Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การเตรียมความพร้อมก่อนเปิดเรียน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564

การเตรียมความพร้อมก่อนเปิดเรียน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564

Published by Pom Thayika, 2021-08-05 04:23:01

Description: การเตรียมความพร้อมก่อนเปิดเรียน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564

Search

Read the Text Version

การเตรยี มความพรอ้ ม OBEC ในการจดั การเรยี นการสอน ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564 ดร.กวินทร์เกยี รติ นนธพ์ ละ รองเลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน ประธานคณะกรรมการบริหารแนวทางการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนในสถานการณ์โควิด-19 สพฐ.

รูปแบบการจดั การเรยี นการสอน OBEC ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 On-site On-Air On-demand Online On-hand การจัดการเรยี นการสอน การจดั การเรียนการสอน การจัดการเรยี นการสอน การจัดการเรยี นการสอน การจัดการเรียนการสอน แบบปกติทีโ่ รงเรียน ผ่านระบบโทรทศั น์ ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (มาตรการ ศบค.) แบบถา่ ยทอดสด ดว้ ยการนาสง่ เอกสารทบ่ี า้ น คณะกรรมการบรหิ ารแนวทางการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนในสถานการณโ์ ควดิ -19 สพฐ. 2021 © Illustrated by ZK

OBEC คณะกรรมการบรหิ ารแนวทางการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนในสถานการณ์โควดิ -19 สพฐ. © 2021

OBEC คณะกรรมการบริหารแนวทางการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนในสถานการณ์โควิด-19 สพฐ. © 2021

รูปแบบการจดั การเรยี นการสอน OBEC ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 การจดั การเรียนการสอนแบบผสมผสาน หมายถงึ การจดั การเรียนการสอนในรปู แบบผสมผสานทงั้ แบบ on-site และแบบอื่น ๆ ในลักษณะการศึกษาทางไกล (Distance Learning) มากกวา่ วิธี เดยี ว Blended Learning คณะกรรมการบรหิ ารแนวทางการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนในสถานการณโ์ ควิด-19 สพฐ. 2021 © Illustrated by ZK

OBEC





DIGITAL LITERACY - ความรอบรู้ดจิ ทิ ลั



Media Literacy

ผลการศึกษาจาก OECD (The Organization for Economic Co-operation and Development) เปดิ เผยถงึ ความสามารถในการรบั มือกับ fake news และขอ้ มลู ขา่ วสารท่ีผดิ พลาดของเด็กอายุ 15 ปี จากทว่ั โลก พบวา่ เด็กไทยมีศักยภาพต่ามากในเร่ืองน้ี โดยอย่ใู นอันดบั เกอื บจะท้ายสุดของ 77 ประเทศทั่ว โลกที่ OECD ท่าการประเมนิ (ไทยอยู่ในอันดบั ที่ 76 ในขณะทอ่ี นิ โดนีเซยี อยูใ่ นอนั ดบั ที่ 77) ทม่ี า : oecd-library.org ดาวน์โหลดต้นฉบับเอกสาร

ทมี่ า : oecd-library.org ดาวน์โหลดตน้ ฉบับเอกสาร

ผลการศึกษาน้ี เป็นสว่ นหน่ึงของการวดั ผล PISA 2018 ซึง่ ไดว้ ดั ความสามารถทางดา้ นดจิ ิทัล ของผ้เู ขา้ ร่วมการทดสอบ โดยทาการสอบถามวา่ ผ้เู ข้าร่วมการทดสอบไดม้ ีการเรยี นรถู้ ึงเร่ืองราว 7 ข้อน้ี ในห้องเรียนหรอื ไม่ 1) การใช้ keyword ในการค้นหาขอ้ มูลผา่ น search engine 2) การตัดสนิ ใจถึงความนา่ เชื่อถอื ของข้อมูลที่คน้ หามาได้ 3) การเปรยี บเทยี บขอ้ มูลจากเวบ็ เพือ่ น่าขอ้ มูลที่เหมาะสมทส่ี ดุ มาตอบคา่ ถามของวิชาท่ีเรียน 4) ความเข้าใจถงึ ผลกระทบจากการเผยแพร่ข้อมลู ออนไลน์ 5) การใชข้ ้อมลู สน้ั ๆ ดา้ นใต้ลงิ ค์ ท่ีได้จาก search engine 6) การแยกแยะข้อมูลวา่ เป็นความคดิ เห็นส่วนบคุ คลท่ีมอี คติหรือเปน็ ขอ้ เท็จจรงิ 7) การวเิ คราะหว์ า่ เมลท์ ่ีไดร้ บั มาเปน็ SPAM หรอื เมลห์ ลอกลวง ท่มี า : oecd-library.org ดาวน์โหลดตน้ ฉบับเอกสาร

ผลการศกึ ษาดังกลา่ วนี้ เปน็ สว่ นหน่ึงของการวดั ผล PISA 2018 ซึง่ ไดว้ ดั ความสามารถทางดา้ นดจิ ิทัลของผู้เขา้ รว่ มการ ทดสอบ โดยท่าการสอบถามวา่ ผ้เู ข้าร่วมการทดสอบได้มกี ารเรียนรู้ถึงเรือ่ งราว 7 ข้อน้ี ในห้องเรยี นหรือไม่ 1) การใช้ keyword ในการคน้ หาข้อมลู ผา่ น search engine 2) การตัดสินใจถงึ ความน่าเชือ่ ถือของข้อมลู ท่คี น้ หามาได้ 3) การเปรยี บเทยี บข้อมูลจากเวบ็ เพ่ือนา่ ข้อมลู ที่เหมาะสมท่ีสดุ มาตอบคา่ ถามของวชิ าท่ีเรียน 4) ความเขา้ ใจถึงผลกระทบจากการเผยแพรข่ อ้ มูลออนไลน์ 5) การใช้ข้อมลู สนั้ ๆ ด้านใตล้ งิ ค์ ที่ได้จาก search engine 6) การแยกแยะข้อมลู วา่ เปน็ ความคิดเห็นสว่ นบคุ คลทม่ี อี คติหรือเปน็ ข้อเทจ็ จริง 7) การวเิ คราะห์ว่าเมล์ทีไ่ ด้รบั มาเป็น SPAM หรอื เมลห์ ลอกลวง ซึง่ ผลการทดสอบท่อี อกมา พบวา่ เด็กไทยไดร้ ับการสอนเกยี่ วกับเรอื่ งเหลา่ น้ใี นห้องเรยี นน้อยมาก ซึ่งกท็ ่าใหม้ ีผลต่อ ทักษะความเข้าใจและใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ิทลั ทต่ี า่ ของเดก็ ไทยในปัจจุบนั นี้ ดงั ที่งานวจิ ยั ในเร่ืองนีไ้ ด้มรี ายงานไว้ ที่มา : oecd-library.org ดาวน์โหลดตน้ ฉบับเอกสาร

MEDIA LITERACY - ร้เู ทา่ ทนั ส่อื

นโยบายคุณภาพ ของ เลขาธกิ าร กพฐ. ตอ่ ยอดนโยบายของรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธิการ สู่การปฏิบัติใน 4 ประเด็น ความปลอดภัย โอกาส คุณภาพ ประสิทธภิ าพ

นโยบายคุณภาพ ของ เลขาธกิ าร กพฐ. จัดเรยี นการสอนท่ีเนน้ คุณภาพใน 3 ประการ 1. อา่ นออก เขยี นได้ คิดเลขเป็น 2. มรี ะเบียบวนิ ัย มีความรับผิดชอบ มจี ิตอาสา 3. 1 ดนตรี 1 กีฬา 1 อาชพี ตามความถนัดและความ สนใจของผู้เรยี น



www.thebettertoystore.com



Quick Wins

Quick Wins OBEC

OBEC