอนจึงนาเอา ชุดฝึกทักษะ ให้นักศึกษาฝึกทักษะอย่างต่อเนื่อง โดยใช้เวลา 10 ชั่วโมง ผลปรากฏว่า นักศึกษาผ่าน เกณฑ์ท่ีครูตั้งไว้ 12 คน ส่วนอีก 3 คน ยังไม่ผ่านเกณฑ์ ซ่ึงครูผู้สอนต้องทาการฝึกต่อไปจากการ พัฒนาดังกล่าว ทาให้นักศึกษาทุกคน สนุกสนานกับการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ทาให้มีความพร้อมที่จะ เรยี นรายวิชาวทิ ยาศาสตร์มากขน้ึ
137 ช่อื เรือ่ งวิจัย การพฒั นาทกั ษะกระบวนการคิดในการอ่านภาษาอังกฤษ โดยใชแ้ บบฝึก ผูร้ ว่ มศึกษาคน้ คว้า ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย นางนุชจรี พุ่มจนั ทร์ บทคดั ย่อ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนรายวิชาภาษาอังกฤษ ในปัจจุบัน พบว่า นักศึกษาไม่ชอบ เรียนรายวิชาภาษาอังกฤษ เกิดความเบ่ือหน่าย ครูสอนไม่น่าสนใจ ทาให้นักศึกษาสอบไม่ผ่าน จุดประสงค์การเรียนรู้ ซ่ึงเป็นปัญหาที่ต้องได้รับการแก้ไขอย่างต่อเน่ืองและจริงจัง ครูผู้สอนจึงนา กระบวนการวิจัยในชั้นเรียนมาแก้ปัญหาเพ่ือให้นักศึกษาสามารถอ่านภาษาอังกฤษได้อย่างถูกต้อง นักศึกษากลุ่มเป้าหมายคือชั้นระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จานวน 11 คน เครื่องมือท่ีใช้เป็น แบบทดสอบก่อนและหลังการฝึก แลว้ นาผลการทดสอบมาเปรียบเทียบก่อนและหลงั การฝกึ ครูผู้สอน จะไดน้ าผลการวิจัยไปประยกุ ตใ์ ช้ในการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนรายวชิ าภาษาอังกฤษต่อไป ผลการวิจัยพบว่า ก่อนการฝึกนักศึกษาท้ัง 11 คน มีทักษะในการอ่านภาษาอังกฤษต่ากว่า เกณฑ์ที่ตง้ั ไว้ ครูผ้สู อนจึงนาเอาชุดฝึกการอ่านภาษาองั กฤษ ให้นักศกึ ษาฝึกการอ่านอยา่ งต่อเน่ือง โดย ใช้เวลา 10 ช่ัวโมง ผลปรากฏว่า นักศึกษาผ่านเกณฑ์ท่ีครูต้ังไว้ 7 คน ส่วนอีก 4 คน ยังไม่ผ่านเกณฑ์ ซ่งึ ครผู ูส้ อนตอ้ งทาการฝึกต่อไปจากการพัฒนาดังกล่าว ทาให้นักศกึ ษาทุกคน สนกุ สนานกบั การเรียนรู้ ภาษาอังกฤษทาให้มคี วามพรอ้ มทจ่ี ะเรยี นรายวชิ าภาษาอังกฤษมากข้นึ
ชื่อเรอ่ื งวิจยั 138 ผรู้ ว่ มศึกษาค้นควา้ การพฒั นาทกั ษะกระบวนการคิด ในการเขียนภาษาองั กฤษ โดยใช้แบบฝึก ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ นางสาวสนุ ันทา ทองศูนย์ บทคัดย่อ ทักษะท่ีสาคัญในการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ คือ การเขียน ซ่ึงการเขียนเป็นทักษะท่ียาก และซับซ้อนมากกว่าทักษะอื่น ๆ ครูผู้สอนจึงนากระบวนการวิจัยในช้ันเรียนมาแก้ปัญหาเพ่ือให้ นักศึกษาสามารถเขียนภาษาอังกฤษได้อย่างถูกต้อง นักศึกษากลุ่มเป้าหมายคือช้ันระดับมัธยมศึกษา ตอนต้น จานวน 10 คน เครอ่ื งมือที่ใช้เป็นแบบทดสอบก่อนและหลังการฝึก แล้วนาผลการทดสอบมา เปรียบเทียบก่อนและหลังการฝึกครูผู้สอนจะได้นาผลการวิจัยไปประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรมการ เรียนการสอนรายวชิ าภาษาอังกฤษต่อไป ผลการวิจัยพบว่า ก่อนการฝึกนักศึกษาท้ัง 10 คน มีทักษะในการเขียนภาษาอังกฤษต่ากว่า เกณฑ์ที่ตั้งไว้ ครูผู้สอนจึงนาเอาชุดฝึกการเขียนภาษาอังกฤษ ให้นักศึกษาฝึกเขียนอย่างต่อเน่ือง โดย ใช้เวลา 10 ช่ัวโมง ผลปรากฏว่า นักศึกษาผ่านเกณฑ์ท่ีครูต้ังไว้ 8 คน ส่วนอีก 2 คน ยังไม่ผ่านเกณฑ์ ซ่ึงครูผสู้ อนตอ้ งทาการฝึกต่อไปจากการพัฒนาดังกลา่ ว ทาให้นักศกึ ษาทกุ คน สนกุ สนานกับการเรยี นรู้ ภาษาอังกฤษทาให้มคี วามพรอ้ มที่จะเรยี นรายวชิ าภาษาอังกฤษมากขึน้
ประวัตยิ อ่ ผู้ศกึ ษาค้นควา้
140 ประวตั ยิ อ่ ผศู้ กึ ษาค้นคว้า ช่อื นางวาสนา ชารวี ัน วัน เดือน ปเี กิด 3 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2516 สถานท่เี กดิ อาเภอเมือง จงั หวดั ศรสี ะเกษ สถานที่อยู่ปจั จบุ นั บ้านเลขที่ 99/3 ถนน หลักเมือง ตาบลเมืองเหนือ อาเภอเมือง จังหวดั ศรีสะเกษ 33000 ตาแหน่งหนา้ ท่ีการงาน ผูอ้ านวยการชานาญการพิเศษ ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอขนุ หาญ จังหวดั ศรีสะเกษ สถานทท่ี างานปจั จุบนั ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอขนุ หาญ จังหวดั ศรีสะเกษ ประวัตกิ ารศึกษา ประถมศึกษาปที ่ี 6 โรงเรียนวดั พระโต อาเภอเมือง จงั หวดั ศรสี ะเกษ พ.ศ.2528 มัธยมศกึ ษาตอนปลาย โรงเรียนศรีสะเกษวทิ ยาลัย อาเภอเมอื ง พ.ศ.2535 จังหวัดศรีสะเกษ อนุปริญญาวทิ ยาศาสตร์ (อว.ท) จังหวัดอบุ ลราชธานี พ.ศ.2538 ปรญิ ญาคุรุศาสตร์บัณฑติ (ค.บ.) เอกการประถมศึกษา พ.ศ.2540 สถาบนั ราชภัฏบรุ รี มั ย์ จังหวดั บุรีรมั ย์ ปริญญาตรีการศกึ ษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) สาขาการบรหิ าร พ.ศ.2549 การศกึ ษา มหาวิทยาลยั มหาสารคราม จงั หวดั มหาสารคราม
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150