Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แบบคัดเลือกครูดีเด่น นายสัญญา

แบบคัดเลือกครูดีเด่น นายสัญญา

Published by akekung9, 2022-06-08 13:11:46

Description: แบบคัดเลือกครูดีเด่น นายสัญญา

Search

Read the Text Version

แบบคดั เลอื ก “ครูดเี ด่น” ตามโครงการพฒั นาคณุ ภาพเครือขา่ ยโรงเรยี นท่ี ๗๐ นายสัญญา อาภาสโชคทวี ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะครชู านาญการ โรงเรยี นมธั ยมวัดสุทธาราม สานักงานเขตคลองสาน กรุงเทพมหานคร

คานา แบบคัดเลือก “ครูดีเด่น” ตามโครงการพัฒนาคุณภาพเครือข่ายโรงเรียนท่ี ๗๐ ของนายสัญญา อาภาสโชคทวี ฉบับนี้ จัดทาข้ึน เพ่ือนาเสนอผลการคัดเลือกครูดีเด่น ในระดับกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วย คุณสมบัตทิ ว่ั ไป คณุ สมบตั เิ ฉพาะ และผลงานทางวิชาการของผจู้ ดั ทา แบบคัดเลือกฉบับน้ีจะไม่สาเร็จได้ หากขาดความอนุเคราะห์จาก นางสาวอรสา พุ่มสวัสด์ิ ผู้อานวยการสถานศึกษาโรงเรียนมัธยมวัดสุทธาราม ที่ให้ความเมตตาช่วยเหลือในการให้คาแนะนาแนว ทางการปฏิบตั ิงาน และผูเ้ กีย่ วทกุ ทา่ นทีใ่ หก้ ารสนบั สนุน ใหก้ าลงั ใจ และความรว่ มมือในการปฏบิ ตั ิงานร่วมกัน ดว้ ยดเี สมอมา จึงขอขอบพระคณุ ไว้ ณ ท่นี ้ี นายสัญญา อาภาสโชคทวี

สารบญั หน้า แบบคดั เลอื ก “ครูดเี ดน่ ” ตามโครงการพัฒนาเครอื ขา่ ยโรงเรยี นท่ี ๗๐ ๑ ตอนที่ ๑ คณุ สมบัติทวั่ ไป ๑ ตอนท่ี ๒ คุณสมบัตเิ ฉพาะ ๓ ตอนที่ ๓ ผลงาน ๗ ภาคผนวก ๑๑

–๑– แบบคัดเลือก “ครดู ีเด่น” ตามโครงการพฒั นาคุณภาพเครือข่ายโรงเรยี น ประจำปงี บประมำณ พ.ศ.256๕ ตอนท่ี ๑ คณุ สมบัติท่ัวไป นามสกลุ อาภาสโชคทวี ๑. ชื่อ นายสญั ญา ๑-๑๐๑๕-๐๐๑๙๙-๒๒ ๐ เลขทบี่ ตั รประจาตวั ประชาชน ๒. เลขทใ่ี บอนญุ าตประกอบ ๖๔๓๐๓๐๖๐๒๙๓๒๔๘ วิชาชพี ครู ออกให้ ณ วนั ท่ี ๓๑ มนี าคม ๒๕๖๔ หมดอายุ ณ ๓๑ มนี าคม ๒๕๖๙ ๓. ขอ้ มูลส่วนบุคคล ๓.๑ เกดิ เม่ือวันท่ี ๑๗ เดอื น มกราคม พ.ศ. ๒๕๓๐ ๓.๒ ปัจจบุ นั อายุ ๓๕ ปี ศาสนา พทุ ธ ๓.๓ ท่ีอยู่ที่ติดต่อไดส้ ะดวกเลขที่ ๖๒ ถนน ตากสนิ ตาบล/ แขวง สาเหร่ อาเภอ/ เขต ธนบุรี จังหวัด กรงุ เทพมหานคร รหสั ไปรษณยี ์ ๑๐๖๐๐ โทรศัพท์ ๐๒ – ๔๖๗ – ๕๐๐๙ โทรศัพทเ์ คลื่อนท่ี ๐๙๐ – ๙๘๒ – ๖๒๕๐ โทรสาร - e–mail address [email protected] ๓.๔ วันเร่มิ ปฏิบัตหิ น้าท่คี รู ๑๓ เดอื น พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๖ ๓.๕ ประสบการณก์ ารสอน รวมเปน็ เวลา ๘ ปี ๖ เดือน ๓.๖ ตาแหน่งหนา้ ที่ในปจั จุบัน ๓.๖.๑ ครูเวรประจาวันพุธ ๓.๖.๒ หวั หน้ากิจกรรมยุวกวี ๓.๖.๓ ครูเวรขายสหกรณ์วนั องั คาร ๓.๖.๔ ครูทีป่ รึกษาชมรม MSR Journal ๓.๖.๕ หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย ๓.๖.๖ คณะกรรมการฝา่ ยบริหารงานวิชาการ ๓.๖.๗ หวั หนา้ โครงการพัฒนาหลักสูตรสถานศกึ ษา ๓.๖.๘ ครทู ีป่ รึกษานกั เรยี นช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๖/๔ ๓.๖.๙ ครเู วรรักษาความปลอดภัยในโรงเรยี นมัธยมวัดสทุ ธาราม ๓.๖.๑๐ หัวหนา้ โครงการยกระดบั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนกลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ๓.๗ สถานศกึ ษา โรงเรียนมัธยมวัดสทุ ธาราม สังกัด สานกั การศึกษา กรงุ เทพมหานคร ตาบล/ แขวง บางลาภลู ่าง อาเภอ/ เขต คลองสาน จงั หวดั กรุงเทพมหานคร รหัสไปรษณีย์ ๑๐๖๐๐ โทรศัพท์ ๐๒ – ๔๓๗ – ๗๑๘๓ โทรสาร ๐๒ – ๔๓๗ – ๗๑๘๓

–๒– ๓.๘ ประวัตกิ ารศกึ ษา วุฒิการศกึ ษา วิชาเอก/โท/สาขา ปที ่สี าเรจ็ การศกึ ษา สถาบันการศึกษา ศกึ ษาศาสตรบณั ฑิต ภาษาไทย ๒๕๕๔ มหาวทิ ยาลัยศิลปากร (เกียรตินยิ มอนั ดับ ๒) ๒๕๕๙ มหาวิทยาลยั กรงุ เทพธนบรุ ี การบริหารการศึกษา ศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑติ ๓.๙ ความรู้ความสามารถพิเศษ ๓.๙.๑ งานเกษตร ๓.๙.๒ งานคหกรรม (ทาอาหาร ขนม และงานเย็บปกั ) ๓.๙.๓ งานประดษิ ฐ์ และการออกแบบ ๓.๙.๔ งานเขยี นรอ้ ยแก้วประเภท นิทาน เรอ่ื งส้นั ๓.๙.๕ รอ้ งเพลง ๔. ประวัติการทางาน (เฉพาะตาแหนง่ ที่สาคัญ) 4.1 บรรจคุ ร้งั แรก เมื่อวนั ที่ ๑๓ เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๖ ตาแหนง่ ครผู ู้ชว่ ย สถานศึกษา โรงเรียนมธั ยมวดั สุทธาราม ตาบล/ แขวง บางลาภลู า่ ง อาเภอ/ เขต คลองสาน จังหวดั กรุงเทพมหานคร สังกัด (ระดบั กรมหรือเทียบเท่า) สานักการศึกษา กรุงเทพมหานคร 4.2 ขอ้ มูลการดารงตาแหน่ง วนั เดอื น ปี ตาแหนง่ ๑๓ พ.ย. ๒๕๕๖ – ๑๓ พ.ย. ๒๕๕๘ ครผู ู้ชว่ ย โรงเรยี นมัธยมวดั สทุ ธาราม สานกั งานเขตคลองสาน ๑๓ พ.ย. ๒๕๕๘ – ๑ พ.ค. ๒๕๖๓ ครู โรงเรียนมัธยมวดั สทุ ธาราม สานักงานเขตคลองสาน ๑ พ.ค. ๒๕๖๓ – ปจั จบุ นั ครู วิทยฐานะครูชานาญการ โรงเรยี นมัธยมวัดสุทธาราม สานกั งานเขตคลองสาน ๕. ประวตั กิ ารสอนของครผู ู้สอน ๕.๑ เรมิ่ สอนครัง้ แรก เมอ่ื วนั ที่ ๑๓ เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๖ ในระดับชนั้ มัธยมศึกษา สถานศกึ ษา โรงเรียนมัธยมวัดสุทธาราม ตาบล/ แขวง บางลาภลู ่าง อาเภอ/ เขต คลองสาน จงั หวัด กรงุ เทพมหานคร สงั กัด (ระดบั กรมหรือเทียบเทา่ ) สานักการศึกษา กรงุ เทพมหานคร 4.2 ขอ้ มลู การสอน วัน เดอื น ปี ตาแหน่ง ๑๓ พ.ย. ๒๕๕๖ – ๑ พ.ค. ๒๕๕๗ วชิ า ภาษาไทย ม.๒ – ๓ ๑ พ.ค. ๒๕๕๗ – ๑ พ.ค. ๒๕๕๘ วิชา ภาษาไทย ม.๕ – ๖ ๑ พ.ค. ๒๕๕๘ – ๑ พ.ค. ๒๕๕๙ วชิ า ภาษาไทย ม.๓ – ๖ ๑ พ.ค. ๒๕๕๙ – ๑ พ.ค. ๒๕๖๐ วชิ า ภาษาไทย ม.๓ – ๖ และวิชา งานประดษิ ฐ์ ม.๓ ๑ พ.ค. ๒๕๖๐ – ปจั จุบัน วิชา ภาษาไทย ม.๔ – ๖ และวชิ า เกษตรแปรรูป ม.๖

–๓– 6. การดาเนินการทางวนิ ัย 5 ปีย้อนหลัง นับถึงวันสดุ ท้ายของการรับสมัคร –ไมเ่ คย– (เอกสารอ้างองิ หมายเลข ๑ หน้า ๑๑ – ๑๔ ) ตอนที่ 2 คณุ สมบตั ิเฉพาะ 1. การออกแบบการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน 1.1 การนานโยบายสู่การจดั การเรียนรู้ ผ้รู ายงานนาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง ๒๕๖๐) มาจัดทาเป็นหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนมัธยมวัดสุทธาราม พุทธศักราช ๒๕๖๔ โดยสอดแทรก วิสัยทัศน์ของแผนการจัดการศึกษากรุงเทพมหานครที่ว่า “นักเรียนกรุงเทพมหานครเป็นพลเมืองท่ีดี มีองค์ความรู้ สร้างสรรค์นวัตกรรม มีทักษะในการดารงชีวิต ในสังคมโลกแห่งศตวรรษท่ี 21” และสอดคล้องกับจุดเน้นของสถานศึกษาเก่ียวกับการจัดการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาให้นักเรียนมีคุณลักษณะ และทักษะชีวิตในการเป็นพลเมืองที่มีคุณภาพแห่งศตวรรษที่ 21 โดยออกแบบการจัดการเรียนรู้ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย และการงานอาชีพในรายวิชาที่รับผิดชอบให้เกิดประโยชน์สูงสุด ต่อนักเรียน วิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรคในแต่ละภาคเรียน เพื่อนามาพัฒนาการจัด การเรียนรู้ใหเ้ หมาะสม และมปี ระสิทธิภาพอยา่ งสูงสดุ 1.2 การจดั ทาแผนการจดั การเรียนรู้ ผู้รายงานนาหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนมัธยมวัดสุทธาราม พุทธศักราช ๒๕๖๔ มาออกแบบ แผนการจัดการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับวัย และระดับช้ันของนักเรียน มีองค์ประกอบของการจัดทาแผน การจัดการเรียนรู้ที่ครบถ้วน ประกอบด้วย มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวช้ีวัด หรือผลการเรียนรู้ สาระสาคัญ จุดประสงค์การเรียนรู้ สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ภาระงาน กระบวนการจัดการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ การวัด และประเมินผล ตลอดจนบันทึกหลังการสอน ที่มคี วามหลากหลาย และเน้นการเรียนรโู้ ดยนกั เรียนเปน็ ศนู ย์กลาง 1.3 การตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู้ ผู้รายงานได้นาแผนการจัดการเรียนรู้ให้ผู้บริหารสถานศึกษาตรวจสอบกระบวนการเรียนรู้ก่อน และหลังการนาแผนการจัดการเรียนรู้ไปใช้สอน เพ่ือรับข้อเสนอแนะจากผู้บริหารสถานศึกษา และนามา พัฒนา ปรับปรุงกอ่ น และหลังการจดั การเรียนร้ทู ุกครั้ง ใหเ้ กดิ ประสิทธิภาพสงู สดุ ตอ่ การเรยี นรขู้ องผู้เรียน (เอกสารอา้ งองิ หมายเลข ๒ หนา้ ๑๕ – ๑๖) 2. การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ 2.1 ความรู้ และทักษะในเร่ืองทสี่ อน ผู้รายงานจัดการเรียนรู้ในหน่วย “นิทานสร้างสรรค์” วิชา การเขียนร้อยแก้วเชิงสร้างสรรค์ (ท๓๐๒๑๘) ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๕ โดยประยุกต์เน้ือหา และสร้างแนวคิดใหม่ ใช้ทักษะ และวิธีการสอน ที่หลากหลายในกระบวนการที่เน้นให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง ผ่านการเขียนนิทานโดยใช้ทฤษฎี “สหบท(การดัดแปลงงานเขียนจากตัวบทเดิม)” นักเรียนสามารถสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง และเกิดความเข้าใจทย่ี ั่งยนื สามารถสรา้ งสรรคช์ ิ้นงานประเภทนทิ าน จนนาไปเผยแพร่ได้เปน็ อยา่ งดี

–๔– 2.2 การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ ผู้รายงานนาเทคโนโลยีมาใช้ออกแบบส่ือการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ของนักเรียน ในการจัดการเรียนรู้ เรื่อง การวิเคราะห์คุณค่าด้านวรรณศิลป์ วิชา การพินิจวรรณกรรม (ท๓๐๒๐๗) ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๖ ผ่านส่ือการเรียนรู้ “โวหารภาพพจน์สาเร็จรูป” ที่ผู้รายงานจัดทาข้ึน โดยนักเรียน สามารถใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ของนักเรียนสแกน QR Code เพื่อใช้ส่ือดังกล่าวผ่านเครื่องมือส่ือสาร ของนักเรียน ทาให้นักเรียนเข้าใจเน้ือหาได้ท้ังในขณะสอน และทบทวนบทเรียน ตลอดจนสามารถศึกษา เนือ้ หาเพม่ิ เตมิ ไดท้ กุ เมื่อ 2.3 การสร้างสรรคอ์ งค์ความรู้ ผู้รายงานได้ใช้เทคนิค และวิธีการเรียนรู้ที่หลากหลาย เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนสร้างองค์ความรู้ ความจา และทักษะท่ีถาวร ผ่านกระบวนการเรียนรู้แบบโครงการ ในรายวิชา วรรณกรรมปัจจุบัน (ท๓๐๒๑๒) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ โดยนักเรียนได้คิด “โครงการนิทรรศการวรรณกรรมปัจจุบัน” ซ่ึงเป็นกิจกรรมการจัดนิทรรศการนาเสนอผลงานจากการศึกษาวรรณกรรมปัจจุบันท่ีตนเองสนใจ ท้ังในเรื่อง ประวัติผู้แต่ง ความเป็นมา เนื้อเรื่อง ตัวละคร คุณค่าด้านต่าง ๆ รวมท้ังเกร็ดความรู้ และประเด็นชวนคิด ตามความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียน ทาให้นักเรียนสามารถสร้างสรรค์องค์ความรู้ และทักษะชีวิตให้เกิดกับตนเอง และผู้อ่ืน ผ่านกระบวนการจัดโครงการนิทรรศการจากการศึกษา วรรณกรรมปัจจบุ ันทตี่ นเองสนใจ 2.4 การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ผู้รายงานจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย โดยใช้วิธีการสอนที่หลากหลาย และแปลกใหม่ นอกเหนือจากตาราเรียน ใช้ส่ือการเรียนรู้ท่ีเหมาะสมกับเนื้อหา สาระ และวัยของนักเรียน เพื่อเป็นการกระตุ้นความสนใจของนักเรียน ทาให้นักเรียนสามารถสร้างองค์ความรู้ขึ้นได้ด้วยตนเอง ฝึกทักษะการทางานเป็นกลุ่ม รู้จักหน้าที่ มีความรับผิดชอบ เสียสละ และมีปฏิสัมพันธ์กับเพื่อนในกลุ่ม เช่น การจัดการเรียนรู้ เร่ือง ลักษณะของภาษาไทย ในวิชา หลักภาษาไทย (ท๓๐๒๐๖) ช้ันมัธยมศึกษา ปีท่ี ๕ โดยให้นักเรียนจัดกลุ่ม ๖ กลุ่ม เพื่อเล่นการ์ดเกม “ว้าย ! ตายแล้ว” ที่เป็นการ์ดเกมท่ีเกี่ยวข้องกับ โครงสร้างของคาในภาษาไทย ทั้งในเร่ืองของพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ พยางค์เป็น – ตาย รวมถึงระบบ เสียงไตรยางศ์ ผ่านการแข่งขันลงการ์ดเกมตามหัวข้อที่กาหนดในแต่ละรอบ ให้การ์ดของตนเองหมดก่อน กลุ่มอื่น ซ่ึงกระบวนการดังกล่าวนาไปสู่กระบวนการแก้ปัญหา การคิดอย่างสร้างสรรค์ ทาให้นักเรียน เกดิ องค์ความรู้ทถี่ กู ตอ้ ง และสามารถนาทักษะท่ไี ด้ไปประยุกต์ใช้ในอนาคต 2.5 การจดั บรรยากาศในการเรยี นรู้ ผู้รายงานจัดบรรยากาศในการเรียนรู้สอดคล้องกับเหตุการณ์ปัจจุบัน และเหมาะสมกับระดับช้ัน ของนักเรียน สร้างบรรยากาศการเรียนรู้ที่หลากหลายทั้งใน และนอกห้องเรียน เช่น การจัดบรรยากาศ การเรียนรู้เร่ือง นิทานปกรณัมกรีก – โรมัน เป็นกระบวนการเรียนรู้ผ่านการแสดงบทบาทสมมตินิทาน ปกรณัมกรีก – โรมันที่นักเรียนสนใจ ในวิชา นิทานปกรณัม (ท๓๐๒๐๓) ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๕ โดยนักเรียนจับกลุ่ม ๕ กลุ่ม เพ่ือสื่อค้นหานิทานปกรณัมกรีก – โรมันที่นักเรียนสนใจ เพ่ือนามาแปลง เป็นบทละครในการแสดงบทบาทสมมติของกลุ่มตนเอง กิจกรรมดังกล่าว ทาให้บรรยากาศการเรียนรู้ สนุกสนาน นักเรียนสนใจเรียนรู้เป็นอย่างมาก เพราะได้ฝึกปฏิบัติจริง และเข้าใจเน้ือเร่ืองนิทานปกรณัม กรกี – โรมันผ่านการเรียนรูแ้ บบสนุกสนาน และเหมาะสมกบั ความสนใจของนกั เรยี น (เอกสารอ้างอิงหมายเลข ๓ หนา้ ๑๗ – ๒๐)

–๕– 3. การบนั ทึกหลงั การจดั การเรยี นการสอน 3.1 การบันทึกหลังการจดั การเรียนการสอน ผู้รายงานบันทึกหลังสอนครบถ้วน และสอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้ กระบวนการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ เขียนระบุข้อค้นพบในการจัดการเรียนรู้ โดยเฉพาะอย่างย่ิงเมื่อพบปัญหาที่ทาให้ กระบวนการจัดการเรียนรู้ไม่บรรลุจุดประสงค์ หรือเมื่อพบว่านักเรียนไม่สามารถปฏิบัติ หรือไม่เข้าใจ บทเรียน เพ่ือนาไปพัฒนานักเรียนเป็นรายบุคคลต่อไป เช่น การเรียนรู้เรื่อง การวิเคราะห์คุณค่า ด้านวรรณศิลป์ วิชา ภาษาไทย ๕ (ท๓๓๑๐๑) ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ที่ผู้รายงานพบปัญหาเร่ืองเวลา ในการจัดการเรียนรู้ และทาแบบทดสอบไม่ทันในเวลา ผู้รายงานจึงนัดนักเรียน เพื่อมาสอนเสริม และทาแบบทดสอบหลงั เลกิ เรยี นจนแล้วเสร็จ 3.2 การนาไปใช้พัฒนานักเรียน ผู้รายงานนาบันทึกหลังการสอน ปัญหาที่เกิดขึ้น ข้อเสนอแนะหลงั จากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ซ่ึงเป็นข้อค้นพบมาแก้ปัญหา ปรับปรุง และพัฒนานักเรียน เช่น การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เร่ือง การวางแผนงานเขียนเรื่องส้ัน วิชา การเขียนร้อยแก้วเชิงสร้างสรรค์ (ท๓๐๒๑๘) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ซึ่งนักเรียนไม่สามารถเร่ิมสร้างโครงเรื่องได้ ผู้รายงานได้นานักเรียนกลุ่มดังกล่าวมาจัดสอนเสริม โดยให้นักเรียนลองเลา่ กิจวัตรประจาวนั ของตนเองเป็นรายบุคคล เพ่ือปรับเป็นลาดับเหตุการณ์ในเรื่องสั้น ในช่วงเวลาหลังเลกิ เรียน จนนักเรยี นสามารถวางแผนการเขียนเร่ืองสัน้ ของตนเองไดถ้ ูกต้อง และมกี าลังใจ ในการเรียนรู้ตอ่ ไป (เอกสารอ้างองิ หมายเลข 4 หน้า ๒๑ – ๒๓) 4. ผลงานทเ่ี กดิ จากการจัดการเรยี นรู้ 4.1 ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น นักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน สูงกว่าเป้าหมายที่โรงเรียนกาหนดในวิชา ภาษาไทย ในชั้น มัธยมศึกษาปีท่ี ๔ – 6 ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา 256๔ นักเรียนมีผลการเรียนระดับ 3 ขึ้นไป รอ้ ยละ 9๔.๗๕ ซึ่งสงู กว่าท่โี รงเรียนกาหนดไวท้ ่รี อ้ ยละ 70 ดงั ตารางท่ี 1 ตารางที่ 1 ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนของนกั เรียนทีผ่ ูร้ ายงานสอนในภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖๔ ระดับผลการเรียน จานวน จานวนนกั เรียน ท่ีมผี ลการเรียน ชน้ั นักเรยี น ๐ ๑ ๑.๕ ๒ ๒.๕ ๓ ๓.๕ ๔ มากกว่าระดับ ๓ (คน) ขนึ้ ไป จานวน รอ้ ยละ ม.๖/๑ – ๔ ๑๔๙ – ๓ – – ๕ ๓๒ ๔๔ ๖๕ ๑๔๑ ๙๔.๖๓ ม.๔/๕ ๓๘ – ๒ – – ๒ ๔ ๑๒ ๑๘ ๓๔ ๘๙.๔๗ ม.๕/๑ – ๔ ๑๕๖ – – – – ๖ ๓๓ ๒๑ ๙๖ ๑๕๐ ๙๖.๑๕ รวม ๓๔๓ – ๕ – – ๑๓ ๖๙ ๗๗ ๑๗๙ ๓๒๕ ๙๔.๗๕

–๖– 4.2 ผลงานท่นี ักเรยี นไดร้ บั รางวลั ผู้รายงานได้จัดกิจกรรมการเรียนรแู้ ละฝกึ ฝนนกั เรยี น จนได้รบั รางวลั ดังนี้ 4.2.๑ รางวลั ระดับเขต ๑. รางวลั เหรียญทอง รองชนะเลศิ อันดบั ท่ี ๑ การแข่งขนั โครงงานอาชีพ ระดับชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี ๑ – ๓ คร้งั ที่ ๖๘ ประจาปี ๒๕๖๑ โดยสานกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต ๑ ๒. รางวัลเหรียญเงนิ รองชนะเลศิ อันดับที่ ๑ การแข่งขันโครงงานอาชีพ ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ ๑ – ๓ ครัง้ ท่ี ๖๙ ประจาปี ๒๕๖๒ โดยสานกั งานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต ๑ 4.2.๒ รางวลั ระดบั กรุงเทพมหานคร ๑. รางวัลชนะเลิศ และรองชนะเลิศอันดับ ๒ การประกวดสิ่งประดิษฐจ์ ากวัสดุเหลอื ใช้ ระดับชั้น มัธยมศกึ ษา ประจาปี ๒๕๕๘ โดยสานักสิง่ แวดล้อม กรงุ เทพมหานคร ๒. รางวัลชนะเลิศ และรางวัลชมเชย การประกวดการเขียนเรียงความระดับช้ันมัธยมศึกษา ตอนปลาย เร่อื ง “เยาวชนรุ่นใหม่เขา้ ใจเร่อื งเพศ” ประจาปี ๒๕๖๔ โดยสานักการศกึ ษา กรงุ เทพมหานคร 4.2.๓ รางวัลระดับประเทศ ๑. รางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๒ การแข่งขันสิ่งประดิษฐ์จากพลาสติก และโฟม ประจาปี ๒๕๖๐ โดยกรมสง่ เสรมิ คุณภาพสง่ิ แวดล้อม ๒. รางวัลชุมชนสร้างสรรค์ การประกวดโครงงาน Craft the future ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ประจาปี ๒๕๖๑ โดยศูนยส์ ง่ เสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ ๓. รางวัลชนะเลิศ และชมเชย การประกวดเขียนสาระบันเทิง ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ประจาปี ๒๕๖๑ โดยมลู นิธศิ าสตราจารย์ ดร. ก่อ สวสั ด์พิ าณชิ ย์ เพ่อื สง่ เสริมการอา่ น ๔. รางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๒ การแข่งขันส่ิงประดิษฐ์จากพลาสตกิ และโฟม ระดับมัธยมศึกษา หรือเทยี บเท่า ประจาปี ๒๕๖๒ โดยกรมส่งเสรมิ คณุ ภาพสงิ่ แวดลอ้ ม ๕. งานเขียนเรื่องสั้นประกอบภาพ ได้รับคัดเลือกลงในหนังสือวันเด็กแห่งชาติ ประจาปี ๒๕๖๓ โดยสานกั งานกรรมการการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน ๖. รางวัลรองชนะเลิศอันดับท่ี ๑ การเขียนเร่ืองสั้น ระดับมัธยมศึกษา ประจาปี ๒๕๖๔ โดยสานกั วัฒนธรรม กีฬา และการท่องเท่ยี ว 4.3 ผลงานท่ีครูไดร้ บั รางวลั 4.๓.๑ รางวลั ระดับโรงเรยี น ผู้บาเพ็ญประโยชน์ สนับสนุนอุปถัมภ์การศึกษา โรงเรียนมัธยมวัดสุทธาราม และโรงเรียน วดั สุทธาราม 4.๓.๒ รางวัลระดบั เขต ๑. ครูผู้ฝึกสอนนักเรียนรางวัลเหรียญทอง รองชนะเลิศอันดับที่ ๑ การแข่งขันโครงงานอาชีพ ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑ – ๓ คร้งั ที่ ๖๘ ประจาปี ๒๕๖๑ โดยสานักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต ๑ ๒. ครูผู้ฝึกสอนนักเรียน ได้รางวัลเหรียญเงิน รองชนะเลิศอันดับท่ี ๑ การแข่งขันโครงงานอาชีพ ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๑ – ๓ ครัง้ ท่ี ๖๙ ประจาปี ๒๕๖๒ โดยสานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต ๑

–๗– 4.๓.๓ รางวลั ระดับประเทศ ๑. รางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๒ การแข่งขันสิ่งประดิษฐ์จากพลาสติก และโฟม ประจาปี ๒๕๖๐ โดยกรมสง่ เสริมคุณภาพสิ่งแวดลอ้ ม ๒. ครูผู้ฝึกสอนนักเรียน ได้รับรางวัลชนะเลิศ และชมเชย การประกวดเขียนสาระบันเทิง ระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนต้น ประจาปี ๒๕๖๑ โดยมูลนิธิศาสตราจารย์ ดร. ก่อ สวัสด์ิพาณิชย์ เพื่อสง่ เสรมิ การอา่ น ๓. ครูผู้ฝึกสอนนักเรียน ได้รับรางวัลรางวัลรองชนะเลิศอันดับท่ี ๑ การเขียนเร่ืองส้ัน ระดับมธั ยมศึกษา ประจาปี ๒๕๖๔ โดยสานักวฒั นธรรม กฬี า และการทอ่ งเท่ยี ว (เอกสารอา้ งอิงหมายเลข ๕ หน้า ๒๔ – ๓๐) 5. การเปน็ แบบอย่าง 5.1 การเอาใจใส่ และชว่ ยเหลอื ผ้อู ่ืน ผู้รายงานให้ความรัก ความเมตตา เอาใจใส่ และช่วยเหลือผู้อื่น และนักเรียนเป็นประจา เช่น จัดหาสื่อการเรียนการสอน ชุดนักเรียน เส้ือผ้าต่าง ๆ รวมถึงการส่งเสริมให้นักเรียนเป็นคนดีของสังคม และอยู่ในสังคมอยา่ งเปน็ สุข 5.2 ความรบั ผิดชอบ ผู้รายงานปฏิบัติหน้าท่ีต่าง ๆ ท่ีได้รับมอบหมายอย่างตั้งใจ เสร็จทันเวลาที่กาหนด และงาน แต่ละช้ินน้ัน สามารถเป็นแบบอย่างท่ีดีให้แก่บุคลากรในโรงเรียนได้ รวมท้ังผู้รายงานได้ให้คาปรึกษา ในการทางานแกค่ ณะครขู องโรงเรียนไดใ้ นทุกกรณี 5.3 การประพฤติตนเปน็ แบบอย่าง ผู้รายงานปฏิบัติตามจรรยาบรรณครู กฎ ระเบียบของทางราชการ การแต่งกายเหมาะสม ตามกาลเทศะ ใช้วาจาสุภาพเรียบร้อยกับทุกคน มีความประพฤติเรียบร้อย มีความเมตตากรุณา ยอมรับฟัง และยอมรับความสามารถของผู้อื่น ทั้งเพื่อนร่วมงาน และนักเรียน มีความเต็มใจ ให้ความช่วยเหลอื ผู้อ่ืน ใหค้ าปรกึ ษาแกค่ รู นักเรยี น ผูป้ กครอง และให้กาลงั ผู้อนื่ เสมอ ๆ (เอกสารอ้างอิงหมายเลข ๖ หนา้ ๓๑ – ๓๓) ตอนที่ 3 ผลงาน ๑. ด้านเนือ้ หา 1.1 โครงสรา้ งเน้อื หา ผู้รายงานได้จัดทานวัตกรรม “แบบฝึกการอ่านเชิงวิเคราะห์โวหารภาพพจน์ สาหรับนักเรียน ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๖” ข้ึน ซึ่งอยู่ในหน่วยการเรียนรู้ที่ ๓ วิชา การพินิจวรรณกรรม (ท๓๐๒๐๗) ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๖ โดยกาหนดเน้ือหาเกี่ยวกับ การอ่านวิเคราะห์โวหารภาพพจน์ ซึ่งเป็นส่วนหน่ึง ในการวิเคราะห์คุณคา่ ของวรรณคดี หรอื วรรณกรรมไทย เปน็ การใช้คา ขอ้ ความ หรือสานวน เพอื่ ให้ผ้อู า่ น เกิดภาพในการอ่าน เช่น การใช้ข้อความเปรียบเทียบ การใช้คาเลียนเสียงธรรมชาติ เป็นต้น เพื่อช่วยให้ นักเรียนเข้าใจ วเิ คราะห์ และสามารถใชโ้ วหารภาพพจนไ์ ดอ้ ยู่ถกู ตอ้ ง เพือ่ พฒั นาตนเองตอ่ ไปในอนาคต 1.2 การนาเสนอเนอ้ื หา ผู้รายงานนาเสนอเนื้อหาของ “แบบฝึกการอ่านเชิงวิเคราะห์โวหารภาพพจน์ สาหรับนักเรียน ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๖” ตรงตามเนื้อหาการอ่านเชิงวิเคราะห์ และการวิเคราะห์คุณค่าของวรรณคดี ดา้ นวรรณศลิ ป์ ในมาตรฐาน ท ๑.1 ตัวชี้วัด ม.๔-๖/๒ ตีความ แปลความ และขยายความเร่อื งที่อ่าน และ

–๘– ม.๔-๖/๓ วเิ คราะห์ และวจิ ารณ์เรอ่ื งท่ีอ่านในทุก ๆ ดา้ นอยา่ งมเี หตผุ ล ตคี วาม แปลความ และขยายความ เร่ืองท่ีอ่าน และในมาตรฐาน ท ๕.1 ตัวชี้วัด ม.๔-๖/๓ วิเคราะห์และประเมินคุณค่าด้านวรรณศิลป์ ของวรรณคดี และวรรณกรรมในฐานะ ที่เป็นมรดกทางวฒั นธรรมของชาติ 2. ด้านเทคนคิ การออกแบบ และพัฒนาสอื่ นวตั กรรม 2.1 การกาหนดวตั ถปุ ระสงค์ และลาดับข้ันการนาเสนอ ผู้รายงานได้กาหนดวัตถุประสงค์ ในการจัดทา “แบบฝึกการอ่านเชิงวิเคราะห์โวหารภาพพจน์ สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๖” ดังน้ี 1. เพื่อสร้าง และพัฒนาแบบฝึกการอ่านเชิงวิเคราะห์โวหารภาพพจน์สาหรั บนักเรียน ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี ๖ ใหม้ ปี ระสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2. เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๖ ก่อน และหลังเรียน โดยใช้แบบฝกึ การอ่านเชงิ วิเคราะหโ์ วหารภาพพจน์ เพื่อจะไดจ้ ัดลาดับการนาเสนอได้ถูกต้อง และเหมาะสม 2.2 การจดั รูปแบบการนาเสนอ ผรู้ ายงานได้จดั วางองคป์ ระกอบของแบบฝึกการอ่านเชงิ วเิ คราะหโ์ วหารภาพพจน์ สาหรับนักเรยี น ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๖ ได้สัดส่วน สวยงาม ดึงดูดความสนใจ และพัฒนาทักษะการคิดเชิงวิเคราะห์ ของนักเรียน และใหน้ ักเรยี นได้มีปฏิสัมพนั ธก์ ับนวตั กรรมอย่างเตม็ ที่ 2.3 รูปแบบของตวั อักษรและภาพประกอบ ผู้รายงานได้ใช้รูปแบบของตัวอักษร และภาพประกอบมีขนาดและสีชัดเจน อ่านง่ายเหมาะสม กับวัยของนักเรยี น สีของภาพเหมาะสม และเปน็ ท่ีสนใจของนกั เรยี น รวมทง้ั ดึงดูดความสนใจของนกั เรยี น 2.4 การเสริมแรง และให้กาลงั ใจ ผูร้ ายงานจัดทาแบบฝึกการอ่านเชิงวิเคราะห์โวหารภาพพจน์ สาหรบั นักเรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี ๖ ขึ้น โดยเน้นการเสริมแรงให้นักเรียนมีกาลังใจในการเรียนรู้ และเสริมสร้างแนวคิด แรงบันดาลใจ ในการเรยี นรผู้ ่านแบบฝกึ เพอื่ พฒั นาทกั ษะของตนเองสืบไป 3. การประเมนิ ผลการใช้ส่อื 3.1 การทดลองและพัฒนา ผู้รายงานไดน้ าแบบฝกึ การอา่ นเชิงวเิ คราะหโ์ วหารภาพพจน์ สาหรับนกั เรียนช้นั มัธยมศึกษาปีที่ ๖ ไปทดลองกับกลุ่มทดลอง 3 ครั้ง เพ่ือหาประสิทธิภาพของแบบฝึก และปรับปรุง พัฒนาจนสามารถ นาไปใช้จรงิ ได้ 3.2 การประเมนิ และเผยแพร่ ผรู้ ายงานได้นา “แบบฝึกการอ่านเชิงวเิ คราะหโ์ วหารภาพพจน์ สาหรับนกั เรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๖” ทจ่ี ดั ทาข้นึ มาใชจ้ รงิ ซง่ึ ผลการใช้ สามารถสรปุ ผลได้ ดังนี้ 1. ประสิทธิภาพของแบบฝึกการอ่านเชิงวิเคราะห์โวหารภาพพจน์ จากการทดลอง กับกลุ่มตัวอย่าง พบว่ามีประสิทธิภาพ ๙๓.๕๗ / ๘๐.๐๐ แสดงว่าแบบฝึกการอ่านเชิงวิเคราะห์ โวหารภาพพจนท์ ่สี ร้าง และพฒั นาข้ึนน้ัน มีประสทิ ธิภาพตามเกณฑท์ ก่ี าหนดไว้ คือ 80 / 80

–๙– 2. นักเรียนที่ได้ทาแบบฝึกการอ่านเชิงวิเคราะห์โวหารภาพพจน์ มีความสามารถ ในการอ่านเชิงวิเคราะห์โวหารภาพพจน์ สูงกว่าก่อนทาแบบฝึกการอ่านเชิงวิเคราะห์โวหารภาพพจน์ อยา่ งมีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดบั .01 เม่ือเห็นว่าแบบฝึกมีประสิทธิภาพ ผู้รายงานได้นาไปเผยแพร่ให้กับครูผู้สอนในวิชา ภาษาไทย ๕ (ท๓๓๑๐๑) ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ ๖ ทม่ี เี นื้อหาใกลเ้ คียงกัน ในโรงเรียนอน่ื ๆ ดังนี้ 1. โรงเรยี นสาธิตมหาวทิ ยาลยั ศิลปากร จงั หวดั นครปฐม 2. โรงเรยี นสาธติ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม จังหวดั นครปฐม 3. โรงเรยี นมธั ยมปรุ ณาวาส สานักงานเขตทววี ัฒนา กรงุ เทพมหานคร 4. ด้านคณุ ค่าและประโยชน์ของสื่อนวตั กรรม แบบฝึกการอ่านเชงิ วิเคราะห์โวหารภาพพจน์ สาหรับนกั เรยี นชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ท่ผี ู้รายงานผลิตข้ึน มีประโยชน์ ช่วยพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียน ทาให้นักเรียนได้เรียนรู้ด้วยกระบวนการท่ีน่าสนใจ และเข้าใจง่าย โรงเรียนได้พัฒนานักเรียนอย่างรอบด้าน กรุงเทพมหานครได้นวัตกรรมเพื่อใช้ส่งเสริม การเรียนการสอนให้กับคุณครู และประเทศได้บุคลากรท่ีมีคุณภาพ มีทักษะทางการอ่าน เพื่อพัฒนา ต่อยอดในทักษะการเขียน หรือการใช้ภาษาได้อย่างถูกต้อง อีกทั้งนักเรียนสามารถนาความรู้ไปเผยแพร่ ให้ประชาชนในสังคมไดอ้ ย่างถูกต้อง 5. ดา้ นวสั ดุอุปกรณท์ ีใ่ ชใ้ นการผลติ 5.1 ความคงทน และประหยัด แบบฝึกการอ่านเชิงวิเคราะห์โวหารภาพพจน์ สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๖ เป็นสื่อทีม่ คี วามคงทน ประหยดั และหาวสั ดุอุปกรณ์ได้งา่ ย เพราะเป็นสอ่ื กระดาษ 5.2 ความทนั สมยั และมีคุณค่า แบบฝึกการอ่านเชิงวิเคราะห์โวหารภาพพจน์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๖ เป็นสื่อ ที่ทันสมยั ต่อยคุ สมยั และมคี วามคุม้ คา่ ในการใช้งาน เป็นท่สี นใจแกน่ กั เรยี น และสามารถนาไปใชไ้ ดท้ กุ ที่ (เอกสารอา้ งอิงหมายเลข 7 หนา้ ๓๔ – ๓๗ และแบบฝึกการอ่านเชงิ วเิ คราะห์โวหารภาพพจน์ สาหรับนกั เรียนช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ ๖) ข้าพเจ้าขอรับรองว่า มีคุณสมบัติเหมาะสมตามประกาศการคัดเลือกครูผู้สอนดีเด่น ทกุ ประการ ลงชือ่ ผู้เสนอขอ (นายสัญญา อาภาสโชคทวี) ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะครชู านาญการ วันที่ ๘ เดือน มิถนุ ายน พ.ศ.๒๕๖๕

– ๑๐ – คารบั รอง และความเหน็ เพม่ิ เติม ............................................................................................................................. .......................................... ........................................................................................................................................ ............................... ................................................................................................... .................................................................... ลงช่ือ ผ้รู บั รอง (นางอรสา พมุ่ สวสั ด์ิ) ผ้อู านวยการสถานศึกษาโรงเรยี นมธั ยมวดั สทุ ธาราม วันที่ ๘ เดือน มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๕๖๕

– ๑๑ – ภาคผนวก

– ๑๒ – เอกสารอา้ งองิ หมายเลข ๑ สาเนา กพ.๗ ของนายสัญญา อาภาสโชคทวี

– ๑๓ – จบการศึกษาระดบั ปรญิ ญาตรี ศึกษาศาสตรบ์ ณั ฑติ วิชาเอกภาษาไทย มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร จบการศกึ ษาระดับปรญิ ญาโท ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑติ การบริหารการศกึ ษา มหาวิทยาลัยกรงุ เทพธนบุรี

– ๑๔ – คาสงั่ บรรจแุ ต่งตั้งใหด้ ารงตาแหน่ง ครู วิทยฐานะครูชานาญการ เม่ือวันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๖๓ ดารงตาแหนง่ ครูทป่ี รกึ ษานักเรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๖/๔

– ๑๕ – ปฏิบตั ิหน้าทค่ี รูเวรประจาวนั พุธ เป็นผู้มคี วามสามารถ ในการออกแบบ และการประดิษฐ์ เปน็ ผู้มคี วามสามารถ ในการร้องเพลง

– ๑๖ – เอกสารอ้างอิงหมายเลข ๒ การประชมุ ในการจดั ทาหลักสตู รสถานศกึ ษา หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรยี นรู้ และการนานโยบายมาปฏิบตั ิ

– ๑๗ – ตวั อย่างแผนการจดั การเรยี นรู้

– ๑๘ – เอกสารอา้ งอิงหมายเลข ๓ ภาพการสอน และช้ินงานนิทานสร้างสรรคข์ องนกั เรยี น จากการจัดการเรยี นการสอนดว้ ยทฤษฎสี หบท

– ๑๙ – ภาพการสอนโดยใช้สอ่ื “โวหารภาพพจน์สาเร็จรูป” และชนิ้ งานการเขียนโดยใช้โวหารภาพพจนข์ องนักเรยี น

– ๒๐ – ภาพการสอนโครงการนทิ รรศการวรรณกรรมปจั จบุ ันของนักเรยี น

– ๒๑ – ภาพการสอนโดยใชก้ ารด์ เกม “ว้าย ! ตายแล้ว” ภาพบรรยากาศกจิ กรรมการเรียน – การสอนบทบาทสมมติ นิทานปกรณัมกรีก – โรมนั ของนกั เรยี น

– ๒๒ – เอกสารอา้ งองิ หมายเลข ๔ ภาพบนั ทกึ หลังสอน

– ๒๓ – ภาพการสอนเสริม และทาแบบทดสอบหลังเลกิ เรยี นจนแล้วเสร็จ ในรายวิชา ภาษาไทย ๕ นกั เรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๖

– ๒๔ – ภาพการสอนเสรมิ ในการวางแผนการเขยี นเรือ่ งสนั้ ของนักเรียน ในรายวิชา การเขยี นรอ้ ยแกว้ เชิงสรา้ งสรรค์ นักเรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๕

– ๒๕ – เอกสารอา้ งอิงหมายเลข ๕ ภาพการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนในรายวชิ าต่าง ๆ ทง้ั ในรูปแบบออนไลน์ และในหอ้ งเรียน

– ๒๖ – การรับรางวลั รองชนะเลิศอันดบั ๒ การแข่งขนั สงิ่ ประดษิ ฐจ์ ากพลาสตกิ และโฟม ประจาปี ๒๕๖๐ โดยกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอ้ ม การรบั รางวัลรองชนะเลศิ อันดบั ๒ การแข่งขันสง่ิ ประดิษฐจ์ ากพลาสตกิ และโฟม ระดับมัธยมศกึ ษา หรอื เทียบเทา่ ประจาปี ๒๕๖๒ โดยกรมส่งเสริมคณุ ภาพส่ิงแวดล้อม

– ๒๗ – การรบั รางวัลชนะเลิศ และชมเชย การประกวดเขียนสาระบันเทงิ ระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนตน้ ประจาปี ๒๕๖๑ โดยมูลนิธศิ าสตราจารย์ ดร. กอ่ สวสั ด์ิพาณชิ ย์ เพ่ือส่งเสรมิ การอ่าน การรบั รางวัลชนะเลิศ และรองชนะเลิศอนั ดับ ๒ การประกวดสิง่ ประดิษฐ์จากวัสดุเหลือใช้ ระดบั ชัน้ มัธยมศกึ ษา ประจาปี ๒๕๕๘ โดยสานกั สง่ิ แวดล้อม กรุงเทพมหานคร

– ๒๘ – การรบั รางวลั รองชนะเลศิ อนั ดบั ที่ ๑ การเขยี นเรอื่ งส้ัน ระดบั มธั ยมศกึ ษา ประจาปี ๒๕๖๔ โดยสานกั วฒั นธรรม กฬี า และการทอ่ งเทย่ี ว การรบั รางวัลชนะเลศิ และรางวลั ชมเชย การประกวดการเขียนเรยี งความ ระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษาตอนปลาย เรือ่ ง “เยาวชนรุ่นใหมเ่ ข้าใจเรอื่ งเพศ” ประจาปี ๒๕๖๔ โดยสานกั การศึกษา กรงุ เทพมหานคร

– ๒๙ – รางวลั เหรยี ญเงนิ รองชนะเลศิ อนั ดับที่ ๑ การแข่งขนั โครงงานอาชีพ ระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๑ – ๓ คร้งั ท่ี ๖๙ ประจาปี ๒๕๖๒ โดยสานกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑ งานเขยี นเรือ่ งส้ันประกอบภาพ ไดร้ ับคดั เลอื กลงในหนงั สือวันเด็กแหง่ ชาติ ประจาปี ๒๕๖๓ โดยสานักงานกรรมการการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน

– ๓๐ –

– ๓๑ –

– ๓๒ – เอกสารอา้ งอิงหมายเลข ๖ เปน็ ต้นแบบในการสรา้ งแรงบนั ดาลใจ ให้กับเยาวชน สรา้ งขวญั กาลงั ใจให้กับเพื่อนร่วมงาน

– ๓๓ – เปน็ แบบอยา่ งอนุรกั ษ์ในความเปน็ ไทย มีความรัก และเมตตาตอ่ ศิษยเ์ สมอ

– ๓๔ – มีความรับผดิ ชอบ เสียสละเวลาใหค้ าปรึกษา แก่นกั เรียนเสมอมา ใหค้ วามรัก และเมตตาศษิ ยอ์ ย่างเท่าเทยี ม

– ๓๕ – เอกสารอ้างอิงหมายเลข ๗ ภาพการพฒั นาส่อื และแบบฝกึ การอา่ นเชงิ วิเคราะหโ์ วหารภาพพจน์

– ๓๖ – ภาพการใช้สื่อ และแบบฝกึ การอา่ นเชงิ วเิ คราะห์โวหารภาพพจน์ในการจัดกจิ กรรม การเรียนการสอน แบบฝกึ การอา่ นเชงิ วิเคราะหโ์ วหารภาพพจน์ ในรูปแบบ E-Book แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ใช้แบบฝึก การอา่ นเชงิ วเิ คราะหโ์ วหารภาพพจน์ ในรปู แบบ E-book ภาพชิ้นงานของนักเรียนท่เี รียนรผู้ ่านแบบฝกึ การอา่ นเชงิ วเิ คราะห์โวหารภาพพจน์

– ๓๗ – ภาพช้นิ งานของนักเรียนทเี่ รียนรผู้ า่ นแบบฝกึ การอา่ นเชงิ วิเคราะหโ์ วหารภาพพจน์

– ๓๘ –


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook