Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โลกและการเปลี่ยนแปลง

โลกและการเปลี่ยนแปลง

Published by Jatuporn Sangthikul, 2019-07-31 00:35:15

Description: โลกและการเปลี่ยนแปลง

Keywords: โลก

Search

Read the Text Version

โลกและการเปลยี่ นแปลง วชิ าโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ม.4-6

กาเนิดโลก เมื่อประมาณ 4,600 ล้านปีมาแล้ว กลุ่มก๊าซใน เอกภพบริเวณน้ี ได้ รวมตัวกันเป็นหมอกเพลิงมีชอื่ ว่า “โซลาร์เนบิวลา” แรงโน้มถ่วงทาให้กลุ่มก๊าซ ยุบตัวและหมุนตัวเป็นรูปจาน ใจกลางมีความร้อนสูงเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์แบบ ฟิวชัน่ กลายเป็น ดวงอาทิตย์ สว่ นวสั ดุท่ีอยู่รอบๆ มีอุณหภูมิต่ากวา่ รวมตัวเป็น กลุ่มๆ มีมวลสารและความหนาแน่นมากข้ึนเป็นชั้นๆ และกลายเป็นดาวเคราะห์ใน ทส่ี ุด

โครงสรา้ งโลก โครงสร้างภายใน โครงสรา้ งภายนอก

โครงสร้าง ชนั้ ภายนอก บรรยากาศ อุทกภาค ชีวมณฑล ธรณีภาค

โครงสร้าง ชนั้ ภายนอก บรรยากาศ อุทกภาค ชีวมณฑล ธรณีภาค

ชน้ั บรรยากาศ โครงสร้าง อทุ กภาค ภายนอก ชีวมณฑล ธรณีภาค สว่ นทเี่ ป็นน้าท้ังหมดบนพืน้ ผวิ โลก เชน่ แม่นา้ ลาคลอง ทะเล มหาสมุทร ฯลฯ ตลอดจนน้าท่อี ยใู่ ต้ดิน ซ่ึงแทรก อยตู่ ามช่องว่างในรพู รนุ และรอยแตกของหิน ในส่วนที่ เป็นนา้ ท่ีอยู่บนโลกน้ันมอี ยู่ 3 ใน 4 ส่วนของโลก

ชนั้ บรรยากาศ โครงสรา้ ง อทุ กภาค ภายนอก ชีวมณฑล ธรณีภาค เปน็ บริเวณพน้ื ผิวที่สงิ่ ต่าง ๆ ทม่ี ีชีวิตเกดิ ขึ้น ทั้งท่ีมีชีวิต อยูแ่ ละตายไปแล้วกต็ าม ในสว่ นของพวกที่ตาย ถ้าไม่มี การเน่าเป่ือย ผุพัง กจ็ ะกลายเปน็ ซากดึกดาบรรพ์ (Fossils) กอ่ ให้เกดิ แหล่งถ่านหิน หรอื แหล่งน้ามัน

โครงสรา้ ง ช้นั ภายนอก บรรยากาศ อุทกภาค เปน็ สว่ นของแขง็ ที่หอ่ หุม้ อยู่รอบนอกสุดของโลก ประกอบด้วย ดิน แร่ หนิ ตา่ ง ๆ มีความหนาประมาณ ชีวมณฑล 45 กโิ ลเมตร ธรณภี าคนั้นมีความสาคัญที่สุดทางด้าน ธรณีวิทยาบนพ้นื ผิวโลก ธรณภี าค

โครงสรา้ งภายใน ชน้ั เปลอื กโลก CRUST ชน้ั เนือ้ โลก MANTLE ชัน้ แกนโลก CORE

โครงสร้างภายใน ช้นั เปลอื กโลก CRUST เป็นชั้นนอกสุดของธรณีภาค มีความหนาประมาณ 30 - 45 กม. มี ชน้ั เน้อื โลก องคป์ ระกอบส่วนใหญ่เปน็ ซิลิคอนออกไซด์ MANTLE และอะลูมเิ นยี มออกไซด์ ชน้ั แกนโลก CORE

โครงสร้างภายใน ชน้ั เปลอื กโลก CRUST มคี วามหนาประมาณ 2,900 กม. หนิ ทป่ี ระกอบ เปน็ เปลอื กโลกช้ันในคือ หนิ อัคนีท่ีมสี ีเข้มมาก ชน้ั เนื้อโลก ไหลเวียนอย่างช้า ๆ มีองคป์ ระกอบหลักเป็น MANTLE ซิลคิ อนออกไซด์ แมกนีเซยี มออกไซด์และเหลก็ ออกไซด์ ชนั้ แกนโลก CORE

โครงสร้างภายใน ชนั้ เปลอื กโลก CRUST แอสธโี นสเฟียร์ ความหนาประมาณ 130 กม. เป็นช้ันที่มี ชน้ั เนอ้ื โลก สภาพพลาสตกิ (Plastic) ไมเ่ ปน็ ของทีม่ ี MANTLE การเคลอื่ นไหวอยู่ตลอดเวลา ชน้ั แกนโลก CORE

โครงสร้างภายใน ชัน้ เปลอื กโลก CRUST แกนโลกภายนอก (Outer Core) ส่วนใหญ่มธี าตุนิเกลิ และเหล็ก ชัน้ เน้อื โลก ความหนา 2,200 กม. ประกอบด้วยสารละลาย MANTLE ท่เี รยี กวา่ ของเหลวหนัก (Heavy Liquid) ชนั้ แกนโลก CORE

โครงสร้างภายใน ชน้ั เปลือกโลก CRUST แกนโลกภายใน (Inner Core) ความหนาประมาณ 1,270 กม.ประกอบด้วยหิน ช้นั เนอื้ โลก ทม่ี คี วามถ่วงจาเพาะสงู มาก เนือ่ งจากอยใู่ น MANTLE ระดบั ลกึ จึงถูกความดันบบี อัดมาก หรอื หนิ นี้ อาจจะหลดุ จากดาวนพเคราะห์ดวงอ่ืน ๆ ชัน้ แกนโลก ประกอบเป็นแกนโลก CORE





ธรณภี าค ธรณภี าค (lithosphere) คอื ช้ันเน้ือโลกส่วนบนกับช้ันเปลือกโลกรวมกัน ช้ันธรณีภาคมีความหนา ประมาณ 100 กิโลเมตรนับจากผิวโลกลงไป เปลือก โลกมีการเปล่ียนแปลงตลอดเวลา การศึกษาการเปล่ียนแปลง ของเปลือกโลก ท้ังส่วนท่ีเป็นพ้ืนดิน พื้นน้า และส่วนท่ีเป็นบรรยากาศจัดเป็นวิธีการหน่ึงที่จะ ช่วยป้องกัน ผลกระทบที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยา ได้แก่ แผ่นดินไหวและภูเขาไฟระเบิด ซึ่งเป็นพิบัติภัยท่ีมี ผลกระทบต่อชีวิตและ ทรัพย์สินของมนุษย์ การศึกษาการเปล่ียนแปลงของเปลือกโลกท้าให้เกิดทฤษฎี หลากหลาย แต่ทฤษฎีท่ีเป็นท่ียอมรับกันในปัจจุบันและอธิบายถึงก้าเนิดของ แผ่นดิน มหาสมุทร และสิ่งมีชีวิตท่ีตายทับถมอยู่ในหินบนเปลือกโลก คือ ทฤษฎกี ารแปรสณั ฐานแผน่ ธรณีภาค (plate tectonic)

การเลอ่ื นของแผ่นธรณภี าค ในปี พ.ศ. 2458 นักอุตุนิยมวิทยาชาวเยอรมันชื่อ ดร.อัลเฟรด เวเก เนอร์ (Dr. Alfred Wegener) ต้ังสมมุติฐานเก่ียวกับการเล่ือนของแผ่นธรณี ภาคจากอดีตถึงปัจจุบัน โดยก้าหนดว่า เม่ือประมาณ 3,002,200 ล้านปี มาแล้ว ผืนแผ่นดินท้ังหมดบนโลกเป็นแผ่นดินผืนเดียวกันเรียกว่า พันเจีย (pangaea) ซึ่งเป็นภาษากรีก แปลว่า แผ่นดินท้ังหมด (all land) ต่อมาเกิด การเลื่อนตวั ของแผ่นธรณภี าคเป็นข้นั ตอน ดงั นี้

การเลอ่ื นของแผน่ ธรณภี าค 1. เมื่อ 2,002,135 ล้านปี พันเจียเริ่มแยกออกเป็นทวีปใหญ่ 2 ทวีป คือ ลอเรเซยี ทางตอนเหนอื และกอนด์วานาทางตอนใต้ โดยกอนด์วานาจะแตกและ เคลื่อนแยกจากกันเป็นอินเดีย อเมริกาใต้ และแอฟริกา ในขณะที่ออสเตรเลีย ยังคงเปน็ สว่ นหนง่ึ ของกอนด์วานา 2. เมื่อ 135,265 ล้านปี มหาสมุทรแอตแลนติกแยกตัวกว้างข้ึน ท้าให้ แอฟริกาเคลื่อนที่ห่างออกไปจากอเมริกาใต้ แต่ออสเตรเลียยังคงเช่ือมอยู่กับ แอนตาร์กติกา และอเมรกิ าเหนือกับยุโรปยังคงตอ่ เน่อื งกนั 3. เม่ือ 65 ล้านปี ปัจจุบัน มหาสมุทรแอตแลนติกขยายกว้างขึ้นอีก อเมริกา เหนือและยุโรปแยกจากกัน อเมริกาเหนือโค้งเว้าเข้าเช่ือมกับอเมริกาใต้ ออสเตรเลียแยกจากแอนตาร์กติกา และอนิ เดียเคลื่อนไปชนกับเอเชียจนเกิดเป็น ภเู ขาหิมาลัย กลายเปน็ แผ่นดนิ และผืนมหาสมุทรดงั ปจั จุบนั

การเลื่อนของแผน่ ธรณภี าค

หลกั ฐานและขอ้ มูลทางธรณวี ิทยา หลักฐานและข้อมลู ต่างๆ ที่ท้าให้นกั วทิ ยาศาสตรเ์ ชื่อในทฤษฎีการ แปรสัณฐานแผน่ ธรณภี าค ได้แก่ 1. รอยต่อของแผ่นธรณภี าค 2. รอยแยกของแผน่ ธรณีภาค และอายุของหนิ บนเทือกเขากลาง มหาสมุทร 3. การค้นพบซากดึกด้าบรรพ์ 4. การเปลี่ยนแปลงของอากาศ 5. สนามแมเ่ หลก็ โลกโบราณ

รอยต่อของแผ่นธรณภี าค นักธรณวี ิทยาแบ่งแผน่ ธรณีภาคของโลกออกเป็น 2 ประเภท คอื แผน่ ธรณีภาคภาคพ้ืนทวีป และแผน่ ธรณภี าคใต้มหาสมุทร รวมท้ังหมด 15 แผน่ ได้แก่ 1. แผ่นแอฟรกิ า 2. แผ่นอเมรกิ าใต้ 3. แผ่นคาลิบเบีย 4. แผ่นอาระเบีย 5. แผน่ อเมริกาเหนือ 6. แผ่นยูเรีย 7. แผน่ ฟิลิปปนิ ส์ 8. แผ่นแปซฟิ ิก 9. แผน่ คอคอส 10. แผน่ นาสกา 11. แผน่ แอนตารก์ ตกิ 12. แผ่นอนิ เดยี -ออสเตรเลยี 13. แผ่นสคอเทยี 14. แผ่นฟิลิปปินส์ 15. แผ่นจนั เดฟูกา



รอยแยกของแผ่นธรณภี าค และอายุหินบนเทอื กเขากลางมหาสมุทร ใต้มหาสมุทรมเี ทือกเขายาวโค้งออ้ มไปตามรปู รา่ งของขอบทวปี ดา้ นหน่ึงเกบื ขนาน กบั ชายฝงั่ สหรัฐอเมริกาและอกี ดา้ นหนง่ึ ขนานชายฝังทวีปยโุ รปและแอฟริกาเทือกเขา กลางมหาสมุทรนี้มีรอยแยกตัวออกเปน็ รอ่ งลึกไปตลอดความยาว เทอื กเขา และมรี อย ตดั ขวางบนสนั เขาน้มี ากมาย รอยแตกนเ้ี ป็นศูนยก์ ลางการเกิดแผ่นดินไหวและภเู ขาไฟ ระเบิด ตอ่ มาเครือ่ งมือการส้ารวจใตม้ หาสมทุ รมีการพฒั นาอยา่ งมากเชน่ มกี ารค้นพบ หินบะซอลตท์ ่ีบรเิ วณร่องลึกหรอื รอยแยกบรเิ วณเทอื กเขากลางมหาสมุทรแอตแลนติก และยงั พบอีกว่าหนิ บะซอลตท์ อี่ ยไู่ กลจากรอยแยกมอี ายมุ ากกวา่ หินบะซอลตท์ อ่ี ยู่ใกล้ รอยแยก อธิบายได้วา่ เมือ่ เกดิ รอยแยกแผ่นดินจะเคลื่อนตวั ออกจากกนั อยา่ งช้าๆ ตลอดเวลา ขณะเดยี วกนั แมกมาจากใตธ้ รณีจะดนั แทรกเสริมขนึ้ มาแขง็ ตัวเป็นหนิ บะ ซอลต์ใหม่ เรอื่ ยๆ ดังน้ันโครงสรา้ งและอายหุ ินรองรับแผ่นธรณภี าคจึงมอี ายอุ อ่ นสดุ บรเิ วณเทือกเขาและอายุมากขึ้นเม่อื เข้าใกล้ขอบทวีป



การค้นพบซากดกึ ด้าบรรพ์ ซากดึกด้าบรรพ์ของพืชและสัตว์ในทวีปต่างๆน้ามาเทียบเคียง จะพบว่าปัจจุบันแต่ละ ทวปี อยู่ไกลกนั มากและมีลกั ษณะภมู อิ ากาศแตกต่างกนั แต่ในอดตี มพี ืชหรือสัตวช์ นดิ เดียวกนั ซากดึกด้าบรรพ์ส่วนใหญ่มาจากส่วนที่แข็ง ๆของสัตว์และพืช เช่น เปลือกหอย กระดกู ฟนั หรือไม้ ซึ่งอาจจะเปล่ียนแปลงไปจากรูปเดิมหรือไม่ก็เปลี่ยนเป็นแร่ธาตุสัตวแ์ ละ พืชจะถูกเก็บอยู่ในหนองซึ่งทับถมกันจนด้าเกือบเป็นน้ามันดิน พีต น้าแข็งและอ้าพัน ยาง ของต้นไม้โบราณ ไข่ รอยเท้าและโพรงไม้ต่างก็สามารถกลายเป็นซากดึกด้าบรรพ์ได้ท้ังส้ิน จากการศึกษาซากดึกด้าบรรพ์ท้าให้ทราบว่า สิ่งมีชีวิตได้อุบัติขึ้นบนโลกอย่างน้อย3,500 ล้านปีมาแล้วเกิดมีสายพันธ์สัตว์ และ พืชซ่ึงส่วนใหญ่ได้สูญพันธ์ุไปแล้วมีแต่ชิ้นส่วนเล็กจิ๋วท่ี ยังหลงเหลือ เป็นซากดึกด้าบรรพ์ซากดึกด้าบรรพ์ที่เก่าแก่ที่สุดในโลกคือเซลล์รูปร่างเหมือน บักเตรีขนาดเล็กมากมีอายุถึง 3,500 ล้านปี สัตว์ที่มีโครงสร้างยุ่งยากประกอบด้วยเซลล์ หลายเซล เช่น ไทบราซเิ ดยี มจากออสเตรเลียและอยู่ในมหายุคพรแี คมเบรียมตอนปลาย

รปู ฟอสซิลไดโนเสารภ์ ูกุ้มขา้ ว รอยเท้าไดโนเสาร์ภแู ฝก ต.โนนบุรี ต.ภูแล่นช้าง กง่ิ อ้าเภอนาคู อ.สหัสขันธ์ จ.กาฬสินธุ์ จ.กาฬสินธุ์

การเปล่ยี นแปลงของอากาศ การเปล่ียนแปลงของอากาศท่ีท้าให้เกิดการสะสมตัวของตะกอนใน บริเวณต่างๆของโลก เช่น หินที่เกิดจากตะกอนธารน้าแข็ง ซ่ึงควรจะ เกิดข้ึนบริเวณข้ัวโลก แต่ปัจจุบันพบหินลักษณะนี้ในบรเิ วณชายทะเลตอน ใต้ของแอฟริกาและอินเดีย แสดงว่าแผ่นทวีปมีการเคลื่อนที่หลังจากท่ีมี การสะสมของตะกอนจากธารน้าแข็งแล้ว

สนามแมเ่ หลก็ โลกโบราณ สนามแม่เหล็กโลกโบราณ(paleomagnetism) เปน็ หลกั ฐานทใ่ี ชพ้ ิสจู น์ ทฤษฎกี ารเคลื่อนทข่ี องแผ่นธรณีภาค โดยใช้หลักท่ีวา่ ในอดตี เหลก็ ทเี่ กดิ ปน อยูก่ ับแร่อ่ืนๆ ก่อนจะมกี ารแขง็ ตัวกลายเป็นหนิ จะมีการเรียงตัวในรูปแบบท่ี เกิดจากการเหน่ยี วน้าของสนามแม่เหลก็ โลกในขณะน้นั ต่อมาเม่ือมีการ แข็งตัวเป็นหินเหล็กนัน้ จะมคี ุณสมบตั คิ ล้ายเข็มทิศท่ถี ูกเก็บฝังอยใู่ นเนอื้ หิน เปน็ ระยะเวลานาน เมอ่ื นกั วิทยาศาสตร์น้าตัวอย่างหินซ่ึงทราบต้าแหน่งทม่ี า มาศกึ ษา และน้าข้อมลู มาแปลความหมายและค้านวณหาต้าแหนง่ ดงั้ เดิมของ พ้ืนที่ในอดตี ได้ แสดงวา่ โลกของเราไมเ่ คยหยุดนง่ิ มีการเปลยี่ นแปลงอยู่ ตลอดเวลา

ลกั ษณะการเคลอ่ื นท่แี ผน่ ธรณภี าค การเคล่ือนทแี่ ผน่ ธรณภี าคมีการเคลือ่ นท่ี 3 ลกั ษณะ 1.ขอบแผ่นธรณีภาคแยกออกจากกัน เปน็ แนวขอบของแผ่นธรณีภาคทีแ่ ยกออกจากกนั เน่ืองจากการดัน ตัวของแมกมาในชน้ั ธรณีภาค ท้าให้เกดิ รอยแตกในชั้นหนิ แขง็ จนแมกมา สามารถถา่ ยโอนความร้อนส่ชู ้นั เปลือกโลกได้ อุณหภูมิและความดันของ แมกมาจึงลดลงเป็นผลใหเ้ ปลือกโลกตอนบนทรดุ ตัวกลายเป็น หุบเขา ทรุด ปรากฏเป็นเทือกเขากลางมหาสมุทร

การแยกออกจากกนั ของแผน่ เปลอื กโลก

2.ขอบแผ่นธรณภี าคเคล่ือนเข้าหากนั แนวทแ่ี ผ่นธรณภี าคเคลือ่ นเขา้ หากันเป็นได้ 3 แบบ ดงั นี้ ก. แผ่นธรณภี าคใต้มหาสมุทรชนกบั แผ่นธรณีภาคใต้ มหาสมุทร แผน่ ธรณภี าคแผ่นหนง่ึ จะมดุ ลงใต้แผน่ ธรณี ภาคอีกแผ่นหน่ึง ปลายของแผ่นธรณีภาคทีม่ ุดลง จะหลอมตวั กลายเป็นแมกมาประทุ ขึ้นมา เกดิ เป็นแนวภเู ขาไฟกลางมหาสมทุ ร เช่นที่ ญีป่ ุ่น ฟิลปิ ปนิ ส์ ข. แผ่นธรณภี าคใต้มหาสมุทรชนกับแผ่นธรณภี าคภาคพ้ืนทวีป แผ่นธรณี ภาคใต้มหาสมทุ รหนักกว่าจะมุดลงใต้ ท้าใหเ้ กิดรอยคดโคง้ เปน็ เทอื กเขาบนแผน่ ธรณี ภาคภาคพื้นทวีป เชน่ ที่ อเมริกาใต้แถบตะวนั ตก แนวชายฝั่งโอเรกอน ค. แผน่ ธรณีภาคภาคพ้ืนทวปี ชนกบั แผน่ ธรณีภาคภาคพน้ื ทวีปอกี แผน่ หน่ึง เม่อื ชนกนั ท้าให้สว่ นหนึ่งมุดตัวลงอกี ส่วนหน่ึงเกยอยู่ด้านบน เกิดเป็นเทือกเขาสูง เชน่ เทอื กเขาหิมาลยั เทือกเขาแอลป์

ภาพ ก. ภาพ ข. ภาพ ค.

3.ขอบแผน่ ธรณีภาคเคลื่อนทผ่ี ่านกนั มกั เกิดใตม้ หาสมุทร ภาคพ้ืนทวีปก็มี เน่ืองจากการเคล่อื นตวั ของ แมกมาในชั้นเน้ือโลกไมเท่ากัน ท้าให้แผ่นธรณภี าคเคลอ่ื นทไ่ี มเ่ ทา่ กนั ดว้ ย เกิดการเล่อื นผ่านและเฉอื นกนั เปน็ รอยเล่อื นระนาบด้านข้างขนาดใหญ่

แผน่ ดินไหว แผน่ ดนิ ไหว หมายถงึ ปรากฏการณ์ทท่ี า้ ให้ พื้นผิวโลกเกิดการสั่นไหวสะเทือน

สาเหตกุ ารเกดิ แผน่ ดนิ ไหว • ธรรมชาติ • มนุษย์ 1. การปลดปลอ่ ยพลังงานเพ่อื 1. การสร้างเขือ่ นและอา่ งเกบ็ น้าขนาดใหญ่ ลดความเครียดบริเวณรอย 2. การท้าเหมืองในระดบั ลกึ เล่อื นของบริเวณ รอยต่อแผ่น 3. การสูบน้าใตด้ ิน เปลอื กโลก และ 4. การทดลองระเบิดนิวเคลยี ร์ รอยเลอื่ น ของเปลือกโลก ใตด้ ิน 2. การระเบิดของภูเขาไฟ

แผ่นดนิ ไหวจากธรรมชาติ (Earthquake) ความร้ อนจากแก่นโลก ผลกั ดนั ให้เปลือกโลก สง่ ผา่ นขนึ ้ มาบนเปลือกโลก เกิดการเคลอื่ นท่ี ความเครียดของรอยเลื่อน เกิดการสะสมพลงั งาน เพม่ิ บริเวณรอยตอ่ และ รอยเลื่อน พลงั งานเกินจดุ วกิ ฤต ปลดปลอ่ ยพลงั งาน ออกมา อยา่ งรวดเร็ว Earthquake



ทฤษฎเี กย่ี วกบั การเกดิ แผ่นดนิ ไหว • ทฤษฎีท่วี ่าด้วยการขยายตวั ของเปลอื กโลก (Dilation source theory) เช่ือว่าแผ่นดนิ ไหวเกิดจากการท่เี ปลือกโลกเกดิ การคดโค้งโก่งงอ อย่างฉับพลัน และเม่อื วัตถุขาดออกจากกันจงึ ปลดปล่อย พลังงานออกมาในรูปคล่ืนแผ่นดนิ ไหว (ทาให้เกดิ แผ่นดนิ ไหว เป็ นครัง้ แรกของพนื้ ท่)ี

ทฤษฎเี กยี่ วกบั การเกดิ แผ่นดนิ ไหว • ทฤษฎีท่วี ่าด้วยการคนื ตวั ของวตั ถุ (Elastic rebound theory) เม่อื เกิดแผ่นดนิ ไหวอันเน่ืองมาจากเคล่ือนตวั ของรอย เล่ือน (Fault) จนถงึ จุดหน่ึงท่วี ตั ถุจงึ ขาดออกจากกัน และ เสียรูปอย่างมาก พร้อมกบั การปลดปล่อยพลังงานออกมา หลังจากนัน้ วัตถุกค็ นื ตวั กลับสู่รูปเดมิ พร้อมกบั ปล่อย พลังงานออกมาเป็ นระยะๆ เรียกว่า การเกดิ After shock

ชนิดของรอยเลอ่ื น

บริเวณทมี่ ักเกดิ แผ่นดินไหว 1. แนวแผ่นดนิ ไหวของโลก ตรงบริเวณขอบของแผ่นเปลือกโลก ในกรณีของประเทศไทย แนว แผน่ ดินไหวโลกท่ีใกล้ ๆ ได้แก่ แนวใน มหาสมทุ รอินเดยี สมุ าตรา และ ประเทศพมา่

2. แนวรอยเล่ือนต่าง ๆ ในกรณีประเทศไทย ได้แก่ แนวรอยเลื่อนในประเทศ เพ่ือนบ้าน พมา่ จีนตอนใต้ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว

3. บริเวณที่มนุษยม์ ีกิจกรรมกระตุน้ ใหเ้ กิดแผน่ ดินไหว เช่น เหมือง เขื่อน บ่อน้ามนั เป็นตน้

คลน่ื แผ่นดนิ ไหว (Seimic wave)

Seismograph

ลกั ษณะของกราฟแผ่นดนิ ไหว



คลนื่ ในแผ่นดนิ ไหว คล่ืน BODY W1)AVPE- WAVE (P) หมายถึง คล่ืนแผ่นดนิ ไหวท่ีมีชว่ ง คลนื่ สนั้ และเคลอื่ นท่ีใน ลกั ษณะ PUSH - PULL เป็นคลื่นแรกทม่ี าถึง สถานีตรวจวดั

คลนื่ ในแผ่นดนิ ไหว คล่ืน BODY WAVE 2) S - WAVE (S) หมายถงึ คล่ืนแผ่นดนิ ไหว ที่มีชว่ งคลนื่ สนั้ และเคล่อื นที่ในลกั ษณะ SIDE TO SIDE คือ เคลอ่ื นทตี่ งั้ ฉากกบั ทิศทางทีเ่ คล่ือนท่ีไป จงึ ไมส่ ามารถเคล่ือนท่ีผ่านแกนโลก ได้ มีความเร็วประมาณ 0.6 เทา่ ของ คลืน่ P WAVE


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook