Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บันทึกเรื่องราว…จากวันนั้น ถึงวันนี้ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี History of Suratthani Rajabhat University

บันทึกเรื่องราว…จากวันนั้น ถึงวันนี้ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี History of Suratthani Rajabhat University

Published by srulibrary2015, 2021-09-22 07:36:10

Description: หนังสือที่บันทึกเรื่องราว เกี่ยวกับประวัติ ความเป็นมา
เหตุการณ์สำคัญ ตลอดจนความเป็นเอกลักษณ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี ตั้งแต่อดีต จนถึงปัจจุบัน

Search

Read the Text Version

บนั ทกึ เรอ่ื งราว จากวันนน้ั ...ถึงวันน้ี มหาวิทยาลัยราชภฏั สุราษฎรธ์ านี History of Suratthani Rajabhat University

บันทึกเร่อื งราว…จากวนั นนั้ ถงึ วนั น้ี มหาวิทยาลยั ราชภฏั สรุ าษฎรธ์ านี History of Suratthani Rajabhat University ปที ่ีพมิ พ์ พ.ศ. 2564 จดั พมิ พ์โดย หอสมุดกลาง มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สุราษฎร์ธานี เรยี บเรียงโดย เบญจมาศ เทอดวีระพงศ์ คณะทำงาน ทพิ วรรณ อักษรทพิ ย์, กฤติยา รักสวสั ด์ิ, เพชรรตั น์ กิมยฮู่ ะ ประทมุ พร วีระสขุ , สริ ิวัฒนา น้อยดอนไพร, จันทร์จริ า เครอื สาย วราภรณ์ กรดเกล้า, โชคดี กรดเกล้า, วรรนภา ทองสมสี, เยาวดี รุ่งเรือง, กิตติยา ใจซอื่ , อนรุ ักษ์ ศรนี าคนลิ , ไตรเพชร พลดี, ณัฐนัย พลิ กึ และกวีวัธน์ เทพทอง ที่ปรกึ ษา ผศ.ปรญิ ญา น้อยดอนไพร ผูอ้ ำนวยการสำนกั วิทยบริการและเทคโนโลยสี ารสนเทศ นางนันทนา เดชเกิด, ผศ.กานตธ์ ิดา บญุ มา และอาจารย์กง่ิ กาญจน์ สุพรศิรสิ นิ รองผู้อำนวยการสำนักวทิ ยบรกิ ารและเทคโนโลยสี ารสนเทศ ออกแบบปก ธีรวฒั น์ กจิ งาม

อาศิรวาทราชสดุดี พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจลุ จอมเกล้าเจา้ อยู่หวั รชั กาลที่ 5 “พระปยิ ะมหาราช” ณ คราหนงึ่ ซ่ึงสยามเจอความเสย่ี ง สดุ หลีกเลี่ยง เบยี่ งเคราะหก์ รรม นำขม่ เหง “เหลา่ นกั ล่า” มารุกล้ำ ทำนักเลง ไม่กริง่ เกรง หมายรกุ เรา้ เอาแดนดนิ แตบ่ ุญญา ฟา้ สยาม ยงั ยง่ิ ใหญ่ จงึ พาไทย ใหอ้ ยูร่ อด ปลอดติฉิน เพราะไทยนี้ มมี หาราช ปราชญบ์ ดินทร์ ท่ัวทุกถิ่น ยินทว่ั ฟ้า “จุฬาลงกรณ”์ ทรงเลกิ ทาส-เลิกเกณฑ์ไพร่ ใหเ้ หล่าขา้ ฯ เหล่าไพร่ฟา้ ได้สขุ โข สโมสร นำสยาม สสู่ ากล ผลขจร ราษฎร ได้พง่ึ พา พระบารมี ดว้ ยเกล้าดว้ ยกระหมอ่ ม ขอเดชะ ขา้ พระพุทธเจ้า ดร.สมปราชญ์ วฒุ จิ นั ทร์ รองอธิการบดีฝ่ายบริหารและจดั การทรพั ย์สิน

อาศิรวาทราชสดดุ ี พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภมู ิพลอดุลยเดชมหาราช รัชกาลท่ี 9 “ราชภัฏ” ชอ่ื เรยี กขาน “ราชภัฏ” ประวัติวา่ พระราชา แห่งสยาม ตัง้ นามให้ “ลญั จกร” แทนเอกองค์ พระทรงชยั เทิดมั่นไว้ ในสญั ญา “ข้าแผ่นดิน” ราชพฤกษ์ เหลืองอรา่ ม ยามรุ่งแจง้ ถิ่นฟา้ -แดง แหลง่ เขยี นอา่ น ประสานศลิ ป์ สร้างบัณฑิต ประสทิ ธศ์ิ าสตร์ ราษฎร์ยลยิน ปลกุ ท้องถิ่น ใหย้ นื ท้า ชะตาตน มนุษยศาสตรฯ์ คณะพ่ี ที่กำเนดิ ด้วยก่อเกิด ยามบากบัน่ วนั ขัดสน ใชท้ ด่ี ิน “ค่ายเสอื เหลอื ง” สรา้ งเรื่องตน สรา้ งค่าฅน บนทางธรรม ลำ้ ปรัชญา วทิ ยาศาสตร์ คณะนอ้ ง รองมนษุ ยฯ เป็นอาวุธ ดุจทางแท้ แกป้ ัญหา ยามบ้านเมอื ง เกิดภัยพาล สะทา้ นมา ใช้ปัญญา “วิทยาศาสตร์น้ี” จกั คล่ีคลาย คณะครู-ครศุ าสตร์ ประสาทศลิ ป์ โลกยลยิน วา่ เดก็ ดี ตอ้ งมีหวาย แตค่ รดู ี มี “ความรกั ” พิทักษก์ าย เกดิ จนตาย ร้ายถงึ ดี ดว้ ยมคี รู การจัดการ คณะใหม่ ใสผุดผอ่ ง สอนให้กรอง ตรองความจรงิ ส่ิงอดสู เศรษฐกจิ คิดอย่างไร ใหเ้ รียนดู นำความรู้ สู่ถ่นิ ฐาน บา้ นเมอื งตน นานาชาติ วาดฝันไว้ ไกลสดุ ฝัน เพือ่ ยนื ยนั ขันอาสา ทา้ แดดฝน “ราชพฤกษ”์ จงึ เดินหนา้ สสู่ ากล สรา้ งพชื ผล บนแดนดิน ถ่ินฟา้ แดง นติ ศิ าสตร์ สร้าง “อาวธุ ยตุ ธิ รรม” เพื่อเหนยี่ วนำ ทำถ่ินไทย ไรแ้ อบแฝง บำบดั ทุกข์-บำรุงขวญั อนั โรยแรง เพ่ือสำแดง แรงกฎหมาย คลายทกุ ข์ทน พยาบาลฯ งานมวลชน คนทกุ ขย์ าก ตอ้ งลำบาก ตรากตรำทาง สรา้ งพืชผล รักษาตวั -รกั ษาใจ ใหผ้ คู้ น ไดผ้ ่านพ้น ความจนยาก วิบากชะตา เหนือบัณฑิต คอื บณั ฑิต วิทยาลยั ผู้นำไทย ใหเ้ รียนรู้ ส้ปู ัญหา สร้างวจิ ยั ดว้ ยวินยั ใส่ปญั ญา ดังนาวา พาโตค้ ลืน่ ฝืนแรงลม

“ราชภฏั ” คอื กำลงั หวงั เปลี่ยนโลก สู้ทุกข์โศก วโิ ยครั้ง ดงั ยาขม ย่ิงด่มื กิน-ย่งิ อาสา ทา้ ระทม ลา้ งทกุ ข์ตรม ใหช้ ื่นสุข ทกุ ตัวฅน สานสำนกึ แหง่ ชาตไิ ทย ให้เป็นผล ดังดำรสั ธ ตรสั ไว้ ใหร้ ำลกึ ให้หลุดพน้ ความจนท้อ ดว้ ยพอเพียง ราชภฏั จงเคยี งข้าง ทางมวลชน ฅนของพระราชา ขา้ ของแผ่นดิน ดว้ ยเกล้าดว้ ยกระหมอ่ ม ขอเดชะ ขา้ พระพุทธเจ้า ดร.สมปราชญ์ วฒุ จิ ันทร์ รองอธิการบดฝี า่ ยบรหิ ารและจดั การทรัพยส์ ิน

อาศริ วาทราชสดดุ ี พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรรามาธบิ ดีศรสี ินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้า เจา้ อยู่หวั รชั กาลที่ 10 ภมู ินทร์ องคป์ ่นิ แกว้ จอมไผท อคั รยศ เลศิ ไกร เดน่ ด้าว พระเกียรตยิ ง่ิ จอมไตร สถติ คู่ เสมอกาล เป็นมิ่งไทย เกรกิ กา้ ว สอ่ งฟ้า นภางาม ธรณนิ ทร์ พระทัยเย็นท่ัวท้งั สุขลำ้ ธ เสด็จ ชุบชีวิน ราชวัตร ขจรนาน ทวยราษฎร์ ต่างยลยิน คู่แคว้น สยามมา ตรึงแนน่ กลางใจค้ำ ภักดี ผองข้าฯ “ราชภฏั ” ประณตนอ้ ม จงสฤษฎ์ สมฤทัย ทนู เทิดใท้ องคภ์ มู ี กอ่ ให้ เจริญชนม์ “วชิราลงกรณ” ขวัญชวี ี พรเทพ ภมู ภิ พหลา้ ด้วยเกลา้ ด้วยกระหมอ่ ม ขอเดชะ ข้าพระพุทธเจา้ ดร.สมปราชญ์ วฒุ จิ ันทร์ รองอธกิ ารบดีฝา่ ยบริหารและจัดการทรัพยส์ นิ

สารนายกสภามหาวทิ ยาลยั ในโอกาสที่ข้าพเจ้าได้เข้ามามีส่วนร่วม ในการพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี ในฐานะนายกสภามหาวิทยาลัย ได้มีโอกาส ใ น ก า ร ท ำ ง า น ร ่ ว ม ก ั บ ผ ู ้ บ ร ิ ห า ร ม ห า ว ิ ท ยาลั ย แ ล ะ บุ คล า กรทุ กฝ่า ย ได ้ เ ห็ น ความมุ่งม่ัน ความร่วมมือร่วมใจ การช่วยเหลือเก้ือกูล และความสามคั คี เพื่อการพัฒนาของมหาวิทยาลัย ในด้านต่าง ๆ จนทำให้มหาวิทยาลัย มีผลงานท่ีโดดเด่นและมีคุณภาพ ทั้งด้านผลงานทางวิชาการ ด้านเทคโนโลยี การบริการและให้ความช่วยเหลือ แก่ชุมชน หนังสือเล่มน้ี เป็นเหมือนเคร่ืองย้อนเวลา เป็นแหล่งความรู้ให้คนรุ่นใหม่ ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี ได้เรียนรู้ ได้จดจำเร่ืองราวในอดีตที่ดีงาม ซึ่งกลายเป็นรากฐานของความม่ันคงในปจั จุบัน ความก้าวหน้า และความยั่งยืน ในอนาคต ในนามของสภามหาวิทยาลัย ขอขอบคุณบุคลากรทุกฝ่าย ที่ร่วมแรง ร่วมใจ พัฒนามหาวทิ ยาลัย ให้มีความกา้ วหน้าอย่างตอ่ เน่อื ง ขอใหท้ กุ ทา่ นจงเจรญิ ด้วยจตรุ พิธพรชยั ทั้ง 4 ประการ มีความสขุ สมหวงั ในสงิ่ ที่พึงปรารถนาทุกประการ และเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนามหาวิทยาลัยให้มีความเจริญก้าวหน้ายิ่ง ๆ ข้นึ ไป นายวิชยั ศรขี วญั นายกสภามหาวิทยาลัยราชภฏั สุราษฎรธ์ านี

สารอธิการบดี เริ่มต้นจากการเป็น “วิทยาลัยครูสรุ าษฎรธ์ าน”ี ตั้งแต่พุทธศกั ราช 2516 ผา่ นการเตบิ โตอยา่ งต่อเนื่อง สกู่ ารเป็น “สถาบันราชภฏั สุราษฎร์ธาน”ี และพัฒนา มาตามลำดับ จนกระท่ังได้รับพระราชทานนาม จากพระบาทสมเด็จพระปมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เม่ือปีพุทธศกั ราช 2547 ในฐานะ “มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี” ตลอดระยะเวลา 48 ปี แห่งการเจริญเติบโต ที่ผ่านร้อนผ่านหนาวมาอย่างยาวนานของมหาวิทยาลัย ราชภัฏสุราษฎร์ธานี จนกลายเป็นหน่ึงในมหาวิทยาลัยชั้นนำของภาคใต้ ปรากฏ บุคคล หน่วยงาน เครือข่าย ตลอดจนศิษย์เก่าจำนวนมาก ที่อยู่เบ้ืองหลัง ความสำเร็จ เป็นรากฐานของความมั่นคง และเป็นกลไกสำคัญในการสร้าง ความเจริญเติบโตดังกล่าว อีกทั้งยังได้สร้างคุณงามความดีไว้อย่างอเนกอนันต์ จนเปน็ ทปี่ ระจักษ์แกช่ นรุ่นหลัง ตลอดระยะเวลาท่ีปฏิบัติหน้าที่ในร้ัวมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี เราทุกคนตระหนักกันดีอยู่ว่า ต้องปฏิบัติหน้าที่อย่างเต็มกำลังความสามารถ เพราะระลึกอยู่เสมอว่า การปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าว เป็นการตอบแทนบุญคุณ ของแผ่นดิน และบูรพะคณาจารย์ ท่ีร่วมกันสร้างชื่อเสียงให้แก่มหาวิทยาลัย ตง้ั แต่อดีตจนถึงปจั จุบัน อกี ท้ังยงั เปน็ การสร้างคณุ ประโยชน์ให้แก่ชุมชนและสงั คม อีกทางหน่ึงดว้ ย เพื่อให้การยังประโยชน์แก่การรับใช้ชุมชนท้องถิ่นต่อเนื่อง และ มีประสิทธิภาพมากขึ้น และในฐานะ “มหาวิทยาลัยแห่งการบูรณาการ ผสาน องค์ความรู้ สู่การสร้างนวัตกรรม เพื่อพัฒนาชุมชนท้องถิ่นอย่างยั่งยืน” มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี มีเป้าหมายในการผลิตบัณฑิต ภายใต้แนวคิด

การสรา้ งวศิ วกรสงั คม ที่มีคุณลกั ษณะ 4 ประการ ไดแ้ ก่ มีทกั ษะการคิดวิเคราะห์ เชิงเหตุและผล เห็นปัญหาเป็นเร่ืองท้าทาย มีทักษะในการสื่อสารองค์ความรู้ เพื่อแก้ปัญหา มีทักษะการทำงานร่วมกับผู้อืน่ โดยปราศจากข้อขัดแย้ง สามารถ ระดมทรพั ยากร และสรรพกำลงั ในท้องถ่ิน มาร่วมแก้ปัญหาและมีทกั ษะการสร้าง นวัตกรรม เพื่อแก้ปัญหาบนฐานข้อมูลชุมชน โดยประสานความร่วมมือกับภาคี เครือข่ายในท้องถิ่น เพื่อเป็นพลังขับเคลื่อน สร้างความเชื่อมโยงต่อชุมชน ในการสร้างสรรค์ พัฒนาท้องถิ่น และเพิ่มศักยภาพประชาชนให้สังคมเป็นสุข อย่างยั่งยืน เพื่อที่บัณฑิตเหล่านี้ จะได้กลับไปพัฒนาชุมชนท้องถิ่นของตน และดำรงชอ่ื เสียงในฐานะศิษย์เก่า แหง่ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี ท่ีดีงาม สืบไป สุดท้ายนี้ ขอขอบคุณ ผู้ริเริ่มจัดทำเอกสารฉบับน้ี และผู้ร่วมเขียนบันทึก จากความทรงจำ เกี่ยวกับ “วิทยาลัยครูสุราษฎร์ธาน”ี “สถาบันราชภฏั สุราษฎร์ ธานี” และ “มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี” ซึ่งจะช่วยสะท้อนภาพ แห่งการเจริญเติบโตของมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี ให้เป็นที่ประจักษ์ สืบไป ตลอดจนขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องทุกภาคส่วน ที่สนับสนุนให้เอกสารชุดน้ี สำเรจ็ ไดอ้ ย่างสวยงาม (ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.วฒั นา รตั นพรหม) รกั ษาราชการแทนอธิการบดี

คำนำ หอประวัติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสรุ าษฎร์ ธานี เป็นแหล่งรวบรวม เก็บรักษา เผยแพรข่ ้อมูล ความรู้ เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ ความเป็นมา ของมหาวิทยาลัย เหตุการณ์สำคัญ ตลอดจน ความเป็นเอกลักษณ์ของมหาวิทยาลัย ตั้งแต่อดีต จนถึงปจั จบุ นั มหาวทิ ยาลัยไดม้ คี วามคิดทีจ่ ะสร้าง หอประวัติ ณ อาคารหอสมดุ และศูนย์สารสนเทศ เฉลิมพระเกียรติ โดยไดร้ บั เงินสนบั สนุนจาก มารดาของนายกสภามหาวทิ ยาลัยราชภฏั สรุ าษฎร์ธานี นายวิชัย ศรีขวัญ เป็นจำนวนเงิน 1,000,000 บาท เพ่ือสร้างหอประวัติ ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ เกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของมหาวิทยาลัย ตั้งแต่อดีต จนถึงปัจจุบัน ตลอดจนได้บันทึกเรื่องราว ความผูกพันและความประทับใจ ในเหตุการณส์ ำคัญต่าง ๆ ท่ีเป็นที่เชดิ ชเู กียรติของมหาวทิ ยาลยั และบุคคลสำคัญ ที่มีส่วนผลักดัน ให้มหาวิทยาลัยดำเนินงานไปสู่เป้าหมาย เป็นมหาวิทยาลัย เพื่อชุมชนทอ้ งถิ่น การดำเนินการจัดสร้างหอประวัติมหาวิทยาลัย เริ่มด้วยการแต่งตั้ง คณะกรรมการ เพ่ือดำเนินการเรื่องนี้ เมื่อปีพุทธศักราช 2562 มหาวิทยาลัย ได้ออกแบบหอประวัติ และมอบหมายให้สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยี สารสนเทศ ประสานกับหน่วยงานอ่ืน ๆ ท่ีเก่ียวข้องในการค้นหาข้อมูล ของมหาวิทยาลัย ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน และได้แต่งตั้งคณะกรรมการภายใน สำนักฯ เพอ่ื ตดิ ตามและดำเนนิ การเรอื่ งนี้ โดยมอบหมายให้หอสมุดกลาง จัดเก็บ ประวัติ เรื่องราวของมหาวิทยาลัย ที่เป็นเอกสาร เนื้อหา และภาพถ่ายในอดีต จนถึงปัจจบุ ัน ตลอดจนสัมภาษณบ์ ุคคลที่เกี่ยวข้อง และเป็นผู้ที่สามารถให้ขอ้ มลู

ได้มากที่สุด เพื่อจดั ทำหนังสอื หอประวัติเล่มนีข้ น้ึ กอ่ นที่จะนำเรื่องราวในหนังสือ จดั ทำหอประวัติของมหาวิทยาลยั ตอ่ ไป คณะผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่า หนังสือเล่มน้ีจะเป็นประโยชน์ และ สามารถนำไปใช้ เพ่ือเผยแพร่ข้อมูลของมหาวิทยาลัย ในการอ้างอิงเกี่ยวกับ พัฒนาการของมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี เนื่องจากเป็นแหล่งรวบรวม ข้อมูล และประสบการณ์จากผู้บริหาร บุคลากร นักศึกษา ทั้งอดีตและปัจจุบนั ซึ่งเป็นผู้ท่ีมีส่วนร่วมรับรู้ความเป็นมาและร่วมพัฒนามหาวิทยาลัยและถ่ายทอด ความทรงจำของมหาวิทยาลยั ออกมาเป็นคำบอกเลา่ และเรยี บเรียงจนเปน็ หนังสอื ฉบับสมบูรณ์ฉบับน้ี ท้ายสุดนี้ ผู้จัดทำขอขอบคณุ ผู้ให้ข้อมูล และภาพถ่ายในอดีตและปัจจุบนั เกี่ยวกับเรื่องราวด้านความเป็นมาของมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี ไว้ ดังน้ี อาจารย์วิริยะ กลน่ิ เสาวคนธ์ อาจารย์เกษียณอายุราชการ คณะวิทยาการ จัดการ มหาวิทยาลยั ราชภัฏสรุ าษฎรธ์ านี ผศ.พงษ์ศักดิ์ สอนสังข์ อาจารย์เกษียณอายุราชการ ประธานชมรม อดตี อาจารยข์ า้ ราชการและบคุ ลากร มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สุราษฎร์ธานี อาจารย์กรรณิการ์ นาคอยู่ อาจารย์เกษียณอายุราชการ คณะมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ และอดีตผู้อำนวยการสำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยราชภัฏ สรุ าษฎร์ธานี รศ.ดร.ชูศักดิ์ เอกเพชร อดีตรักษาราชการแทนอธิการบดี มหาวิทยาลัย ราชภฏั สุราษฎร์ธานี ผศ.ประสงค์ หลำสะอาด อาจารย์เกษียณอายุราชการ คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี และอดีตรองอธกิ ารบดฝี า่ ยบรหิ ารทรัพยากรมนุษย์ มหาวิทยาลัย ราชภฏั สรุ าษฎร์ธานี นายธิติ พิวัฒน์ ศิษย์เก่า สาขานิเทศศาสตร์ (ส่ือสารมวลชน) คณะวทิ ยาการจดั การ มหาวิทยาลยั ราชภฏั สรุ าษฎรธ์ านี นางสาวอภิญญา วงศ์อาหมัด ศิษย์เก่า โปรแกรมวิชาอุตสาหกรรมการ ทอ่ งเท่ยี ว คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบนั ราชภฏั สรุ าษฎร์ธานี นายอนรุ กั ษ์ ศรีนาคนิล ศิษย์เก่า สาขาอุตสาหกรรมศิลป์ คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี สถาบันราชภฏั สรุ าษฎร์ธานี

นางกฤติยา รักสวัสดิ์ ศิษย์เก่า สาขาการศกึ ษานอกระบบ คณะครุศาสตร์ วิทยาลัยครูสุราษฎร์ธานี และสาขาการประถมศึกษา คณะครุศาสตร์ สถาบัน ราชภัฏสุราษฎรธ์ านี นางสาวจันทร์จิรา เครือสาย ศิษย์เก่า สาขาสารสนเทศศาสตร์และ บรรณารักษศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ สุราษฎร์ธานี นางสาววราภรณ์ กรดเกล้า ศิษย์เก่า สาขาสารสนเทศศาสตร์และ บรรณารกั ษศาสตร์ คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ บุคลากร สือ่ สารองค์กร สำนกั งานอธกิ ารบดี คณะ สำนกั และสถาบัน มหาวิทยาลยั ราชภฏั สุราษฎรธ์ านี ผ้ชู ่วยศาสตราจารยป์ ริญญา น้อยดอนไพร และคณะ ผจู้ ดั ทำ

สารบัญ • อาศิรวาทราชสดดุ ี 3 • สารนายกสภามหาวิทยาลยั 7 • สารอธิการบดี 8 • คำนำ 10 • สารบัญ 13 • จากวิทยาลยั ครู สู่ มหาวิทยาลัยราชภัฏ 16 • กวา่ จะเป็น “มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สุราษฎรธ์ านี” 25 วิทยาลยั ครสู รุ าษฎร์ธานี 27 สถาบนั ราชภฏั สุราษฎร์ธานี 35 มหาวิทยาลัยราชภฏั สรุ าษฎรธ์ านี 38 44 • สภามหาวทิ ยาลัย 47 • บตั รประจำตัวนักศกึ ษา ครุยวิทยฐานะจากวทิ ยาลยั ครูสู่ มหาวิทยาลัยราชภฏั

สารบญั • พระมหากรุณาธิคุณ พระราชทานปริญญาบตั ร แก่บัณฑิตราชภัฏ 50 • พธิ ีอัญเชญิ และมอบเข็มตราพระราชลัญจกร 53 • ราชภัฏสัญลักษณ์ 55 • ผู้บริหารวทิ ยาลยั ครู 59 สู่มหาวิทยาลยั ราชภฏั • คณะครุศาสตร์ 62 • คณะมนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 70 • คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 73 • คณะวิทยาการจัดการ 76 • คณะพยาบาลศาสตร์ 81 • คณะนิตศิ าสตร์ 84 • วิทยาลยั นานาชาติการท่องเทีย่ ว 90 • บณั ฑติ วทิ ยาลัย 95

สารบญั 98 • สำนกั งานอธกิ ารบดี 102 • สำนกั สง่ เสรมิ วชิ าการและงานทะเบยี น 108 • สำนักศิลปะและวฒั นธรรม 112 • สำนกั วิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ 115 • สถาบันวิจยั และพัฒนา 117 • หอสมุดกลาง 121 • หอประชุมวชริ าลงกรณ 125 • หลวงพอ่ โสธร ศนู ย์รวมจิตใจ • เร่อื งเล่า…เม่อื วนั วาน 127 กวา่ จะเป็น “ราชภฏั สรุ าษฎร์ธาน”ี 128 ความทรงจำทีภ่ าคภูมใิ จ 135 การเดนิ ทางในความทรงจำ 136 • จากบทเพลง วทิ ยาลัยครสู มู่ หาวทิ ยาลยั ราชภฏั 139 • คณะกรรมการจัดทำหนงั สอื 144

จากวทิ ยาลยั ครู สู่ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั

จากกรมการฝึกหัดครู สู่ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกลา้ เจ้าอยหู่ วั รัชกาลที่ 5 ทรงปฏิรูปประเทศให้ทันสมัยตามแบบตะวันตก การวางรากฐาน \"การศกึ ษา\" จึงมกี ารจดั รปู แบบการศกึ ษาเพอ่ื รองรบั การขยายตัวในระบบโรงเรยี น มีหลักสูตร แบบเรียนและครู ในพุทธศักราช 2430 ได้จัดตั้ง “กรมศึกษาธิการ” ขึ้นมา เพื่อรับผิดชอบและในปี พุทธศักราช 2432 ได้รวมกรมต่าง ๆ เช่น กรมธรรมการ กรมพยาบาล กรมพิพิธภณั ฑ์สถาน และกรมศึกษาธิการ ขึน้ ตรงกับ “กระทรวงธรรมการ” มีสถานศึกษาด้านการฝึกหัดครูแห่งแรกของประเทศ เปิดทำการสอนเม่ือวันที่ 12 ตุลาคม พุทธศักราช 2435 จึงกำเนิดโรงเรียนฝึกหัด อาจารย์ การกำเนดิ ของมหาวิทยาลยั ราชภัฏ มมี าตงั้ แต่เรม่ิ กอ่ ตัง้ กรมการฝึกหดั ครู ในปีพุทธศักราช 2434 ใกล้เคียงกับการก่อตั้งกระทรวงศึกษาธิการ หรือที่เรียก กันว่า กระทรวงธรรมการ ในสมัยนั้นกรมการฝึกหัดครูทำหน้าที่ผลิตครู ไปประจำการตามโรงเรยี นต่าง ๆ ท่ัวประเทศ สว่ นใหญ่เป็นครูสายสามญั สอนดา้ น วชิ าการ โรงเรียนฝกึ ครูแหง่ แรกต้งั ข้นึ ณ บริเวณโรงเล้ียงเด็ก สวนมะลิ ถนนบำรุง เมือง จังหวัดพระนคร เรียกว่า “โรงเรียนฝึกหัดอาจารย์” เปิดสอนในระดับ ประโยคครูประถม มีกำหนดระยะเวลาในการเรียน 2 ปี เริ่มเปิดสอนเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม พุทธศักราช 2435 ตามโครงการท่ีเจา้ พระยาพระเสด็จสุเรนทราธบิ ดี (ม.ร.ว.เปีย มาลากุล) ได้ร่างขึ้นเมื่อปพี ุทธศักราช 2441 ภาค 1 หมวด 8 ข้อ 10 วา่ ดว้ ยโรงเรยี นพิเศษ ซึ่งกลา่ วไว้ดงั น้ี “ การศึกษาในกรงุ สยามในปจั จบุ นั และอนาคตกต็ ้องมคี รูเปน็ ท่ตี ั้ง ครดู ีแล้วใหก้ ารเลา่ เรยี นศกึ ษาดี การใหญ่สำคญั ของกรมการศกึ ษาธกิ ารกค็ ือ ฝึกหัดครใู หด้ แี ลว้ เปน็ ทางจรงิ ๆ ทจ่ี ะให้การศึกษาเล่าเรยี นในบ้านเมืองดำเนิน ส่ทู างเจริญ เพราะฉะนั้นในการท่ีจะสร้างและต้งั โรงเรยี นฝึกหดั อาจารย์นี้ เปน็ ท่ีแรกและเป็นการสำคญั ของกรมศึกษาธกิ ารท่ีจะทำการน้ี”

พุทธศักราช 2454 ถึง 2458 เจา้ พระยาพระเสด็จสุเรนทราธบิ ดี เสนาบดี กระทรวงธรรมการ ได้กลา่ วถึงความสำคัญของการฝึกหดั ครไู วว้ า่ “การใหญส่ ำคญั ของกรมศึกษาธิการก็คอื การฝกึ หดั ครใู หด้ แี ล้ว เปน็ ทางจรงิ ๆ ทจี่ ะให้การศึกษาเลา่ เรียนในบา้ นเมอื ง ดำเนนิ สทู่ างเจรญิ ” การประกาศจัดตั้งกระทรวงธรรมการในปีพุทธศักราช 2435 ทำให้ มีจำนวนนักเรียนเพิ่มขึ้น แต่ครูก็คือครูพระที่เคยบวชเรียนมาแล้ว เป็นครูสอน หอ้ งเรียนใช้กุฏิศาลาวดั จงึ ทำใหข้ าดครแู ละสถานที่เรยี น สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์ เธอเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ได้ทำหนังสือ กราบบังคมทูล พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยู่หัว รชั กาล ที่ 5 ขอตั้งงบประมาณ ปีรัตนโกสินทรศก (ร.ศ.) 110 สำหรับฝึกสอนผู้ที่จะเปน็ อาจารย์และฝึกหัดวิชาช็อตแฮนด์ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจฬุ าลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ทรงมีพระบรมราชานุญาต ให้กระทรวง ธรรมการ ซึ่งมีเจ้าพระยาภาสกรวงศ์ เป็นเสนาบดี ดำเนินการและเปิดสถาบัน การฝกึ หดั ครขู ้ึน เมอื่ วนั ที่ 12 ตุลาคม พทุ ธศกั ราช 2435 ท่โี รงเลยี้ งเด็กและที่ตึก ปนั้ หยา ถนนบำรุงเมอื ง เรยี กวา่ โรงเรยี นฝึกหัดอาจารย์ (The Normal College) โดยในปีพุทธศักราช 2434 กระทรวงธรรมการ ได้จ้างมิสเตอร์จอร์จ เอช กรินรอด (Mr. Georges H. Grindrod) ชาวอังกฤษ ให้ดำรงตำแหน่งครูใหญ่ สำหรับวิทยาลัยฝึกหัดครูสยาม มิสเตอร์กรนิ รอด จบปริญญาตรีจากนิวคอลเลจ เมืองอ๊อกฟอร์ดและเคยเป็นอาจารย์สอนอยู่ ที่วิทยาลัยครูไดโอเซซัน (Mr. Georges H. Grindrod, B.A. of New College Oxford and on the Staff of the Diocesan Teachers College) โดยมที ่พี ักอยทู่ ีต่ กึ ปั้นหยา

ตกึ ป้นั หยา เปน็ อาคารสว่ นหน่ึงของโรงเลี้ยงเดก็ ซง่ึ เป็นสถานทตี่ ้งั ของโรงเรียนฝกึ หดั อาจารยแ์ หง่ แรก อยใู่ นยา่ นถนนบำรุงเมอื ง กรุงเทพฯ มสิ เตอรจ์ อร์จ เอช กรนิ รอด (Mr. Georges H. Grindrod) และมิสเตอร์เอิร์นเนส ยัง (Mr. Ernest Young) อาจารย์ใหญ่คนที่ 1 และคนท่ี 2 ของวิทยาลยั ฝึกหดั ครสู ยาม ภาพ : หนงั สือ พระราชลัญจกร ราชภฏั สัญลกั ษณ์ ซ่งึ เมอ่ื วนั ท่ี 23 มิถุนายน รัตนโกสินทรศก (ร.ศ.) 111 เจ้าพระยาภาสกร วงศ์ (พร บนุ นาค) ไดท้ ำหนงั สอื กราบบงั คมทลู พระเจา้ นอ้ งยาเธอ กรมหมื่นสมมต อมรพันธุ์ ข้าหลวงผู้บัญชาการศึกษา (อธิบดี) กรมศึกษาธกิ าร ขอเช่าตึกปัน้ หยา ของสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ายุคลทิฆัมพร ที่ตั้งอยู่ข้างโรงเลี้ยงเด็ก ซึ่งเจ้าพระยานรรัตน์ ราชมานิต (ตรึก จินตยานนท์) ดูแลรักษาอยู่ให้เป็นที่ต้ัง โรงเรยี นสำหรับผู้สอนผูท้ ี่จะเปน็ อาจารย์และเป็นท่ีพักของมิสเตอรก์ รินรอดด้วย

พุทธศักราช 2497 มีพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม ฉบับพุทธศกั ราช 2497 ซง่ึ ให้ไว้ ณ วนั ท่ี 16 กันยายน พุทธศักราช 2497 ประกาศ เปน็ พระราชกจิ จานเุ บกษา ฉบบั วนั ที่ 28 กันยายน พทุ ธศักราช 2497 มีผลบงั คับ ใช้เป็นกรมการฝึกหัดครูในวันที่ 29 กันยายน พุทธศักราช 2497 ทั้งนี้การต้ัง กรมการฝึกหัดครูน้ี เพื่อที่จะรวมการฝึกหัดครูที่จัดขึ้นในกรมอื่น ๆ เช่น กรมอาชีวศึกษา กรมพลศึกษาและกรมมหาวิทยาลัยเข้าด้วยกัน เพื่อเป็นการ ประหยัดและมีประสิทธิภาพในการปรับปรุงครูให้มีปริมาณและคุณภาพสูงขึ้น พระราชบัญญัติตั้งกรมการฝึกหัดครูดังกล่าว เกิดขึ้นพร้อมกับพระราชบัญญัติ วิทยาลัยวิชาการศึกษา พุทธศักราช 2497 กระทรวงศึกษาธิการ ได้ตั้งวิทยาลยั วิชาการศึกษาที่โรงเรียนฝึกหัดครูขั้นสูง ณ ที่แห่งเดียวกัน ตั้งชื่อเป็นวิทยาลัย วิชาการศึกษา โดยประกาศของกระทรวงศึกษาธิการ เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม พุทธศกั ราช 2496 การต้งั วิทยาลัยวชิ าการศกึ ษา การออกพระราชบญั ญตั ิวิทยาลยั วิชาการศึกษาและการออกพระราชบัญญัติตั้งกรมการฝึกหัดครูนั้นสำเร็จลุล่วง ไปด้วยดี โดยพลเอกมังกร พรหมโยธี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ในสมยั น้นั ความเจริญงอกงามของการฝึกหัดครูเริ่มชัดเจนขึ้น เมื่อในสมัยรัฐบาล จอมพล ป. พิบูลสงคราม (แปลก พิบูลสงคราม) เป็นนายกรัฐมนตรี ได้สถาปนา “กรมการฝึกหัดครู” ขึ้นในปีพุทธศักราช 2497 ให้เป็นส่วนราชการระดับกรม สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ กรมการฝึกหัดครูได้จัดทำหลักสูตรการฝึกหัดครู ที่ใช้ระบบการเรียนแบบหน่วยกิตขึ้นเป็นครั้งแรกในประเทศไทย โดยเริ่มด้วย การปรับปรุงคุณภาพของครูอาจารย์และคัดเลือกข้าราชการจากกรมอื่น ในกระทรวงศกึ ษาธิการโอนมารบั ราชการในกรมการฝกึ หดั ครู พุทธศักราช 2502 กรมการฝึกหัดครูเปิดการสอนระดับประกาศนยี บัตร วิชาการศึกษาขั้นสูงและประกาศนียบัตรครูมัธยมและยกฐานะโรงเรียนฝึกหดั ครู ขน้ึ เป็นวิทยาลยั เรยี กวา่ “วิทยาลยั ครู” และตามดว้ ยช่อื ของวิทยาลัยนั้น ๆ พุทธศักราช 2503 กระทรวงศึกษาธิการ ได้ประกาศยกฐานะโรงเรียน ฝึกหัดครู ในสงั กดั “กรมการฝกึ หดั ครู” ที่มที ง้ั หมด 17 แหง่ ในยุคแรกและต่อมา

เพิ่มขึน้ เป็น 19 แห่ง รวมทั้งหมด 36 แห่ง เป็น “วิทยาลัยครู” เปิดสอนหลกั สูตร ประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาชน้ั สงู (ป.กศ. สงู ) และหลักสูตรปรญิ ญาตรีของสภา การฝึกหดั ครู วนั ที่ 29 กมุ ภาพนั ธ์ พุทธศักราช 2503 กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศ ยกฐานะโรงเรียนฝึกหัดครู เป็น “วิทยาลัยครู” พร้อมกับเปิดสอนในหลักสูตร ประกาศนียบตั รวิชาการศึกษาชนั้ สงู (ป.กศ.สงู ) และหลักสตู รปริญญาตรีของสภา การฝึกหดั ครู โดยกำหนดในพระราชบัญญัติวิทยาลยั ครู พทุ ธศักราช 2518 ต้ังแต่ เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พุทธศักราช 2503 เป็นต้นมา ดังปรากฏข้อความ ในพระราชบัญญัตวิ ทิ ยาลยั ครู พทุ ธศกั ราช 2518 ดังนี้ “ใหว้ ทิ ยาลยั ครเู ป็นสถาบนั อุดมศึกษา สังกดั กระทรวงศกึ ษาธิการ เปิดสอนนกั ศึกษาถงึ ระดับปรญิ ญาตรี ในสาขาครุศาสตร์ หลกั สูตรของสภาการฝกึ หดั ครู” พุทธศักราช 2511 มีจำนวนนักเรียนที่สมัครเข้าเรียนในวิทยาลัยครู ทั่วประเทศเป็นจำนวนมาก ดังนั้น เพื่อเป็นการเปิดโอกาสให้นักเรียนได้ศึกษาต่อ ในวิทยาลัยครเู พิ่มมากข้นึ และเพ่ือสนองความต้องการของสงั คม กรมการฝึกหัดครู จึงได้เปดิ การเรียนการสอนนอกเวลาในระดับชั้น ป.กศ.สูงและเปิดสอนนอกเวลา สำหรบั ประกาศนยี บตั รมัธยมตามมาในปีพทุ ธศักราช 2513 พุทธศักราช 2518 รัฐบาลได้ประกาศใช้พระราชบัญญัติวิทยาลัยครู ใหว้ ทิ ยาลยั ครเู ปน็ สถาบนั อุดมศึกษา เปิดสอนนักศกึ ษาถึงระดับปรญิ ญาตรี สาขา ครศุ าสตร์ ตามหลกั สูตรของสภาการฝึกหัดครู มีสภาการฝึกหัดครทู ำหนา้ ท่ีกำหนด นโยบาย ควบคุมการบริหารงานวทิ ยาลยั ครทู ั่วประเทศ เปลย่ี นช่ือตำแหน่งหวั หน้า สถานศกึ ษาเปน็ อธกิ ารวทิ ยาลัยครู การบริหารงานของวทิ ยาลัยฯ จัดเป็นคณะวิชา และสำนักหรอื ศนู ย์ทีเ่ ทยี บเท่าคณะวิชา

พุทธศักราช 2519 สภาการฝึกหัดครู ประกาศใช้หลักสูตรการฝึกหัดครู ฉบับใหม่ ยกเลิกหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาการศึกษา (ป.กศ.) จัดการศึกษา 2 ระดับคือ ระดับประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาชั้นสูง (ป.กศ.สูง) และระดับ ปรญิ ญาตรคี รศุ าสตรบณั ฑติ (ค.บ.) พุทธศักราช 2522 กรมการฝึกหัดครูเริ่มโครงการอบรมครูและบุคลากร ทางการศกึ ษาประจำการ (อคป.) โดยเปิดอบรมบุคลากรทางการศกึ ษาประจำการ ในวันเสาร์และวนั อาทติ ย์ ทั้งระดบั ป.กศ. ชนั้ สงู และปรญิ ญาตรี โดยมกี ารยกเลิก การฝึกหดั ครูภาคต่อเนื่อง พุทธศักราช 2527 พระราชบัญญัติวิทยาลัยครูที่ให้วิทยาลัยครู เป็นสถาบันอุดมศึกษา เปิดสอนนักศึกษาถึงระดับปริญญาตรี สาขาครุศาสตร์ ตามหลกั สูตรของสภาการฝึกหดั ครู ได้รับการแกไ้ ขให้สามารถเปดิ สอนปริญญาตรี สาขาวิชาอ่ืนได้ พุทธศักราช 2530 กรมการฝึกหัดครูได้ปรับเปลี่ยนโครงการอบรมครู และบุคลากรทางการศึกษาประจำการ (อคป.) มาเป็นโครงการศึกษาสำหรับ บุคลากรประจำ (กศ.บป.) ทั้งระดับอนปุ รญิ ญา และปริญญาตรี โดยจัดการเรียน การสอนในวันเสาร์-อาทิตย์ ซึ่งได้รับความนิยมจากประชาชนเป็นอย่างมาก ล้วนเป็นพลังให้กับการพัฒนาบ้านเมืองอย่างยิ่ง นอกเหนือจากการผลิตครู เพยี งดา้ นเดียว วิทยาลัยครู ปฏิบตั ภิ ารกจิ ภายใตพ้ ระราชบัญญตั วิ ิทยาลัยครู พทุ ธศักราช 2518 มายาวนาน เม่ือได้รับการยกฐานะให้ผลิตครู ได้ถึงขั้นปริญญา และพระราชบัญญตั ิวิทยาลัยครู ฉบับที่ 2 พุทธศักราช 2527 ได้กำหนดบทบาท ให้วิทยาลัยครูจัดการศึกษา เพื่อตอบสนองท้องถ่ิน ทำให้วิทยาลัยครูทั้ง 36 แห่ง ตอ้ งพัฒนาศาสตร์ทกุ ๆ ด้าน นอกเหนอื จากการผลติ ครู ในระดับประกาศนียบัตร ได้ความรคู้ วามสามารถถึงขั้นปริญญาตรี เพื่อเปน็ บคุ คลระดบั สมองของประเทศ

การผลิตบัณฑิตสาขาวิชาต่าง ๆ ทั้งด้านครุศาสตร์ ศิลปศาสตร์และ วิทยาศาสตร์ จึงเป็นพลังให้กับการพัฒนาบ้านเมืองอย่างกว้างขวางและทั่วถึง นอกเหนอื จากการผลติ ครเู พยี งด้านเดียว และเพ่อื ให้เป็นทเี่ ข้าใจของสงั คม ในกรณี ดงั กลา่ ว กรมการฝกึ หัดครจู ึงเสนอขอแกไ้ ขพระราชบัญญตั ิวิทยาลยั ครูทง้ั สองฉบบั ให้สอดคล้องกับสภาพจริง รวมถึงชื่อ “วิทยาลัยครู” ที่เห็นสมควรเปลี่ยน จึงมีหนังสือถึงสำนักราชเลขาธิการ เพื่อขอนำความข้ึนกราบบังคมทูล พระบาทสมเด็จ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพล อดุลยเดชมหาราช บรมนาถ บพิตร รัชกาลที่ 9 ให้ทรงทราบถึงสภาพปัจจุบันของวิทยาลัยครูและขอ พระราชทานนามวิทยาลัยครูชื่อใหม่ว่า “สถาบันราชพัฒนา” หรือชื่ออื่นใด สดุ แล้วแตจ่ ะทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ เพือ่ ขอใหพ้ ระองค์มีพระบรมราชวินิจฉัย โปรดเกล้าฯ พระราชทานเป็นนามใหมข่ องวทิ ยาลัยครตู อ่ ไป พระมหากรุณาธิคุณอันยิ่งใหญ่ แห่งองค์พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกา ธิเบศร มหาภูมิพล อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร รัชกาลที่ 9 ตั้งแต่วันที่ 14 กุมภาพันธ์ พุทธศักราช 2535 เป็นวันสิริมงคลแก่วิทยาลัยครูทั่วประเทศ เนื่องมาจากทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อแก่วิทยาลัยครูชื่อว่า “สถาบันราชภัฏ” โดยคำว่า “ราชภฏั ” ในภาษาองั กฤษ ไดท้ รงพระกรณุ า โปรด เกลา้ ฯ กำหนดให้ใช้วา่ “RAJABHAT” ยังความปติ ิยนิ ดีแก่ขา้ ราชการ ครูอาจารย์ นกั ศึกษาเปน็ ล้นพน้ วันที่ 6 มีนาคม พุทธศักราช 2538 ความปิติยินดีของชาวราชภฏั เกิดขึ้น อีกครั้ง เมื่อได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานตราพระราชลัญจกร ประจำพระองค์ ให้เป็นตราสัญลักษณ์ประจำสถาบันราชภัฏ ซึ่งมหาวิทยาลัย ราชภัฏไดใ้ ช้มาจนถงึ ปจั จบุ นั

คำว่า “ราชภัฏ” ตามความหมายในพจนานุกรม แปลว่า “ข้าราชการ” หรือหมายถงึ คนของพระราชาทท่ี ำงานสนองพระมหากษัตริย์ จงึ เปน็ คำท่ีมิมีผู้ใด คาดคิดมาก่อนว่าจะเป็นนามพระราชทาน เป็นคำศัพท์ที่ทรงใช้พระบรม ราชวนิ ิจฉยั และทรงสรรหาดว้ ยพระองคเ์ อง แสดงให้เหน็ ว่าทรงสนพระราชหฤทัย ในกิจการของวทิ ยาลยั ครูอย่างแท้จริง นับเป็นพระมหากรณุ าธิคุณลน้ พ้น หาที่สุด มไิ ด้ “ราชภัฏ” เป็นศัพท์โบราณมคี วามหมายตามพจนานุกรมว่า ข้าราชการ โดยนัยหมายถึง ปราชญ์ของพระราชา เพราะผู้ที่จะสามารถรับใช้เบื้องพระยุคล บาทจะต้องเปน็ ผู้รอบรู้ มีสติปญั ญาเฉียบแหลมและมีความหมายที่กินใจความว่า “คนของพระราชาข้าของแผน่ ดนิ ” “การถวายงานประดุจข้าราชบริพารที่รับใช้ใกล้ชิดเบื้องพระยุคลบาท ท่ตี อ้ งถวายงานอยา่ งสุดความสามารถ สดุ ชีวติ และสุดจติ สดุ ใจ” ซ่ึงการเป็นคนของ ใต้ฝา่ ละอองธลุ ีพระบาท ยอ่ มเป็นขา้ ของแผ่นดนิ ดังนั้น “ราชภฏั ” จึงเป็นคำสงู สง่ เป็นเครื่องเตือนใจให้ระลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณ ซึ่งชาวมหาวิทยาลัยราชภัฏ ในฐานะสถาบันอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นสมควรจะเทิดไว้เหนือเกล้ า และจงรักภักดีด้วยการต้ังปณิธานที่จะประพฤติและปฏิบัติหน้าที่เจริญรอยตาม เบือ้ งพระยคุ ลบาท สืบไป1 1 วิชเทพ ฦาชาฤทธิ.์ (2563). พระราชลญั จกร ราชภฏั สญั ลักษณ.์ กรุงเทพฯ : มลู นิธศิ าสตราจารย์ บญุ ถิ่น อตั ถากร.

กวา่ จะเปน็ “มหาวิทยาลัยราชภัฏสรุ าษฎร์ธาน”ี

จากวทิ ยาลยั ครู สู่ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั วิทยาลัยครูสุราษฎร์ธานี สถาบันราชภัฏสุราษฎร์ธานี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี

วทิ ยาลัยครูสรุ าษฎรธ์ านี เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามนโยบายและเป้าหมายของแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 3 (พทุ ธศกั ราช 2515 ถึง พุทธศกั ราช 2519) เฉพาะในส่วนที่เกี่ยวกับเรื่องพัฒนาการศึกษานั้น กรมการฝึกหัดครู กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ได้มโี ครงการจัดต้ังวิทยาลยั ครใู หม่ขน้ึ ในสว่ นภูมิภาค จำนวน 7 แห่ง วิทยาลัยครูสุราษฎร์ธานี ก็เป็นวิทยาลัยแห่งหนึ่งในจำนวนวิทยาลัยใหม่ ดังกล่าว โดยกระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศการจัดตัง้ เป็นทางราชการ เม่ือวันที่ 29 กันยายน พุทธศักราช 2516 เปน็ ต้นมา วิทยาลัยใหม่ทั้ง 7 แห่งน้ี อยู่ในโครงการเงินยืมของธนาคารโลก ซึ่งธนาคารโลกได้ให้กระทรวงศกึ ษาธิการยืมเงิน เพื่อใช้ในโครงการน้ี โดยไม่ต้อง เสียดอกเบี้ย แต่จะต้องเสียค่าบริการในการดำเนินงาน จำนวนสามส่วนส่ี ของหนึ่งเปอร์เซ็นต์ และให้เวลา 50 ปี ในการคืนเงินต้น มีระยะปลอดหนี้ 10 ปี งบประมาณการกอ่ สรา้ งในแต่ละแห่งซึง่ ประกอบดว้ ย วิทยาลัยครู โรงเรียนสาธิต และพัสดคุ รุภัณฑ์ ในวงเงินแหง่ ละประมาณ 54 ล้านบาท โดยการจัดดำเนินงาน เปน็ โครงการระยะ 3 ปี (พุทธศักราช 2517 ถงึ พทุ ธศกั ราช 2519)

ประวัติเกย่ี วกบั สถานที่จัดตั้งวทิ ยาลัยครสู ุราษฎร์ธานี สถานที่ตัง้ วทิ ยาลยั ครูสุราษฎร์ธานี ตั้งอยู่ในบริเวณเขตนิคมสร้างตนเอง ขุนทะเล เลขท่ี 272 หมู่ที่ 9 ตำบลขุนทะเล อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี ติดทางหลวงแผ่นดิน สายบ้านดอน-บ้านนาสาร ระหว่างกิโลเมตรที่ 8 และ 9 มีเน้ือที่ประมาณ 600 ไร่ เดิมเป็นท่ีดินสงวนของนิคมสร้างตนเองขุนทะเล กรมประชาสงเคราะห์ ภายหลังนิคมไดอ้ นุญาต ให้สำนักงานศกึ ษาธิการ จังหวดั สรุ าษฎรธ์ านี ใชท้ ด่ี นิ แปลงนใ้ี หเ้ กดิ ประโยชน์ทางดา้ นการศึกษาของจงั หวัดต่อไป บริเวณด้านหน้าวทิ ยาลัยครู ภาพ : อาจารยว์ ริ ยิ ะ กลิน่ เสาวคนธ์ ตอ่ มา ที่ดนิ แปลงนี้ ไดใ้ ชเ้ ป็นท่สี รา้ งโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ กรมสามัญ ศึกษาเสียส่วนหนึ่ง ส่วนท่ีเหลือ หน่วยราชการอ่ืนได้ขออนุญาตจังหวัด ใช้ทำ ประโยชน์ต่าง ๆ คือ กองกำกับการตำรวจภูธรสุราษฎร์ธานี ใช้สร้างหน่วย ปฏบิ ตั กิ ารพเิ ศษ (น.ป.พ.) และอำเภอเมือง สรุ าษฎรธ์ านี สร้างคา่ ยลกู เสือ เปน็ ตน้

เมื่อทางจังหวัดได้ตกลงกับกรมการฝึกหัดครู เพื่อจัดตั้งวิทยาลัยครูข้ึน ที่จังหวัดสุราษฎรธ์ านี เป็นทีแ่ นน่ อนแล้ว จังหวัดไดอ้ นุญาต ให้กรมการฝึกหัดครู ใช้ที่ดินแปลงนี้ ตามแนวเส้นเขตสำรวจสีแดงที่ปรากฏในแผนผังของกรม การฝึกหัดครู สำหรบั เปน็ ทีจ่ ดั ต้ังวิทยาลยั ครูสุราษฎรธ์ านี ไดต้ ามทีก่ รมการฝึกหัด ครู ทำหนังสือขอมา และนอกจากน้ี จังหวัดได้ขอร้องให้หน่วยงานอื่นที่ไม่ได้ เกี่ยวข้องกบั การศกึ ษาโดยตรงย้ายออกไปอยทู่ ่อี นื่ เพื่อจะได้ใชท้ ีด่ นิ ส่วนน้นั สำหรบั สรา้ งวิทยาลัยครู บริเวณด้านหนา้ วทิ ยาลัยครู ภาพ : อาจารยว์ ิรยิ ะ กล่ินเสาวคนธ์ อนึ่งในบริเวณท่ีดินที่จะใช้จัดต้ังวิทยาลัยครูน้ี เดิมท่ีดินของเอกชน แทรกคั่นอยู่ตรงกลาง จำนวน 56 ไร่ โดยได้หาทางตกลงจัดที่ดินสำหรับทำกิน ใหท้ ่ีแปลงใหม่ด้านหลงั วทิ ยาลยั พรอ้ มกบั จ่ายเงินชดเชยคา่ พืชผลและส่ิงปลกู สรา้ ง ให้ด้วยความเปน็ ธรรมอีกส่วนหนึง่ ดว้ ย และเพื่อประโยชน์สำหรับโครงการขยาย งานของวทิ ยาลัยในอนาคต จังหวัดและกรมการฝกึ หดั ครูจึงได้ขออนญุ าตจากนิคม สร้างตนเองขุนทะเล กรมประชาสงเคราะห์ ขอใช้ที่ดินสงวนบริเวณใกล้เคียง เพิ่มเติมใหม่อีก 2 แปลง เมื่อรวมที่ดินได้มาทุกแปลงด้วยกันแล้วก็ได้ที่ดินครบ จำนวน 600 ไร่ ตามความประสงคข์ องกรมการฝึกหัดครู ทกุ ประการ2 2 หอสมุดแห่งชาติ นครศรธี รรมราช. (2564). วทิ ยาลัยครสู รุ าษฎรธ์ านี. [Online]. เข้าถึงได้จาก: https://www.finearts.go.th/nakhonsithammaratlibrary/view/18759 [2564, กมุ ภาพนั ธ์ 13].

เครื่องหมายประจำวทิ ยาลัย รูปเจดีย์ พระบรมธาตไุ ชยา มีรัศมีรอบยอดเจดยี ์ อยภู่ ายในโล่ห์ ทงั้ หมดล้อมดว้ ยวงกลมเสน้ คู่สองชน้ั ระหวา่ งวงกลมทั้งสองช้นั ตอนบนมขี ้อความว่า “วิทยาลัยครูสรุ าษฎร์ธาน”ี ตอนล่างมีข้อความวา่ “วริ เิ ยน ทกุ ขฺ มจฺ เจติ” รอบนอกวงกลม เปน็ รปู ลายเสน้ ลกู คลื่นแปดเหลย่ี ม คติธรรมประจำวทิ ยาลยั “วริ เิ ยน ทกุ ขฺ มจฺ เจต”ิ บคุ คลล่วงทุกขไ์ ด้ด้วยความเพียร 3 3 หอสมดุ แห่งชาติ นครศรีธรรมราช. (2564). วิทยาลยั ครสู ุราษฎร์ธาน.ี [Online]. เขา้ ถึงไดจ้ าก: https://www.finearts.go.th/nakhonsithammaratlibrary/view/18759 [2564, กุมภาพันธ์ 13]

การกอ่ ตัง้ วิทยาลัยครสู ุราษฎรธ์ านี วทิ ยาลยั ครูสุราษฎรธ์ านี ภาพ : อาจารยว์ ิรยิ ะ กล่นิ เสาวคนธ์ พุทธศักราช 2516 เริ่มก่อตั้ง “วิทยาลัยครูสุราษฎร์ธานี” ตามนโยบาย และเป้าหมายของแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 3 (พทุ ธศักราช 2515 ถึง พุทธศักราช 2516) พุทธศักราช 2519 เปิดรับนักศึกษารุ่นแรกเข้าศึกษาในระดับ ประกาศนียบตั รวิชาการศกึ ษา (ป.กศ.) พุทธศักราช 2520 อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 7 และมาตรา 8 แห่งพระราชบญั ญตั ิวิทยาลัยครู พุทธศักราช 2518 และสภาการฝึกหัดครู ได้ออกประกาศแบ่งส่วน ราชการ ลงวันท่ี 19 พฤษภาคม พุทธศักราช 2520 ได้แก่ สำนักงานอธิการบดี

คณะวิชาครุศาสตร์ คณะวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์และคณะวิชา วิทยาศาสตร์ พุทธศักราช 2521 เปิดรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาการศึกษา ช้นั สูง (ป.กศ. ช้นั สูง) พุทธศักราช 2522 เปิดโครงการการอบรมบุคลากรทางการศึกษา ประจำการ (อคป.) ในวันเสาร์-อาทิตย์ นักศึกษา อคป. ได้รับปริญญาครุศาสตร บณั ฑิต เปน็ รุน่ แรก อาคารครศุ าสตร์ ภาพ : อาจารยว์ ริ ิยะ กลิน่ เสาวคนธ์ พุทธศักราช 2523 เปิดรับนักศึกษาในระดับปริญญาตรี สาขาครุศาสตร์ และงดรับนักศึกษาระดับประกาศนยี บตั รวิชาการศกึ ษา พุทธศักราช 2525 เปิดศูนย์อบรมขึ้นที่วิทยาลยั พลศึกษา จังหวัดชุมพร และได้เปิดการสอนวิชาเอกพลศกึ ษา ภาคปกติ เป็นโครงการร่วมมือกับวิทยาลยั พลศึกษาจงั หวดั ชุมพร ภาควิชาพลศกึ ษา ภาพ : อาจารยว์ ริ ิยะ กลนิ่ เสาวคนธ์

พุทธศักราช 2526 เปิดรับนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตร เทคนิค การอาชีพ (ป.ทอ.) ภาคสมทบ พุทธศักราช 2527 เปิดรับนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตร เทคนิค การอาชพี (ป.ทอ.) เขา้ ศกึ ษาในภาคปกติ พุทธศักราช 2528 วิทยาลัยขยายฐานทางการศึกษากว้างมากขึ้น เนื่องจากพระราชบัญญัติวิทยาลัยครู (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2527 กำหนดให้ วิทยาลัยจัดการศึกษาในสาขาอื่นได้ จึงเปิดรับนักศึกษาระดับอนุปริญญา และระดับปริญญาตรีนอกเหนือจากสาขาครุศาสตร์ ในปีนี้ สภาการฝึกหัดครู ได้ออกบังคับว่าด้วยกลุ่มวิทยาลัยครูจึงส่งผลให้กลุ่มวิทยาลัยครูพัฒนาเป็น สหวิทยาลัยในภาคใต้ จึงมีสภาวิทยาลัยทักษิณขึ้น ประกอบด้วย วิทยาลัยครู ทงั้ หมดทม่ี ีในภาคใต้ 5 แหง่ มีสำนกั งานของสหวิทยาลยั ทีว่ ทิ ยาลัยครูสุราษฎร์ธานี แ ล ะ ได ้ เ ป ิ ด ร ั บ น ั ก เ ร ี ย น ร ะ ด ั บ ม ั ธย ม ศึ ก ษา ต อ น ต้ น แ ล ะ ต อ น ป ล า ย เ ข้ า เ ร ี ย น ในโรงเรยี นสาธติ วิทยาลัยครสู ุราษฎร์ธานี เปน็ รนุ่ แรก โรงเรยี นสาธิต ภาพ : อาจารยว์ ิรยิ ะ กล่นิ เสาวคนธ์

พทุ ธศักราช 2530 อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 8 แหง่ พระราชบญั ญตั ิ วิทยาลัยครู พุทธศักราช 2518 แก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติวิทยาลัยครู (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2527 ลงวันท่ี 17 เมษายน ให้แบ่งส่วนราชการ ของวิทยาลัยครูสุราษฎร์ธานี ดังน้ี สำนักงานอธิการบดี คณะวิชาครุศาสตร์ คณะวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คณะวิชาวิทยาการจัดการ คณะวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ศูนย์วิจัยและบริการการศึกษา ศูนย์ศิลปวัฒนธรรม สำนักกจิ การนกั ศึกษา สำนักวางแผนและพัฒนาและสำนกั สง่ เสรมิ วชิ าการ พทุ ธศักราช 2532 ยังคงรับนักศกึ ษาและนกั เรียนเช่นเดียวกับปีที่ผ่านมา ในส่วนของการจัดการศึกษา สำหรับบุคลากรประจำการ ได้เปิดศูนย์อบรมข้ึน ทีโ่ รงเรียนสะอาดเผดิมวิทยา จังหวัดชุมพร พุทธศักราช 2533 มีโครงการความร่วมมือระหว่างสถาบันวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ประเทศแคนาดากับวทิ ยาลยั ครูสุราษฎร์ธานี เพ่อื พัฒนาโปรแกรม วิชาวิทยาการจัดการ มีระยะเวลา 3 ปี อนึ่งในปีน้ี วิทยาลัยได้เปิดวิชาเอก วิทยาศาสตร์สุขภาพ ภาคปกติ โดยร่วมมือกับวิทยาลัยพลศึกษา จังหวัดชุมพร พุทธศักราช 2534 การจัดการศึกษาสำหรับบุคลกรประจำการซึ่งมีศนู ย์ อบรมท่จี ังหวดั ชุมพรน้นั ไดเ้ ปลี่ยนไปดำเนนิ การท่ีโรงเรยี นศรยี าภัย ในปีนีว้ ทิ ยาลยั ไดร้ ับความร่วมมือจากองคก์ ารความร่วมมอื ระหวา่ งประเทศของรฐั บาลญ่ปี นุ่ (CA) จดั โครงการทดลองการจดั ตั้งศูนย์ศึกษา ประจำภูมิภาคขึ้นที่วิทยาลัย เพื่อพัฒนา อาจารย์ของสหวทิ ยาลยั ทกั ษิณ ด้านเคมแี ละคอมพิวเตอร์ 4 4 มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สุราษฎร์ธานี. (2564). แนะนำมหาวทิ ยาลยั . [Online]. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก: https://sru.ac.th/university-info-history/ [2564, กุมภาพันธ์ 13]

สถาบนั ราชภฏั สรุ าษฎร์ธานี วันที่ 14 กุมภาพันธ์ พุทธศักราช 2535 พระบาทสมเด็จพระบรม ชนกาธเิ บศร มหาภมู ิพลอดุลยเดชมหาราช รัชกาลที่ 9 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามวทิ ยาลยั ครวู ่า “สถาบันราชภฏั ”

พุทธศักราช 2536 ในปีนี้สาขาศิลปศาสตร์ ได้เปิดรับนักศึกษา วิชาเอก นิเทศศาสตร์ ระดับปริญญาตรีและสาขาวิทยาศาสตร์ เปิดรับนักศึกษาวิชาเอก คอมพิวเตอร์ศึกษา ระดับอนุปริญญาและวิชาเอกเกษตรศาสตร์ หลักสูตร 4 ปี เพ่มิ ขึน้ พุทธศักราช 2538 มีประกาศใช้พระราชบัญญัติสถาบันราชภัฏ พุทธศักราช 2538 และสถาบันราชภัฏสุราษฎร์ธานี ได้ดำเนินภารกิจ ตามพระราชบัญญัติสถาบันราชภัฏ พุทธศักราช 2538 โดยยังคงเปิดรับนกั ศึกษา และนักเรยี นเช่นเดยี วกันกับปีที่ผ่านมา พุทธศักราช 2540 สถาบันราชภัฏสุราษฎร์ธานี งดรับนักเรียนสาธิต เน่ืองจากสถาบนั มีนโยบายทจ่ี ะขยายฐานการศกึ ษาจากระดับปรญิ ญาตรี ไปจนถึง ปรญิ ญาโท ประกอบกับแนวทางการฝึกประสบการณ์วชิ าชพี ครเู ปลย่ี นไป พุทธศักราช 2542 สถาบันได้จดั ตั้งบัณฑิตวิทยาลัยและเปิดรับนักศึกษา ระดบั ปรญิ ญาโทเปน็ คร้ังแรก โดยเปิดสอนในสาขาสังคมศาสตรเ์ พื่อการพฒั นา พุทธศักราช 2543 ปรับปรุงโครงการจัดการศึกษาสำหรับบุคลากร ประจำการ (กศ.บป.) เป็นโครงการจดั การศึกษาสำหรบั บคุ ลากรท้องถ่ิน (กศ.บท.) เพื่อเปิดรับบุคคลทั่วไปโดยไม่จำกัดอาชีพและเปิดศนู ย์ให้การศึกษานอกสถาบัน เพ่มิ ขึ้นอีก 1 ศนู ย์ คือ ศนู ยใ์ ห้การศึกษานอกสถาบนั จังหวัดระนอง พุทธศักราช 2544 สถาบันเปิดรับนักศึกษาทั้งภาคปกติ ภาคสมทบ และโครงการจดั การศกึ ษาสำหรบั บุคลากรทอ้ งถ่นิ (กศ.บท.) และในปีนี้ได้เปิดรับ นกั ศึกษาระดบั ปริญญาโท สาขาการศึกษาเพมิ่ ข้ึนอกี 1 สาขา พทุ ธศกั ราช 2545 สถาบันเปดิ รับนักศึกษาภาปกติ โดยขยายฐานในสาขา วิทยาศาสตร์มากขึ้น ลดการผลิตในสาขาการศึกษาเหลือเพียงหลักสูตร ประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครูและงดรับนักศึกษาภาคสมทบ โดยปีนี้ได้เปิด ศูนย์ให้การศกึ ษานอกสถาบันเพิม่ อีก 1 ศูนย์ ที่อำเภอเกาะสมุย จังหวัดสรุ าษฎร์ ธานีและเปิดรับนักศึกษาปริญญาโทเพิ่มอีก 1 สาขา คือ สาขายุทธศาสตร์ การพัฒนาและได้มีการเตรียมความพร้อมในด้านต่าง ๆ เพื่ อรองรับ การเปน็ มหาวทิ ยาลยั

พุทธศักราช 2546 สถาบันไดม้ ีการพฒั นาเพื่อเตรยี มการเป็นมหาวิทยาลยั โดยสมบูรณ์ ทั้งในส่วนของการขยายฐานการจัดการศึกษาเพิ่มขึ้นอีกหลายสาขา ท้งั ในระดบั ปริญญาตรีและระดับบณั ฑติ ศึกษา 5 อาคารโรงอาหาร บรรยากาศการเรียนการสอน ภาพ : อาจารย์วริ ยิ ะ กลิน่ เสาวคนธ์ 5 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสรุ าษฎรธ์ านี. (2564). แนะนำมหาวทิ ยาลัย. [Online]. เข้าถงึ ได้จาก: https://sru.ac.th/university-info-history/#1611038013787-c5a9b1f4-7702 [2564, กุมภาพันธ์ 13]

มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี พุทธศักราช 2547 พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพล อดุลยเดชมหาราช รัชกาลที่ 9 ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยราชภัฏ วันท่ี 9 มิถุนายน พุทธศักราช 2547 และประกาศ ในราชกิจจานุเบกษาในวันที่ 14 มิถุนายน พุทธศักราช 2547 จึงมีผลบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 15 มิถุนายน พุทธศักราช 2547 เป็นต้นไป ทำให้สถาบันราชภัฏ ทั้ง 41 แห่ง ทั่วประเทศมีสถานภาพเป็น “มหาวิทยาลัยราชภัฏ” เป็นอิสระ และเป็นนิติบุคคลเป็นส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ ในสังกดั สำนกั งานคณะกรรมการการอดุ มศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

พุทธศักราช 2548 อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 6 และมาตรา 11 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พุทธศักราช 2547 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการออกกฎหมายกระทรวงใหจ้ ดั ตั้งสว่ นราชการ ดังนี้ สำนกั งานอธิการบดี คณะครศุ าสตร์ คณะมนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ คณะวิทยาการจดั การ คณะวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบนั วจิ ัยและพฒั นา สำนกั วทิ ยบรกิ ารและเทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักศิลปะและวฒั นธรรม สำนกั ส่งเสริมวชิ าการและงานทะเบยี น วทิ ยาลัยนานาชาติการท่องเท่ยี ว สำนกั งานอธกิ ารบดี ในปจั จบุ ัน ภาพ : เว็บไซต์มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สรุ าษฎร์ธานี

พุทธศักราช 2551 มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี ดำเนินการ เปิดคณะใหม่ 2 คณะ คอื คณะนติ ศิ าสตร์และคณะพยาบาลศาสตรแ์ ละรบั นกั ศกึ ษา เป็นรุ่นแรก พร้อมทั้งเปิดหลักสูตรอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว (ธุรกิจการบิน) หลกั สตู รภาษาองั กฤษ คณะพยาบาลศาสตร์ ภาพ : เว็บไซตม์ หาวิทยาลยั ราชภฏั สรุ าษฎร์ธานี คณะนติ ิศาสตร์ ภาพ : ไตรเพชร พลดี

พุทธศักราช 2553 เปิดการเรียนการสอน สาขาวิชาอุตสาหกรรม ท่องเที่ยว (ธุรกิจการบิน) ที่วิทยาลัยนานาชาติการท่องเที่ยว อำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี และเปิดสอนในระดับปริญญาเอก หลักสูตรครุศาสตรดุษฎี บณั ฑติ สาขาวชิ าภาวะผ้นู ำการจัดการศกึ ษา วิทยาลยั นานาชาตกิ ารทอ่ งเที่ยว อำเภอเกาะสมุย ภาพ : เว็บไซตม์ หาวทิ ยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี พุทธศักราช 2555 มหาวิทยาลัยได้มีการปรับวิสัยทัศน์ จากเดิม เป็น “มหาวิทยาลัยต้นแบบแห่งประชาคมอาเซียน เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น” และพุทธศักราช 2556 มีการกำหนด “นโยบาย 5 สร้าง 3 พัฒนาสู่การเป็น มหาวิทยาลัย 5 มิติ” โดยผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประโยชน์ คุปต์กาญจนากุล และจัดตั้งสถาบันภาษา เพื่อทำหน้าที่ ในการจัดการเรียนการสอน ภาษาตา่ งประเทศ และพัฒนาทักษะภาษาองั กฤษใหก้ ับนักศกึ ษาและบคุ ลากร พุทธศักราช 2556 มหาวิทยาลัยได้ดำเนินการจัดตั้งโครงการจัดต้ัง ศูนย์อาเซียนศึกษาและพัฒนา เป็นการเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคม อาเซียน เพอื่ เปน็ ศนู ย์กลางทางการศกึ ษาและแหลง่ อา้ งองิ ทางวชิ าการท่ีเกี่ยวข้อง กับอาเซยี นศึกษา

พุทธศักราช 2557 มหาวิทยาลัยเปิดหลักสูตรการจัดการภัยพิบัติ และหลักสตู รการจดั การคา้ ปลีก พทุ ธศักราช 2559 มหาวิทยาลยั ได้ดำเนนิ การปิดศนู ย์การศึกษานอกพ้นื ท่ี จังหวัดระนองและคณะวิทยาการจัดการได้ดำเนินการเปิดหลักสูตรธุรกิจ การเกษตรและหลกั สูตรการจัดการธุรกจิ อาหาร พุทธศักราช 2560 มหาวิทยาลัยได้ดำเนินการย้ายอาคารบรรณราช นครินทร์ (หอสมุดหลังเก่า) และทำพิธีเปิดอาคารหอสมุดและศูนย์สารสนเทศ เฉลมิ พระเกียรติ (หลงั ใหม)่ เมื่อวันท่ี 22 มถิ นุ ายน พุทธศกั ราช 2560 อาคารหอสมุดและศนู ย์สารสนเทศเฉลมิ พระเกยี รติ ภาพ : ธติ ิ พิวฒั น์ พทุ ธศักราช 2561 ได้มกี ารปรบั วิสัยทศั น์ จากเดมิ “มหาวทิ ยาลยั ต้นแบบ แห่งประชาคมอาเซียนเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น” เป็น “มหาวิทยาลัยพลังแผ่นดนิ สรา้ งแผน่ ดนิ ดว้ ยภมู ิปัญญาให้เปน็ พลงั ภายใตห้ ลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง” และปรับอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัย จากเดิม “มุ่งส่วนรวม มีวินัย ใฝ่รู้ สู้งาน” เปลี่ยนเป็น “มีคุณธรรม เลิศล้ำปัญญา จิตอาสา ใฝ่รู้ สู้งาน” และย้ายอาคาร สำนักงานอธิการบดีหลังเก่าและทำพิธีเปิดอาคารสำนักงานอธิการบดีหลังใหม่ เม่ือวันที่ 14 กมุ ภาพนั ธ์ พทุ ธศกั ราช 2561

เมือ่ วันท่ี 31 พฤษภาคม พุทธศักราช 2562 มหาวทิ ยาลัยราชภัฏสรุ าษฎร์ ธานี เปน็ เจา้ ภาพการแขง่ ขนั กฬี าบคุ ลากร สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศกึ ษา (กีฬา สกอ.) ครั้งที่ 38 “ขุนเลเกมส์” มีสถาบันการศึกษาเข้าร่วมการแข่งขัน ทั้งสน้ิ 58 สถาบันจากทว่ั ประเทศ การแข่งขันกฬี าบคุ ลากร ขุนเลเกมส์ ภาพ : เว็บไซต์มหาวิทยาลยั ราชภฏั สรุ าษฎรธ์ านี วันที่ 25 มถิ ุนายน พทุ ธศักราช 2562 ท่ีประชมุ สภามหาวิทยาลัยราชภัฏ สุราษฎร์ธานี มีมติเลือกผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วัฒนา รัตนพรหม และเสนอ เรื่องเพื่อทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งอธิการบดี มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สรุ าษฎร์ธานี 6 6 มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี. (2564). แนะนำมหาวิทยาลัย. [Online]. เข้าถึงได้จาก: https://sru.ac.th/university-info-history/#1611038054771-41ec17c1-73d9 [2564, กุมภาพนั ธ์ 13]

สภามหาวิทยาลยั

สภามหาวทิ ยาลัย พระราชบญั ญตั มิ หาวทิ ยาลัยราชภฏั พุทธศักราช 2547 มาตรา 16 กำหนดให้ สภามหาวิทยาลัยมีอำนาจและหน้าที่ควบคุมดูแลกิจการทั่วไปของมหาวิทยาลัย แ ล ะ ก ำ ห น ด ใ ห ้ ม ี อ ำ น า จ ห น ้ า ท ี ่ โ ด ย เ ฉ พ า ะ อ ี ก ห ล า ย ป ร ะ ก า ร แ ล ะ ท ี ่ ส ำ ค ั ญ คื อ อำนาจและหน้าที่ในการกำหนดนโยบายและอนุมัติแผนพัฒนาของมหาวิทยาลัย การออกกฎระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย การประกันคุณภาพการศึกษา การตดิ ตามผลการดำเนินงานของมหาวิทยาลยั การอนมุ ตั งิ บประมาณรายจ่ายจากเงิน รายไดข้ องมหาวิทยาลัย การเสนอเร่อื งเพื่อทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ แต่งตง้ั นายกสภา มหาวิทยาลัย กรรมการสภามหาวิทยาลัย ผู้ทรงคุณวุฒิ อธิการบดีศาสตราจารย์ ตลอดจนการแต่งตั้งถอดถอนผู้บริหารของมหาวิทยาลัย อีกทั้งมีอำนาจหน้าท่ี ตามกฎหมายอ่ืน เชน่ พระราชบัญญตั ริ ะเบียบข้าราชการพลเรือนในสถาบนั อุดมศึกษา เปน็ ตน้ เพื่อใหม้ หี นว่ ยงานที่สนบั สนนุ ส่งเสริมให้สภามหาวิทยาลัยสามารถปฏบิ ัติหน้าท่ี ให้บรรลุเปา้ หมายตามวตั ถปุ ระสงคใ์ นพระราชบัญญัติมหาวทิ ยาลัยราชภฏั พุทธศักราช 2547 ไดอ้ ยา่ งสมบูรณเ์ พ่ิมประสิทธิภาพและมคี ุณภาพ เม่อื วนั ที่ 25 ตุลาคม พทุ ธศกั ราช 2552 สภามหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สรุ าษฎรธ์ านี ประชุมครั้งที่ 10/2552 ได้แต่งตั้งคณะกรรมการ ศึกษาแนวทางการพัฒนา การดำเนินงานของสภามหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี ตามคำสั่งสภามหาวิทยาลัย ราชภัฏสุราษฎร์ธานีที่ 023/2552 ลงวันท่ี 28 ตุลาคม พุทธศักราช 2552 และ คณะกรรมการดังกล่าวได้เสนอให้จัดตั้งสำนักงานสภามหาวิทยาลัย เพื่อทำหน้าท่ี ฝ่ายเลขานุการของสภามหาวิทยาลัยและงานอื่น ๆ ที่จำเป็นหรือสภามหาวิทยาลัย มอบหมาย โดยออกเป็นข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี ว่าด้วยสำนักงาน สภามหาวิทยาลัย พุทธศักราช 2554 และสภามหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี ในการประชุมครงั้ ท่ี 1/2554 เม่ือวนั ที่ 25 มกราคม พุทธศักราช 2554 ได้ออกประกาศ สภามหาวิทยาลัยราชภัฏสรุ าษฎร์ธานี เรื่องการจัดตั้งและแบ่งส่วนงานของสำนักงาน โดยให้เปน็ หนว่ ยงานของมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สรุ าษฎรธ์ านี มีฐานะเทยี บเท่า “กอง” 7 7 มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี สำนักงานสภา. (2557). คู่มือปฏิบัติงาน. สุราษฎร์ธานี : มหาวิทยาลยั .

นายกสภามหาวทิ ยาลัยราชภฏั สุราษฎร์ธานี นายเดโช สวนานนท์ ภาพ : เวบ็ ไซต์ หอจดหมายเหตุ พุทธทาส อนิ ทปญั โญ สวนวชิรเบญจทัศ (สวนรถไฟ) ดร.ผดุงชาติ สวุ รรณวงศ์ นายวชิ ัย ศรีขวัญ ภาพ : เว็บไซต์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏธนบรุ ี ภาพ : เว็บไซต์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสรุ าษฎรธ์ านี

บัตรประจำตัวนักศกึ ษา ครยุ วทิ ยฐานะ จากวิทยาลัยครูส่มู หาวิทยาลยั ราชภฏั

บัตรประจำตัวนักศกึ ษา บัตรประจำตัวนักศกึ ษา รุ่นที่ 1 วทิ ยาลยั ครสู ุราษฎรธ์ านี ประจำปีพทุ ธศักราช 2519 ภาพ : ปฏิทนิ บันทกึ 39 ปี มรส. บตั รประจำตัวนกั ศกึ ษา ของวิทยาลัยครสู ุราษฎรธ์ านี ประจำปีพทุ ธศักราช 2536 บตั รประจำตัวนกั ศกึ ษา สถาบนั ราชภฏั สรุ าษฎร์ธานี ประจำปพี ทุ ธศักราช 2538 บัตรประจำตวั นกั ศึกษา มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสุราษฎร์ธานี ประจำปพี ุทธศักราช 2558

ครุยวทิ ยฐานะ ประเทศไทยมแี นวคดิ เกยี่ วกับการใช้ครุยวทิ ยฐานะในปีพุทธศักราช 2457 โดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชานุญาตให้ผู้สำเร็จ การศึกษาในชั้นบัณฑิต จากโรงเรียนข้าราชการพลเรือนของพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกลา้ เจ้าอยู่ หวั สามารถใช้ครยุ เพือ่ เป็นเกยี รติยศได้ ชุดครุย วทิ ยาลยั ครูสุราษฎรธ์ านี ชุดครยุ สถาบนั ราชภัฏสรุ าษฎรธ์ านี ภาพ : นางกฤติยา รกั สวัสดิ์ ภาพ : นายอนุรักษ์ ศรนี าคนลิ ชดุ ครยุ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏสรุ าษฎรธ์ านี ภาพ : นางสาวจันทรจ์ ิรา เครอื สาย