Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การพัฒนาบุคลากรด้านทักษะกระบวนการคิด

การพัฒนาบุคลากรด้านทักษะกระบวนการคิด

Published by ยาย่า กศน., 2021-03-31 07:51:28

Description: ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอขุนหาญ

Search

Read the Text Version

ภาคีเครอื ข่าย ประเภท 43 วัดบา้ นสาโรงเกา่ ศาสนา วัฒนธรรม ศาลาประชาคมบา้ นสาโรงใหม่ ศาสนา วัฒนธรรม ท่ีอยู่ ไทยเจริญ บา้ นสาโรงเกา่ ม.9 ต.บักดอง อ.ขุนหาญ โรงเรียนบ้านสาโรงเกยี รติ หนว่ ยงานราชการ บา้ นสาโรงใหมไ่ ทยเจริญ ม.21 ต.บกั ดอง อ.ขุนหาญ จ.ศรีสะเกษ โรงเรยี นขนุ หาญวทิ ยาสรรค์ หนว่ ยงานราชการ บา้ นสาโรงเกียรติ ม.8 ต.บักดอง เทศบาลตาบลสิ หน่วยงานราชการ อ.ขุนหาญ จ.ศรสี ะเกษ บา้ นพรานใต้ตะวนั ตก เศรษฐกิจพอเพยี ง ม.6 ต.สิ อ.ขุนหาญ จ.ศรีสะเกษ บ้านโนนศรที อง เศรษฐกจิ พอเพียง ม.7 ต.สิ อ.ขนุ หาญ จ.ศรีสะเกษ บา้ นทับทมิ สยาม 07 เศรษฐกจิ พอเพียง ม.15 ต.พราน อ.ขุนหาญ จ.ศรสี ะเกษ ม.11 ต.สิ อ.ขนุ หาญ จ.ศรีสะเกษ ม.15 ต.บักดอง อ.ขนุ หาญ จ.ศรีสะเกษ สถานศกึ ษาในสงั กดั จานวน 12 แหง่ กศน.ตาบล จานวน 1 แหง่ ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” จานวน 1 แห่ง ศนู ยก์ ารเรยี นชมุ ชน กศน.ตาบล/ศนู ย์การเรียนชุมชน ชอ่ื กศน.ตาบล ท่ีต้ัง ผรู้ บั ผดิ ชอบ กศน.ตาบลสิ บา้ นศาลา หมทู่ ่ี 14 ต.สิ อ.ขุนหาญ จ.ศรีสะเกษ นางสาวเบ็ญจพร ศรโี วหะ กศน.ตาบลบกั ดอง อบต.บกั ดอง หมทู่ ่ี 6 ต.บกั ดอง อ.ขนุ หาญ จ.ศรสี ะเกษ นางสิทติ ย์ วนั เพง็ กศน.ตาบลภฝู ้าย บา้ นหนองจิก หมู่ที่ 2 ต.ภูฝา้ ย อ.ขนุ หาญ จ.ศรสี ะเกษ นายพิภู อศั วชยั โภคนิ กศน.ตาบลพราน อบต.พราน หมู่ท่ี 2 ต.พราน อ.ขนุ หาญ จ.ศรีสะเกษ นายชยั วฒั น์ วนั เพ็ง กศน.ตาบลโพธ์วิ งศ์ อบต.โพธิว์ งศ์ หมู่ที่ 2 อ.ขนุ หาญ จ.ศรสี ะเกษ นางสาวสาวติ รี แกว้ กันหา กศน.ตาบล เทศบาลตาบลโพธิ์กระสงั ข์ อ.ขุนหาญ จ.ศรีสะเกษ นางสาววิภาภรณ์ ปักปิน่ โพธ์ิกระสังข์ กศน.ตาบลกระหวนั ศนู ยพ์ ัฒนาเดก็ เล็กบา้ นโพธนิ์ อ้ ย(หลงั เกา่ ) หมทู่ ่ี 2 นางสาววิชุดา ทิศลี ต.กระหวัน อ.ขนุ หาญ จ.ศรีสะเกษ กศน.ตาบล บ้านหว้ ยจันทร์ หม่ทู ี่ 4 ต.ห้วยจนั ทร์ อ.ขุนหาญ นางสาวสนุ นั ทา ทองศนู ย์ หว้ ยจันทร์ กศน.ตาบลขนุ หาญ สถานอี นามยั บา้ นคอ้ ปอ(หลงั เก่า) ม.5 ต.ขุนหาญ นางสาวญาดา มาลยั หอม กศน.ตาบลไพร บา้ นไพร ม.1 ตาบลไพร อ.ขุนหาญ จ.ศรสี ะเกษ นางนชุ จรี พุ่มจันทร์ กศน.ตาบลโนนสูง วัดโนนสูงวนาราม ม.1 ต.โนนสูง อ.ขุนหาญ นายเทวาส สมรตั น์ กศน.ตาบลกนั ทรอม วัดกนั ทรอมใต้ ม.4 ต.กนั ทรอม อ.ขนุ หาญ นางแก้วมณี บวั เขียว ศรช.บา้ นศาลา บา้ นศาลา ม.14 ต.สิ นางสาวยคุ ลธร โมฬีชาติ รวมจานวน 12 กศน.ตาบล 1 ศูนย์การเรียนชมุ ชน

44 ทาเนยี บผบู้ รหิ าร ที่ ชือ่ -สกุล ตาแหนง่ ระยะเวลาทด่ี ารงตาแหน่ง 1. นางสาวนงลักษณ์ เดชระพพี งษ์ ผอู้ านวยการ ศบอ.ขุนหาญ พ.ศ.2536 – 2547 2. นางสนุ ันทา อินทร์อาษา ผ้อู านวยการ ศบอ.ขนุ หาญ พ.ศ. 2547 – 2550 3. นายบวร พุทธวจนะ ผูอ้ านวยการ กศน.อาเภอขนุ หาญ พ.ศ.2550 – พ.ศ.2554 4. นายธัชชเวชช์ จาปาเทศ ผูอ้ านวยการ กศน.อาเภอขุนหาญ 1 ธ.ค. 2554 ถงึ 14 ม.ค.2562 5 นางวาสนา ชารีวัน ผูอ้ านวยการ กศน.อาเภอขนุ หาญ 15 มกราคม 2562 ถงึ ปจั จบุ นั ขอ้ มูลบุคลากร มีบคุ ลากร จานวน 20 คน 1) ผอู้ านวยการสถานศกึ ษา จานวน 1 คน 2) คร(ู ชานาญการพเิ ศษ) จานวน 1 คน 3) บรรณารกั ษ์ จานวน 1 คน 4) บรรณารักษ์(จา้ งเหมา) จานวน 1 คน 5) ครอู าสาสมัคร กศน. จานวน 2 คน 6) ครู กศน.ตาบล จานวน 12 คน 7) ครูศนู ย์การเรียนชุมชน จานวน 1 คน 8) คนสวน จานวน 1 คน รายชอื่ และขอ้ มลู บุคลากร ประเภท รายละเอยี ด 1) ผู้บริหารสถานศกึ ษา ชือ่ นางวาสนา ชารีวนั ตาแหน่ง ผู้อานวยการชานาญการพิเศษ 2) ขา้ ราชการครู วฒุ กิ ารศกึ ษา ปริญญาโท( กศ.ม. ) สาขา/วชิ าเอก การบรหิ ารการศกึ ษา 3) พนกั งานราชการ ช่ือ นางจิตรา จาปาโพธิ์ ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ วุฒิการศึกษา (ครูอาสาสมัครฯ) ปริญญาตร(ี ค.บ.) สาขา/วิชาเอก วดั ผลการศึกษา 4) พนักงานราชการ 1) ชื่อ นายภาณุวัฒน์ มณี ตาแหน่ง ครูอาสาสมัครฯ วุฒิการศึกษา (ครู กศน.ตาบล) ปรญิ ญาตรี(ศษ.บ.) สาขา/วชิ าเอก การประถมศึกษา 2) ช่ือ นายฉลองภพ ศิริม่วง ตาแหน่ง ครูอาสาสมัครฯ วุฒิการศึกษา ปริญญาตร(ี ค.บ.) สาขา/วิชาเอก อตุ สาหกรรมศิลป์ 1) ช่ือ นางสาวเบ็ญจพร ศรีโวหะ ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล วุฒิการศึกษา ปริญญาตร(ี ค.บ.) สาขา/วชิ าเอก การศึกษาปฐมวัย 2) ชื่อ นายชัยวัฒน์ วันเพ็ง ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล วุฒิการศึกษา ปริญญาตรี(วท.บ.) สาขา/วิชาเอก วิทยาศาสตร์สุขภาพ(การส่งเสริม สุขภาพเดก็ )

ประเภท 45 5) พนกั งานราชการ รายละเอียด (บรรณารักษ)์ 3) ช่ือ นางสิทิตย์ วันเพ็ง ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล วุฒิการศึกษา ปรญิ ญาตร(ี ศศ.บ.) สาขา/วิชาเอก การจดั การทว่ั ไป(คอมพวิ เตอร์) 6) พนักงานจา้ งเหมา 4) ชื่อ นางนุชจรี พุ่มจันทร์ ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล วุฒิการศึกษา (บรรณารกั ษ)์ ปรญิ ญาตรี(ศศ.บ.) สาขา/วชิ าเอก ภาษาองั กฤษ 5) ชื่อ นางสาวสาวิตรี แก้วกันหา ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล วุฒิการศึกษา 7) พนกั งานจา้ งเหมา ปริญญาตรี(ศศ.บ.) สาขา/วิชาเอก สังคมวิทยาและมนุษยวิทยา (ครู ศรช.) 6) ชื่อ นายพิภู อัศวชัยโภคิน ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล วุฒิการศึกษา 8) พนกั งานจา้ งเหมา ปรญิ ญาตร(ี บธ.บ.) สาขา/วชิ าเอก การจดั การท่วั ไป 7) ช่ือ นางสาวสุนันทา ทองศูนย์ ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล วุฒิการศึกษา (คนสวน) ปรญิ ญาตรี(ศศ.บ.) สาขา/วชิ าเอก การจดั การท่วั ไป(คอมพิวเตอรธ์ รุ กิจ) 8) ช่ือ นางแก้วมณี บัวเขียว ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล วุฒิการศึกษา ปรญิ ญาตรี(น.บ.) สาขา/วิชาเอก นติ ิศาสตร์ 9) ชื่อ นายเทวาส สมรัตน์ ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล วุฒิการศึกษา ปรญิ ญาตรี(ศษ.บ.) สาขา/วิชาเอก พลศึกษา 10) ชื่อ นางสาวญาดา มาลัยหอม ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล วุฒิการศึกษา ปริญญาตร(ี บธ.บ.) สาขา/วชิ าเอก เทคโนโลยีสารสนเทศ 11) ช่ือ นางสาววิภาภรณ์ ปักปิ่น ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล วุฒิการศึกษา ปริญญาตรี(ค.บ.) สาขา/วิชาเอก คณติ ศาสตร์ 12) ชื่อ นางสาววิชุดา ทิศลี ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล วุฒิการศึกษา ปริญญาตรี(ค.บ.) สาขา/วิชาเอก คอมพวิ เตอร์ศึกษา ช่อื นายวชิ าญ เหลาฉลาด ตาแหน่ง บรรณารกั ษ์ วุฒกิ ารศึกษาปริญญาตรี (ศศ.บ.) สาขา/วชิ าเอก บรรณารกั ษศาสตรแ์ ละสารนิเทศศาสตร์ ชื่อ นายโอภาส ลือขจร ตาแหน่ง บรรณารักษ์ วุฒิการศึกษาปริญญาตรี (ศศ.บ.) สาขา/วิชาเอก บรรณารกั ษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ ชื่อ นางสาวยุคลธร โมฬีชาติ ตาแหน่ง ครูศูนย์การเรียนชุมชน วุฒิ การศึกษาปริญญาตร(ี ศศ.บ.) สาขา/วชิ าเอก การพัฒนาชมุ ชน ชื่อ นายมนตรี คาลอย ตาแหน่ง คนสวน วุฒิการศึกษา มัธยมศึกษาตอน ปลาย

46 สปี ระจาสถานศกึ ษา คือ มว่ ง / ขาว ปรชั ญา ปรัชญาของสถานศึกษา คือ “ใฝ่เรยี นรู้ เชดิ ชคู ุณธรรมนาชีวติ ” อตั ลกั ษณ์ สถานศึกษา “คณุ ธรรมนาชวี ิต” เอกลกั ษณ์ สถานศกึ ษา “กฬี าเดน่ เนน้ คุณธรรม” วสิ ัยทัศน์ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอขุนหาญ ขยายโอกาส ทางการศึกษา มุ่งพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน สืบสานประเพณี ประสานภาคีเครือข่าย หลากหลาย ภมู ปิ ญั ญาและแหลง่ เรียนรู้ สกู่ ารเปน็ พลเมืองดี ตามวิถพี อเพียง พันธกจิ 1) จัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐานในรูปแบบการศึกษานอกระบบให้กับประชาชนโดย ร่วมกบั เครือข่ายในชมุ ชน 2) จัดการศึกษาเพือ่ พฒั นาอาชีพท่หี ลากหลายสอดคล้องความตอ้ งการของชมุ ชน 3) จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตให้สามารถดารงชีวิตในสังคมได้อย่างมี ความสุข 4) จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน รวมทั้งการศึกษาตามอัธยาศัย เพ่ือให้ เกดิ สังคมแห่งการเรียนรู้ 5) ใชเ้ ทคโนโลยเี พื่อพัฒนาระบบบริหารจดั การและพัฒนากระบวนการเรียนรู้ 6) จัดระบบควบคุมคุณภาพและมาตรฐานการจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศยั กลยทุ ธ์ กลยุทธ์ในการทางาน 5 กลยทุ ธ์ ดังน้ี กลยุทธ์ที่ 1 พฒั นาคณุ ภาพการจดั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาคุณภาพการจดั การศึกษาต่อเน่อื ง กลยทุ ธ์ท่ี 3 พัฒนาคุณภาพการจดั การศกึ ษาตามอัธยาศยั กลยทุ ธ์ที่ 4 ส่งเสริมและพฒั นาประสทิ ธิภาพภาคเี ครอื ขา่ ย กลยุทธท์ ่ี 5 พฒั นาระบบบริหารแบบมสี ว่ นรว่ ม

47 ยุทธศาสตร์ 1) การจัดการศึกษานอกโรงเรียนที่เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายท่ีหลากหลายและทั่วถึง โดยการเจาะลกึ รายตาบลและรายกลมุ่ เปา้ หมาย 2) พัฒนาการจัดการเรียนการสอน เพ่ือให้ผู้รับบริการงานการศึกษานอกโรงเรียน ได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ 3) พัฒนาแหล่งการเรียนรู้ ให้บริการข่าวสารแก่ชุมชนโดยการจัดการศึกษาตาม อัธยาศัย 4) ส่งเสรมิ สนบั สนนุ ใหเ้ ครอื ขา่ ยจดั การศกึ ษานอกโรงเรียนอย่างทวั่ ถึง 5) การประกันคุณภาพภายในของสถานศกึ ษาการศกึ ษานอกโรงเรียน

48 โครงสรา้ งการบริหารงาน ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอขุนหาญ ผอู้ านวยการสถานศกึ ษา คณะกรรมการสถานศกึ ษา รองผู้อานวยการสถานศกึ ษา กลมุ่ งานอานวยการ กลุ่มจัดการศกึ ษานอกระบบและ กล่มุ ภาคีเครือข่าย การศึกษาตามอัธยาศยั และกิจการพเิ ศษ -งานประกนั คณุ ภาพ -งานแผนงานและโครงการ -งานการศึกษาข้ันพื้นฐาน -งานส่งเสริมสนับสนนุ ภาคี - งานการเงนิ บัญชแี ละพัสดุ -งานสง่ เสริมการรหู้ นังสอื เครอื ข่าย -งานบุคลากรและสวัสดิการ -งานการศึกษาต่อเนื่อง -งานกจิ การลกู เสือและยวุ กาชาด -งานธุรการ/สารบรรณ -งานกจิ กรรมพเิ ศษ -งานควบคมุ ภายใน - กศ.เพื่อพฒั นาพฒั นาอาชีพ -งานเลขานุการคณะกรรม - กศ.เพอ่ื พัฒนาทักษะชวี ิต - งานโครงการอัน สถานศึกษา - กศ.เพอ่ื พัฒนาสังคม/ เน่ืองมาจากพระราชดาริ -งานศูนย์ราชการใสสะอาด ชุมชน -งานประชาสมั พนั ธ์ -งานการศึกษาตามอัธยาศยั - งานปอ้ งกัน แก้ไข ปัญหายา -งานอาคารสถานท่ี -งานทะเบียนวดั ผล/ประเมนิ ผล เสพติด/โรคเอดส์ -งานงบประมาณ -งานพฒั นาหลักสูตร ส่ือ นวัตกรรม และเทคโนโลยที างการศึกษา - งานส่งเสรมิ กิจกรรม -งานศนู ย์บริการให้คาปรกึ ษาแนะนา ประชาธปิ ไตย -งานกิจการนกั ศกึ ษา - งานสนบั สนุน สง่ เสรมิ นโยบายจังหวดั /อำเภอ กศน.ตาบลทกุ แหง่ (ศนู ย์การเรียนชมุ ชน):แหล่งเรยี นรูใ้ นชุมชน

49 โครงสรา้ งการบริหารงาน แบง่ เป็น 3 กลุ่ม ไดแ้ ก่ กลมุ่ งานอานวยการ - งานธุรการและสารบรรณ - งานงบประมาณและระดมทรัพยากร -งานบญั ชี การเงินและพสั ดุ - งานบุคลากรและสวสั ดิการ -งานอาคารสถานทแ่ี ละยานพาหนะ - งานแผนงานและโครงการ -งานประชาสัมพนั ธ์ - งานข้อมลู สารสนเทศและการรายงาน - งานศูนย์ราชการใสสะอาด - งานควบคมุ ภายใน -งานประกนั คณุ ภาพภายในสถานศึกษา - งานนิเทศภายใน ติดตามและประเมนิ ผล - งานเลขานุการคณะกรรมการสถานศึกษา กลุ่มจดั การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั - งานส่งเสริมการรู้หนังสอื -งานจดั การศกึ ษาพ้ืนฐานนอกระบบ -งานจัดการศึกษาตอ่ เนือ่ ง -การศึกษาเพอ่ื พัฒนาอาชีพ -การศึกษาเพอ่ื พัฒนาทักษะชีวติ -การศึกษาเพ่ือพฒั นาสังคมและชมุ ชน -งานจัดการศกึ ษาตามอัธยาศัย -งานพฒั นาหลกั สตู ร ส่ือ นวตั กรรมและเทคโนโลยีทางการศกึ ษา - งานทะเบียนและวัดผล -งานศนู ย์บริการให้คาปรึกษาแนะนา -งานกจิ การนักศกึ ษา กลมุ่ ภาคเี ครือขา่ ยและกจิ การพเิ ศษ -งานส่งเสริมสนับสนนุ ภาคีเครอื ขา่ ย -งานกจิ กรรมพเิ ศษ 1) งานโครงการอนั เนือ่ งมาจากพระราชดาริ 2) งานปอ้ งกนั แก้ไขปัญหายาเสพติด/โรคเอดส์ 3) งานส่งเสริมกจิ กรรมประชาธปิ ไตย 4) งานสนับสนนุ ส่งเสรมิ นโยบายจงั หวดั /อาเภอ -งานกจิ การลกู เสอื และยวุ กาชาด

50 งานวิจัยทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง 1. งานวิจัยในประเทศ การพัฒนาครูด้านทักษะกระบวนการคิด ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยอาเภอขุนหาญ คร้ังนี้ ผู้ศึกษาค้นคว้าได้พยายามค้นคว้าจากเอกสารและผลงานวิจัยที่ เกยี่ วข้องนามาเสนอดงั น้ี พชิ ญะ กันธิยะ (2559 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาการพัฒนาทักษะการคิดวเิ คราะห์โดยใช้ การจัดการเรียนรู้แบบบันได 5 ข้ัน วิชาวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โดยมีความ มุ่งหมายเพ่ือ 1) ศึกษาเปรียบเทียบทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนก่อนและหลังได้รับการจัดการ เรยี นรูแ้ บบบันได 5ขน้ั 2) เพ่ือศกึ ษาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน ก่อนและหลังได้รบั การจัดการเรียนร้แู บบ บนั ได 5 ขั้น และ 3) เพอื่ ศึกษาความพึงพอใจของนกั เรียนช้ันมธั ยมศกึ ษาตอนต้นทมี่ ีตอ่ การเรียนรดู้ ว้ ย การจัดการเรียนรู้แบบบันได 5 ขั้น ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนช้ัน มัธยมศึกษาปีท่ี2 โรงเรียนห้องสอนศึกษาในพระอุปถัมภ์ฯ อาเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน ได้มาจาก การสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) จานวน 37 คน จากนักเรียน 5 ห้องเรยี น เครื่องมือทใ่ี ช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้แบบบันได 5ขน้ั ทง้ั หมด 6 แผนการเรียนรู้ประกอบด้วย แผนการเรียนรู้ที่ 1 เร่ือง อาหารและสารอาหารจานวน 3 ช่ัว โมง 2) แบบวัดทักษะการคิดวิเคราะห์ และ 3) แบบสอบถามความพึงพอใจ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ ฐานนิยม ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าเฉล่ียกลุ่มตัวอย่างสัมพันธ์กัน ( t – test Dependent Samples) และทดสอบค่าเฉล่ียกลุ่มตัวอย่าง 1 กลุ่ม ทดสอบค่า t – test ผลการศึกษา พบว่า ทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนหลังได้รับการเรียนรู้แบบบันได 5 ขั้น นักเรียนมีทักษะการ การคิดวเิ คราะห์สูงกว่าก่อนได้รับการจัดการเรียนรู้อย่างมีนัยสาคัญทางสถิตทิ ี่ระดับ .01 ซ่ึง นักเรียนมี ทักษะการคิดวิเคราะห์ภาพรวมอยู่ในระดับดโี ดยนักเรียนมีการพฒั นาทักษะการคิดวิเคราะห์ ด้านการ วิเคราะห์เน้ือหา ด้านการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ด้านการวิเคราะห์หลักการเพิ่มมากข้ึน ผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนหลังได้รับการเรียนรู้แบบบันได 5 ขั้น สูงกว่าค่าเฉล่ียของคะแนนก่อนเรียน อย่างมี นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ท่ีมีต่อการเรียนรู้ ด้วยการเรียนรู้ แบบบันได 5 ข้ัน ส่วนใหญ่มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากโดยความพึงพอใจมาก อนั ดับแรกท่มี ีค่าเฉลย่ี เท่ากัน คือ 4.57 จานวน 3 รายการ ได้แก่ นักเรียนสร้างความรู้ความเข้าใจด้วย ตนเองได้ นักเรียนสามารถตัดสินใจโดยใช้เหตุผล และนักเรียนกล้าแสดงความคิดเห็น รองลงมาได้ ค่าเฉล่ีย เท่ากัน คือ 4.54 จานวน 2 รายการ ได้แก่บรรยากาศของการเรียนเปิดโอกาสให้นักเรียนมี ส่วนร่วมในการทากิจกรรม และกิจกรรมการเรียนรู้ทาให้นักเรียนกล้าคิดกล้าตอบในการแสดงความ คิดเหน็ และอันดบั สดุ ท้าย คือ กิจกรรมการเรียนรู้มีความเหมาะสมกับเนอื้ หา ได้ค่าเฉล่ียเทา่ กบั 4.35 วนั เพ็ญ นนั ทะศรี (2560 : 43-50) ได้ศกึ ษาการพฒั นาทกั ษะความคดิ สร้างสรรคข์ อง นักศึกษาด้วยการเขียนแผนที่ความคิด (Mind Map) โดยมีความมุ่งหมายเพื่อเปรียบเทียบทักษะ ความคิดสร้างสรรค์ของนักศึกษาด้วยการเขียนแผนที่ความคิด (Mind Map) ก่อนเรียนและหลังเรียน และเพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักศึกษาต่อการพัฒนาทักษะความคิดสร้างสรรค์ด้วยการเขียนแผนท่ี ความคิด (Mind Map) กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการวิจัย คือ นักศึกษาสาขาภาษาอังกฤษ ช้ันปีท่ี 1 ปี การศึกษา 2556 จานวน 49 คน เคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบทดสอบวัดความคิดสร้างสรรค์

51 TCT-DP ของ Jellen และ Urban และแบบสอบถามความคิดเห็นต่อการเรียนด้วยการเขียนแผนท่ี ความคิด สถิติที่ใช้ในการวิจัยได้ ค่าเฉล่ีย คาเบ่ียงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ t-test ผลการวิจัยพบว่า 1. ทักษะความคิดสร้างสรรค์ของนักศึกษาโดยรวมและรายด้านหลังการพัฒนา ทักษะความคิดสร้างสรรค์ด้วยการเขียนแผนที่ความคิด (Mind Map) สูงกว่าก่อนพัฒนาทักษะ ความคิดสร้างสรรคด์ ้วยการเขยี นแผนที่ความคิดอย่างมีนัยสาคญั ทางสถิติที่ระดบั .05 2. ความคิดเห็น ต่อการพัฒนาทกั ษะความคดิ สร้างสรรค์ด้วยการเขยี นแผนที่ความคิด (Mind Map) ในภาพรวมพบวา่ มี ความคิดเห็นอยู่ในระดับมากท่ีสุด โดยอันดับแรก คือด้านพัฒนาทักษะความคิดสร้างสรรค์ รองลงมา ดา้ นการนาไปใชแ้ ละด้านความรดู้ า้ นความร้คู วามเขา้ ใจตามลาดบั สุพพัต สกุลดี (2560 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของ นักเรียนระดับอนุบาล 1 โดยผ่านการเลา่ นิทาน โดยมีความมุ่งหมายเพื่อ 1) พัฒนาความสามารถด้าน ความคดิ สร้างสรรคข์ องนักเรียนระดบั อนบุ าล 1 โดยผ่านการเลา่ นิทาน 2) ศึกษาพฤติกรรมการเรียนรู้ ของนักเรียนระดับอนุบาล 1 โดยผ่านการเล่านิทาน กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัยคร้ังนี้เป็นนักเรียน ระดับอนุบาล 1 โรงเรียนสกุลดีประชาสรรค์ ฉะเชิงเทรา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 จานวน 28 คน เคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการเรียนรู้โดยการเล่านิทาน จานวน 4 แผน 2) แบบทดสอบความคิดสร้างสรรค์ 3) แบบประเมินความคิดสร้างสรรค์ 4) แบบประเมินพฤติกรรม สถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉล่ีย ร้อยละ ผลการศึกษาพบว่า การพัฒนาความสามารถ ด้านความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนระดับอนุบาล 1 โดยผ่านการเล่านิทาน มีคะแนนผ่านเกณฑ์ไม่ต่า กว่าร้อยละ 70 จากกิจกรรมการเล่านิทานด้วยปากเปล่า 22 คน คิดเป็นร้อยละ 78.57 การเลา่ นิทาน โดยใช้หนังสือประกอบ จานวน 24 คน คิดเป็นร้อยละ 85.71 การเล่านิทานโดยใช้ภาพประกอบ จานวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 82.41 และการเล่านิทานโดยใช้ส่ือประกอบ จานวน 25 คน คิดเป็น ร้อยละ 89.29 และนกั เรียนมีความสามารถด้านความคิดสรา้ งสรรค์ คือ ความคิดริเรม่ิ จานวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ 67.86 ความคิดคล่องแคล่ว จานวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 78.57 ความคิดยืดหยุ่น จานวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 64.29 และความคิดละเอียดลออ จานวน 26 คน คิดเป็นร้อยละ 92.86 นักเรียนมีพฤติกรรมการเรียนรู้โดยผ่านการเล่านิทาน ระดับดี จานวน 26 คน คิดเป็นร้อยละ 92.86 และระดับพอใช้ จานวน 2 คน คิดเปน็ ร้อยละ 7.14 กรองทอง จุลิรัชนีกร, ธนิก คุณเมธีกุล, ขวัญศิริ เจริญทรัพย์ (2561 : 157-164) ได้ ศึกษาการพัฒนาทักษะการใช้ความคิดสร้างสรรค์ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ให้กับนักศึกษา ครุศาสตร์ ชั้นปีที่ 3 มหาวิทยาลัยราชภัฏราไพพรรณี จังหวัดจันทบุรี โดยมีความมุ่งหมายเพื่อพัฒนา นักศึกษาให้มีทักษะด้านความคิดสร้างสรรค์ในการพัฒนาการเรียนการสอนกลุ่มตัวอย่ าง ได้แก่ นักศึกษาคณะครุศาสตร์ชั้นปีที่ 3 มหาวิทยาลัยราชภัฏราไพพรรณี จังหวัดจันทบุรี จานวน160 คน ได้แก่ สาขาการศึกษาพิเศษ 20 คน คอมพิวเตอร์ศึกษา 53 คน และคณิตศาสตร์ 87 คน โดยใช้ สาขาวิชาเป็นหน่วยสุ่ม จาก 9 สาขาวิชา ได้มา 3 สาขาวิชา ดาเนินการวิจัยใน 3 ขั้นตอน คือ 1. ศึกษากระบวนการพัฒนาคิดสร้างสรรค์ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของนักศึกษาครู 2. สร้าง เครอ่ื งมือการฝึกทักษะการพฒั นาความคิดสรา้ งสรรค์ในการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนของนักศึกษา ครู 3. ฝึกทักษะการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของนักศึกษาครู จานวน 10 ครั้ง ใช้การฝึกทักษะการคิด 4 แบบ คือ 1. การฝึกความคิดริเร่ิม 2. การฝึกความคิด คล่องแคล่ว 3. การฝึกความยืดหยุ่น 4. การฝึกความคิดละเอียดลออ เครื่องมือท่ีใช้ในการวิจัย คือ แบบวัดทักษะความคิดสร้างสรรค์ และชดุ ฝกึ พัฒนาความคดิ สรา้ งสรรคใ์ นการจัดกจิ กรรมการเรียนการ

52 สอนของนักศึกษาครู พบว่า การพัฒนาทักษะความคิดสร้างสรรค์ของนักศึกษาอยู่ในระดับมาก ก่อน ทดลอง 2.50 หลังทดลอง 3.58 ค่า t เท่ากับ 29.75 นักศึกษานาความคิดสร้างสรรค์เชื่อมโยงสูก่ ารจัด กิจกรรมการเรียนการสอนให้กับผู้เรียน มีความคิดยืดหยุ่น คิดริเริ่มสร้างสรรค์คิดคล่องแคล่ว และคิด ละเอยี ดลออ สุรสีห์ ไชยกันยา (2561 : 157-164) ได้ศึกษาการพัฒนาทักษะความคิดสร้างสรรค์ วิชาวิทยาศาสตร์ เร่ือง ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ด้วยรูปแบบการจัดการเรียนรู้ แบบความคิดสร้างสรรค์เป็นฐาน โดยมีความมุ่งหมายเพ่ือพัฒนาทักษะความคิดสร้างสรรค์ และ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3/2 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2560 จานวน 38 คน โรงเรียนกมลาไสยอาเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธ์ุ ได้มาโดยการเลือกแบบ เฉพาะเจาะจง เคร่ืองมือท่ีใช้ในการวิจัย คือ แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ ความคิดสร้างสรรค์เป็นฐาน จานวน 10 ชั่วโมง แบบทดสอบวัดทักษะความคิดสร้างสรรค์แบบอัตนัย ปลายเปิดแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบปรนัย 4 ตัวเลือก จานวน 20 ข้อสถิติท่ีใช้ใน การวิจัย ได้แกค่ ่าเฉลยี่ ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และคา่ ร้อยละผลการวิจัย พบว่า หลังจากจัดกิจกรรม การเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบความคิดสร้างสรรค์เป็นฐานนักเรียนมีคะแนนทักษะ ความคิดสร้างสรรคเ์ ฉลี่ย เทา่ กับ 13.18 คะแนน จากคะแนนเต็ม 16 คะแนน คิดเป็นรอ้ ยละ 82.40ซึ่ง สูงกว่าเกณฑ์ท่ีต้ังไว้ คือ ร้อยละ 70 และมีคะแนนผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเฉลี่ย เท่ากับ 14.39 จาก คะแนนเต็ม 20 คะแนนคิดเป็นร้อยละ 71.97 ของคะแนนเตม็ ซง่ึ สงู กว่าเกณฑ์ท่ีตั้งไวค้ อื ร้อยละ 70 หัถยา เคราะห์ดี (2561 : 157-164) ได้ศึกษาการพัฒนาทักษะความคิดสร้างสรรค์ และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ด้วยกระบวนการศึกษาชั้นเรียน (Lesson Study) โดยใช้รูปแบบ การสอน Synectics รายวิชา ส 23102 สังคมศึกษา สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยมี ความมุ่งหมายเพื่อพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะความคิดสร้างสรรค์ และพัฒนา ผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียน ด้วยกระบวนการศึกษาช้ันเรียน (Lesson Study) โดยใช้รูปแบบการสอน Synectics กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ใน การวิจัยเป็นนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ห้องเรียนที่ 1 ท่ีกาลัง ศึกษาภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 โรงเรียนน้าพองศึกษา จานวน 30 คน โดยการเลือกแบบ เจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือท่ีใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) เคร่ืองมือท่ีใช้ ในการ ทดลองปฏิบัติการ ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการศึกษาช้ันเรียน (Lesson Study)โดย ใช้รูปแบบ การสอน Synectics สาระเศรษฐศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 เร่ือง เศรษฐกิจกับการ พัฒนาประเทศจานวน 6 แผน 2) เคร่ืองมือที่ใช้ในการสะท้อนผลการวิจัย ได้แก่ แบบบันทึกการร่วม สร้างแผนการจัดการเรียนรู้ แบบบันทึกผลการจัดการเรียนรู้ แบบบันทึกการสังเกตช้ันเรียน แบบ บันทึกการสะท้อนการสังเกตชั้นเรียน แบบสัมภาษณ์ผู้เรียน 3) เคร่ืองมือที่ใช้ในการประเมิน ผลการวจิ ัย ไดแ้ ก่ แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน และแบบประเมินทักษะความคิดสร้างสรรค์ ผลการวิจัยพบว่า 1) การใช้กระบวนการศึกษาชั้นเรียน (Lesson Study) ซึ่งประกอบไปด้วย 3 ขั้นตอน คือ 1. ข้ันวางแผนการสอนร่วมกัน (Planning) 2. ข้ันนาไปใช้และสังเกตการสอนร่วมกัน (Implementing and Observing) 3. ขั้นการอภิปรายผลสะท้อนผลบทบาทร่วมกัน (Discussing and Reflecting) เปน็ การพัฒนาการจัดการเรยี นการสอนทอ่ี าศยั ความรว่ มมือกันระหว่างผู้วจิ ัย ผูช้ ว่ ย วิจัย และนักเรยี น ในการพัฒนาแผนการจดั การเรียนรู้ เพ่ือใหเ้ กิดการจัดการเรียนรทู้ ่ีมีประสิทธภิ าพใน ชนั้ เรียน อีกท้ังนาไปสู่การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์และผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนของนักเรียน อีกด้วย 2) ผลการพัฒนาทักษะความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนด้วยกระบวนการศึกษาชั้นเรียน (Lesson

53 Study) โดยใช้รูปแบบการสอน Synectics พบว่า นักเรียนผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80.00 และมีคะแนน เฉลี่ยร้อยละ 73.33 ซ่ึงสูงกว่าเกณฑ์ท่ีกาหนดไว้ 3) ผลการพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ด้วย กระบวนการศึกษาช้ันเรียน (Lesson Study) โดยใช้รูปแบบการสอน Synectics พบว่า มีนักเรียนท่ี ทดสอบผา่ นเกณฑ์ร้อยละ 73.33 และมีคะแนนเฉล่ียร้อยละ 77.11 ซง่ึ สูงกว่าเกณฑ์ทก่ี าหนดไว้ พัชรี นาคผง (2562 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาการพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักเรียน ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่จัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับเทคนิค STAD โดยมีความมุ่งหมาย เพ่ือ 1) เปรียบเทียบผลการเรียนรู้เร่ือง พลังงานความร้อน ของนักเรียนช้ัน มัธยมศึกษาปีท่ี 1 ก่อน และหลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับเทคนิค STAD 2) เปรียบเทียบผลการเรียนรู้ เรอื่ ง พลังงานความร้อน ของนักเรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 หลังการจัดการเรยี นรู้โดยใช้ปญั หาเปน็ ฐาน ร่วมกับเทคนิค STAD กับเกณฑ์ร้อยละ 80 3) ศึกษาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนช้ัน มัธยมศึกษาปีท่ี 1 หลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับเทคนิค STAD 4) เปรียบเทียบ ทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ร่วมกับเทคนิค STAD เทียบกับเกณฑ์ร้อยละ 70 และ 5) ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนช้ัน มัธยมศึกษา ปีท่ี 1 ท่ีมีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้ ปัญหา เป็นฐานร่วมกับเทคนิค STAD การวิจัยคร้ัง น้ีเป็นวิจัยเชิงทดลอง (Experimental Research) โดยมีแบบแผนการวิจัยแบบกลุ่มเดียว สอบก่อน และสอบหลัง (One-Group Pretest-Posttest Designs) โดยทดลองกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1 โรงเรียนวัดทุ่งคอก (สุวรรณสาธุกิจ) จานวน 28 คน ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 เครื่องมือท่ีใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับเทคนิค STAD 2) แบบทดสอบวัดผลการเรียนรู้ 3) แบบสอบถามความคิดเห็น การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ ค่าร้อยละ ค่าเฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที (t-test) แบบ Dependent และ แบบ one sample t-test ผลการศึกษาพบว่า 1) ผลการเรียนรู้เร่ือง พลังงานความร้อนของนักเรียน ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 ที่จัดการเรียนรโู้ ดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับเทคนิค STAD หลังเรยี นสูงกว่าก่อน เรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 2) ผลการเรียนรู้เรื่อง พลังงานความร้อนของนักเรียนช้ัน มัธยมศึกษาปีท่ี 1 ท่ีจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับเทคนิค STAD หลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ ร้อยละ 80 3) ทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้ ปัญหาเป็นฐานร่วมกับเทคนิค STAD อยู่ในระดับดี 4) ทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 หลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับเทคนิค STAD สูงกว่าเกณฑ์ ร้อยละ 70 5) ความคิดเห็นของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 ท่ีมีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหา เป็นฐานร่วมกับเทคนิค STAD โดยภาพรวมอยู่ในระดับเห็นด้วยมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า นักเรียนเห็นด้วยมากในด้านบรรยากาศการเรียนรู้เป็นลาดับหนึ่ง รองลงมาคือ ด้านการจัดกิจกรรม การเรยี นรู้และดา้ นประโยชน์ที่ได้รับตามลาดบั

54 2. งานวจิ ยั ตา่ งประเทศ สว๊อซ (Swartz. 2000 : 102) ได้ศึกษาเกี่ยวกับการพัฒนาและส่งเสริมหลักสูตร ทักษะการคิดของครูในมหาวิทยาลัยเมสเซนชูเซส มลรัฐบอสตันประเทศสหรัฐอเมริกา โดยการจัดค รอสและโปรมแกรมการสอนท่กี ระตนุ้ เก่ียวกับการคิดในชั้นเรียน และจัดกิจกรรมท่ีสอดแทรกเข้าไปใน กิจกรรมการเรยี นการสอนของครู ผลปรากฏวา่ ผลการจัดกจิ กรรมเป็นท่ีพงึ พอใจของครูความสามารถ ในด้านการคิดของผู้เรียนมีเป็นสองเท่า คือ ผู้เรียนท่ีเรียนด้วยการวิพากษ์วิจารณ์การวิเคราะห์ การ สังเคราะห์ มีระดับนัยสาคัญทางสถิติทางด้านความสามารถในการทางานการกาหนดจุดประสงค์ มี มาตรฐานดา้ นการเรียน และสามารถนาไปสู่การกาหนดเป็นหลักสูตรการสอนเฉพาะเก่ียวกับการสอน ทักษะคิดของครู และทาให้โครงสร้างด้านการพัฒนาด้านการศึกษานาไปสู่การเปลี่ยนแปลง ผู้เรียน ประสบผลสาเร็จด้านการคิดวิพากษแ์ ละคดิ สร้างสรรคอ์ ยใู่ น ระดับดี แซน และจิน (San, Chai yong Hwa and Jin Jong. 2000 : 176) ได้ศึกษาการสอน ทักษะการคิดและกระบวนการคิดแบบแทรกซึมลงในเน้ือหาวิชาพลศึกษาของผู้เรียนมัธยมศึกษาใน ประเทศสงิ คโปรโ์ ดยกาหนดวัตถุประสงค์และทักษะการคิดในเนื้อหาของบทเรียนแต่ละบทโดยเริ่มต้น จากการทักษะการคิด คือ การคิดวิเคราะห์ การคิดสร้างสรรค์ กระบวนการคิดการคิดวิพากษ์วิจารณ์ คือการอภิปรายผล และการสืบค้นปัญหา การศึกษาปรากฏว่า ผู้เรียนใช้ทักษะการคิดและ กระบวนการคิดไดอ้ ยา่ งสมบรู ณ์และสามารถเปลี่ยนแปลงความสามารถของตนเองเป็นส่กู ารเปน็ นักคิด ได้ เชียราย (Cherrie. 2000 : 15-25) ได้ศึกษาการส่งเสริมการสอนทักษะการคิดแบบ วพิ ากษว์ ิจารณใ์ นโรงเรยี นมัธยมศึกษาของมลรัฐจอรเ์ จีย สหรัฐอเมริกา ด้วยการอบรมเชงิ ปฏิบัติการใน การจัดทาหลักสูตรและกระบวนการสอนการคิดในระดับสูงโดยความร่วมมือของครูในโรงเรียนที่ใช้ รูปแบบการสอนแบบ CRTA ซ่ึงมีอยู่ 4 ขั้นตอนคอื 1) การสรา้ งสรรค์เนือ้ หาใหเ้ หมาะสมกบั บริบทของ พ้ืนท่ี 2) การพิจารณาและกาหนดจุดประสงค์ของเนื้อหา 3) การสอนทักษะการคิดวิพากษ์วิจารณ์ 4) การประเมินผลการคิดวิพากษ์วิจารณ์ที่นาไปใช้ในชีวิตประจาวันโดยใช้รูปแบบการประเมินแบบ CTT หลังจากใช้หลักสตู รไปแล้ว 1 ปี ผลวิจัยปรากฏว่า 1) ผู้เรยี นมีพัฒนาการทักษะการคิดวิพากษ์วิจารณ์ สูงข้ึน 2) มีการส่งเสริมการวางแผนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดข้ันสูงของครูทั้งโรงเรียน 3) การ ประเมินผลทักษะการคิดในระดับสงู โดยใชร้ ูปแบบ CTT เพ่ิมประสิทธิภาพการประเมนิ เป็น 3 เท่าของ ประเมินตามปกติ 4) รูปแบบการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิพากษ์วิจารณ์สามารถใช้ได้กับผู้เรียน ทุกระดับชนั้ แม็คคอย (McCoy. 2003 : 2500 - A) ได้ทาการศึกษา การพัฒนาแผนปรับปรุง ท้องถ่ินในโรงเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยใช้การวิจัยเชิงปฏิบัติการ สถานท่ีศึกษาใช้โรงเรียน มัธยมตอนปลาย 2 โรงในกลุ่มโรงเรียนสหภาพซ์นาร์ด โครงการยอดเย่ียมน้ีได้นาครู ผู้ปกครอง และ ผู้บริหารโรงเรียนมาร่วมกันโดยใช้กระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการ เพ่ือกาหนดประสิทธิภาพของแผน เหล่านี้ในการระบุความต้องการของวิชาการท้ังโรงเรียนและเพื่อระบุว่า โครงการนี้อาจจะได้รับการ ปรับปรุงได้อย่างไร บุคคลทั้ง 3 กลุ่มนี้มาประชุมกันท้ังกลุ่มงานใหญ่และกลุ่มงานย่อย เพ่ือทบทวน แผนปรับปรุงท้องถนิ่ ปัจจุบนั ตรวจสอบข้อมูลทางวิชาการของผเู้ รียน อันเป็นการสนบั สนนุ โปรมแกรม ใหม่และโปรแกรมเดิมท่ีมีอยู่แล้ว รวมท้ังการร่วมทางาน และเพ่ือพัฒนาการปฏิบัติการนาไปใช้ และ การประเมินแผนดังกล่าว ผลการศึกษาพบว่า แนวคิดร่วมที่เกิดขึ้นจากโรงเรียนท้ัง 2 โรงท่ีนาแผน

55 ปรบั ปรุงท้องถ่ินไปใช้กอ่ นโรงเรียนสร้างกระบวนการที่เป็นพื้นฐานสาหรบั ทากิจการปฏิรปู โรงเรียน คือ วัฒนธรรมโรงเรียน เวลาท่ีเป็นอุปสรรค การมีส่วนร่วมของครูและผู้ปกครอง การใช้ขอ้ มูลทางวชิ าการ ของผู้เรียนอย่างเหมาะสม และการนาแผนไปใช้ เม่ือใช้กระบวนการมีส่วนร่วมแล้ว การวางแผน ปรับปรุงท้องถ่ินของโรงเรียนมัธยมตอนปลายก็เชื่อมโยงความต้องการของผู้เรียนเข้ากับการร่วมมือ ปฏิบัติที่เหมาะสม และเข้ากับทรัพยากรที่มีอยู่ จึงเป็นผลให้เกิดขึ้นอย่างแท้จริง โรงเรียนหรือกลุ่ม โรงเรียนกส็ ามารถจะววิ ฒั นาการไปเป็นชุมชนแหง่ การเรยี นร้ซู งึ่ ก่อตง้ั ขึน้ ด้วยความร่วมมือกนั มิงกูซซี่ (Mingucci. 2002 : 229) ได้ศึกษาการวิจัยเชิงปฏิบัติการต่อการพัฒนา วิชาชีพครูภาษาอังกฤษทาให้ครูเข้าใจการปฏิบัติงานของตนเองสามารถนาประสบการณ์ไปพัฒนา วชิ าชีพและพัฒนาการเรียนการสอนได้ เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลได้แก่แบบสอบถาม แบบ สัมภาษณ์ แบบจดบันทึก ผลจากการวิจัยพบว่าครูเกิดความเชื่อม่ันในตนเอง เช่ือมั่นในวชิ าชีพ ซ่ึง เป็นผลมาจากการวิจัยในช้ันเรียน สามารถเป็นแหล่งเรียนรู้ร่วมกัน ทาให้เกิดความตระหนักในการ แก้ปัญหาร่วมกัน ได้แลกเปล่ียนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับเพ่ือนร่วมงาน และมีผล ในทางสร้างสรรค์ พาทเชน (Patchen . 2002 : 145) ได้ทาการศึกษาผู้เรียนในโรงเรียนมัธยมศึกษา ตอนปลายในประเทศสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะรัฐทางตะวันตกท่ีมีประชากรอยู่รวมกันหลายเชื้อชาติ ทาให้เกิดปัญหาทางด้านวัฒนธรรม ภาษา ประเพณี จึงได้ทาการวิจัย เก่ียวกับการปฏิบัติร่วมกัน การมีส่วนรับรู้ร่วมกัน และมีความสัมพันธ์ในการปฏิบัติกิจกรรม กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้เรียน โรงเรยี นมัธยมศึกษาตอนปลาย การวจิ ยั ใชเ้ วลา 2 ปี เคร่ืองมือในการวิจัย คือ ชุดทักษะชวี ิต แบบ สังเกต แบบสัมภาษณ์ พบว่าการมีส่วนร่วมในห้องเรียนในการจัดกิจกรรมมีมากข้ึน ผู้เรียนมี ความสัมพันธ์กันมากข้ึน เพศชายเพศหญิงได้อภิปรายการมีส่วนร่วม ท้ังครูและเพื่อนรว่ มช้ัน เข้าใจ ในวชิ าเรยี น ภาษา เพศชาย เพศหญิง มีส่วนร่วมในกิจกรรมมากขึน้ วาตามูรา (Watamura . 2000 : 62) ได้ทาการศึกษาเปรียบเทียบการสอนท่ีเน้น เด็กเป็นสาคัญกับการสอนโดยการบอก พบว่า การสอนที่เน้นเด็กเป็นสาคัญ จะทาให้เด็กเกิดการ เรียนรู้ได้มากข้ึน ส่วนการสอนโดยการบอกเด็กไม่สามารถเช่ือมโยงข้อเท็จจริงท่ีเป็นเรื่องใหญ่ๆได้ และเกิดการเรียนรู้ไม่คงทน ชั้นเรียนท่ีเน้นเด็กเป็นสาคัญและชั้นเรียนที่บอกความรู้มีความแตกตา่ งใน การเรียนรู้อย่างมีนัยสาคัญ ช้ันเรียนท่ีเน้นเด็กเป็นสาคัญจะผลิตผู้เรียนท่ีเกิดการเรียนรู้ได้กว้างไกล กวา่ และเชื่อมโยงความรทู้ อี่ ยู่รอบๆตัวเขาได้ วินเดล (Windie. 2003 : 1039-A) ได้ทาการศึกษาเรื่อง การประเมินการ ปฏิบัตงิ านที่ใช้ทักษะท่ีเกี่ยวกับของผู้จัดกิจกรรมผ้เู รียนระดบั ปานกลาง โดยมุ่งประเมนิ การปฏิบัตทิ ่ีใช้ ทกั ษะด้านต่าง ๆ ซ่ึงสัมพันธก์ ับกิจการผู้เรียน ซึ่งระบุวา่ มีประสิทธิภาพด้านทักษะ 46 ชนิด นามาจัด เข้ากลุ่มได้ 7 ประเภททักษะ คือ ภาวะผู้นา การติดต่อผู้เรียน การส่ือสาร การจัดการ บุคลากรการ จัดการงบประมาณ การพัฒนาวิชาชีพ และการวิจัย-การประเมิน ผลการวิจัยพบว่า ผู้จัดการ ระดับกลาง ประเมินการปฏิบัติของตนด้านทักษะกระบวนการระดับปานกลางถึงระดับสูง ผู้ใต้บังคับ และผู้บังคบั บัญชามีความเห็นว่าการปฏบิ ัติงานของผู้จดั การระดับปานกลาง สงู กว่าระดับปานกลางถึง ระดับสูงเช่นกัน ส่วนด้านพลวัตรและด้านสัมพันธ์เก่ียวกับทักษะและความสามารถมีการปฏิบัติอยู่ใน ระดับสูงกว่าด้านทักษะความสามารถท่ัวไป ผู้จัดการระดับกลางมีความเห็นว่ามีความต้องการจะ พัฒนาทกั ษะเพิ่มเติมมากกว่าผู้ใต้บังคบั บัญชาและผู้บังคับบัญชาจากการวเิ คราะห์การพัฒนาบุคลากร ในการวิจัยในช้ันเรียนน้ันจะเป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการโดยมีกรอบของการวิจัยซ่ึงมีขั้นตอนการเขียน

56 เค้าโครงวิจัย การพัฒนานวัตกรรม การสรุปผล การเขียนรายงานการวิจัย เคร่ืองมือที่ใช้จะเป็นแบบ สังเกต แบบสัมภาษณ์ แบบประเมิน แบบบันทึกการประชุม ส่วนกลยุทธ์ที่ใช้ คือการศึกษาเอกสาร การประชุมเชิงปฏิบัติการ การนิเทศ และการศึกษาดูงาน โดยการดาเนินการวิจัย 2 วงรอบ ผู้ร่วม ศึกษาค้นคว้าก็สามารถทาการวิจัยได้ครบทุกขั้นตอน และนาวิธีการวิจัยไปใช้พัฒนาผู้เรียนภายในช้ัน เรียนได้ การวิจัยจึงเป็นวิธีการแก้ปัญหาและการค้นหาคาตอบอย่างเป็นระบบ และนามาเป็น ประโยชน์ไดท้ ุกวงการ ไม่วา่ จะเปน็ หนว่ ยงานของรัฐบาลหรอื เอกชนล้วนส่งเสริมการวิจัยเพ่อื แกป้ ัญหา และพัฒนางานให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงในยุคโลกาภิวัฒน์ การพัฒนาบุคลากรในการวิจัยในชั้นเรียน ควรมีการสง่ เสรมิ การทาวจิ ัยใหม้ ากข้นึ เพื่อค้นหากลยุทธ์ใหม่ ๆ นาไปใช้แกป้ ัญหาในช้ันเรียนต่อไป ผลจากการศึกษาเอกสารและงานวจิ ัยท่ีเกี่ยวข้องกับทักษะกระบวนการคิดทั้งในประเทศ และตา่ งประเทศ พบว่า การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้เปน็ กระบวนการที่จะตอ้ งจดั ให้เหมาะสมกบั วัยและ วุฒิภาวะของผู้เรียน ให้มีส่วนร่วมในการเรียนรู้ของตนเอง พัฒนาและขยายความคิดของตนเอง สามารถพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงกว่าเดิม ผู้เรียนเกิดความรู้ คิดเป็น ทาเป็น แก้ปัญหาเป็น ครูผู้สอนต้องวางแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีมีคุณภาพและประสิทธิภาพใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ของผูเ้ รยี น

บทท่ี 3 วิธดี าเนินการศกึ ษาค้นคว้า การพัฒนาครูด้านทักษะกระบวนการคิด ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยอาเภอขุนหาญ เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research) เพื่อพัฒนาครูให้มีความรู้ ความเข้าใจและสามารถพัฒนาทักษะกระบวนการคิดได้ ยกระดับคุณภาพการเรียน ซึ่งลาดับการ นาเสนอดงั ต่อไปนี้ 1. กลุม่ ผู้ร่วมคน้ ควา้ และผูใ้ ห้ขอ้ มลู 2. ขัน้ ตอนการดาเนนิ การศกึ ษาค้นควา้ 3. เครื่องมือทใี่ ชใ้ นการศึกษาค้นคว้า 4. วิธีการสรา้ งเครือ่ งมือ 5. การเก็บรวบรวมขอ้ มูล 6. การจดั กระทาและการวิเคราะห์ขอ้ มูล 7. สถิตทิ ีใ่ ช้ในการวเิ คราะห์ข้อมูล กลุ่มผู้รว่ มค้นคว้าและผู้ใหข้ ้อมูล การศกึ ษาคน้ ควา้ ในคร้ังน้ีมผี รู้ ่วมศกึ ษาค้นควา้ วิจยั ออกเป็น 2 ขนั้ ตอน 3 กลุ่ม ดังน้ี 1. กลุ่มผู้ร่วมศึกษาค้นคว้าวิจัยประกอบด้วย ครูผู้สอน 9 คน ซึ่งผู้วิจัยได้พูดคุย ปรึกษาหารือกับคณะครูในสถานศึกษาและประชาสัมพันธ์สร้างความตระหนักถึงความสาคัญในการ พัฒนาตนเองให้มีความรู้ความสามารถมีความเข้มแข็งทางวิชาการที่ต้องทาการวิจัย โดยเฉพาะอย่าง ยงิ่ การพฒั นาทักษะกระบวนการคดิ เป็นสงิ่ สาคญั ทค่ี รูทกุ คนจะต้องปฏิบตั คิ วบค่ไู ปกบั การจัด การ เรียนการสอนปกติ และครูเป็นผู้ท่ีรับรู้ปัญหาในด้านการเรียนการสอนมากที่สุด การพัฒนาทักษะ กระบวนการคิดนอกจากจะพัฒนาผู้เรียนให้มีประสิทธิภาพแล้วยังเป็นผลงานทางวิชาการที่จะพัฒนา วิชาชีพครูให้เป็นวิชาชีพชั้นสูงเป็นท่ียอมรับของสังคมทั่วไปอีกด้วย ดังนั้นจึงได้รับความร่วมมือสมัคร เขา้ รว่ มการพัฒนาตนเองในการพัฒนาทกั ษะกระบวนการคิดด้วยความเต็มใจ จานวน 9 คน 2. กลมุ่ ผ้ใู หข้ อ้ มลู จานวน 3 คน ประกอบด้วย 2.1 วทิ ยากร จานวน 1 คน 2.2 ผู้เชี่ยวชาญ จานวน 2 คน 3. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนปีการศึกษา 2562/2563 ของศูนย์การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอขุนหาญ การเปรียบเทียบก่อนและหลังการพัฒนาบุคลากรการ พฒั นาทกั ษะกระบวนการคิด

58 ขนั้ ตอนการดาเนนิ การศึกษาค้นควา้ การศึกษาค้นคว้าการพัฒนาครูด้านทักษะกระบวนการคิด ศูนย์การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอขนุ หาญในครั้งน้ี ผู้ศึกษาค้นคว้าได้ดาเนนิ การในรูปแบบของการวิจัย เชิงปฏบิ ัติการ (Action Research) โดยการนาเอาหลกั การและแนวคิดของ เคมมสิ และแมก็ เท็กการ์ด (Kemmis and McTaggart. 1988 : 11-15) ดาเนนิ การพฒั นา ประกอบขนั้ ตอนดังตอ่ ไปน้ี 1. การวางแผน (Planning) 1.1 ศึกษาสภาพปัจจุบันและปัญหา ผู้ศึกษาค้นคว้าได้ร่วมกับคณะครู ศูนย์ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอขุนหาญ จานวน 9 คน ซึ่งเป็นครูผู้สอนท่ีร่วม ศึกษาค้นควา้ ในคร้งั นี้ ได้ประชุมวิเคราะห์สภาพปัจจุบันปัญหาและความต้องการท่ีจะพัฒนาตนเองใน ด้านการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด เม่ือวันท่ี 27 พฤษภาคม 2563 เพื่อสร้างความเข้าใจและ กาหนดแผน แนวทางในการดาเนินงานพัฒนาบุคลากรการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด ของ สถานศึกษาบ้านดงแถบต่อไป ผลการศึกษาสภาพปัจจุบันปัญหาเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด ของครูศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอขุนหาญ จากการสนทนากลุ่ม เพ่ือให้ครูอภิปรายแสดงความคิดเห็นและแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันในเชิงสร้างสรรค์พบว่า ครูท้ัง 9 คน ได้รบั การการพฒั นาทักษะกระบวนการคดิ เพยี ง 1 คน เท่าน้ัน ส่วนท่ีเหลือ 8 คนยงั ไม่ได้รับการพัฒนา เกี่ยวกับการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด เป็นเพราะว่าขาดผู้ช้ีนาในการให้ความรู้ความเข้าใจและพา ฝกึ ปฏิบัติตามข้ันตอนการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด ทาให้ครูแก้ปัญหาของผู้เรียนในชั้นเรียนไม่ถูก จุด ส่งผลต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและประสิทธิภาพของผู้เรียนต่าลง ครูทั้ง 9 คน ที่ ต้องการเข้ารับการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด กระจายอยู่ครบทุกระดับช้ันจากระดับช้ัน ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย ที่ประชุมครูจึงตกลงกันว่าดาเนินการ ตามโครงการ 1. ระยะเวลาทาการศึกษาค้นคว้าแบ่งออกเป็น 2 ระยะ คือ ระยะ พัฒนาบุคลากร ใช้ระยะเวลาตั้งแต่ ปีการศึกษา 2563 วันที่ 27 พฤษภาคม 2563 ถึง 10 มิถุนายน 2563 และ 10 สงิ หาคม 2563 ถงึ 2 ตลุ าคม 2563 ใหค้ รูปฏิบตั จิ ริงในชน้ั เรยี น 2. จานวนผูร้ ว่ มศกึ ษาค้นควา้ มนี ้อยคนจะทาใหง้ ่ายตอ่ การนิเทศติดตาม 3. การรวบรวมข้อมูลจะทาใหร้ วดเร็วย่ิงขน้ึ 1.2 กาหนดเปา้ หมายและกลยุทธ์การพัฒนา 1.2.1 กลมุ่ ผู้ร่วมศกึ ษาค้นควา้ ไดป้ ระชุมกลุ่มเพอื่ กาหนดเปา้ หมายและกล ยุทธใ์ นการพฒั นาร่วมกนั ดงั น้ี 1.2.1.1 เป้าหมายในการพัฒนาได้แก่ 1) กลุ่มผู้ร่วมศึกษาค้นคว้ามีความรู้ความเข้าใจในการพัฒนา ทักษะกระบวนการคดิ ทกุ คน 2) กลุ่มผู้ร่วมศึกษาค้นคว้าสามารถพัฒนาทักษะกระบวนการ คดิ และรายงานการพัฒนาทกั ษะกระบวนการคดิ ได้อย่างน้อยคนละ 1 เร่ือง 1.2.1.2 กลยทุ ธใ์ นการพฒั นาไดแ้ ก่ 1) การประชุมเชงิ ปฏิบัติการ 2) การนิเทศภายใน

59 1.3 กลุ่มผู้ร่วมศึกษาค้นคว้าร่วมกันกาหนดปฏิทินการปฏิบัติงาน และวางแผน การปฏิบัติงานโดย กาหนดกิจกรรมแนวทาง และระยะเวลาเพ่ือพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาทักษะ กระบวนการคิดของบุคลากรสถานศึกษาบ้านดงแถบ ให้ดาเนินการเป็นไปตามขั้นตอนอย่างมี ประสิทธิภาพ โดยใช้ แผนปฏิบัติการ (Action Plan) ซ่ึงกลุ่มผู้ร่วมศึกษาค้นคว้าได้ร่วมกันดาเนินการ วางแผนปฏบิ ัติการดงั นี้ 1.3.1 การประชุมเชงิ ปฏบิ ัติการ หมายถึง การบรรยายใหค้ วามรูโ้ ดยวิทยากร เป็นเน้ือหาเก่ียวกับการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด ขั้นตอนการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดตาม กรอบการศกึ ษาค้นคว้าประกอบด้วย การสารวจและการวิเคราะห์ปัญหา การกาหนดวิธีการแกป้ ัญหา การพัฒนาวิธีการหรอื นวัตกรรม การนาวิธีการหรือนวัตกรรมไปใช้ การสรุปผลการแก้ปัญหาและการ รายงานการแก้ปัญหา การประชุมเชิงปฏิบัติการมีเป้าหมายกิจกรรมคือ ต้องการให้ครูมีความรู้ความ เข้าใจเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด สามารถนาเอาการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดไป ดาเนินกิจกรรมการเรยี นรู้ได้ การประชุมเชิงปฏิบัติการใช้ระยะเวลา 2 วัน ระหว่างวันท่ี 3 - 4 มิถุนายน 2563 วิทยากรจะเป็นผู้บรรยายเก่ียวกับการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด ในช่วงเช้าของการประชุมเชิง ปฏิบตั ิการวนั แรก สว่ นช่วงบ่ายและในวันท่ีสองของการประชุมเชิงปฏบิ ัติการ วิทยากรจะนาฝกึ ปฏิบัติ ในการเขียนเค้าโครงการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด ในการประชุมเชิงปฏิบัติการท้ังสองวันน้ีจะมี เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสังเกตโดยผู้ศึกษาค้นคว้าจะเป็นผู้สังเกตพฤติกรรมผู้ร่วม ศึกษาค้นคว้า แบบสัมภาษณ์โดยผู้ศึกษาค้นคว้าจะเป็นผู้สัมภาษณ์ผู้ร่วมศึกษาค้นคว้าในภายหลังการ ประชุมเชงิ ปฏิบัตกิ ารพร้อมทงั้ บันทึกเทปการสัมภาษณ์ดว้ ย และแบบทดสอบ เป็นหน้าที่ของวิทยากร จะใชท้ ดสอบผ้รู ่วมศกึ ษาคน้ คว้ากอ่ นและหลังการประชมุ เชงิ ปฏิบัตกิ าร 1.3.2 การนิเทศภายใน หมายถึง การช่วยเหลือแนะนาระหว่างผู้ศึกษา คน้ ควา้ และผ้เู ชีย่ วชาญกบั ผู้รว่ มศกึ ษาค้นควา้ โดยใช้กิจกรรมนิเทศภายใน 2 กจิ กรรม คือ 1.3.2.1 การให้คาปรึกษาหารือหรือพบปะรายบุคคล หมายถึง การแนะนาให้ความช่วยเหลือเป็นรายบุคคลในระหว่างการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด เพ่ือเน้นให้ผู้ ร่วมศึกษาค้นคว้ามีความรู้ความเข้าใจสามารถพัฒนาทักษะกระบวนการคิดได้ ผู้ศึกษาค้นคว้าจะใช้ แบบสังเกตเพื่อสังเกตพฤติกรรมของผู้ร่วมศึกษาค้นคว้าในการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดและแบบ สัมภาษณ์ ผู้ร่วมศึกษาค้นคว้าควบคู่กันไปในระหว่างการนิเทศด้วย โดยใช้ระยะเวลาในการนิเทศคือ วันที่ 10 มิถนุ ายน 2563 1.3.2.2 การให้คาปรึกษาหารือเป็นรายกลุ่ม หมายถึง การแนะนาให้ ความช่วยเหลือเป็นรายกลุ่มในระหว่างการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด โดยมีเป้าหมายของกิจกรรม คือ ให้ผู้ร่วมศึกษาค้นคว้าได้แลกเปล่ียนเรียนรู้และมีความรู้ความเข้าใจในการพัฒนาทักษะ กระบวนการคิด เครื่องมือที่ใช้จะเป็นแบบสัมภาษณ์ โดยผู้ศึกษาค้นคว้าจะใช้สัมภาษณ์ผู้ร่วมศึกษา ค้นคว้า และแบบสังเกตเป็นการบันทึกพฤติกรรมของผู้ร่วมศึกษาค้นคว้า ดังน้ี ครั้งท่ี 1 วันที่ 18 มิถนุ ายน 2563, ครงั้ ท่ี 2 วนั ท่ี 9 กรกฎาคม 2563, ครัง้ ที่ 3 วันที่ 16 กันยายน 2563 แผนปฏิบัติการ (Action Plan) กลุ่มผู้ร่วมศึกษาค้นคว้าได้ร่วมกันดาเนินการ วางแผนปฏบิ ัติการดงั นี้

ตารางท่ี 3.1 แผนปฏบิ ัติการพัฒนาครูด้านทกั ษะกระบวนการคิด ศ วนั ที่ 3-4 มถิ กิจกรรม เปา้ หมายกิจกรรม ระยะเวลาดาเนิน ผู้ปฏิบัติ กจิ กรรม 1.การประชุม - ครูมีความรู้ 3 ม.ิ ย.2563 วิทยากร เชงิ ปฏิบตั กิ าร ความเข้าใจ ผศู้ ึกษา ค้นคว้า 1.1. การบรรยายของ เกี่ยวกับการพัฒนา วทิ ยากร วทิ ยากร ทักษะ ผู้ศกึ ษา ค้นคว้า กระบวนการคิด 1.2 การฝึกปฏบิ ตั ิ เพอ่ื ให้ครเู ขยี นเคา้ 4 มิ.ย.2563 เขยี นเคา้ โครงการ โครงการพฒั นา พัฒนาทกั ษะ ทกั ษะ กระบวนการคิด กระบวนการคดิ

60 ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอขุนหาญ ถุนายน 2563 วิธีการเกบ็ ขอ้ มูล เคร่อื งมือที่ใชใ้ น ผู้ใหข้ ้อมลู หรือ วัน เดือน ปี ทีเ่ ก็บ การเกบ็ รวบรวม แหลง่ ข้อมูล รวบรวมข้อมูล - การทดสอบ - การสงั เกต ข้อมูล ผูร้ ว่ มศึกษาค้นคว้า 3 ม.ิ ย.2563 08.30 – 16.30 แบบทดสอบ แบบสังเกต - การทดสอบ แบบทดสอบ ผู้ร่วมศกึ ษาค้นควา้ 3 มิ.ย.2563 - การสังเกต - สัมภาษณ์ แบบสังเกต 08.30 – 16.30 แบบสมั ภาษณ์

ตารางท่ี 3.2 แผนปฏิบตั ิการพฒั นาครูด้านทกั ษะกระบวนการคิด ศ วนั ที่ 10 มิถุนายน – กิจกรรม เปา้ หมายกจิ กรรม ระยะเวลาดาเนิน ผปู้ ฏิบตั ิ วิธ กจิ กรรม 1.การนเิ ทศใน 1 เพือ่ ใหผ้ ู้ร่วมศึกษา 10 ม.ิ ย.2563 วทิ ยากร - 1.2. การนเิ ทศ คน้ ควา้ มคี วามรู้ ผู้ศกึ ษา ความเข้าใจสามารถ 10 ก.ค. -16 ค้นคว้า - รายบุคคล พัฒนาทกั ษะ ก.ย. 2563 กระบวนการคดิ ได้ วทิ ยากร - 1.2 การให้ ผูศ้ กึ ษา ผ คาปรกึ ษาและ 2 เพอ่ื ใหผ้ รู้ ่วมศึกษา คน้ ควา้ ค พบประรายกลุ่ม คน้ คว้าสามารถ พัฒนาทักษะ กระบวนการคิดได้

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอขุนหาญ 61 16 กรกฎาคม 2563 ธีการเกบ็ ขอ้ มูล เครอื่ งมอื ที่ใช้ใน ผใู้ ห้ข้อมูลหรือ วนั เดอื น ปี ท่ี การเกบ็ รวบรวม แหลง่ ข้อมูล เก็บรวบรวม การทดสอบ - การสังเกต ข้อมูล ผรู้ ว่ มศึกษา ข้อมลู คน้ ควา้ แบบทดสอบ 10 ม.ิ ย.2563 แบบสังเกต การทดสอบ แบบทดสอบ ผรู้ ่วมศึกษา 10 ก.ค.2563 - การสงั เกต แบบสงั เกต คน้ คว้า 13 ส.ค.2563 - สมั ภาษณ์ แบบสัมภาษณ์ 16 ก.ย.2563 - การประเมิน แบบประเมนิ ผล ผลการศึกษา การศกึ ษาค้นคว้า คน้ ควา้

62 2. การปฏิบัติ (Action) ตามแผนที่กาหนดการการพัฒนาครูด้านทักษะ กระบวนการคิด ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอขุนหาญ ตามแผนปฏิบัติ การดังนี้ 2.1 การประชุมเชงิ ปฏิบัติการ เป็นการประชุมร่วมกันของกลมุ่ ผรู้ ว่ มศกึ ษาคน้ คว้า และเชิญวิทยากรมาให้คาแนะนาเพื่อปรับปรุงและพัฒนาทักษะกระบวนการคิดของครู โดยมีกิจกรรม ยอ่ ยคือ การบรรยายและการฝึกปฏิบัติกิจกรรมตามกระบวนการวิจัย 5 ข้ันตอน จานวน 2 วนั ในวนั ที่ 3 – 4 มถิ ุนายน 2563 โดยผูศ้ ึกษาค้นควา้ และวิทยากรร่วมกันกระตุ้นการทางาน เสรมิ แรงเพื่อใหก้ าร ปฏิบัติงานเป็นไปตามแผน ตามระยะเวลาของการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดและกลุ่มผู้ร่วมศึกษา ร่วมกันแก้ไขข้อบกพร่องของแต่ละคน พร้อมให้กาลังใจในการปฏิบัติงานตลอดจนนาข้อเสนอแนะท่ี เป็นประโยชนใ์ นการทางาน มาช่วยกันแก้ไขปญั หาและอุปสรรคท่ีเกดิ ข้ึนระหวา่ งปฏบิ ัติงานใหป้ ระสบ ผลสาเรจ็ จากนน้ั รว่ มกันกาหนดงานให้ฝึกปฏิบัติการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดหลังจากประชมุ เชิง ปฏบิ ัติการแลว้ และนิเทศติดตามด้วยผู้ศกึ ษาค้นควา้ และวทิ ยากร 2.2 การนิเทศภายใน ผู้ร่วมศึกษาค้นคว้าได้วางแผนในการนิเทศภายในโดยมี กิจกรรมย่อย คือ 1) การให้คาปรึกษาพบปะพูดคุยรายบุคคล 2) การให้คาปรึกษาพบปะพูดคุยราย กลุ่ม เพ่ือให้ผู้ร่วมศึกษาค้นคว้าได้แลกเปล่ียนเรียนรู้และช่วยเหลือกัน โดยมีผู้เชี่ยวชาญคอยให้ คาแนะนาช่วยเหลือตรวจผลงานเป็นระยะและกลุ่มผู้ร่วมศึกษาค้นคว้าได้ร่วมกันวางแผนกา ร ดาเนินงาน กาหนดปฏิทินในการปฏิบัติงานร่วมกันในระหว่าง วันท่ี 10 มิถุนายน 2563 ถึง 16 กันยายน 2563 3. การสังเกต (Observation) ในการดาเนนิ การครั้งนผ้ี ู้ศกึ ษาค้นควา้ ได้กาหนดเป็น 2 ระยะ คอื ระยะที่ 1 เป็นการสังเกตและเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ตามลาดบั ดังน้ี 3.1 การประชุมเชิงปฏิบัติการ ดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการสังเกตโดย ใช้แบบสังเกต และแบบสัมภาษณ์ จากผู้ร่วมศึกษาค้นคว้าและผู้ศึกษาค้นคว้าเป็นผู้ดาเนินการ ระหวา่ งการประชุมเชงิ ปฏิบตั กิ ารซ่งึ ประกอบด้วยกจิ กรรมสาคญั ดังต่อไปน้ี 3.1.1 การบรรยาย เก็บรวบรวมข้อมูลการเข้าประชุมอบรมในระหว่างการฟัง คาบรรยายของผู้ร่วมศึกษาค้นคว้า จานวน 9 คน ในระหว่างวันที่ 3 – 4 มิถุนายน 2563 ผู้ศึกษา ค้นคว้าใช้แบบสังเกตการมีส่วนร่วมในการประชุมเชิงปฏิบัติการในด้านความพร้อมของผู้ร่วมศึกษา คน้ ควา้ การปฏสิ มั พนั ธ์ ความสนใจใฝ่รแู้ ละความพยายามตงั้ ใจ เกบ็ รวบรวมข้อมลู โดยผศู้ กึ ษาคน้ ควา้ 3.1.2 การฝึกปฏิบัติการเขียนเค้าโครงการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด และ การเขียนรายงานการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด เป็นการฝึกปฏิบัติตามใบงานท้ัง 5 ขั้นตอน คือ การสารวจและวเิ คราะห์ปญั หา การกาหนดวิธี การแก้ปญั หา การพัฒนาวิธีการหรือนวตั กรรม การนา วธิ กี ารหรือนวัตกรรมไปใช้ การสรุปผลการแก้ปัญหาและรายงานการแกป้ ัญหาแลว้ นาเสนอผลงานใน ท่ีประชุมในวันที่ 3 – 4 มิถุนายน 2563 ผู้ศึกษาค้นคว้าและผู้ร่วมศึกษาค้นคว้าได้ร่วมกันศึกษา อภิปราย วิเคราะห์กิจกรรมที่ทามาโดยวิทยากรให้นา แนวคิดเสนอต่อท่ีประชุมและผู้ศึกษาค้นคว้าใช้ แบบสังเกตการมีสว่ นรว่ ม แบบสัมภาษณ์ เกบ็ รวบรวมข้อมลู

63 3.2 การนิ เท ศภ ายใน ดาเนิ น การเก็บ รวบ รวมข้อมูลด้วยวิธีการสังเกต การสัมภาษณ์ และประเมินผลงาน โดยใช้แบบสังเกต แบบสัมภาษณ์ โดยผู้เช่ียวชาญในระหว่างวันท่ี 10 มิถุนายน 2563 ถงึ วนั ที่ 16 กนั ยายน 2563 ซึ่งประกอบไปดว้ ยกิจกรรมสาคญั ดงั ต่อไปน้ี 3.2.1 การให้คาปรึกษาหารือพบปะรายบุคคล ดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล จากแบบสังเกตและแบบสัมภาษณ์จากการดาเนินการในวันที่ 10 มิถุนายน 2563 เวลา 09.00 - 15.00 น. 3.2.2 การให้คาปรึกษาหารือพบปะรายกลุ่ม จากการดาเนินกิจกรรม การแนะนาให้ความช่วยเหลือเป็นรายกลุ่มในการฝึกปฏิบัติการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด ทั้ง 5 ข้ันตอน ของผู้ร่วมศึกษาค้นคว้ากับผู้ศึกษาค้นคว้าโดยมีผู้เชี่ยวชาญท่ีเป็นวิทยากรมาร่วมให้ คาแน ะน าและตรวจผล งาน การพัฒ น าทักษ ะกระบ วน การคิด ของผู้ ร่วมศึกษาค้น คว้าแต่ล ะคน ดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลจากแบบสังเกตและแบบสัมภาษณ์ ในวันท่ี 18 กรกฎาคม 2563 เวลา 15.00 - 17.00 น. วนั ที่ 13 สิงหาคม 2563 ในเวลา 14.00 - 16.30 น. และวนั ที่ 16 กันยายน 2563 เวลา 14.30 - 16.30 น. ระยะท่ี 2 เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการการพัฒนาครูด้านทักษะ กระบวนการคิด ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอขุนหาญ จานวน 9 คน ท่ี ได้จากสังเกต การสังเกต การสัมภาษณ์และการประเมินผลงานในแต่ละกิจกรรมพัฒนามาจัดให้เป็น ระบบเพ่อื นาขอ้ มลู วเิ คราะห์ ตรวจสอบ สะทอ้ นผลปรบั ปรุงแก้ไข การปฏบิ ตั งิ านให้มปี ระสิทธิภาพ 4. การสะท้อนผล (Reflection) กลุ่มผู้ร่วมศึกษาค้นคว้ารวบรวมข้อมูลในการ ดาเนินการพัฒนาบุคลากรครูด้านการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด จากแบบสังเกต แบบสัมภาษณ์ และแบบประเมินผลงาน มาวิเคราะห์ วิจารณ์ตรวจสอบผลการดาเนินงานท่ีผ่านมาเพ่ือหาจุดเด่นจุด ด้อยร่วมกันแล้วสรุปผลการดาเนินการ เพื่อนาผลท่ีได้มาปรับปรุงแก้ไขและพัฒนาให้เหมาะสมยิ่งข้ึน ในวงรอบต่อไป เครื่องมือทีใ่ ช้ในการศกึ ษาค้นคว้า การศึกษาวิจยั ครั้งน้ีใชเ้ ครอ่ื งมอื ในการศึกษาดังน้ี 1. ประเภทเคร่ืองมือ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคร้ังนี้มี 4 ประเภท ประกอบด้วย 1.1 แบบสงั เกต 1.2 แบบสมั ภาษณ์ 1.3 แบบทดสอบ 1.4 แบบประเมินผลงาน 2. ลกั ษณะของเครอื่ งมอื 2.1 แบบสังเกตแบ่งออกเป็น 2 ฉบับคือ 2.1.1 แบบสังเกตพฤติกรรมกลุ่มครูผู้ร่วมศึกษาค้นคว้า ในกิจกรรมประชุมเชิง ปฏิบัตกิ าร ด้านการพฒั นาครูดา้ นทักษะกระบวนการคิด ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศัยอาเภอขุนหาญ

64 2.1.2 แบบสังเกตพฤติกรรมกลุ่มครูผู้ร่วมศึกษาค้นคว้า ในระหว่างการพัฒนา ทกั ษะกระบวนการคิด ซึ่งแบ่งเป็นประเดน็ การสงั เกตออกเป็น 4 ประเด็นคือ 2.1.2.1 ความสนใจและมองเห็นความสาคัญของการพัฒนาทักษะ กระบวนการคิด 2.1.2.2 กระบวนการกลุ่มในการพัฒนาทักษะกระบวนการคดิ 2.1.2.3 การนาเสนอข้อมูล ความคิดเห็นเพื่อการพัฒ นาทักษะ กระบวนการคดิ 2.1.2.4 การพัฒนาทกั ษะกระบวนการคิด ซึง่ มี 5 ขน้ั ตอน 2.2 แบบสัมภาษณ์ ผ้ศู ึกษาคน้ คว้ารว่ มกนั สร้างขน้ึ แบง่ ออกเป็น 2 ฉบับ ดงั น้ี 2.2.1 แบบสัมภาษณ์ฉบับท่ี 1 เป็นแบบสัมภาษณ์กลุ่มผู้ร่วมศึกษาค้นคว้า ภายหลงั ประชุมปฏบิ ตั ิการ ประกอบด้วย 2 ตอน คอื 2.2.1.1 ตอนที่ 1 เปน็ ข้อมูลพน้ื ฐานเกีย่ วกบั ผใู้ ห้สมั ภาษณ์ 2.2.1.2 ตอนท่ี 2 รายการสัมภาษณ์ คือ รายการสัมภาษณก์ ลมุ่ ครูผู้รว่ ม ศกึ ษาค้นคว้า 2.2.2 แบบสัมภาษณ์ฉบบั ที่ 2 เป็นแบบสัมภาษณข์ องผู้ศึกษาค้นคว้าสมั ภาษณ์ ผู้รว่ มศึกษาค้นคว้าระหวา่ งการนิเทศภายใน 2.2.2.1 ตอนท่ี 1 เป็นขอ้ มลู พ้นื ฐานเก่ยี วกับผูใ้ หส้ มั ภาษณ์ 2.2.2.2 ตอนท่ี 2 รายการสัมภาษณ์ คือ รายการสัมภาษณ์กลุ่มผู้ร่วม ศกึ ษาคน้ ควา้ 2.3 แบบประเมิน ใช้เป็นเครื่องมือในการประเมินผลงานการเขียนรายงานการ พัฒนาทักษะกระบวนการคิดของกลุ่มผู้ร่วมศึกษาค้นคว้าเพื่อเป็นก ารตรวจสอบและพิจารณาโดย ผ้เู ช่ยี วชาญ วธิ กี ารสร้างเครอ่ื งมือ การสร้างเครื่องมือท่ีใช้รวบรวมข้อมูลในการศึกษาค้นคว้าคร้ังนี้ เป็นแบบสัมภาษณ์ แบบสังเกต และแบบประเมิน ผู้ศึกษาค้นคว้าได้ศึกษาเอกสาร ตารา ทฤษฎีและงานวิจัยที่เก่ียวข้อง กับการพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด เช่น “การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้” (กรมวิชาการ. 2545) “การวิจัยปฏิบัติการ” (ประวิต เอราวรรณ์. 2545 : 9 – 11) “การวิจัย ปฏิบัติการในช้ันเรียน” (สุวิมล ว่องวาณิช. 2544) และสมนึก ภัททิยธนี (2544 : 31 – 33) ได้ ดาเนนิ การสรา้ งดงั ต่อไปน้ี 1. แบบสัมภาษณ์ ผู้ศึกษาคน้ คว้าไดด้ าเนินการสรา้ งตามขั้นตอนดงั น้ี 1.1 ศึกษาเอกสาร ตารา และงานวิจัยท่ีเก่ียวข้องกับการสร้างแบบที่สัมภาษณ์ใน ดา้ นการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด

65 1.2 ศึกษาวิธีสร้างแบบสัมภาษณ์ครูในการดาเนินการพัฒนาทักษะกระบวนการ คิด เพ่ือพัฒนาบคุ ลากรครูในด้านการพัฒนาทักษะกระบวนการคดิ ตามแนวทางการศึกษาคน้ คว้า 1.3 กาหนดขอบขา่ ยทตี่ ้องการสมั ภาษณใ์ ห้ครอบคลมุ กรอบการศึกษาคน้ คว้า 1.4 นาแบบสัมภาษณ์ทีผ่ ู้วจิ ัยสร้างขึน้ เสร็จแลว้ เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง ความ เหมาะสมในการใช้ภาษา ความครอบคลุมของเรื่องที่ใช้ในการสัมภาษณ์ตลอดทั้งให้คาแนะนาเพื่ อ ปรบั ปรุงแกไ้ ข 1.5 นาข้อมูลท่ีได้ในข้อ 1.4 ให้ผู้เช่ียวชาญพิจารณา ตรวจสอบคุณภาพในด้าน ความเทีย่ งตรงของเนอื้ หา จานวน 3 ท่านประกอบด้วย 1.5.1 นายวรินทร์ วิรุณพันธ์ ผู้อานวยการเชี่ยวชาญ สานักงานส่งเสริม การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจงั หวดั อุดรธานี 1.5.2 นายสมัย แสงใส ผู้อานวยการเช่ียวชาญ ศูนย์การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเพ็ญ สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศยั จงั หวัดอุดรธานี 1.5.3 นายสุจิน หล้าคา ผู้อานวยการเชี่ยวชาญ โรงเรียนไพรบึงวิทยาคม องคก์ ารบริหารส่วนจงั หวัดศรสี ะเกษ 1.5.4 รศ.ดร.อุดมพันธ์ พิชญ์ ประเสริฐ อดีตคณ บีคณ ะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ศรีสะเกษ 1.5.5 ดร.วรนันท์ จันแข็ง ผู้อานวยการชานาญการพิเศษ โรงเรียนมัธยมดุสิ ตาราม การศึกษาดุษฎีบัณฑติ การวิจัยทางการศึกษา 1.6 ปรับปรงุ แกไ้ ขเคร่ืองมอื ตามข้อเสนอแนะของผู้เชีย่ วชาญ 1.7 จดั พิมพข์ อ้ มูลฉบบั สมบรู ณ์ เพ่ือใช้ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลตอ่ ไป 2. แบบสังเกต ผศู้ ึกษาค้นคว้าไดด้ าเนินการตามขน้ั ตอนดงั นี้ 2.1 ศึกษาเอกสารตารา และงานวิจยั ที่เก่ียวข้องเกี่ยวกบั การสร้างแบบสังเกต 2.2 ศึกษาวิธีสร้างแบบสังเกต คือแบบที่ใช้ในการสังเกตครูในการดาเนินการ พัฒนาทกั ษะกระบวนการคดิ เพ่ือพัฒนาบุคลากรครูด้านการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด 2.3 กาหนดขอบข่ายทตี่ อ้ งสงั เกตใหค้ รอบคลุมกรอบการศกึ ษาค้นควา้ 2.4 นาแบบสังเกตที่ผู้ศึกษาค้นคว้าสร้างข้ึนเสร็จแล้วไปเสนอผู้เชี่ยวชาญเพื่อ ตรวจสอบความถูกต้อง ความเหมาะสมในการใช้ภาษาครอบคลุมของเรื่องท่ีทาการสงั เกตตลอดท้ังให้ คาแนะนาในการปรับปรุงแก้ไข 2.5 นาเครื่องมือที่ได้ปรับปรุงแก้ไขแล้วไปให้ผู้เช่ียวชาญพิจารณาตรวจสอบ คุณภาพในความเท่ยี งตรงของเน้อื หาจานวน 3 ท่านตามขอ้ 1.5 2.6 ปรับปรุงแกไ้ ขเคร่อื งมอื ตามข้อเสนอแนะของผูเ้ ชย่ี วชาญ 2.7 จัดพมิ พ์ขอ้ มลู ฉบับสมบูรณ์ เพอ่ื ใช้ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ต่อไป 3. แบบประเมนิ ผศู้ ึกษาคน้ ควา้ ไดด้ าเนินการตามขน้ั ตอนดังนี้ 3.1 ศึกษาเอกสารตารา และงานวจิ ัยที่เก่ยี วขอ้ งเก่ยี วกับการสรา้ งแบบประเมนิ 3.2 ศึกษาวิธีสร้างแบบประเมิน คือแบบประเมิน ท่ีใช้ในการดาเนินการพัฒนา ทักษะกระบวนการคดิ เพื่อพฒั นาบุคลากรครูด้านการพฒั นาทักษะกระบวนการคดิ

66 3.3 กาหนดขอบข่ายที่ต้องสร้างแบบประเมิน ให้ครอบคลุมกรอบการศึกษา ค้นคว้า 3.4 นาแบบประเมิน ท่ผี ้ศู ึกษาคน้ ควา้ สร้างขึ้นเสร็จแลว้ 3.5 นาเครื่องมือที่ได้ปรับปรุงแก้ไขแล้วไปให้ผู้เช่ียวชาญพิจารณาตรวจสอบ คุณภาพในความเทยี่ งตรงของเนื้อหาจานวน 5 ทา่ นตามขอ้ 1.5 3.6 ปรบั ปรงุ แกไ้ ขเครอื่ งมอื ตามข้อเสนอแนะของผเู้ ชยี่ วชาญ 3.7 จดั พมิ พ์ข้อมูลฉบับสมบรู ณ์ เพอื่ ใช้ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลตอ่ ไป 4. แบบทดสอบ ผูศ้ กึ ษาค้นคว้าไดด้ าเนินการตามขัน้ ตอนดังนี้ 4.1 ศึกษาเอกสารตารา และงานวจิ ยั ทีเ่ ก่ยี วข้องเก่ียวกบั การสร้างแบบทดสอบ 4.2 ศึกษาวิธีการสร้างแบบทดสอบ ท่ีใช้ในการดาเนินการพัฒ นาทักษะ กระบวนการคิดเพื่อพัฒนาบุคลากรเก่ยี วกับการพัฒนาทกั ษะกระบวนการคดิ 4.3 กาหนดขอบข่ายในการสร้างแบบทดสอบใหค้ รอบคลมุ กรอบการศึกษาคน้ คว้า 4.4 นาแบบทดสอบทผี่ ู้ศึกษาค้นคว้าสร้างขนึ้ เสรจ็ แล้ว 4.5 นาเครอ่ื งมือทไ่ี ด้รบั การปรับปรุงแก้ไขแล้วไปให้ผู้เชี่ยวชาญพิจารณาตรวจสอบ คุณภาพในความเทยี่ งตรงของเน้อื หาจานวน 3 ท่านตามข้อ 1.5 4.6 ปรับปรุงแกไ้ ขเครอื่ งมอื ตามข้อเสนอแนะของผเู้ ชี่ยวชาญแลว้ 4.7 จดั พิมพแ์ บบทดสอบฉบับสมบูรณ์ เพอ่ื ใช้ในการเกบ็ ข้อมลู ต่อไป การเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้ศกึ ษาคน้ ควา้ ดาเนนิ การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลดังต่อไปนี้ 1. ช่วงที่ 1 ดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลจากการดาเนินงานพัฒนาบุคลากรครูด้าน การพฒั นาทักษะกระบวนการคิดตามตารางของวงรอบที่ 1 ระหวา่ ง 15 – 18 กนั ยายน 2563 2. ช่วงท่ี 2 ดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลจากการดาเนินงานพัฒนาบุคลากรครูด้าน การพัฒนาทักษะกระบวนการคิดตามตารางของวงรอบที่ 2 ระหว่าง วันท่ี 26 กันยายน – 2 ตุลาคม 2556 3. บันทึกข้อมูลสภาพท่ีจะไปเก่ียวข้องกับการดาเนินการกิจกรรมพัฒนาบุคลากรครู ดา้ นการพัฒนาทักษะกระบวนการคดิ แบบสงั เกต ,แบบสัมภาษณแ์ ละแบบประเมนิ การจัดกระทาและการวเิ คราะห์ขอ้ มูล 1. การจัดกระทาข้อมูล ดาเนินการโดยนาข้อมูลที่ได้รับมาแล้วทาการจัดหมวดหมู่ เพ่อื นาไปสู่การวิเคราะห์ขอ้ มลู ผูศ้ กึ ษาค้นควา้ ไดด้ าเนนิ การวเิ คราะหข์ อ้ มลู ดงั นี้ เครื่องมือการตรวจสอบการดาเนินการพัฒนา 1.1 ใช้ค่าสถิติ คือ ค่าเฉลี่ย สาหรับการทดสอบก่อน และหลังการประชุมเชิง ปฏบิ ตั ิการ ค่าเฉลีย่ และค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน สาหรับแบบประเมินผลงาน

67 1.2 ใช้วิธีตีความสร้างข้อสรุป สาหรับแบบสัมภาษณ์ข้อมูลท่ีเป็นข้อมูลจากแบบ สัมภาษณ์ 2. การวิเคราะห์ข้อมลู ดาเนินการวเิ คราะหข์ อ้ มลู เป็น 2 ข้นั ตอน คอื 2.1 ข้อมูลเชิงปริมาณ ผู้ศึกษาค้นคว้าวิเคราะห์ด้วยเคร่ืองมือ และสรุปค่าที่ได้โดย คา่ เฉลี่ย คา่ เบ่ียงเบนมาตรฐาน และการแปลค่าแบบประเมนิ ผลงาน 2.2 ข้อมูลเชิงคุณภาพ ผู้ศึกษาค้นคว้าทาความเข้าใจข้อมูล จากแบบสัมภาษณ์ ผ้รู ว่ มศึกษาคน้ คว้า แบบสงั เกตผรู้ ่วมศึกษาค้นคว้า วา่ มปี ระเดน็ สาคัญอะไรบา้ ง จากนน้ั ทาการลงรหัส (Coding) ข้อมูลด้วยการขีดเส้นใต้ และตัดส่วนข้อมูลท่ีเป็นคาพูด แยกออกมาจัดหมวดหมู่ข้อมูลให้ เป็นกลุ่มประเด็นเดียวกัน เรียกว่า ตัดประ (Cut and Past) และทาการตีความสร้างข้อสรุปโดยผู้ ศึกษาค้นคว้าอ่านพิจารณาข้อมูลในแต่ละกลุ่มประเด็นว่า คืออะไร หมายความว่าอย่างไร แล้วเขียน สรุปบรรยายเปน็ ความเรียง 3. เปรียบเทียบผลสัมฤทธปิ์ ีการศึกษา 2562/2563 ของศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอขุนหาญ การเปรียบเทียบก่อนและหลังการพัฒนาครูด้านทักษะ กระบวนการคิด ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอขนุ หาญ โดยหาคา่ เฉลี่ยที่ ต่างกนั ในการเปรียบเทียบผลสมั ฤทธ์ิในปีการศึกษา 2562 และ 2563 สถติ ิทใ่ี ชใ้ นการรวบรวมขอ้ มลู ในการศึกษาค้นคว้าครั้งน้ี ใช้ค่าสถิติ คือ ค่าเฉล่ีย สาหรับแบบทดสอบก่อนและหลัง การประชุมเชิงปฏิบัติการ การใช้ค่าเฉลี่ยและ ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐานสาหรับแบบประเมินผลการ ปฏบิ ตั ิงาน และการเปรยี บเทียบผลสัมฤทธ์ิ ด้วย t-test dependent

บทที่ 4 ผลการวิเคราะหข์ ้อมูล ผ้ศู กึ ษาค้นควา้ ขอนาเสนอผลการวิเคราะหข์ อ้ มูลตามลาดับดังน้ี 1. ผลการดาเนนิ การพฒั นาในวงรอบที่ 1 2. การสะท้อนผลในวงรอบที่ 1 3. ผลการดาเนนิ การพฒั นาในวงรอบท่ี 2 4. การสะท้อนผลในวงรอบที่ 2 ผลการดาเนินการพฒั นาในวงรอบที่ 1 สภาพปัจจุบันปญั หากอ่ นการพฒั นา กลุ่มผู้ร่วมศึกษาค้นคว้าท้ัง 9 คน ขาดความรู้ความเข้าใจ และความตระหนัก ในความสาคัญในการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด ขาดความรู้ด้านเทคนิคในการพัฒนาทักษะ กระบวนการคิด มีครู 1 คน เคยรับการอบรมเก่ียวกบั การพัฒนาทักษะกระบวนการคิดมาแล้วแต่ไม่มี ความม่ันใจ ไม่สามารถลงมอื ทาการพฒั นาทักษะกระบวนการคิดได้ 1. การดาเนินการพฒั นา 1.1 การประชมุ เชงิ ปฏิบัติการ (Workshop) วนั ท่ี 3 มิถนุ ายน 2563 เวลา 07.30 - 08.30 น. ผู้เข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการรายงาน ตวั รับเอกสาร เว ล า 08.40 - 09.00 น . พิ ธีเปิ ด แ ล ะบ รรย าย พิ เศ ษ โด ย ผู้อานวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอขุนหาญ ให้แนวคิดเกี่ยวกับ การพัฒนาตนเองให้เป็นครูมืออาชีพเพ่ือรองรับการเปลี่ยนแปลงในโลกแห่งความเจริญยุคเทคโนโลยี สารสนเทศ ความเปน็ ครูนกั พัฒนาเพื่อนาไปแก้ปัญหาในชัน้ เรยี นและเป็นการพัฒนาตนเอง ทาให้กลุ่ม ผ้รู ่วมศึกษาคน้ ควา้ มีความตระหนักเหน็ คุณค่าในการพัฒนาตนเองและการพัฒนาอาชพี เวลา 09.00 - 09.30 น. การทดสอบก่อนการประชุมเชิง ปฏิบัติการ เป็นข้อทดสอบแบบปรนัย จานวน 20 ข้อ จานวน 4 ตัวเลือก เป็นการถาม ความรู้ความ เข้าใจเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด ซึ่งเป็นข้อทดสอบท่ีจัดทาขึ้นโดยผู้เชี่ยวชาญใช้เวลา ทดสอบแตล่ ะครั้งไมเ่ กิน 30 นาทีขอ้ ทดสอบแต่ละข้อใหค้ ะแนนขอ้ ละ 1 คะแนน เวลา 09.30 - 12.00 น. วิทยากรช้ีแจงเส้นทางการศึกษาเอกสาร เกย่ี วกบั การพัฒนาทกั ษะกระบวนการคิดแบบง่าย หลังจากนั้นเป็นการบรรยาย แนวคิดในการพัฒนา ทักษะกระบวนการคิด ทักษะกระบวนการคิดสัมพันธ์กับการจัดการเรียนรู้อย่างไร การพัฒนาทักษะ กระบวนการคิดแบบง่ายเหมาะกบั ครอู ย่างไร ประโยชน์จากการพฒั นาทักษะกระบวนการคิดแบบง่าย จะนาไปใช้อย่างไร การดาเนินการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดแบบง่าย บันไดสกู่ ารเป็นครนู กั พฒั นา

69 ข้ันที่ 1 การกาหนดปัญหา หรือเป้าหมายการพัฒนาทักษะ กระบวนการคิด เป็นการดาเนินการสารวจและวิเคราะห์ปัญหาต่าง ๆ ภายในช้ันเรียน เม่ือพบปัญหา จากการสารวจและวิเคราะห์ปัญหาแล้ว หากมีหลายปัญหาควรจัดความสาคัญของปัญหา โดย พิจารณาปัญหาท่ีเห็นว่ารุนแรงและต้องแก้ไขโดยเร่งด่วน ก็ควรนาปัญหานั้นมาจัดลาดับความสาคัญ แล้วนามาแก้ไขตามลาดับความสาคัญตามน้ัน ส่วนการสารวจปัญหาหรือวิเคราะห์ปัญหา เช่น การ วเิ คราะห์ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนในแง่มุมต่าง ๆ การตรวจสมุดแบบฝึกหัด การสารวจพฤติกรรมของ ผู้เรียน เป็นตน้ ข้ันที่ 2 การกาหนดวิธีการหรือนวัตกรรมในการแก้ปัญหา เมื่อครู ได้วิเคราะห์ปัญหาและเลือกปัญหาท่ีจะทาการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดได้แล้ว ในข้ันน้ีครูจะต้อง ศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง เช่น วารสาร บทความ หลักสูตร หนังสือ ตารา คู่มือ ทฤษฎี ต่าง ๆ ตลอดจนประสบการณ์ของครูเอง ทาให้ครูทราบว่าปัญหาที่คล้ายกับปัญหาของเราเอง มีผู้ใด ศึกษาไว้บ้างใช้วิธีใดในการแก้ปัญหา ผลการแก้ปัญหาเป็นอย่างไร จะทาให้ครูเห็นปัญหาได้อย่าง ชัดเจนข้ึนซ่ึงอาจเป็นวิธีสอนแบบใหม่ หรือการใช้นวัตกรรมเข้ามาช่วยในการณ์จัดประสบการณ์ การ เรียนการสอนของครู ได้แก่ บทเรียนสาเร็จรูป ชุดการสอน เอกสารประกอบการสอน คู่มือครู บทเรียนคอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอน เปน็ ตน้ ข้ันที่ 3 การพัฒนาวิธีการหรือนวัตกรรม เป็นการได้ทางเลือกใน การแก้ปัญหา หรือ พัฒนาซึ่งอาจเป็นวิธีการหรือนวัตกรรมท่ีเป็นไปได้แล้ว กาหนดวิธีการหรือสร้าง นวัตกรรมที่ใช้ในการแก้ปัญหาหรือพัฒนาแล้วดาเนินการหาคุณภาพของวิธีการหรือนวัตกรรมจาก ผู้เช่ยี วชาญตอ่ ไป ข้ันที่ 4 การนานวัตกรรมหรือวิธีการไปใช้ คือการนาวิธีการหรือ นวัตกรรมที่สร้างขึ้นมาใช้ โดยระบุข้ันตอนปฏิบัติว่าจะใช้กับใคร เม่ือไร อย่างไร แล้วเก็บรวบรวม ข้อมูล สังเกตพฤตกิ รรมเร่ิมต้นของผู้เรียนก่อนนาไปใช้ เม่อื นาไปใชแ้ ล้วสังเกตพฤติกรรมอีกระยะหน่ึง เพื่อนาข้อมูลมาวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้เรียนต่อไป ในข้ันนี้ ต้องมีเคร่ืองมือและ วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล ท้ังแนวทางวิเคราะห์ข้อมูลให้ชัดเจน จะทาให้นวัตกรรมหรือวิธีการท่ี นามาใช้เกิดประโยชน์สูงสุด ขั้นที่ 5 การสรุปผล เป็นการนาข้อมูลมาวิเคราะห์ เลือกใช้สถิติที่ เหมาะสมกับข้อมูลที่รวบรวมได้ แล้วสรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูล หากยังไม่สามารถแก้ปัญหาได้ตามที่ ต้องการ ต้องทาการรวบรวมแก้ไข โดยย้อนกลับไปหาวิธีการ หรือนวัตกรรมใหม่ แล้วพัฒนาวิธีการ หรือนวัตกรรม ตลอดจนการนาวิธีการหรือนวัตกรรมไปใช้อีก จนกระท้ังแก้ปัญหาได้ตามท่ีต้องการ แลว้ เขยี นสรุปการดาเนนิ งานและเขียนรายงานเผยแพรผ่ ลงานการพฒั นาทกั ษะกระบวนการคิดต่อไป การบรรยายของวิทยากรเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดเป็น ผลงานวิชาการด้วย พร้อมกับการสรุปผลการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดและการเขียนรายงานการ พฒั นาทักษะกระบวนการคดิ เวลา 13.00 - 16.30 น. วิทยากรได้มอบหมายให้ผู้เข้าร่วมการ ประชุมเชิงปฏิบัติการ ทาใบงานท่ี 1 การสารวจปัญหาและการวิเคราะห์ปัญหา ให้แต่คนทดลอง สารวจปัญหาและวิเคราะห์ปัญหา นาเสนอทีละคน วิทยากรเสนอแนะวิธีการสารวจปัญหาการ วิเคราะห์ปัญหาและการตัง้ ชื่อเรอ่ื งในการพัฒนาทักษะกระบวนการคดิ ให้เหมาะสมไม่ซา้ ซ้อนอ่านแล้ว

70 เข้าใจงา่ ย ใบงานท่ี 2 การกาหนดวิธีการหรอื นวตั กรรมในการแกป้ ัญหา เครื่องมือท่ใี ชใ้ นการแกป้ ัญหา วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ ผู้ร่วมศึกษาค้นคว้านาเสนอใบงานท่ี 2 ที ละคน วิทยากรจะสอดแทรกความรู้เก่ียวกับกลุ่มประชากร ความสาคัญของตัวแปร รูปแบบของ เครอ่ื งมอื วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลสถิตทิ ่ีใชใ้ ห้เหมาะสมกับชิ้นงาน ก่อนเวลา 16.30 น. วิทยากรเปิด โอกาสให้ผู้ร่วมศึกษาค้นคว้าได้ชักถามแล้วจึงกล่าวสรุปหัวข้อการประชุมตลอดทั้งวันพร้อมกับนัด หมายการประชุมในวนั ท่ี 2 ต่อไป วันท่ี 4 มถิ นุ ายน 2563 เวลา 08.30 น. เร่ิมการประชุมเชิงปฏิบัติการ วิทยากรได้ทบทวน หัวข้อการประชุมวันแรกโดยเน้นบันได 5 ขั้นในการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด เพ่ือสร้างความ ตระหนักให้ผู้ร่วมศึกษาค้นคว้ารับทราบ หลังจากนั้นจึงมอบ ใบงานที่ 3 การพัฒนาวิธีการหรือ นวัตกรรม เวลา 13.00 น. วิทยากรได้มอบหมายให้ผู้ร่วมศึกษาค้นคว้า เขียน เค้าโครงการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดคนละ 1 เรื่อง โดยกาหนดรูปแบบเคา้ โครงดงั นี้ 1. ชอ่ื เร่อื งการพัฒนาทกั ษะกระบวนการคิด 2. ความสาคัญของปัญหา สภาพปัญหา/แนวทางแก้ปัญหา/พฒั นา 3. วตั ถปุ ระสงค์ของการพัฒนาทกั ษะกระบวนการคิด 4. ประโยชนท์ ี่คาดว่าจะไดร้ ับ 5. แนวคิดหลกั ท่นี ามาใชใ้ นการแก้ปญั หา 6. วธิ ีดาเนนิ การพฒั นาทกั ษะกระบวนการคดิ 7. ระยะเวลาในการดาเนินงาน 8. ผูร้ บั ผดิ ชอบ วิทยากรพร้อมด้วยผู้ศึกษาค้นคว้า จะให้คาแนะนาการเขียนเค้า โครงการพฒั นาทกั ษะกระบวนการคิดเป็นรายบุคคลการนาเสนอใบงานในที่ประชุมคนละ 5 นาทีให้ผู้ ร่วมศึกษาค้นคว้าได้แลกเปล่ียนเรียนรู้ซ่ึงกันและกัน พร้อมทั้งได้เสนอแนะวิธีการเขียนเค้าโครงการ พัฒนาทักษะกระบวนการคิด ให้ผู้ร่วมศึกษาค้นคว้าไปปรับปรุงแก้ไขให้สมบูรณ์ เพื่อจะนาไปใช้ใน สถานการณจ์ รงิ ต่อไป เวลา 15.45 น. วิทยากรสรุปผลการประชุมเชิงปฏิบัติการครบทุก หัวข้อแล้วเปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วมประชุมได้ซักถาม หลังจากน้ัน คณะวิทยากรให้ผู้เข้าร่วมศึกษา คน้ คว้าทาแบบทดสอบภายหลงั การประชมุ เชิงปฏิบตั กิ าร เวลา 16.40 น. ผู้อานวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอขุนหาญ กลา่ วปดิ การประชมุ เชงิ ปฏบิ ัตกิ าร

ตารางที่ 4.1 71 แสดงผลคะแนนการทดสอบก่อนเรยี นและหลังเรยี น ในการวัดความรู้ความเขา้ ใจ ของผเู้ ขา้ รว่ มประชุมเชิงปฏิบตั กิ าร ลาดับ กลุม่ เป้าหมาย คะแนนก่อนประชมุ เชิง คะแนนหลังการ การเปรียบเทยี บ ผลเพม่ิ ข้ึน ปฏบิ ตั ิการ ประชมุ เชิงปฏิบัตกิ าร 4 4 1 ครูคนที่ 1 12 16 4 5 2 ครูคนที่ 2 13 17 3 3 3 ครคู นท่ี 3 11 15 4 6 4 ครคู นที่ 4 11 16 5 4.22 5 ครคู นท่ี 5 12 15 6 ครูคนที่ 6 13 16 7 ครูคนท่ี 7 13 17 8 ครคู นที่ 8 12 18 9 ครูคนที่ 9 11 16 เฉลีย่ 12.00 16.22 จากตารางที่ 4.1 แสดงผลการทดสอบก่อนและหลังการประชมุ เชิงปฏบิ ัติการ การ ทาการพัฒนาทกั ษะกระบวนการคิดของกลุ่มเป้าหมาย ก่อนการประชุมเชิงปฏิบัติการได้คะแนนเฉลี่ย 12.00 ภายหลังการประชุมเชิงปฏิบัติการแล้วได้ คะแนนเฉล่ีย 16.22 กลุ่มเป้าหมายทาแบบทดสอบ ได้คะแนนสูงข้ึนทุกคน คะแนนเฉล่ียเปรียบเทียบก่อนและหลังการประชุมเชิงปฏิบัติการ 4.22 แสดง ว่ากลยุทธ์ในการประชุมเชิงปฏิบัติการสามารถพัฒนากลุ่มเป้าหมาย ให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ การพฒั นาทักษะกระบวนการคดิ ได้ ผู้ศึกษาค้นคว้า ได้สังเกตพฤติกรรมของผู้ร่วมศึกษาค้นคว้าในระหว่างการประชุม เชิงปฏิบัติการ เป็นการสังเกตพฤติกรรมโดยรวมของผู้ร่วมศึกษาค้นคว้าพบว่า ตั้งใจรับฟังและ จดบันทกึ พร้อมกับการศึกษาเอกสารท่ีวทิ ยากรแจกให้ การซักถามปัญหาทุกครั้งท่ีเป็นข้อสงสัยและไม่ เข้าใจ ร่วมแสดงความคิดเห็นแลกเปลี่ยนกับวิทยากร ทาใบงานท่ีวิทยากรมอบหมายเสร็จตาม กาหนดเวลาทุกคร้ัง กลุ่มเป้าหมาย จานวน 1 คน มีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับวิทยากร ค่อนข้างน้อยอาจจะเป็นเพราะว่าเคยผ่านการอบรมการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดมาแล้ว ผู้ศึกษา คน้ คว้าได้ทาการสัมภาษณ์ กลุ่มผู้ร่วมศกึ ษาค้นควา้ ภายหลงั เสรจ็ สน้ิ การประชุมเชิงปฏบิ ัติการ พบว่า ผู้ร่วมศึกษาค้นคว้ามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดในระดับหน่ึงตาม ตัวอยา่ งดังน้ี “... ได้รับความรู้ ความเข้าใจในการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดเพิ่มมากขึ้น ก่อนการประชุมเชิงปฏิบัติการคิดว่าการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดเป็นเรื่องยาก เม่ือได้รับความรู้ จากวิทยากร มคี วามม่ันใจสามารถทาได้ ...” ( ครูคนท่ี 1 วนั ท่ี 4 มถิ นุ ายน 2563 : สัมภาษณ์ )

72 “... วิทยากรถ่ายทอดความรู้ไดด้ ี ฟังเข้าใจงา่ ย ได้รับความรู้เพิ่มมากขึน้ คิดว่า สามารถนาความรไู้ ปทาการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดเพื่อพัฒนาคณุ ภาพการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ได้อยา่ งแนน่ อน ...” ( ครูคนที่ 2 วันที่ 4 มถิ ุนายน 2563 : สมั ภาษณ์ ) “... การเข้ารว่ มการประชุมเชิงปฏิบัตกิ าร ได้รับความรแู้ ละเข้าใจ การพัฒนา ทักษะกระบวนการคดิ น่าจะทาการปฏบิ ัติได้ ...” (ครูคนท่ี 3 วันท่ี 4 มถิ ุนายน 2563 : สัมภาษณ์ ) “ ... การพัฒนาทักษะกระบวนการคิดคร้ังนี้ วิทยากรสามารถให้ความรู้ได้ดี มสี อ่ื วสั ดอุ ุปกรณ์ที่นาเสนอไดเ้ หมาะสม ...” (ครคู นที่ 4 วนั ที่ 4 มถิ ุนายน 2563 : สัมภาษณ์ ) “ ... บรรยากาศในการจัดการพัฒนา เอื้ออานวยตอ่ การเรยี นรู้ ...” (ครคู นที่ 5 วันท่ี 4 มิถุนายน 2563 : สมั ภาษณ์ ) “ ... เป็นการพฒั นาบคุ ลากรที่ตรงกบั ความต้องการของครผู ู้สอน สาหรับเป็น เคร่อื งมือท่จี ะใชพ้ ัฒนานวัตกรรมใหม่ ๆ สาหรบั นักศึกษา ...” (ครูคนที่ 6 วันท่ี 4 มถิ ุนายน 2563 : สัมภาษณ์ ) “ ... เปน็ กิจกรรมทชี่ ว่ ยใหค้ รไู ด้มีความรู้เพิ่มขนึ้ ...” (ครูคนที่ 7 วันที่ 4 มิถุนายน 2563 : สัมภาษณ์ ) “ ... การพัฒนาทักษะกระบวนการคิดเป็นรูปแบบที่สามารถถ่ายทอดให้ นักศกึ ษาได้ฝกึ ปฏบิ ัตไิ ดโ้ ดยตรง ...” (ครคู นท่ี 8 วันท่ี 4 มิถนุ ายน 2563 : สัมภาษณ์ ) “ ... การพัฒนาทกั ษะกระบวนการคดิ เปน็ เทคนคิ หนึ่งท่ีช่วยใหค้ รูผสู้ อนได้ใช้ เป็นเคร่ืองมอื ในการพัฒนาการจัดการเรยี นการสอนสาหรับนักศึกษา ...” (ครูคนที่ 9 วนั ที่ 4 มิถนุ ายน 2563 : สัมภาษณ์ ) 1.2. การนิเทศภายในโดยผ้เู ชี่ยวชาญ การนิเทศโดยผู้เช่ียวชาญ มีเป้าหมายเพ่ือให้ความช่วยเหลือ แนะนา กลุ่มผู้ร่วมศึกษาค้นคว้า เกี่ยวกับการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด โดยเป็นกลยุทธ์ที่จัดขึ้น เพื่อแก้ปัญหาปรับปรุงการปฏิบัติงานและพัฒนาการจัดการเรียนรู้โดยการพัฒนาทักษะกระบวนการ คิดของผู้ร่วมศึกษาค้นคว้า ซึ่งการนิเทศคร้ังน้ีได้รับความอนุเคราะห์จากอดีตศึกษานิเทศก์สานักงาน

73 การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดศรีสะเกษ เพ่ือให้ความช่วยเหลือและแนะนา ครูในการพัฒนาทักษะกระบวนการคดิ ดงั น้ี การนิเทศครง้ั ท่ี 1 วนั ท่ี 10 กรกฎาคม 2563 ผ้ศู ึกษาค้นคว้าไดเ้ ชิญผู้ ร่วมศึกษาค้นคว้ามาร่วมประชุมท่ีห้องประชุมศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อาเภอขุนหาญ ผู้ให้คาแนะนาเป็นอดีตศึกษานิเทศก์สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดศรีสะเกษ เร่ิมการนิเทศจากเวลา 15.00 - 17.00 น. เน้ือหาการนิเทศ คอื การตรวจสอบเค้าโครงการพัฒนาทักษะกระบวนการคดิ การสารวจและวเิ คราะห์ปัญหา และ การ กาหนดวธิ ีการหรอื นวตั กรรมในการแก้ปญั หา ผลการนิเทศผู้เชี่ยวชาญได้เสนอแนะ การเขียนเค้าโครงการพัฒนา ทกั ษะกระบวนการคิดของผู้รว่ มศึกษาค้นคว้าเป็นรายบคุ คลดังน้ี คนท่ี 1 ชื่อเร่ืองการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดในการอ่าน ภาษาไทยของนักศกึ ษาระดับประถมศึกษา โดยใชแ้ บบฝึก ผู้เช่ียวชาญได้แนะนาวา่ ชื่อเรอื่ งการพฒั นา ทักษะกระบวนการคิดตรงกับประเด็นปัญหา ส่วนการเขียนปัญหาการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด ต้องบอกให้ชัดเจนว่า กลุ่มประชากรกลุ่มใด มีจานวนกี่คน โดยเขียนถึงความสาคัญและความเป็นมา ของปัญหาให้มคี วามยาวและละเอยี ดทกุ ขั้นตอน วัตถุประสงคข์ องการพัฒนาทักษะกระบวนการคดิ ยัง ไม่ชัดเจน ผู้เชี่ยวชาญแนะนาให้เขียนเกณฑ์วัตถุประสงค์ของการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดให้ ชัดเจน ส่วนเครื่องมือท่ีเป็นชุดแบบฝึกอ่านภาษาไทย และหัวข้ออ่ืนในการเขียนเค้าโครงการพัฒนา ทักษะกระบวนการคดิ อยู่ในขั้นที่สามารถจะนาไปปฏบิ ัตไิ ด้ คนท่ี 2 ชื่อเร่ืองการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดการอ่านคาควบ กล้าโดยใช้ชุดฝึกทักษะระดับประถมศึกษา ผู้เช่ียวชาญได้แนะนาว่า ช่ือเรื่องการพัฒนาทักษะ กระบวนการคิดเขียนได้สอดคล้องกับปัญหาในการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด การเขียนสภาพ ปัญหาปัจจุบันให้เปลี่ยนเป็น ความสาคัญและความเป็นมาของปัญหา จุดประสงค์การพัฒนาทักษะ กระบวนการคิดให้ปรับใหม่ให้สอดคล้องกับปัญหา ประโยชน์ท่ีคาดว่าจะได้รับ ให้ผู้ศึกษาค้นคว้า อธิบายให้ชัดเจน ผู้เช่ียวชาญให้ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมว่า เป็นการเขียนเค้าโครงการพัฒนาทักษะ กระบวนการคดิ ในช้ันเรยี นทส่ี ามารถพฒั นาใหด้ ี และนาไปปฏบิ ัติใหเ้ ปน็ รูปธรรมได้ คนที่ 3 ช่ือเร่ืองการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดการแก้โจทย์ ปัญหาการคูณและการหารของนักศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ผู้เช่ียวชาญได้แนะนาว่าชื่อเรื่อง เขียนได้สอดคล้องกับปัญหาการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด จุดประสงค์การพัฒนาทักษะ กระบวนการคิด ควรต้ังให้สอดคล้องกับปัญหาและลดจานวนประเด็นลงให้เหลือท่ีสุดเพราะจะทาให้ ง่ายต่อการดาเนินการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด ขอบเขตการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดให้ เจาะจงประชากรคือนักศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จานวน 1 ห้องเรียน วิธีดาเนินการพัฒนา ทั ก ษ ะก ระบ วน ก ารคิ ด เขี ย น ให้ ม าก ข้ึ น แ ล ะให้ ม องเห็ น แ น ว ท างก ารด าเนิ น ก าร พั ฒ น า ทั ก ษ ะ กระบวนการคิดได้ชดั เจน หัวข้อเค้าโครงการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดอนื่ มคี วามเหมาะดี สามารถ พฒั นาทักษะกระบวนการคดิ เป็นแบบอย่างที่สมบรู ณไ์ ด้ในโอกาสต่อไป คนที่ 4 ชื่อเร่ืองการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดในการเขียน ภาษาไทยของนกั ศกึ ษาระดบั ประถมศกึ ษา โดยใชแ้ บบฝึก ผเู้ ช่ียวชาญได้แนะนาว่า ชื่อเรอ่ื งการพฒั นา ทักษะกระบวนการคิดตรงกับประเด็นปัญหา ส่วนการเขียนปัญหาการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด

74 ต้องบอกให้ชัดเจนว่า กลุ่มประชากรกลุ่มใด มีจานวนกี่คน โดยเขียนถึงความสาคัญและความเป็นมา ของปญั หาให้มคี วามยาวและละเอยี ดทุกขั้นตอน วัตถุประสงคข์ องการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดยัง ไม่ชัดเจน ผู้เช่ียวชาญแนะนาให้เขียนเกณฑ์วัตถุประสงค์ของการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดให้ ชัดเจน ส่วนเคร่ืองมือที่เป็นชุดแบบฝึกเขียนภาษาไทย และหัวข้ออ่ืนในการเขียนเค้าโครงการพัฒนา ทกั ษะกระบวนการคิด อยใู่ นขนั้ ทส่ี ามารถจะนาไปปฏิบัติได้ คนท่ี 5 ช่ือเรื่องการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดในการเขียน ภาษาไทยของนักศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยใช้บทเรยี นสาเรจ็ รูป ผู้เชี่ยวชาญได้แนะนาว่า ชอ่ื เร่ืองการพัฒนาทกั ษะกระบวนการคิดตรงกับประเด็นปัญหา ส่วนการเขยี นปัญหาการพัฒนาทกั ษะ กระบวนการคิดต้องบอกให้ชัดเจนว่า กลุ่มประชากรกลุ่มใด มีจานวนก่ีคน โดยเขียนถึงความสาคัญ และความเป็นมาของปัญหาให้มีความยาวและละเอียดทุกขั้นตอน วัตถุประสงค์ของการพัฒนาทักษะ กระบวนการคิดยังไม่ชัดเจน ผู้เช่ียวชาญแนะนาให้เขียนเกณฑ์วัตถุประสงค์ของการพัฒนาทักษะ กระบวนการคิดให้ชัดเจน ส่วนเครื่องมือท่ีเป็นบทเรียนสาเร็จรูปการเขียนภาษาไทย และหัวข้ออ่ืนใน การเขยี นเค้าโครงการพฒั นาทักษะกระบวนการคิด อยูใ่ นขัน้ ที่สามารถจะนาไปปฏบิ ตั ไิ ด้ คนท่ี 6 ชื่อเรื่องการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด โดยใช้แบบฝึก เสริมทักษะ รายวิชาสังคมศึกษา ผู้เช่ียวชาญได้แนะนาว่า ชื่อเร่ืองการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด ตรงกับประเด็นปัญหา การเขียนปัญหาการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดต้องบอกให้ชัดเจนว่า กลุ่ม ประชากรกลุ่มใด มีจานวนก่ีคน โดยเขียนถึงความสาคัญและความเป็นมาของปัญหาให้มีความยาว และละเอียดทุกข้ันตอน วัตถุประสงค์ของการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดยังไม่ชัดเจน ผู้เช่ียวชาญ แนะนาให้เขียนเกณฑว์ ัตถปุ ระสงค์ของการพัฒนาทกั ษะกระบวนการคดิ ให้ชัดเจน คนที่ 7 ชื่อเร่ืองการจัดการเรียนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ โดยใช้ ทักษะกระบวนการคิด ผู้เช่ียวชาญได้แนะนาว่า ช่ือเรื่องการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดตรงกับ ประเด็นปัญหา กลุ่มประชากรกลุ่มใด มีจานวนก่ีคน โดยเขียนถึงความสาคัญและความเป็นมาของ ปัญหาให้มีความยาวและละเอียดทุกข้ันตอน วัตถุประสงค์ของการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดยังไม่ ชัดเจน ผู้เช่ียวชาญแนะนาให้เขียนเกณฑ์วัตถุประสงค์ของการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดให้ชัดเจน และหัวข้ออ่ืนในการเขียนเค้าโครงการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด อยู่ในขั้นที่สามารถจะนาไปปฏิบัติ ได้ คนท่ี 8 ช่ือเร่ืองการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดในการอ่าน ภาษาอังกฤษ โดยใชแ้ บบฝกึ ผูเ้ ชย่ี วชาญไดแ้ นะนาว่า ชอ่ื เร่อื งการพัฒนาทกั ษะกระบวนการคิดตรงกับ ประเด็นปัญหา ส่วนการเขียนปัญหาการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดต้องบอกให้ชัดเจนว่า กลุ่ม ประชากรกลุ่มใด มีจานวนกี่คน โดยเขียนถึงความสาคัญและความเป็นมาของปัญหาให้มีความยาว และละเอียดทุกขั้นตอน วัตถุประสงค์ของการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดยังไม่ชัดเจน ผู้เชี่ยวชาญ แนะนาให้เขียนเกณฑ์วัตถุประสงค์ของการพฒั นาทักษะกระบวนการคิดใหช้ ัดเจน ส่วนเคร่ืองมือที่เป็น ชุดแบบฝึกอ่านภาษาไทย และหัวขอ้ อ่ืนในการเขียนเค้าโครงการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด อยู่ใน ข้นั ท่สี ามารถจะนาไปปฏิบัติได้ คนที่ 9 ช่ือเร่ืองการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด ในการเขียน ภาษาอังกฤษ โดยใชแ้ บบฝกึ ผูเ้ ช่ยี วชาญไดแ้ นะนาวา่ ชือ่ เรือ่ งการพฒั นาทักษะกระบวนการคดิ ตรงกับ ประเด็นปัญหา ส่วนการเขียนปัญหาการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดต้องบอกให้ชัดเจนว่า กลุ่ม

75 ประชากรกลุ่มใด มีจานวนกี่คน โดยเขียนถึงความสาคัญและความเป็นมาของปัญหาให้มีความยาว และละเอียดทุกขั้นตอน วัตถุประสงค์ของการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดยังไม่ชัดเจน ผู้เชี่ยวชาญ แนะนาให้เขียนเกณฑ์วัตถุประสงค์ของการพฒั นาทักษะกระบวนการคดิ ให้ชดั เจน ส่วนเคร่ืองมอื ทเ่ี ป็น ชุดแบบฝึกอ่านภาษาไทย และหัวข้ออ่ืนในการเขียนเค้าโครงการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด อยู่ใน ขัน้ ทีส่ ามารถจะนาไปปฏบิ ัตไิ ด้ หลังจากที่ผู้เชี่ยวชาญได้ให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการเขียนเค้าโครง แล้วจึงไดใ้ หก้ ารนิเทศเกี่ยวกบั การเริ่มต้นดาเนินการพัฒนาทักษะกระบวนการคดิ ขน้ั ที่ 1 โดยได้เนน้ ถึง การสารวจปัญหาและการวิเคราะห์ปัญหา การชี้ประเด็นการสารวจปัญหาว่า อาจจะได้มาจากการ วิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในแง่มุมต่าง ๆ การตรวจสมุดแบบฝึกหัด หรอื การสารวจพฤติกรรม ของนักศึกษา เป็นต้น ส่วนขั้นท่ี 2 ของการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด ผู้เชี่ยวชาญได้เน้นถึงการ กาหนดวิธีการหรือนวัตกรรมในการแก้ปัญหา ได้แนะนาผู้ร่วมศึกษาค้นคว้าไปศึกษา วารสาร บทความ หลักสูตร หนังสือ ตารา คู่มือ ทฤษฎีต่าง ๆ เกี่ยวกับการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดแล้ว นัดหมาย วนั เวลาและเนือ้ หาในการนเิ ทศคร้ังต่อไป การนิเทศคร้ังท่ี 2 วันท่ี 13 สิงหาคม 2563 โดยผู้เช่ียวชาญท่ีเป็น อดีตศึกษานิเทศก์สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดศรีสะเกษ ในวันนี้ใช้สถานที่ในการนิเทศคือ ห้องเรียนกลุ่มผู้ร่วมศึกษาค้นคว้าแต่ละห้อง ศูนย์การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอขุนหาญ จากเวลา 09.00 - 15.00 น. จะเป็นการ แนะนาข้ันท่ี 3 การพัฒนาวิธีการหรือนวัตกรรม และขั้นที่ 4 การนาวิธีการหรือนวัตกรรมไปใช้ ผู้เชี่ยวชาญได้มอบหมายให้ผู้ร่วมศึกษาค้นคว้าทุกคนไปศึกษา เอกสาร ที่เก่ียวข้องกับผลงานการ พัฒนาทักษะกระบวนการคิดต้ังแต่การนิเทศคร้ังท่ี 1 การนิเทศในคร้ังนี้ผู้เช่ียวชาญได้ต้ังข้อสังเกต และขอ้ เสนอแนะการพัฒนาทกั ษะกระบวนการคดิ ของผู้ร่วมศึกษาค้นคว้า ดังนี้ คนท่ี 1 ช่ือเร่ืองการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดในการอ่านและ การเขียนมาตราตัวสะกดของนักศึกษาระดับประถมศึกษา ได้ใช้เคร่ืองมือเป็นแบบประเมินผลก่อน เรียนและหลังเรียนโดยใชช้ ุดฝึก และนวัตกรรมที่ใช้ฝึกในการดาเนินการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด คือ ชุดฝึกทักษะการอ่านและการเขียนตัวสะกดแม่กก, แม่กด, แม่กบ, แม่กง, แม่กน, แม่กม, แม่เกย ,และแม่เกอว ผู้เช่ียวชาญได้เสนอแนะว่า ชุดแบบฝึกการอ่านและการเขียนมีมากเกินไป ให้ผู้ทาวิจัย สารวจชดุ แบบฝึกที่มีปัญหาจรงิ ๆ ไม่เกิน 3 ชุดเพื่อจะใหเ้ หมาะสมกับกรอบเวลาและปัญหาในการทา วจิ ยั จะได้เจาะลึกในเรอื่ งนัน้ ๆ เปน็ พเิ ศษ คนที่ 2 ชื่อเร่ือง การพฒั นาการอ่านคาควบกล้าโดยใชช้ ุดฝึกทักษะ ระดับประถมศึกษา ผู้ศึกษาใช้เครื่องมือคือ แบบฝึก กับ แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน ผู้เช่ียวชาญได้แนะนาให้ผู้วิจัยบอกรายละเอียด แบบฝึกว่าเป็นอย่างไรมีจานวนก่ีชุด และมีขั้นตอน วิธีการสร้างอย่างไรบ้าง เมื่อรายงานผลการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด ต้องแจ้งรายละเอียดให้ จดั เจน คนที่ 3 ช่ือเรื่องการพัฒนาทักษะการแก้โจทย์ปัญหา การคูณและ การหารของนักศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ เครื่องมือท่ีใช้ในการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด คือ แบบฝึกทักษะการแกโ้ จทย์ปัญหาโดยใชต้ ารางวเิ คราะห์ บันไดข้ันท่ี 1 การแกโ้ จทย์ปัญหาการคูณและ

76 การหาร และแบบประเมินผลก่อนและหลังการใช้แบบฝึกทักษะ ผู้เชี่ยวชาญได้เสนอแนะผู้ทาการ พฒั นาทักษะกระบวนการคดิ ว่า การใชต้ ารางคะแนน (D2) ต้องทดสอบคา่ คะแนน t - test คนท่ี 4 ชื่อเรื่องการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดในการเขียน ภาษาไทยของนักศึกษาระดับประถมศึกษา โดยใช้แบบฝึก ได้ใช้เครื่องมือเป็นแบบประเมินผลก่อน เรียนและหลังเรียนโดยใชช้ ุดฝึก และนวัตกรรมที่ใช้ฝึกในการดาเนินการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด คอื ชดุ ฝึกทกั ษะการเขียนตวั สะกดแม่กก, แมก่ ด, แม่กบ, แม่กง, แม่กน, แม่กม, แม่เกย,และแม่เกอว คนที่ 5 ช่ือเร่ืองการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดในการเขียน ภาษาไทยของนักศึกษาระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย โดยใช้บทเรียนสาเร็จรูป ไดใ้ ชเ้ ครื่องมือเป็นแบบ ประเมินผลก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้บทเรียนสาเร็จรูป และใช้นวัตกรรมเป็นบทเรียนสาเร็จรูป การเขียนและอ่านคาราชาศัพท์ ผู้เช่ียวชาญได้ให้คาแนะนาเกี่ยวกับรูปแบบ การพัฒนาทักษะ กระบวนการคิดในลกั ษณะทเี่ ปน็ บทเรยี นสาเรจ็ รูป คนท่ี 6 ชื่อเรื่องการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด โดยใช้แบบฝึก เสริมทักษะ รายวิชาสังคมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ได้ใช้เคร่ืองมือเป็นแบบประเมินผลก่อน เรียนและหลังเรียน โดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะ ใช้กับนักศึกษาเพ่ือเสริมทักษะกระบวนการคิดนอก เวลาเรยี น หรอื เปน็ การศกึ ษาคน้ ควา้ ตามอัธยาศยั คนที่ 7 ช่ือเร่ืองการจัดการเรียนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ โดยใช้ ทักษะกระบวนการคิด ได้ใช้นวัตกรรมเป็นบทเรียนสื่อประสม ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ผู้เช่ียวชาญได้ให้คาแนะนาเก่ียวกับบทเรียนส่ือประสม เป็นนวัตกรรมอีกรูปแบบหน่ึงที่ใช้การประสม ประสานส่ือที่หลากหลาย ผู้ศึกษาค้นคว้าจะต้องใช้ส่ือท่ีหลากหลายมาช่วยในการพั ฒนาทักษะ กระบวนการคดิ ของนักศึกษา จะทาให้นกั ศึกษาเกดิ ความสนใจ อยากรู้อยากเหน็ คนท่ี 8 ช่ือเร่ืองการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดในการอ่าน ภาษาอังกฤษ โดยใช้แบบฝึก ได้ใช้เครื่องมือเป็นแบบประเมินผลก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้ชุดฝึก และนวัตกรรมที่ใช้ฝึกในการดาเนินการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด คือ ชุดฝึกทักษะการเขียน คาศัพท์ในชีวิตประจาวัน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ผู้เช่ียวชาญได้ให้คาแนะนาเกี่ยวกับเนื้อหา ภาษาอังกฤษควรจะเป็นคาศัพท์ง่าย ๆ ท่ีใช้ในชีวิตประจาวันของนักศึกษา จะช่วยให้นักศึกษาไม่เบ่ือ หนา่ ยและกลัวภาษาองั กฤษ เน่อื งจากเปน็ คาทน่ี ักศึกษาสามารถใชไ้ ด้ตลอดเวลา คนที่ 9 ช่ือเร่ืองการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด ในการเขียน ภาษาอังกฤษ โดยใช้แบบฝึก ได้ใช้เครื่องมือเป็นแบบประเมินผลก่อนเรยี นและหลังเรียนโดยใช้ชุดฝึก และนวัตกรรมท่ีใช้ฝึกในการดาเนินการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด คือ ชุดฝึกทักษะการเขียน คาศัพท์ในชีวิตประจาวัน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ผู้เช่ียวชาญได้ให้คาแนะนาเก่ียวกับเน้ือหา ภาษาอังกฤษควรจะเป็นคาศัพท์ง่าย ๆ ที่ใช้ในชีวิตประจาวันของนักศึกษา จะช่วยให้นักศึกษาไม่เบื่อ หน่ายและกลวั ภาษาอังกฤษ เนอ่ื งจากเปน็ คาท่ีนักศกึ ษาสามารถใชไ้ ด้ตลอดเวลา การนิเทศครั้งท่ี 3 วันท่ี 16 กันยายน 2563 เป็นการนิเทศรวมโดยมี ผู้เช่ียวชาญผู้ศึกษาค้นคว้า และผู้ร่วมศึกษาค้นคว้าท้ัง 9 คน สถานท่ีใช้ ห้องประชุมศูนย์การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอขุนหาญ เร่ิมจากเวลา 14.00-16.30 น. เน้ือหาในการ นิเทศเป็นการแนะนาเก่ียวกับ การสรุปและรายงานการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด ผู้เชี่ยวชาญได้ แนะนาผู้ร่วมศึกษาค้นคว้าทุกคนวา่ การเขยี นรายงานการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดนั้น ควรจัดทา

77 ให้ครบ 5 บท ได้ย่ิงดีจะเป็นการพัฒนาการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดได้อีกระดับหนึ่ง แต่การ รายงานไม่ต้องมีรายละเอียดมากเกินไป เพราะจะทาให้ การรายงานเกินกรอบเวลาท่ีกาหนดให้ การ จัดทารายงานการพฒั นาทักษะกระบวนการคดิ น้นั ควรดาเนินการการตามกรอบ ดังนี้ บทที่ 1 บทนา ภมู หิ ลัง ความม่งุ หมายของการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด ความสาคญั ของการพฒั นาทกั ษะกระบวนการคิด ขอบเขตของการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด นิยามศพั ทเ์ ฉพาะ บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ยั ทเี่ กีย่ วข้อง ขอบขา่ ยของเนื้อหา ทฤษฎี และงานวจิ ัยที่เกย่ี วขอ้ ง บทที่ 3 วิธดี าเนนิ การศกึ ษาคน้ คว้า ประชากรและกลมุ่ ประชากร เครอ่ื งมือทใี่ ชใ้ นการพฒั นาทักษะกระบวนการคิด วิธกี ารสร้างและหาคุณภาพเครื่องมือในการพฒั นาทกั ษะกระบวนการคิด วธิ ีดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล สถติ ิทใี่ ช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู การวิเคราะห์ขอ้ มูล ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูล บทที่ 5 สรุป อภิปราย และขอ้ เสนอแนะ ความมงุ่ หมายของการพฒั นาทักษะกระบวนการคิด ประชากรกลมุ่ ตวั อยา่ ง เครอ่ื งมอื ทใ่ี ชใ้ นการพฒั นาทักษะกระบวนการคิด วธิ ีดาเนนิ การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมลู สรปุ ผลการศึกษาคน้ ควา้ อภิปรายผล ข้อเสนอแนะ บรรณานกุ รม ภาคผนวก ประวัตยิ อ่ ของผพู้ ฒั นาทกั ษะกระบวนการคดิ ผู้เชี่ยวชาญได้แนะนาผู้ร่วมศึกษาค้นคว้าต่อไปว่า ในการเขียนรายงาน การพัฒนาทักษะกระบวนการคิดควรมีการพัฒนาให้ได้ทั้ง 5 บท จะทาให้ทุกคนคุ้นเคยกับรูปแบบ รายงานการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด จะสามารถแก้ปัญหาได้จริงและเป็นการพัฒนาเป็นผลงาน ทางวิชาการได้ หลังจากนั้นผู้เชียวชาญได้นัดหมายให้ทุกคนส่งรายงานการพัฒนาทักษะกระบวนการ

78 คิด ในวันท่ี 7 กันยายน 2563 โดยมอบให้ผู้ศึกษาค้นคว้าเป็นผู้รวบรวมส่งผู้เชี่ยวชาญ เพื่อจะนา รายงานการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดไปประเมินตามเกณฑ์การประเมินท่ีได้กาหนดไว้แล้ว และ จะแจ้งผลการประเมินใหผ้ ้รู ่วมศึกษาค้นควา้ ทราบ ในวนั ที่ 15 กนั ยายน 2563 ผศู้ ึกษาค้นคว้าได้สัมภาษณ์ผู้ร่วมศึกษาค้นคว้าว่า จะมีความรู้ความเขา้ ใจ สามารถเขียนเค้าโครงการพัฒนาทักษะกระบวนการคดิ ปฏิบัติการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด และ เขียนรายงานการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดได้หรือไม่ จึงได้รวบรวมบทสัมภาษณ์ผู้ร่วมศึกษา ค้นควา้ ดงั ต่อไปนี้ “... การสารวจและการวิเคราะห์ปัญหาในการพัฒนาทักษะกระบวนการ คิด ภายหลังได้รับคาแนะนาจากผู้เช่ียวชาญ ก็พอที่จะเข้าใจแนวทางขึ้นบ้าง จะลองสารวจและ วิเคราะห์ดู ...” ( ครคู นท่ี 1 วันท่ี 18 กนั ยายน 2563 : สมั ภาษณ์ ) “... หลังจากที่ได้รับการนิเทศจากผู้เชี่ยวชาญแล้ว การพัฒนาวิธีการหรือ นวตั กรรม ตอ้ งหาคณุ ภาพของวิธกี ารหรือนวตั กรรมอกี ครั้งหนงึ่ คงจะทาไดไ้ มย่ ากนัก ...” ( ครูคนที่ 2 วนั ที่ 18 กันยายน 2563 : สมั ภาษณ์ ) “... จะพยายามเขียนรายงานการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด ให้ได้ รายละเอียดมากขึ้น ตามที่ผู้เชี่ยวชาญแนะนา เพราะเคยทาเฉพาะรายงานการพัฒนาทักษะ กระบวนการคดิ แผน่ เดยี วแบบงา่ ย ๆ ...” ( ครคู นที่ 3 วนั ที่ 18 กันยายน 2563 : สมั ภาษณ์ ) “... เมื่อได้รับการพัฒนาทกั ษะกระบวนการคิด ตนเองสามารถเอาองค์ความรู้ เพือ่ นาไปจัดการเรยี นการสอนสาหรับนักศึกษาไดด้ ีข้ึน ...” ( ครคู นที่ 4 วนั ท่ี 18 กนั ยายน 2563 : สัมภาษณ์ ) “... การพัฒนาทักษะกระบวนการคิด ทาให้ผู้สอนสามารถสารวจตนเองได้ว่า จะตอ้ งพัฒนาตนเองในดา้ นใดตอ่ ไป ...” ( ครคู นที่ 5 วันที่ 18 กันยายน 2563 : สมั ภาษณ์ ) “... การสร้างสรรค์กิจกรรมการเรียนรู้ ยังมีให้ครูผู้สอนได้ศึกษาค้นคว้าอีก มากมาย หากใชท้ กั ษะกระบวนการคิดที่เป็นระบบ กจ็ ะสามารถนาสง่ิ ทดี่ ี ๆ ไปสู่นักศกึ ษาได้ ...” ( ครูคนท่ี 6 วนั ที่ 18 กันยายน 2563 : สมั ภาษณ์ ) “... การพัฒนาตนเองของนักศกึ ษาจาเป็นต้องได้รบั การฝึกฝนและป้อนข้อมูล สิ่งท่ีดี ๆ จากครู ฉะนั้น ครูจะต้องเป็นแบบอยา่ งที่ดี และหากครูมที ักษะกระบวนการคิด กจ็ ะส่งผลไป ถึงนักศึกษาไดม้ ที กั ษะกระบวนการคดิ ได้เชน่ กนั ...” ( ครคู นท่ี 7 วนั ท่ี 18 กันยายน 2563 : สมั ภาษณ์ )

79 “... การดารงชวี ติ ของคนเราจะมีความสุขได้ ต้องมีการพัฒนาคุณภาพชวี ิตที่ดี การคิดค้นหาสิง่ ท่ีใหม่ ๆ ที่เหมาะสมกับชวี ิตของแตล่ ะบุคคลจาเป็นต้องมีการฝึกฝนทักษะความคิดที่ดี ด้วย ...” ( ครูคนที่ 8 วนั ท่ี 18 กนั ยายน 2563 : สัมภาษณ์ ) “... ทักษะกระบวนการคิดช่วยให้ครูผู้สอนสามารถบูรณาการการเรียนการ สอนได้เหมาะสมกับนกั ศกึ ษา ...” ( ครคู นท่ี 9 วันที่ 18 กันยายน 2563 : สัมภาษณ์ ) ในการประชุมเชิงปฏิบัติการ และการนิเทศของผู้เช่ียวชาญแต่ละคร้ัง เก่ียวกับการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด ผู้ศึกษาค้นคว้า ได้สังเกตพฤติกรรมของผู้ร่วมศึกษาค้นคว้า ว่ามีความรู้ความเข้าใจ ความสามารถในการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดและการสรุปรายงานการ พัฒนาทกั ษะกระบวนการคิด อยา่ งไรบา้ ง พอจะสรุปได้ ดงั น้ี “ ... การสารวจปัญหาและวิเคราะห์ปัญหาในการพัฒนาทักษะกระบวนการ คดิ เรยี งลาดับความสาคญั ของปัญหาได้ถกู ต้อง ... ” (ครคู นที่ 1 วันท่ี 16 กนั ยายน 2563 : สงั เกต) “ ... การประชุมเชิงปฏิบัติการทาให้ผู้ร่วมศึกษาค้นคว้า มีความรู้ความเข้าใจ เทา่ นั้น ส่วนการพฒั นาทักษะกระบวนการคิด เมื่อดาเนินการจริง ๆ และไดร้ ับคาแนะนาอย่างต่อเนื่อง จะทาให้ผู้ร่วมศึกษาค้นคว้าได้รับประสบการณ์จริง และสามารถทาการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด ได้ ... ” (วทิ ยากร วันที่ 16 กันยายน 2563 : สมั ภาษณ์) “... การนิเทศอย่างต่อเนื่องไม่ว่าจะเป็นการพบปะรายบุคคล หรือการพบปะ รายกลมุ่ จะทาใหผ้ ู้ร่วมศึกษาคน้ คว้า มคี วามมัน่ ใจในการพัฒนาทกั ษะกระบวนการคิดมากขน้ึ ... ” (วทิ ยากร วนั ท่ี 16 กนั ยายน 2563 : สมั ภาษณ์) “... เมื่อผู้เช่ียวชาญนิเทศการนานวัตกรรมไปใช้ เก่ียวกับการพัฒนาทักษะ กระบวนการคิดดจู ากสหี นา้ มีความพอใจในการนเิ ทศมาก ...” (ครคู นที่ 5 วนั ที่ 16 กนั ยายน 2563 : สังเกต) “... นาร่างการเขียนรายงานการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดให้ผู้เช่ียวชาญ ไดต้ รวจสอบขนั้ ตอนและหวั ขอ้ ต่าง ๆ ว่าครบถว้ นหรอื ไม่ ...” (ครูคนที่ 8 วันที่ 16 กันยายน 2563 : สงั เกต)

80 การนิเทศคร้ังท่ี 3 วันท่ี 16 กันยายน 2563 ผู้ศึกษาค้นคว้าได้เชิญผู้ ร่วมศึกษาค้นคว้าทุกคน มาร่วมประชุมและรับฟังผลการประเมินรายงานการพัฒนาทักษะ กระบวนการคิด ท่ีห้องประชุมศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอขุนหาญ ตงั้ แต่เวลา 14.30 - 16.30 น. ซึ่งผ้เู ชี่ยวชาญได้นาไปศึกษาและตรวจสอบตามเกณฑท์ ี่ต้ังไว้ แล้วชี้แนะ ใหผ้ ู้รว่ มศึกษาค้นควา้ รับทราบทีละคน ถึงจุดเดน่ จดุ ดอ้ ยในการพัฒนาทักษะกระบวนการคดิ ของกลุ่ม ผูร้ ่วมศกึ ษาคน้ คว้า และให้นาไปปรับปรุงในสว่ นทีย่ งั ไม่สมบูรณ์ตอ่ ไป สรุปผลการดาเนินงานเกี่ยวกับการพัฒนาครูด้านทักษะกระบวนการคิด ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอขุนหาญ ผู้เช่ียวชาญได้มาทาการนิเทศ 2 กิจกรรม คือ การนิเทศให้คาปรึกษาหารือพบปะรายบุคคล และการนิเทศเป็นรายกลุ่ม พบว่า กลุ่มผู้ ร่วมศึกษาค้นคว้ามีความรู้ความเข้าใจ สามารถเขียนเค้าโครงการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดเพื่อ แก้ปัญหาการเรียนการสอนได้ทุกคน แต่ขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูล และการนาผลการพัฒนาทักษะ กระบวนการคิดมาสรุปผลเพ่ือนามาเขียนเป็นรายงานนั้น ผู้ร่วมศึกษาค้นคว้าท้ัง 9 คน ยังไม่มั่นใจใน การเขยี นรายงานให้สมบรู ณ์ เพราะการรายงานยงั ไม่สะท้อนผลตรงประเด็นปญั หาเทา่ ท่ีควร มีเพียง 2 คนเท่าน้ัน ที่เขียนรายงานได้ครอบคลุมสามารถแก้ปัญหาการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดได้ตรง ประเด็น แต่ก็ยงั มีขอ้ ท่ีตอ้ งแก้ไขและปรับปรุงเปน็ บางสว่ น ดังน้นั การนเิ ทศใหค้ าปรกึ ษาเป็นรายบุคคล และรายกลุ่ม ควรจะดาเนินการต่อไปอีก เพ่ือให้กลุ่มผู้ร่วมศึกษาค้นคว้าได้พัฒนาทักษะการเขียน รายงานการพัฒนาทกั ษะกระบวนการคิดอยา่ งตอ่ เนื่อง เพราะว่าการพัฒนาทกั ษะกระบวนการคิดและ การจัดกระบวนการเรียนรู้ ต้องดาเนินการควบคู่กันไปตลอดเพื่อเป็นการแก้ปัญหาและเพิ่ม ประสิทธภิ าพของครูในการสอนอย่างตอ่ เนื่อง การสะทอ้ นผลในวงรอบท่ี 1 ในการพัฒนาครูด้านทักษะกระบวนการคิด ศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอขุนหาญ โดยใช้กลยุทธ์ 2 อย่างคือ การประชุมเชิงปฏิบัติการและการ นเิ ทศ การเกบ็ รวบรวมข้อมูลจากกลุ่มเป้าหมายที่เป็นกลุ่มผู้รว่ มศึกษาค้นคว้าจานวน 9 คน ใน ระหว่างวันท่ี 15 – 18 กันยายน 2563 โดยการสังเกต และการสัมภาษณ์กลุ่มผู้ร่วมศึกษาค้นคว้ามี ความรคู้ วามเขา้ ใจและสามารถดาเนินการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดได้ แต่ตอ้ งปรับปรุงในบางส่วน เน่ืองจากผู้ร่วมศึกษาค้นคว้าบางคนไม่เคยผ่านการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดมาก่อน และเป็นคร้ัง แรกท่ีได้ร่วมศึกษาค้นคว้า ภารกิจงานประจาค่อนข้างมาก ขาดทักษะในการปรึกษาหารือเป็นกลุ่ม และการขาดเอกสารทางวิชาการในการศึกษาค้นคว้า แตอ่ ย่างไรก็ตามเมือ่ พจิ ารณาตามกรอบงานการ พัฒนาทักษะกระบวนการคิด 5 ขั้นตอนของกรมวิชาการ การพัฒนาบุคคลกรเกี่ยวกับการพัฒนา ทักษะกระบวนการคิด ก็สามารถสะทอ้ นผลการพฒั นาในวงรอบที่ 1 ดงั นี้ ข้ันที่ 1 การสารวจและวิเคราะห์ปัญหา จากการใช้กลยุทธ์ในการดาเนินการ 2 วิธี คือ การประชุมเชิงปฏิบัติการ และการนิเทศภายใน ผู้ร่วมศึกษาค้นคว้าทุกคน สามารถสารวจ ปัญหาในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของตนเองได้เหมาะสม เลือกหัวข้อการพัฒนาทักษะกระบวนการ คิดได้ทุกคนปัญหาท่ีเลือกส่วนมาก จะเป็นทักษะในการอ่านภาษาไทย ขาดทักษะในการเขียน ภาษาไทย ทักษะทางคณิตศาสตร์ ทักษะวิทยาศาสตร์ ทักษะการเขียนการอ่านภาษาอังกฤษ ทักษะ

81 ทางสังคมศึกษา ท่ีส่งผลให้ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนต่า และลักษณะท่ีพึงประสงค์ไม่พัฒนาตาม มาตรฐานการศึกษา ขั้นที่ 2 การกาหนดวิธีการในการแกป้ ัญหา ผู้ร่วมศกึ ษาค้นคว้าทุกคนสามารถ นาปัญหาท่ีเลือก มากาหนดวิธีการแก้ปัญหาได้อย่างหลากหลาย การเรียงลาดับความสาคัญของ ปัญหาและพัฒนาวิธีการที่เหมาะสมที่สุดมาแก้ปัญหาวิธีการหรือนวัตกรรมท่ีนามาใช้ส่วนใหญ่จะเป็น ชดุ ฝกึ ทักษะ และแบบสังเกต ขั้นที่ 3 การพัฒนาวธิ ีการแกป้ ัญหาหรือนวัตกรรม ผู้รว่ มศกึ ษาค้นคว้าสามารถ สร้างนวัตกรรมได้ แต่ข้ันตอนในการหาคุณภาพยังไม่มั่นใจ เน่ืองจากขาดประสบการณ์ในการพัฒนา ทักษะ ตลอดจนนานวัตกรรมที่สร้างขึ้นไปปรึกษาผู้เช่ียวชาญ ในข้ันนี้ต้องมีการพัฒนาในวงรอบที่ 2 ต่อไป ข้นั ท่ี 4 การนานวัตกรรมหรือวิธีการไปใช้ กลมุ่ ผู้รว่ มศึกษาค้นคว้าสามารถนา วิธีการที่สร้างข้ึนไปใช้แก้ปัญหากับผู้เรียนได้ตามข้ันตอน การเก็บรวบรวมข้อมูลและการวิเคราะห์ ขอ้ มูล เพ่อื นาไปแปรผลนน้ั ยังต้องได้รบั คาชี้แนะจากผู้เช่ียวชาญในวงรอบที่ 2 ขั้นที่ 5 การสรุปผลและการเขียนรายงานการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด ผู้ร่วมศึกษาค้นคว้าสามารถสรุปผลและรายงานผลแบบง่าย ๆ ที่มีลักษณะเป็นการพัฒนาทักษะ กระบวนการคิดเล็ก ๆ ท่ีมีรายงานผล 2-3 หน้า จานวน 1 คน ซึง่ ถือวา่ เปน็ การรายงานผลไม่สมบูรณ์ สว่ นการรายงานการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดได้ครบ 5 บท มีจานวน 2 ราย ถ้ามีการปรบั แก้บ้าง เล็กน้อยก็จะสมบรู ณย์ ิง่ ข้ึน ตอ้ งได้รับการพัฒนาในวงรอบต่อไป ผลจากการพัฒนาบุคลากรเกี่ยวกับการพัฒนาครูด้านทักษะกระบวนการคิด ศูนย์ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอขุนหาญ ในวงรอบที่ 1 ผู้ร่วมศึกษาค้นคว้า สามารถทาการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดได้ครบ 5 ขั้นตอนแต่ยังขาดความสมบูรณ์ในข้ันตอนที่ 3 การพัฒนาวิธีการหรือนวัตกรรมที่กลุ่มผู้ร่วมศึกษาค้นคว้าพัฒนาข้ึนเช่น กลุ่มเป้าหมายซึ่งครูคนที่ 1 การเขียนปัญหาการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดต้องบอกให้ชัดเจนว่า กลุ่มประชากรกลุ่มใด มี จานวนก่ีคน โดยเขียนถึงความสาคัญและความเป็นมาของปัญหาให้มีความยาวและละเอียดทุก ขั้นตอน วัตถุประสงค์ของการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดยังไม่ชัดเจน ผู้เชี่ยวชาญแนะนาให้เขียน เกณฑว์ ัตถุประสงคข์ องการพฒั นาทักษะกระบวนการคิดให้ชดั เจน สว่ นเคร่ืองมือที่เป็นชุดแบบฝึกอ่าน ภาษาไทย และหัวข้ออ่ืนในการเขียนเค้าโครงการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด อยู่ในข้ันท่ีสามารถจะ นาไปปฏิบตั ิได้ คนท่ี 2 การเขียนสภาพปัญหาปจั จุบันให้เปลี่ยนเปน็ ความสาคญั และความเปน็ มาของ ปัญหา จุดประสงค์การพัฒนาทักษะกระบวนการคิดให้ปรับใหม่ให้สอดคล้องกับปัญหา ประโยชน์ท่ี คาดว่าจะได้รับ ให้ผู้ศึกษาค้นคว้าอธิบายให้ชัดเจน ผู้เชี่ยวชาญให้ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมว่า เป็นการ เขียนเค้าโครงการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดในช้ันเรียนท่ีสามารถพัฒนาให้ดี และนาไปปฏิบัติให้ เป็นรูปธรรมได้ คนที่ 3 จุดประสงค์การพัฒนาทักษะกระบวนการคิด ควรต้ังให้สอดคล้องกับปัญหา และลดจานวนประเด็นลงให้เหลอื ท่ีสุดเพราะจะทาใหง้ ่ายต่อการดาเนินการพัฒนาทกั ษะกระบวนการ คิด ขอบเขตการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดให้เจาะจงประชากร คือ นักศึกษาระดับมัธยมศึกษา ตอนต้น จานวน 1 ห้องเรียน วิธีดาเนินการพัฒนาทักษะกระบวนการ คิด เขียน ให้มากขึ้น และให้ มองเห็นแนวทางการดาเนินการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดได้ชัดเจน หัวข้อเค้าโครงการพัฒนา ทักษะกระบวนการคิดอื่นมีความเหมาะดี สามารถพัฒนาทักษะกระบวนการคิดเป็นแบบอย่างที่

82 สมบูรณ์ได้ในโอกาสต่อไป คนท่ี 4 การเขียนปัญหาการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด ต้องบอกให้ ชัดเจนวา่ กลุ่มประชากรกล่มุ ใด มีจานวนก่คี น โดยเขียนถงึ ความสาคญั และความเป็นมาของปญั หาให้ มีความยาวและละเอียดทุกขั้นตอน วัตถุประสงค์ของการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดยังไม่ชัดเจน ผู้เชี่ยวชาญแนะนาให้เขียนเกณฑ์วัตถุประสงค์ของการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดให้ชัดเจน ส่วนเคร่ืองมือท่ีเป็นชุดแบบฝึกเขียนภาษาไทย และหัวข้ออื่นในการเขียนเค้าโครงการพัฒนาทักษะ กระบวนการคิด อยู่ในข้ันที่สามารถจะนาไปปฏิบัติได้ คนที่ 5 การเขียนปัญหาการพัฒนาทักษะ กระบวนการคิดต้องบอกให้ชัดเจนว่า กลุ่มประชากรกลุ่มใด มีจานวนก่ีคน โดยเขียนถึงความสาคัญ และความเป็นมาของปัญหาให้มีความยาวและละเอียดทุกข้ันตอน วัตถุประสงค์ของการพัฒนาทักษะ กระบวนการคิดยังไม่ชัดเจน ผู้เช่ียวชาญแนะนาให้เขียนเกณฑ์วัตถุประสงค์ของการพัฒนาทักษะ กระบวนการคิดให้ชัดเจน ส่วนเคร่ืองมือที่เป็นบทเรียนสาเร็จรูปการเขียนภาษาไทย และหัวข้ออื่นใน การเขียนเค้าโครงการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด อยู่ในขั้นที่สามารถจะนาไปปฏิบัติได้ คนที่ 6 การ เขียนปัญหาการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดต้องบอกให้ชัดเจนว่า กลุ่มประชากรกลุ่มใด มีจานวนก่ี คน โดยเขียนถึงความสาคัญและความเป็นมาของปัญหาให้มีความยาวและละเอียดทุกข้ันตอน วัตถุประสงค์ของการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดยังไม่ชัดเจน ผู้เชี่ยวชาญแนะนาให้เขียนเกณฑ์ วตั ถปุ ระสงคข์ องการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดใหช้ ัดเจน คนที่ 7 กลุ่มประชากรกลมุ่ ใด มีจานวนก่ี คน โดยเขียนถึงความสาคัญและความเป็นมาของปัญหาให้มีความยาวและละเอียดทุกข้ันตอน วัตถุประสงค์ของการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดยังไม่ชัดเจน ผู้เช่ียวชาญแนะนาให้เขียนเกณฑ์ วัตถุประสงค์ของการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดให้ชัดเจน และหัวข้ออ่ืนในการเขียนเค้าโครงการ พฒั นาทกั ษะกระบวนการคิด อยู่ในขั้นทสี่ ามารถจะนาไปปฏิบัติได้ คนที่ 8 การเขียนปัญหาการพัฒนา ทักษะกระบวนการคิดต้องบอกให้ชัดเจนว่า กลุ่มประชากรกลุ่มใด มีจานวนก่ีคน โดยเขียนถึง ความสาคัญและความเป็นมาของปัญหาให้มีความยาวและละเอียดทุกข้ันตอน วัตถุประสงค์ของการ พัฒนาทักษะกระบวนการคิดยังไม่ชัดเจน ผู้เชี่ยวชาญแนะนาให้เขียนเกณฑ์วัตถุประสงค์ของการ พัฒนาทักษะกระบวนการคิดให้ชัดเจน หัวข้ออื่นในการเขียนเค้าโครงการพัฒนาทักษะกระบวนการ คิด อยู่ในข้ันที่สามารถจะนาไปปฏิบัติได้ คนที่ 9 การเขียนปัญหาการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด ต้องบอกให้ชัดเจนว่า กลุ่มประชากรกลุ่มใด มีจานวนกี่คน โดยเขียนถึงความสาคัญและความเป็นมา ของปัญหาให้มคี วามยาวและละเอยี ดทุกขั้นตอน วตั ถุประสงคข์ องการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดยัง ไม่ชัดเจน ผู้เชี่ยวชาญแนะนาให้เขียนเกณฑ์วัตถุประสงค์ของการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดให้ ชัดเจน หัวข้ออื่นในการเขียนเค้าโครงการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด อยู่ในข้ันที่สามารถจะนาไป ปฏิบัติได้

83 ผลการดาเนินการพฒั นาในวงรอบที่ 2 การพัฒนาครูเกี่ยวกับการพัฒนาครูด้านทักษะกระบวนการคิด ศูนย์การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอขุนหาญ โดยยึดทฤษฎีการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research) ดาเนินการในวงรอบท่ี 2 การพัฒนาในวงรอบนี้ได้ร่วมกันวางแผนใช้กลยุทธ์ในการพัฒนา คือ การนเิ ทศภายในแบบพบปะรายกลมุ่ เพื่อให้คาแนะนาชว่ ยเหลือตรวจสอบ และปรับปรุงแก้ไขการ พัฒนาทักษะกระบวนการคดิ ของแต่ละคนให้มีความถกู ต้องยง่ิ ขน้ึ ขั้นตอนท่ีจะปรบั ปรงุ แก้ไข คือ การ พัฒนานวัตกรรมหรือวิธีการที่จะนาไปใช้แก้ปัญหา เป็นการปรับปรุงและหาคุณภาพของเครื่องมือ เพอ่ื ให้ครอบคลุมวัตถุประสงค์ของการพัฒนาทักษะกระบวนการคดิ โดยการเชญิ ผู้เชี่ยวชาญมาให้การ นิเทศ ให้คาแนะนาช่วยเหลือ ผู้ร่วมศึกษาค้นคว้าเป็นรายกลุ่มในวันที่ 5, 12 และ 19 ตุลาคม 2563 เวลา 14.30 - 16.30 น. โดยเฉพาะในข้ันตอนท่ียังมีปัญหาของแต่ละคน ให้ผู้ร่วมศึกษาค้นคว้าเกิด ความเช่อื มัน่ ในการทาวิจัยมากข้ึน คร้ังท่ี 1 วัน จันท ร์ ที่ 5 ตุลาคม 2563 เวลา 14.30 - 16.30 น . เชิญ ผู้เช่ียวชาญให้ความรู้เก่ียวกับการพัฒนานวัตกรรมหรือวิธีการ ให้มีคุณภาพพรอ้ มทั้งให้ศึกษาเอกสาร ตัวอย่างนวัตกรรมท่ีใช้แก้ปัญหาได้ผลมาแล้ว กลุ่มผู้ร่วมศึกษาค้นคว้าได้สอบถามผู้เช่ียวชาญและได้ แลกเปล่ียนเรียนรู้ซ่ึงกันและกันเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด พร้อมกับนัดหมาย การนเิ ทศคร้งั ตอ่ ไป คร้ังท่ี 2 วันพุธ ท่ี 12 ตุลาคม 2563 เวลา 14.30 - 16.30 น. ผู้ศึกษาค้นคว้า ไดเ้ ชิญผู้เช่ยี วชาญมาพบปะกลุ่มผู้ร่วมศกึ ษาค้นควา้ เพ่ือให้ความรู้เพิ่มเตมิ เกี่ยวกบั การวิเคราะห์ข้อมูล แล้วนาข้อมูลที่วิเคราะห์แล้วไปเขียนรายงานการศึกษาค้นคว้า ตลอดจนการสอบถามปัญหาต่าง ๆ ในการดาเนินการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด ผู้รว่ มศึกษาค้นคว้าไดส้ นทนาแลกเปล่ยี นความคิดเห็น เป็นการนเิ ทศท่ีทกุ ฝา่ ยรบั ทราบขอ้ เสนอแนะและสง่ิ ท่ีควรปรับปรุงแก้ไขรว่ มกนั ครั้งท่ี 3 วันพุธ ท่ี 19 สิงหาคม 2563 เวลา 14.30 - 16.30 น. ผู้ศึกษาค้นคว้า เชิญผู้เชี่ยวชาญมาพบปะกลุ่มผู้ร่วมศึกษาค้นคว้า เป็น การนิเทศรายกลุ่มมีการให้คาแนะนา ปรึกษาหารือ ปรับปรุงแก้ไขในส่วนของการเขียนรายงาน การพัฒนาทักษะกระบวนการคิด ท่ียังไม่ สมบูรณ์พร้อมข้ันตอนการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด เพียงเล็กน้อยที่ต้องแก้ไข ผู้เชี่ยวชาญนัด หมายให้ส่งรายงานการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด อีกครั้งในวันที่ 26 ตุลาคม 2563 เพื่อนาไป ประเมนิ ผลการพฒั นาทกั ษะกระบวนการคดิ ตอ่ ไป ผลการดาเนินงานโดยการเก็บรวบรวมข้อมูล จากแบบสังเกต แบบสัมภาษณ์ พบว่า หลังจากได้นิเทศ พบปะรายกลุ่มแล้วทาให้กลุ่มผู้ร่วมศึกษาค้นคว้า มีความรู้ความเข้าใจมาก ยง่ิ ขึน้ สามารถพัฒนานวตั กรรมมาใช้ในการพฒั นาทกั ษะกระบวนการคิด แล้วนาเคร่ืองมอื ทสี่ ร้างข้ึนมา เก็บรวบรวมข้อมูลมาวิเคราะห์เป็นจากน้ันสามารถนาผลการวิเคราะห์ มาเขียนรายงานการพัฒนา ทกั ษะกระบวนการคดิ สง่ ผเู้ ชีย่ วชาญตามกาหนดเวลา จานวน 9 คน สรปุ ได้ดังนี้ “ ... การสรุปรายงานการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด เมื่อได้รับคาแนะนา จากผเู้ ชยี่ วชาญแล้วมีความเขา้ ใจการวิเคราะห์ข้อมูล มั่นใจย่ิงขนึ้ ... ” (ครูคนที่ 1, 2, 5, 6, 9, วันที่ 22 ตุลาคม2563 : สงั เกต)

84 “ ... รายงานการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดทาได้เป็นระบบและเป็นการ แกป้ ัญหาในการจัดกิจกรรมการเรยี นรไู้ ดอ้ ย่างถูกต้อง ... ” (ครูคนที่ 3, 8, 9 วันท่ี 22 ตลุ าคม 2563 : สังเกต) “ ... การแก้ปัญหาโจทย์การคูณการหารของนักศึกษา ภายหลังการใช้ชุดฝึก ทกั ษะแลว้ สามารถวเิ คราะห์กระบวนการคดิ ของนักศกึ ษาอย่างเหน็ ไดช้ ัด ... ” (ครูคนท่ี 4, 7 วันท่ี 22 ตุลาคม2563 : สัมภาษณ์) “ ... การดาเนินการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดน้ัน นอกจากการรับฟัง คาแนะนากับผู้เช่ียวชาญ และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ กับกลุ่มผู้ร่วมศึกษาค้นคว้าแล้วต้องศึกษา เอกสารเก่ียวกับการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดเพ่ิมเติม จะทาให้มีความรู้ความเข้าใจเพ่ิม มากข้นึ ... ” (ผเู้ ชี่ยวชาญ 1 ตลุ าคม 2563 : สัมภาษณ์) “ ... จากการนิเทศหลายครง้ั ท่ีผ่านมา ซ่ึงได้ทาการนิเทศอย่างตอ่ เน่ือง ในคร้ัง นี้กลมุ่ ผูร้ ่วมศึกษาค้นคว้า มีความรู้ความเขา้ ใจ และสมารถทาการพฒั นาทักษะกระบวนการคิดได้ ... ” (ผู้เชีย่ วชาญ 19 ตุลาคม 2563 : สมั ภาษณ์)

ตารางที่ 4.2 ผลการประเมนิ การเขยี นรายงาน การพัฒนาทักษะกระบวนการคิด 85 การแปลผล ท่ี ช่ือหัวขอ้ การพัฒนา กล่มุ คะแนน ส่วนเบี่ยงเบน ทักษะกระบวนการคดิ เป้าหมาย เฉลย่ี มาตรฐาน ดี ดี 1 การพัฒนาทกั ษะกระบวนการคดิ ครูคนที่ 1 3.23 0.14 ดีมาก ดีมาก ในการอ่านและการเขียนมาตรา ดมี าก ดี ตัวสะกดของนักศึกษา ระดับ ดี ประถมศึกษา ดี ดีมาก 2 การพัฒนาทกั ษะกระบวนการคดิ ครคู นที่ 2 3.23 0.14 การอา่ นคาควบกล้าโดยใช้ชุดฝกึ ทกั ษะระดับประถมศึกษา 3 การพฒั นาทักษะกระบวนการคดิ ครคู นท่ี 3 3.52 1.86 การแกโ้ จทย์ปญั หาการคูณและ การหารของนกั ศึกษา ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ 4 การพฒั นาทกั ษะกระบวนการคดิ ครคู นท่ี 4 3.02 .91 ในการเขียนภาษาไทยของ นักศกึ ษาระดบั ประถมศึกษาโดย ใช้แบบฝกึ 5 การพัฒนาทกั ษะกระบวนการคิด ครคู นที่ 5 3.60 .89 ในการเขียนภาษาไทยของ นกั ศกึ ษาระดับมธั ยมศึกษาปีตอน ปลาย โดยใชบ้ ทเรียนสาเร็จรปู 6 การพฒั นาทกั ษะกระบวนการคิด ครคู นที่ 6 3.14 1.02 โดยใช้แบบฝึกเสริมทกั ษะ รายวิชาสงั คมศกึ ษา ระดับ มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ 7 การจดั การเรียนรู้ รายวชิ า ครคู นท่ี 7 3.11 .84 วทิ ยาศาสตร์ โดยใช้ทักษะ กระบวนการคดิ ได้ใชน้ วัตกรรม เป็นบทเรยี นสือ่ ประสม ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย 8 การพฒั นาทกั ษะกระบวนการคิด ครคู นที่ 8 3.32 .81 ในการอ่านภาษาองั กฤษ โดยใช้ แบบฝกึ 9 การพัฒนาทกั ษะกระบวนการคดิ ครูคนท่ี 9 3.55 .55 ในการเขยี นภาษาองั กฤษ โดยใช้ แบบฝึก

86 สรุปผลการดาเนินงานการพัฒนาครูด้านทักษะกระบวนการคิด ศูนย์การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอขุนหาญ โดยใช้การประชุมเชิงปฏิบัติการ การนิเทศ ภายใน ทาให้เกิดประโยชน์ต่อกลุ่มผู้ร่วมศึกษาค้นคว้าเป็นอย่างมาก ทาให้เกิดความรู้ความเข้าใจ สามารถทาการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดและรายงานผลการดาเนินงานของตนเองได้อย่างเป็น ระบบตรงประเด็นปัญหาที่ต้องการแก้ไขหรือพัฒนา นอกจากนี้กลุ่มผู้ร่วมศึกษาค้นคว้า และผู้ศึกษา ค้นคว้าเอง ได้เรียนรู้ถึงสภาพปัญหาท่ีแท้จริงขอการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด และโดยภาพรวม ของสถานศึกษาได้มีโอกาสปรึกษาหารอื แสดงความคิดเห็นแรกเปลี่ยนเรียนรรู้ ่วมกัน เพ่ือหาแนวทาง ที่จะแก้ปัญหา และพัฒนาร่วมกันทาให้เกิดบรรยากาศของการศึกษาค้นคว้าเกิดความตระหนักและ เห็นความสาคัญของการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด อันจะส่งผลต่อการพัฒนาการเรียนรู้และเกิด ประโยชนต์ อ่ ผ้เู รยี นอย่างแทจ้ ริง การสะทอ้ นผลในวงรอบที่ 2 จากผลการนิเทศภายในโดยผู้เช่ยี วชาญ เพื่อการพฒั นาครูด้านทักษะกระบวนการ คดิ ในวงรอบท่ี 2 ของกลุ่มผู้ร่วมศึกษาค้นคว้า จานวน 9 คน โดยการให้คาปรกึ ษาหารือเป็นรายกลุ่ม ได้แลกเปล่ียนความคิดเห็นข้อเสนอแนะซ่ึงกันและกัน และจากการแนะนาช่วยเหลือของผู้เชี่ยวชาญ พบว่า กลุ่มผู้ร่วมศึกษาค้นคว้ามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการพัฒนาวิธีการหรือนวัตกรรมให้มี คุณภาพ สามารถวิเคราะห์ข้อมูลเป็น และสามารถสรุป รายงานผลการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด ได้ ดังน้ี 1. การพัฒนาวิธีการหรือนวัตกรรม กลุ่มผู้ร่วมศึกษาค้นคว้า ยังไม่ม่ันใจใน นวตั กรรมที่สร้างข้ึน ว่ามีคุณภาพหรือไม่ เม่ือได้รับคาแนะนาช่วยเหลือจากผู้เชี่ยวแล้ว ทาให้สามารถ พัฒนานวตั กรรมให้มีความสมบูรณ์สามารถนามาใชแ้ ก้ปัญหาได้ 2. การวิเคราะห์ข้อมูล จากการพัฒนาในวงรอบท่ี 1 กลุ่มผู้ร่วมศึกษาค้นคว้าเก็บ รวบรวมข้อมูลมาได้ แต่ยังไม่มั่นใจในการวิเคราะห์ข้อมูล เนื่องจากไม่มีประสบการณ์ในการวิเคราะห์ ข้อมูลมาก่อน ผลการพัฒนาในวงรอบที่ 2 โดยกลยุทธ์การนิเทศภายใน โดยการพบปะรายกลุ่ม ได้ ร่วมปรึกษาหารือแลกเปลี่ยนความคิดเห็นข้อเสนอแนะซ่ึงกันและกัน และจากการแนะนาช่วยเหลือ ของผู้เชี่ยวชาญ พบว่า กลุ่มผู้ร่วมศึกษาค้นคว้ามีความรู้ความเข้าใจในเร่ือง การวิเคราะห์ข้อมูล สามารถใช้เคร่ืองมือเก็บรวบรวมข้อมูลได้ถูกต้องโดยใช้ค่า สถิติพื้นฐาน เช่น ค่าเฉลี่ย และร้อยละ นามาเปรียบเทียบกับเกณฑ์คุณภาพที่กาหนด เม่ือนาผลที่ได้มาเขียนรายงานการพัฒนาทักษะ กระบวนการคิดไดอ้ ย่างเหมาะสม 3. การสรุปและรายงาน จากผลการพัฒนาในวงรอบท่ี 1 กลุ่มผู้ร่วมศึกษาค้นคว้า ทงั้ 9 คน ยังเขียนรายงานไม่ครอบคลุมประเด็นปัญหา การพัฒนาทักษะกระบวนการคิด เน่ืองจากไม่ สามารถนาผลการวิเคราะห์ ข้อมูลที่ได้มาสรุปและเขียนรายงานได้ อีกท้ังยังขาดประสบการณ์ในการ เขียนรายงานการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดท่ีเช่ือมโยง ไม่สามารถตอบปัญหาจุดมุ่งหมายของการ พัฒนาทักษะกระบวนการคิดได้อย่างชัดเจน ผลการพัฒนาในวงรอบที่ 2 โดยใช้กลยุทธ์การนิเทศ ภายในทาให้กลุ่มผู้ร่วมศึกษาค้นคว้าได้คาแนะนาจากจากผู้เช่ียวชาญและศึกษาค้นคว้าเป็นรายกลุ่ม

87 ทาให้กลุ่มผู้ร่วมศึกษาค้นคว้าได้แลกเปล่ียนเรียนรู้ซ่ึงกันและกัน เกิดความรู้ความเข้าใจ สามารถสรุป และเขยี นรายงานการพัฒนาทกั ษะกระบวนการคิดได้ สรุป การสะท้อนผลการพัฒนาในวงรอบท่ี 2 กลุ่มผู้ร่วมศึกษาค้นคว้า จานวน 9 คนได้ดาเนินการพฒั นาตอ่ เนื่องจากวงรอบที่ 1 ตามกรอบการพฒั นาทักษะกระบวนการคิด 5 ข้ันตอน ได้แก่ การสารวจวิเคราะห์ปัญหา การกาหนดปัญหาหรือประเด็นการพัฒนา การพัฒนาวิธีการหรือ นวัตกรรมมาใช้ในการแก้ปัญหา การนาวิธีการหรือนวัตกรรมไปใช้ การสรปุ และรายงานผล โดยใช้กล ยุทธ์การนิเทศภายในแบบให้คาปรึกษาพบปะรายกลุ่มและรายบุคคลใช้พัฒนาข้ันตอนวิ ธีการหรือ นวัตกรรม การวเิ คราะห์ข้อมูล รวมท้ังขั้นตอนการสรุป และรายงานผล จากกลยุทธ์การนิเทศในครงั้ น้ี ทาให้กลุ่มผู้ร่วมศึกษาค้นคว้าทุกคน ได้ร่วมปรึกษาหารอื แลกเปลี่ยนเรียนรูป้ ระสบการณ์ซ่ึงกันและกัน และจากการช่วยเหลือแนะนาตามข้อเสนอแนะของผู้เช่ียวชาญ แล้วนามาปรับปรุงผลงานทั้ง 5 ขั้นตอนที่ยังไม่ชัดเจน จนสามารถทาให้กลุ่มผู้ร่วมศึกษาค้นคว้าทั้ง 9 คน มีความรู้ความเข้าใจ สามารถพัฒนานวัตกรรมหรือวิธีการแก้ปัญหาได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม สามารถเก็บรวบรวม ข้อมูลและนาสถิติมาใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้ถูกต้อง แปลผลข้อมูลมาสรุปและเขียนรายงานการ พฒั นาทักษะกระบวนการคดิ ได้ทุกคน การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ก่อนและหลังการพัฒนาครดู ้านทักษะกระบวนการคิด ปีการศึกษา 256/2563 เพ่ือเป็นการติดตามผลการพัฒนาครูด้านทักษะกระบวนการคิด ศูนย์ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอขุนหาญ ในปีการศึกษา 2563 ผู้ดาเนินการ ศกึ ษาได้รอผลการสอบเพ่อื เปรียบเทยี บ ตารางที่ 4.3 แสดงผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นปีการศึกษา 2562/2563 ปีการศกึ ษา/วิชา 2562 2563 ภาษาไทย 74.50 75.33 คณิตศาสตร์ 74.99 75.68 วทิ ยาศาสตร์ 71.97 72.46 สงั คมศึกษา 73.77 74.32 การใชพ้ ลงั งานไฟฟา้ ในชีวติ ประจาวัน 1 73.13 75.01 สขุ ศกึ ษา 80.20 82.45 ศิลปศึกษา 80.71 83.29 ทกั ษะการประกอบอาชพี 79.86 81.22 ภาษาอังกฤษพ้ืนฐาน 64.50 66.52 ช่องทางการเขา้ สู่อาชพี 74.51 76.66 74.82 76.29 รวมเฉลยี่

88 ตารางที่ 4.4 แสดงการเปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน การทดสอบ X D S.D. t p ปีการศกึ ษา 2562 74.82 1.47 .79 5.928* .000 ปีการศึกษา 2563 76.29 * p < .05 จากตารางท่ี 4.4 พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างปีการศึกษา 2562 ( X = 74.82) กับปีการศึกษา 2563 ( X = 76.29) มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ท่รี ะดับ .01 แสดงวา่ การพัฒนาครดู า้ นทักษะกระบวนการคิดสง่ ผลให้ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนสงู ขน้ึ

บทที่ 5 สรปุ อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ การศึกษาค้นคว้าการพัฒนาครูด้านทักษะกระบวนการคิด ศูนย์การศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอขุนหาญ โดยใช้กระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการในการพัฒนา ครู ผูศ้ ึกษาคน้ คว้าได้สรปุ ผล อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะตามลาดับ ดังนี้ 1. ความม่งุ หมายของการศึกษาคน้ ควา้ 2. สรปุ ผล 3. อภปิ รายผล 4. ขอ้ เสนอแนะ ความมุง่ หมายของการศกึ ษาค้นคว้า 4. เพื่อพัฒนาครูด้านทักษะกระบวนการคิด ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศัยอาเภอขนุ หาญ ให้มคี วามรคู้ วามสามารถในการพัฒนาทกั ษะกระบวนการคดิ 5. เพอื่ เปรยี บเทียบผลงานการพัฒนาครูดา้ นทกั ษะกระบวนการคิด ศนู ยก์ ารศึกษานอก ระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอขุนหาญ โดยจาแนกตามเพศ วฒุ ิการศกึ ษา และอายุราชการ 6. เพ่อื เปรยี บเทยี บผลสัมฤทธิก์ อ่ นดาเนนิ การและหลงั ดาเนินการ สรปุ ผล การพัฒนาครูด้านทักษะกระบวนการคิด ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยอาเภอขุนหาญ จากผลการพัฒนา พบว่า ก่อนการพัฒนาครูไม่มีประสบการณ์ในการ พัฒนาทักษะกระบวนการคิดมาก่อน ขาดความรู้ความเข้าใจในการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดมา แก้ปัญหาและพัฒนาผู้เรียนไม่เป็นไปตามขั้นตอน สภาพปัญหาด้านผู้เรียนมีคุณลักษณะที่ไม่พึง ประสงค์ เช่น ขาดความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ขาดทักษะในการทางาน ผู้เรียนไม่สามารถแก้โจทย์ ปญั หารายวชิ าคณติ ศาสตร์ ตลอดจนปญั หาดา้ นทักษะการอา่ นและการเขยี น รายวิชาภาษาไทย สง่ ผล ต่อผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนตา่ กวา่ เปา้ หมาย หลังการพัฒนา พบวา่ ผลการพัฒนาครดู ้านทักษะกระบวนการคิด ศูนย์การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอขุนหาญ โดยใช้กลยุทธ์การประชุมเชิงปฏิบัติการ และ การนิเทศภายใน ปรากฏผล ดังน้ี ครูผู้สอนที่เป็นกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในการพัฒนา ทักษะกระบวนการคิด ดังจะเห็นได้จากข้อมูลการทดสอบก่อนและหลังการประชุมเชิงปฏิบัติการ คะแนนเฉล่ียจาก 12.00 คะแนนเพ่ิมข้ึนเป็น 16.22 คะแนน และสามารถพัฒนาทักษะกระบวนการ คดิ ตามทก่ี าหนด 5 ข้ันตอน ในเรอ่ื งท่ีตนเองสนใจและเปน็ ปัญหาในช้ันเรียนให้สอดคล้องกัน กลา่ วคือ การสารวจและวิเคราะห์ปัญหา กลุ่มผู้ร่วมศึกษาค้นคว้าสามารถสารวจและเขียนปัญหาในการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ ของตนเองได้เหมาะสม เลอื กปัญหาการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดได้สอดคล้อง

90 กับสภาพปัญหาจริง โดยการวิเคราะห์เชิงระบบ นาปัญหามาตั้งเป้าหมายการพัฒนาทักษะ กระบวนการคิดได้ทุกคน แต่ปัญหาที่เลือกส่วนใหญ่จะเป็นปัญหาเก่ียวกับตัวผู้เรียนที่ขาดทักษะใน ด้านตา่ ง ๆ ส่งผลให้ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนตา่ และลกั ษณะที่พ่งึ ประสงค์ไมเ่ หมาะสม การกาหนดวิธีการในการแก้ปัญหา ผู้ร่วมศึกษาค้นคว้าทุกคนสามารถนาปัญหาท่ี เลือกมากาหนดวิธีการแก้ปัญหาได้อย่างหลากหลาย เรียงลาดับความสาคัญของปัญหาและพิจารณา เลือกทางเลือกท่ีเหมาะสมที่สุดมาแก้ปัญหา วิธีการที่นามาแก้ส่วนมากจะเป็นวิธีการประเภทส่ือการ เรียน ชุดฝึกทักษะ บทเรียนสาเร็จรูป เกม มากกว่าหนึ่งวิธีการ เช่น ครูคนที่ 1 การพัฒนาทักษะ กระบวนการคิดในการอ่านและการเขียนมาตราตัวสะกดของผู้เรียนระดับประถมศึกษา โดยชุดฝึก ครูคนท่ี 2 การพัฒนาการอ่านคาควบกล้าโดยใช้ชุดฝึกทักษะ ระดับประถมศึกษา ครูคนที่ 3 การ พัฒนาทักษะการแก้โจทย์ปัญหา การคูณและการหารของผู้เรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โดยใช้ แบบฝึกทักษะการแก้โจทย์ปัญหา ครูคนที่ 4 การพัฒนาทักษะกระบวนการคิดในการเขียนภาษาไทย ของผเู้ รียนระดับประถมศึกษา โดยใชแ้ บบฝึก ครคู นที่ 5 การพัฒนาทักษะกระบวนการคิดในการเขยี น ภาษาไทยของผู้เรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยใช้บทเรียนสาเร็จรูป ครูคนที่ 6 การพัฒนา ทักษะกระบวนการคิด โดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะ รายวิชาสังคมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โดย ใช้แบบฝึกเสริมทักษะ ครูคนที่ 7 การจัดการเรียนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ โดยใช้ทักษะกระบวนการ คิด ได้ใช้นวัตกรรมเป็นบทเรียนส่ือประสม ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ครูคนท่ี 8 การพัฒนาทักษะ กระบวนการคิดในการอ่านภาษาอังกฤษ โดยใช้แบบฝึก ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ครูคนท่ี 9 การ พัฒนาทักษะกระบวนการคิด ในการเขียนภาษาอังกฤษ โดยใช้แบบฝึก ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น แต่ยังมีขั้นตอนบางส่วนยังไม่มั่นใจในการหาคุณภาพของชุดฝึก เนื่องจากขาดประสบการณ์ในการ พัฒนาทักษะ ตลอดจนการนานวัตกรรมท่ีสร้างขึ้นไปปรึกษาผูเ้ ชย่ี วชาญ จงึ ต้องมกี ารพัฒนาขั้นตอนนี้ การนานวัตกรรมหรือวิธีการไปใช้ กลุ่มผู้รว่ มศึกษาค้นคว้าสามารถนาวิธีการที่สร้างข้ึนไปใช้แก้ปัญหา กบั ผูเ้ รยี นได้ตามข้ันตอน แต่การรวบรวมข้อมลู และการวเิ คราะห์ข้อมูลเพ่ือแปลผลน้ันกล่มุ ผูร้ ่วมศึกษา ค้นคว้าท้ัง 9 คนยังต้องได้รับคาชี้แนะจากผู้เชี่ยวชาญ เพื่อนาผลการวิเคราะห์ไปปรับปรุงแก้ไข สรุปผลและเขยี นรายงานการพฒั นาทักษะกระบวนการคิดใหส้ มบูรณ์ย่ิงข้ึน ดังนั้น จึงทาให้กลุ่มผู้ร่วมศึกษาค้นคว้าทุกคนตระหนักในปัญหาท่ีเกิดข้ึน จึงได้ ประชุมวางแผนร่วมกันท่ีจะพัฒนาข้ันตอนที่ยังไม่กระจ่างชัดท้ัง 5 ขั้นตอน โดยใช้กลยุทธ์การนิเทศ ภายในโดยเชิญผู้เชี่ยวชาญและผู้ศึกษาค้นคว้ามาให้คาปรึกษาพบปะรายกลุ่ม เพื่อให้คาแนะนา ช่วยเหลือตรวจสอบและปรบั ปรงุ แก้ไขการพัฒนาทักษะกระบวนการคดิ ของแต่ละคนให้มคี วามถูกต้อง ย่ิงขึ้นในวงรอบที่ 2 หลังจากดาเนินการแก้ไขจุดพกพร่องการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดของกลุ่มผู้ ร่วมศึกษาค้นคว้าท้ัง 9 คนแล้ว พบว่า ได้รับการนิเทศช่วยเหลือเป็นพิเศษในการเขียนรายงานให้ สมบูรณ์จากผู้เชี่ยวชาญและกลุ่มผู้ร่วมศึกษาค้นคว้าด้วยกัน การพัฒนาในวงรอบที่ 2 ส่งผลให้กลุ่มผู้ ร่วมศึกษาค้นคว้าทุกคน สามารถทาการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดและเขียนรายงานการพัฒนา ทักษะกระบวนการคิดได้ทุกคน และมีความม่ันใจในการนาทักษะกระบวนการคิดมาแก้ปัญหาในช้ัน เรียนได้ นอกจากน้ี ผู้ศึกษาค้นคว้าและกลุ่มผู้ร่วมศึกษาค้นคว้าได้ทราบถึงปัญหาท่ีแท้จริง ของการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดของตนเอง และในภาพรวมของสถานศึกษา ได้มีโอกาส ปรึกษาหารือ แสดงความคิดเห็นแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันเพื่อหาแนวทางที่จะแก้ปัญหาและพัฒนา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook