คลน่ื ในแผ่นดนิ ไหว คล่ืน SURFACE 1) WLOAVVEE WAVE (LQ) หมายถงึ คล่ืนแผ่นดนิ ไหว ทม่ี ีช่วงคลืน่ ยาว และเคลื่อนท่ีในลกั ษณะ เดียวกบั คลื่น S WAVE คือ เคลอ่ื นที่แบบ SIDE TO SIDE ไป ตามเปลือกโลก ซง่ึ ในระยะทาง สนั้ ๆ จะมคี วามเร็วเทา่ กบั คล่นื S WAVE แตถ่ ้าระยะ ทางไกลๆ ความเร็วจะขนึ ้ อยู่ กบั ความหนาของเปลอื กโลก
2) RAYLEIGH WAVE (LR) หมายถงึ คล่ืนแผ่นดนิ ไหวทม่ี ีช่วง คล่ืนยาว และเคล่อื นทใี่ นลกั ษณะ คล้ายกบั ขดลวด คือ แบบ ELLIPTICAL - RETROGRADE ซงึ่ เคลอ่ื นที่ทงั้ ทางตงั้ และทางนอนใน ระยะทางสนั้ ๆ ความเร็วจะเทา่ กบั 0.92 เทา่ ของ คล่นื S WAVE แตถ่ ้า ระยะทางไกลๆ ความเร็วจะขนึ ้ อยกู่ บั ความหนาของเปลอื กโลก
ขนาดและความรุนแรง 1. ขนาด (Magnitude) • เป็นปริมาณท่ีมีความสมั พนั ธ์กบั พลงั งานท่ีพืน้ โลก ปลดปลอ่ ย ออกมาในรูปของการสน่ั สะเทอื น คานวณได้จากการตรวจวดั คา่ ความสงู ของคลื่นแผน่ ดนิ ไหวทตี่ รวจวดั ได้ด้วยเครื่องมือตรวจ แผน่ ดินไหว โดยเป็นคา่ ปริมาณทบี่ ง่ ชีข้ นาด ณ บริเวณ ศนู ย์กลางแผน่ ดินไหว มหี นว่ ยเป็น \" ริคเตอร์\" ซงึ่ จะมคี า่ ตงั้ แต่ 1.0 - 9.0
ขนาด ความสัมพนั ธ์ของขนาดโดยประมาณกบั ความส่ันสะเทอื นใกล้ศูนย์กลาง 1-2.9 เกิดการสนั่ ไหวเลก็ นอ้ ย ผคู้ นเริ่มมีความรู้สึก ถึงการสนั่มาตไราหริควเตอบร์ างคร้ัง รู้สึกเวยี น ศีรษะ 3-3.9 เกิดการสน่ั ไหวเลก็ นอ้ ย ผคู้ นที่อยใู่ นอาคาร รู้สึกเหมือนรถไฟวง่ิ ผา่ น เกิดการสน่ั ไหวปานกลาง ผทู้ ี่อาศยั อยทู่ ้งั 4-4.9 ภายในอาคาร และนอกอาคาร รู้สึกถึงการ สน่ั สะเทือน วตั ถุหอ้ ยแขวนแกวง่ ไกว
2. ความรุนแรงแผ่นดนิ ไหว (Intensity) แสดงถงึ ความรุนแรงของเหตกุ ารณ์แผน่ ดนิ ไหวทเ่ี กิดขนึ ้ วดั ได้ จากปรากฎการณ์ทีเ่ กิดขนึ ้ ขณะเกิด และหลงั เกิดแผน่ ดินไหว เช่น ความรู้สกึ ของผ้คู น ลกั ษณะทวี่ ตั ถหุ รือ อาคารเสียหายหรือ สภาพภมู ิประเทศท่ีเปลี่ยนแปลง เป็นต้น ในกรณีของ ประเทศ ไทย ใช้ มาตราเมอร์แคลล่ี สาหรับเปรียบเทียบอนั ดบั ซ่งึ มี ทไปงั้ มหามกด 12 อนั ดบั เรียงลาดบั ความรุนแรงแผน่ ดนิ ไหวจากน้อย
อนั ดบั ที่ ลกั ษณะความรุนแรงโดยเปรียบเทยี บ I เป็นอนั ดบั ที่ออ่ นมาก ตรวจวดั โดยเครื่องมือ II พอรู้สึกไดส้ าหรับผทู้ ี่อยนู่ ่ิง ๆ ในอาคารสูง III ๆ IV พอรู้สึกไดส้ าหรับผอู้ ยใู่ นบา้ น แต่คนส่วน V ใหญ่ยงั ไม่รู้สึก ผอู้ ยใู่ นบา้ นรู้สึกวา่ ของในบา้ นสน่ั ไหว รู้สึกเกือบทุกคน ของในบา้ นเร่ิมแกวง่ ไกว รู้สึกไดก้ บั ทุกคนของหนกั ในบา้ นเร่ิม
VIII เสียหายคอ่ นขา้ งมากในอาคารธรรมดา IX สิ่งก่อสร้างที่ออกแบบไวอ้ ยา่ งดี เสียหายมาก X อาคารพงั รางรถไฟบิดงอ XI อาคารส่ิงก่อสร้างพงั ทลายเกือบท้งั หมด ผวิ โลกปดู นูนและเล่ือนเป็นคลื่นบน พ้ืนดินอ่อน ทาลายหมดทุกอยา่ ง มองเห็นเป็นคลื่นบน XII
ภูเขาไฟ (Volcano) ภเู ขาท่เี กดิ ขนึ้ โดยการปะทุของหนิ หนืด ร้อนแรงท่อี ยู่ใต้เปลือกโลกดันตัวขนึ้ สูงสู่พนื้ ผิวโลก
สาเหตุการเกดิ • เกิดจากหนิ หนืดใต้เปลือก(magma)โลกดันตวั ปะทุผ่านรอย แตกของเปลือกโลกขึน้ มา (lava) ลาวา มีก่ีประเภทอะไรบ้าง ลาวาสามารถแบ่งออกเป็ น 2 ประเภท 1. ลาวาท่มี คี วาคมือเป็ นกรด ซ่งึ จะมี 2. ลาวาท่มี ีความเป็ นเบส ซ่งึ องค์ประกอบส่วนใหญ่เป็ น ธาตุ จะมีองค์ประกอบนใหญ่เป็ น ซลิ ิกอน มีความหนืดมาก ธาตุ เหลก็ และแมกนีเซยี ม มี เคล่ือนท่อี ย่างช้าๆ และแขง็ ตวั ความหนืดน้อย เคล่ือนท่ไี ด้เร็ว เร็ว และแข็งตัวช้า
ลาวากรด และลาวา เบส มลี ักษณะการระเบดิ ต่างกัน อย่างไร ลาวากรด ลาวาเบส หนืดมาก จงึ ทาให้รวมกันเป็ น หนืดน้อย ไหลง่าย ไม่มีการอุด ก้อนอุดปล่อง ความดันจงึ ปล่อง ความดนั จงึ สะสมไม่มาก สะสมมากระเบดิ รุนแรง ระเบดิ เงยี บ
สิ่งทไี่ ด้จากการปะทุของภูเขาไฟ สิ่งที่ได้ ลาวา บอมบ์ (Lava bomb) ลาวาหลาก (Lava flow) ก๊าซ (Gas) เถ้าถ่าน และ ฝ่ ุนละออง
ชนิดของลาวาหลาก ปาฮอยฮอย (Pahoehoe flow) อาอา (Aa)
ชนิดของภูเขาไฟแบ่งตามการสะสมและสัณฐาน 1. ภเู ขาไฟรูปโล่ (Shield volcano) รูปร่างคล้ายโล่ มีความ ภเู ขาไฟบนเกาะฮาวาย ลาดชันด้านข้างน้อย ประมาณ 4 – 10 องศา แต่ไม่ เกิน 15 องศา ภเู ขาไฟชนิดนี้ มีฐานกว้างจดั เป็ นภเู ขาไฟท่ี มีขนาดใหญ่ท่สี ุด
2. ภเู ขาไฟกรวยกรวด (Cinder cone) - มีความลาดชัน้ ประมาณ 33 - 37 องศา - ภเู ขาไฟชนิดนีจ้ ะสูงชันมาก - ลาวาจะมีความหนืดสูง การไหลไม่ ต่อเน่ือง -ลาวาลูกกลมๆ ท่พี ุ่งออกมาจาก ปล่องเด่ยี ว และทบั ถมกันบริเวณ รอบปล่อง - ไม่ค่อยก่อให้เกดิ ความสูญเสีย ชีวติ
3. ภูเขาไฟกรวยสลบั ช้ัน (Composite cone or Composite volcano) • เป็ นภเู ขาไฟท่มี ีการสลับชัน้ ของหนิ ลาวา ของเศษหนิ และ หนิ ตะกอนภเู ขาไฟ • เกดิ จากการระเบดิ ของภเู ขา ไฟท่พี ่นลาวาออกมาแล้วไหล ลามออกไปรอบๆ ปล่องเป็ น วงกว้างสลับกนั
4. ภูเขาไฟแบบกรวยสูง (Steep cone) • เกดิ จากลาวาท่มี คี วามเป็ น กรด • รูปกรวยคว่า • ลาวามคี วามข้นและเหนียว จงึ ไหลและเคล่ือนตัวไปอย่าง ช้าๆ แต่จะแข็งตัวเร็ว ทาให้ ไหล่เขาชันมาก • ภเู ขาไฟแบบนีจ้ ะเกดิ การ ระเบดิ อย่างรุนแรง
แนวเขตภูเขาไฟ Mediterranean belt Pacific belt
ภูเขาไฟในประเทศไทย •ภเู ขาไฟหนิ พนมรุ้ง • ภเู ขาไฟดอยผาดอกจาปา •ภเู ขาไฟอังคาร แดด •ภเู ขาไฟหนิ หลุบ • ภเู ขาไฟกระโดง • ภเู ขาไฟดอยหนิ คอกผาฟู • ภเู ขาไฟไบรบดั •ภเู ขาไฟคอก
ประโยชน์ของการเกดิ ภูเขาไฟ • แผ่นดินขยายกว้างขนึ ้ หรือสงู ขนึ ้ • เกิดเกาะใหมภ่ ายหลงั ที่เกิดการปะทใุ ต้ทะเล • ดนิ ทเี่ กิดจากภเู ขาไฟระเบดิ จะอดุ มสมบรู ณ์ด้วยแร่ธาตตุ า่ งๆ • เป็นแหลง่ เกิดนา้ พรุ ้อน • แหลง่ ทอ่ งเท่ียวที่สาคญั • เป็นแหลง่ เหมืองเพชร
โทษของการเกดิ ภูเขาไฟ • เป็นอนั ตรายตอ่ ส่งิ มีชีวติ ได้ • การปะทขุ องภเู ขาไฟอาจทาให้เกิดแผ่นดินไหวขนึ ้ ได้ • ชีวติ และทรัพย์สนิ ท่ีอยใู่ กล้เคียงเป็นอนั ตราย • สภาพภมู ิอากาศเกิดการเปล่ียนอยา่ งเห็นได้ชดั
ปอมเปอเี มืองทส่ี ูญหาย
กาลาปากอสผู้ทใ่ี ห้ทฤษฎวี วิ ฒั นาการ
ตัวป่ วนทาให้การจราจรทางอากาศของโลกเป็ นอมั พาต ภเู ขาไฟไอย์ยาฟยัลลาโยกลู (Eyjafjallajokull) ตอนใต้ของ เกาะไอซ์แลนด์ระเบดิ ประทขุ นึ ้ ฟ้ าสงู ถงึ 8 กิโลเมตร ฝ่ นุ ขเี ้ถ้าลอย กวา่ 6,000 เมตร และฟ้ งุ กระจายไปทวั่ ประเทศตงั้ แตช่ ว่ งเช้ามืด 01.00 น. วนั ท่ี 14 เม.ย.ตามเวลาท้องถ่ิน หรือช่วงเช้า 8.00 น.ตาม เวลาไทย
ผลกระทบข้ามทวปี • ภเู ขาไฟปเู ยฮวิ ในชิลี เท่ยี วบนิ ระหว่างประเทศภายในอเมริกาใต้ต้องถกู ยกเลิก ขณะท่ี กระแสลมแรงได้พัดเอาเถ้าควันลอยข้ามไปไกลถงึ มหาสมุทรแอ ตแลนตคิ ตอนใต้ มหาสมุทรอินเดยี ตอนใต้ ออสเตรเลีย และ นิวซีแลนด์
Search