รายงานการวิจยั เรอื่ ง การศกึ ษาวัฒนธรรมการอบรมเลี้ยงดูเดก็ ปฐมวัยกรณศี ึกษาชมุ ชนบ้านชากไทย Study of child rearing culture Ban Thai tea น้ำฝน ชายเชิด มหาวทิ ยาลัยราชภฏั หมู่บ้านจอมบงึ 2565 ลขิ สทิ ธ์ขิ องมหาวิทยาลัยราชภฏั หมูบ่ า้ นจอมบงึ
รายงานการวิจัย เรื่อง การศกึ ษาวฒั นธรรมการอบรมเลีย้ งดเู ด็กปฐมวัยกรณศี ึกษาชุมชนบ้านชากไทย Study of child rearing culture Ban Thai tea นางสาวน้ำฝน ชายเชดิ คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏหมบู่ า้ นจอมบึง ราชบุรี มหาวิทยาลยั ราชภัฏหม่บู ้านจอมบงึ 2565 ลิขสทิ ธข์ิ องมหาวทิ ยาลัยราชภฏั หมบู่ ้านจอมบงึ
หัวขอ้ วิจยั การศึกษาวฒั นธรรมการอบรมเล้ียงดเู ด็กปฐมวยั กรณศี ึกษาชมุ ชนบ้านชากไทย ผดู้ ำเนนิ การวิจัย นางสาวน้ำฝน ชายเชิด ท่ีปรกึ ษา ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ วิจติ รา เงนิ บาท หนว่ ยงาน คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั หมบู่ า้ นจอมบึง ปี พ.ศ. 2565 การวจิ ยั ครง้ั นี้มวี ตั ถุประสงค์ เพื่อศกึ ษาวฒั นธรรมการอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยของชมุ ชนบา้ นชาก ไทย โดยใช้เทคนิคในการเลือกกลมุ่ ตัวอย่างแบบเจาะจง จำนวน 5 คน แบ่งเปน็ ผเู้ ช่ียวชาญด้าน วัฒนธรรมท่ี เกย่ี วข้องกบั การอบรมเลย้ี งดเู ดก็ ปฐมวยั ชมุ ชนบา้ นชากไทย ผูป้ กครองเด็ก ปฐมวยั จำนวน 5 คน เคร่อื งมอื ท่ี ใชใ้ นการวจิ ยั คือ แบบสัมภาษณ์แบบเจาะลึก แบบสัมภาษณ์ แบบไมเ่ ปน็ ทางการ การสังเกตแบบมสี ว่ นร่วม และ การสงั เกตแบบไม่มีสว่ นร่วม เป็นวจิ ยั เชิงคุณภาพ ทีใ่ ชว้ ธิ กี ารวิเคราะหข์ ้อมูลเชิงบรรยายพรรณนา ผลการวจิ ยั พบวา่ 1. ดา้ นโครงสร้างทางกายภาพและข้อมลู ทว่ั ไป ชุมชนบ้านชากไทยมีการเปลย่ี นแปลงท้ังในด้านโครงสรา้ ง ทางกายภาพ เศรษฐกิจและสังคม ไปตามยุคสมัย สาธารณูปโภค เทคโนโลยี ศนู ย์พฒั นาเด็กเลก็ เขา้ มามีบทบาท สำคญั ตอ่ การเล้ียงดเู ด็กของชุมชนบ้านชากไทย โดยเฉพาะในดา้ นขององค์ความรู้ใหม่ๆ การสง่ เสรมิ พัฒนาการเด็ก ปฐมวัยทเี่ หมาะสมและการแบ่งเบาภาระของผ้ปู กครอง 2. ดา้ นวฒั นธรรม ประเพณี ทเ่ี ก่ียวข้องกบั วถิ ชี วี ติ ชมุ ชนบา้ นชากไทยมีการวางแผนครอบครัว คือ แตง่ งาน และมีบุตร เมื่อมคี วามพร้อมท้งั ในดา้ นสุขภาพและทางด้านเศรษฐกิจในการดำเนินชวี ิตและการอบรมเล้ียงดูเดก็ มี สว่ นเกย่ี วข้องกับ ประเพณี การดแู ลบตุ รหลังคลอดที่ปฏิบตั ติ ามข้อหา้ มขอ้ ควรปฏบิ ัติ แต่ไมเ่ คร่งครดั เชน่ ในอดตี 3. ด้านการอบรมเลย้ี งดูเด็ก ครอบครัวชมุ ชนบ้านชากไทยจะไม่แบง่ หน้าทใ่ี นการอบรมเลีย้ งดูเดก็ อย่าง ชัดเจน นัน่ คอื แมจ่ ะเปน็ ผอู้ บรมเลี้ยงเด็กและสง่ เสริมพัฒนาการด้านต่างๆ พอ่ มีหน้าที่ในการหารายไดจ้ ุนเจือ ครอบครวั และชว่ ยดูแลลูกร่วมกบั แม่ ส่วนสมาชิกในครอบครัวจะชว่ ยเหลือซ่งึ กนั และกันนการดแู ลเด็ก ในดา้ น รปู แบบการอบรมเลยี้ งดูเด็กของชุมชนบา้ นชากไทย ไมม่ ีรปู แบบท่ีแนน่ อตามสภาพครอบครวั และชุมชนที่เปน็ อยู่ แต่ในบางคร้ังกม็ รี ปู แบบการเลีย้ งดูทีป่ ลอ่ ยอิสระและเขม้ งวดสลับกันไป สว่ นความคาดหวงั ชมุ ชนบ้านชากไทย คาดหวงั ที่อยากได้ลกู ผูช้ ายเพ่ือมาสบื สกุลคาดหวังให้ลูกเป็นคนดี มีงานทำที่ดี มีการเล้ียงดูเด็กและส่งเสริม พฒั นาการด้านตา่ งๆ ตามสภาพความเป็นอยขู่ องครอบครวั ชุมชนและองคค์ วามรู้ทีไ่ ด้รับการถ่ายทอด มุง่ เนน้ ให้ เตก็ ปฐมวัยเจรญิ เตบิ โต มีพัฒนาการท่ีสมวยั ดว้ ยการมอบความรกั ความเอาใจใส่รวมทง้ั การส่งเสรมิ การเรยี นรู้
กิตตกิ รรมประกาศ งานวจิ ยั ฉบับนี้สำเร็จลุลว่ งไดด้ ว้ ยการสนับสนุนจากมหาวทิ ยาลยั ราชภฎั หมู่บา้ นจอมบงึ ขอขอบ พระคณุ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ วจิ ิตรา เงนิ บาท อาจารยท์ ปี่ รึกษาและผูท้ รงคณุ วฒุ ติ รวจงานวจิ ัย นายทนั ใจ ชาย เชิด ที่ใหค้ ำปรกึ ษาดา้ นขอ้ มลู ของชมุ ชนบ้านชากไทยซ่งึ เปน็ ประโยชนอ์ ย่างยิ่งกับการทำงานวจิ ัย ขอขอบพระคุณผู้ใหญ่บา้ น ผเู้ ชี่ยวซาญ ผปู้ กครอง ในหม่บู ้าน ทใี่ หก้ ารสนบั สนุนดา้ นขอ้ มลู รวมทง้ั ขอขอบพระคุณ คุณสุธิดา แกว้ เกษ ที่ชว่ ยเหลอื ดา้ นการลงพื้นที่และอำนวยความสะดวก ตลอดการ เดนิ ทางเพื่อเก็บข้อมลู และขอขอบคุณบคุ ลากรของมหาวิทยาลยั ราชภฏั หมบู่ า้ นจอมบงึ ใหค้ วามช่วยเหลอื กำลังใจ และความหว่ งใยดว้ ยดเี สมอ คณะผูว้ จิ ยั
สารบญั กิตติกรรมประกาศ ก สารบญั ข บทท่ี 1 บทนำ 1 ความเป็นมาและความสำคัญ 1 วตั ถปุ ระสงค์ของการวจิ ยั 2 ขอบเขตการวจิ ยั 2 คำจำกดั ความทีใ่ ชใ้ นงานวิจยั 3 ประโยชน์ทคี่ าดวา่ จะไดร้ ับ 3 บทท่ี 2 แนวคิด ทฤษฎี เอกสารและงานวจิ ัยทเี่ ก่ียวซ้อง 4 แนวคิดทางวฒั นธรรม 4 ความหมายและท่มี าของวฒั นธรรม 4 แนวคดิ การปรับตัวทางวัฒนธรรม 4 แนวคิดทางวฒั นธรรมที่เปน็ พื้นฐานของการพัฒนาเด็ก 4 หลกั การทางวัฒนธรรมเพ่ือพัฒนาเด็ก 4 แนวคดิ หลักการและความหมายของการอบรมเล้ียงดูเดก็ 4 แนวคดิ หลกั การในการอบรมเลีย้ งดเู ด็ก 5 ความหมายและความสำคัญของการอบรมเลีย้ งดูเดก็ 5 บทบาทในการอบรมเล้ียงดเู ด็ก 5 รูปแบบการอบรมเลี้ยงดเู ด็ก 5 ความเช่อื ในการอบรมเล้ยี งดเู ดก็ 5 ความรทู้ ั่วไปของชมุ ชนบา้ นชากไทย 6
ความหมายของชุมชนบา้ นชากไทย 6 ประวตั ศิ าสตร์และความเป็นมาของชุมชนบา้ นชากไทย 6 จำนวนประชากรของชุมชนบ้านชากไทย 7 ระบบโครงสรา้ งทางสงั คมของชุมชนบ้านชากไทย 8 งานวิจยั ท่เี กยี่ วข้อง 8 กรอบแนวคิดในการวิจัย 9 บทท่ี 3 วธิ ดี ำเนนิ การวิจยั 10 การศึกษาข้อมูลเบื้องตน้ 11 การเลือกพ้ืนท่ีในการศึกษา 11 การสรา้ งและออกแบบเครื่องมือในการสัมภาษณ์ 12 การเตรียมตวั เข้าสภู่ าคสนาม 13 การเก็บข้อมูลในภาคสนาม 13 ประเดน็ ในการเก็บขอ้ มูลภาคสนาม 14 เทคนิคการเกบ็ รวบรวมข้อมลู 15 การตรวจสอบข้อมลู 16 การวเิ คราะห์ขอ้ มลู 16 การนำเสนอรายงาน 17 บทท่ี 4 ผลการวิจยั 18 ดา้ นโครงสร้างทางกายภาพและบริบทของชุมชน 18 ด้านประเพณี ประเพณี ทเ่ี ก่ียวข้องกบั การดำเนนิ ชีวติ 20 ดา้ นการอบรมเลีย้ งดูเด็กของชุมชนบา้ นชากไทย 24 บทที่ 5 สรุปผลการวจิ ัยอภิปรายผลและข้อเสนอแนะ 37 สรุปผลการวิจยั 37 ข้อเสนอแนะในการนำผลการวจิ ยั ไปใช้ 46 ข้อเสนอแนะในการทำวิจัยคร้ังต่อไป 47
บรรณานุกรม 48 บรรณานกุ รมภาษาไทย 49 ภาคผนวก 50 ภาคผนวก ก แนวคำถามในการสัมภาษณ์ 51 ภาคผนวก ข รายชอื่ หม่บู ้านที่เกบ็ ข้อมูล 53 ภาคผนวก ค ภาพประกอบการเกบ็ ข้อมลู 55 ประวัติผู้วจิ ัย 59
สารบัญตาราง
สารบัญภาพ
1 บทท่ี 1 บทนำ ความเปน็ มาและความสำคัญ ประเทศไทยประกอบด้วยประชากรทห่ี ลากหลายทางเชอื้ ชาติผูค้ นเหล่านี้มีการดำเนินชีวิตตาม ขนบธรรมเนียมประเพณี วฒั นธรรม พธิ ีกรรม ความเชื่อ และวัฒนธรรมการอบรมเลี้ยงดูบุตรท่แี ตกต่างจากคนไทย สมยั ใหม่ และในชุมชนยงั มีความเชื่อ ท้ังในเร่ืองของขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรมและการดำเนินชวี ิต เน่อื งจากคนในชุมชนยงั มีการยดึ ถอื ขนบธรรมเนียมประเพณกี ันอยู่บางส่วน และการประกอบพิธีเช่นงานมงคลการ หม้ันหมาย จะมผี เู้ ฒา่ ผแู้ ก่เป็นผู้ทำพิธี แสดงถึงความเคารพตอ่ บรรพบรุ ษุ และสิ่งศักด์ิสทิ ธเ์ิ หนอื ธรรมชาติทค่ี อย ปกปอ้ งคมุ้ ครองลูกหลาน อย่างไรกต็ ามขนบธรรมเนยี มดีงามเหล่าน้ีกำลังจะเลือนหายไปจากชมุ ชน เพราะไม่มีการ ถา่ ยทอดสู่รนุ่ ลกู รุ่นหลาน (รุ่งรตั น์ สขุ ะเดชะ : 2563) ชุมชนบ้านชากไทยประชาชนตำบลชากไทยมาจากหม่บู า้ นชาวพน้ื เมือง “ ชาวชอง ” อาศยั อยู่เปน็ จำนวน มาก และเรยี กช่ือหมบู่ ้านวา่ “ หมบู่ ้านชากกราว ” ซึง่ แปลว่า “ปา่ ทอี่ ุดมสมบูรณ์ พืชพันธ์ุธัญญาหารอุดมสมบรู ณ์ ต่อมาได้มีคนไทยอพยพมาอยู่ จึงเปลีย่ นช่อื เสยี ใหมว่ ่า“ชากไทย” มีความหมายว่า“ปา่ เล็กๆทม่ี ีคนไทยอาศยั อยู่” มคี นหลากหลายรุ่นอาศัยอยู่รวมกัน คือ รนุ่ ปยู่ า่ ตายาย รุ่นพอ่ แม่ รนุ่ ลูก รุ่นหลาน รวมทั้งมีญาติพ่ีนอ้ ง อาศัยอยู่ใกล้ชดิ กนั โดยมศี ูนย์กลางของชุมชน คือ ศาสนสถาน เชน่ วดั ผู้ใหญ่ในชมุ ชน เช่น พระ ผู้ใหญบ่ ้าน ผู้ เฒา่ ผแู้ ก่ ไดร้ ับ การนับถือและเปน็ ผตู้ ัดสนิ ความขัดแยง้ ในชมุ ชน มีขนบธรรมเนียม ประเพณีการละเล่นและความ เชอ่ื อันเนื่องมา จากการเปน็ สงั คมเกษตรกรรม จากการนับถอื ศาสนาและความเชอ่ื ด้งั เดมิ เรอื่ งการนับถือผีสาง เทวดา เมื่อเวลาผา่ นไป สงั คมมกี ารพัฒนาและเปล่ียนแปลงอนั เน่อื งมาจากปัจจยั ต่าง ๆ เชน่ ความคิด คา่ นิยม อดุ มการณ์ การเมืองการปกครองและบรรทดั ฐานทางสงั คม ซง่ึ มีผลใหว้ ถิ ีชีวติ ของคนไทยในสมัยต่าง ๆ มีความ แตกต่างกนั หากเดก็ ถูกปล่อยปละละเลยหรอื ได้รับการอบรมเลี้ยงดูอย่างไม่ถูกต้องและเหมาะสมแล้ว ความเสยี หาย ลม่ จมกจ็ ะต้องเกิดขนึ้ กบั สังคมในอนาคต ซ่ึงในสงั คมปัจจุบันนี้ไดม้ กี ารเปลยี่ นแปลงไปในทางท่ีเสอื่ มลง ชีวิตมนุษย์ ไดร้ ับผลกระทบจากการเปลย่ี นแปลงท้ังทางตรงและทางออ้ ม ทงั้ ที่รู้ตัวและไม่รู้ตวั เพราะสถาบนั ครอบครวั นั้นเป็น สถาบนั ตัวอย่างของสถาบันทางสงั คมสถาบนั หนึ่งที่ได้รับผลกระทบและผันแปรไปมากในปจั จุบัน บิดามารดาท่ีเคย มีบทบาทสำคญั ในสถาบนั ครอบครัว โดยเฉพาะอยา่ งยิง่ ต่อการอบรมเลี้ยงดบู ุตร เริม่ มบี ทบาทนอ้ ยลงเนอ่ื งจากต้อง
2 ด้ินรนขวนขวายกบั สง่ิ ที่คดิ วา่ สำคญั และจำเปน็ สำหรบั การอยู่รอด ณ ขณะน้กี ารรับผดิ ชอบโดยตรงตอ่ ครอบครัวมี ต่ำลงเรอื่ ยๆ แต่มีความพยายามทีจ่ ะชดเชยด้วยวธิ ีการอื่นๆ พ่อ-แม่จะได้รบั ค่าตอบแทนเปน็ เงนิ ทองและทรพั ยส์ นิ อย่างคุ้มคา่ ในเวลาทต่ี อ้ งทงิ้ ลูกไปก็ตามปญั หาที่เกย่ี วกบั เด็กท่ีเกิดข้นึ ในสังคมปัจจบุ นั มีแนวโน้มสูงขึ้นเรือ่ ยๆ เดก็ ถูก ทอดทิ้ง เดก็ ตดิ ยาเสพติด เดก็ เร่ร่อน เดก็ ถูกกดขี่บงั คับและอีกมากมายนเี้ ป็นเร่ืองใหญม่ ากและใกลต้ ัวกบั ทุกฝ่าย ทุกคนที่จะต้องชว่ ยกนั แก้ไข โดยเฉพาะอย่างยิ่ง พ่อ-แม่ และครอบครัว (วณิชญา มลคาน : 2555) จากการประมวลความสำคัญของปัญหาที่กล่าวมาท้ังหมดน้ัน ทำให้ผู้วิจยั เห็นถึงความสำคัญของวฒั นธรรม การอบรมเล้ยี งดทู แี่ ตกต่างกนั ของชุมชนบ้านชากไทยทีม่ คี วามหลากหลายทีเ่ หน็ ได้อย่างชัดเจนและควรค่าแก่การ ศึกษาเรยี นรู้ เผยแพรต่ ่อไปเพ่ือเปน็ การดำรงไว้ซ่ึงวฒั นธรรมอนั ตีงาม ผูว้ จิ ยั เองในฐานะที่อาศัยอยู่ท่ีชุมชนบา้ นชาก ไทยและเป็นชนรนุ่ หลงั ยังไม่มีความรู้ ความเข้าในเร่ืองของวัฒนธรรมการอบรมเลยี้ งดูเดก็ ปฐมวยั ของชุมชนบ้าน ชากไทยอยา่ งแท้จริง จึงมีความสนใจทีจ่ ะศกึ ษาวัฒนธรรมการอบรมเลี้ยงดูเด็กในชมุ ชนบา้ นชากไทยในเขตพนื้ ท่ี ภาคตะวนั ออกทง้ั ในอดีตจนถึงปัจจบุ ัน เพื่อเป็นการสืบทอดเจตนารมณ์ของผเู้ ฒ่าผแู้ ก่ท่ตี อ้ งการใหว้ ัฒนธรรมการ อบรมเล้ียงดเู ด็กน้ีควรค่แก่การอนุรกั ษ์ให้กบั ชนรุ่นหลงั เพื่อศกึ ษาต่อไป วัตถปุ ระสงค์ของการวิจัย 1. เพ่ือศึกษาวฒั นธรรมการอบรมเลี้ยงดเู ด็กปฐมวัยของชมุ ชนบา้ นชากไทย ขอบเขตการวจิ ัย 1. การวจิ ยั ในคร้ังนเี้ ป็นการศึกษาวัฒนธรรมการอบรมเล้ียงดเู ดก็ ปฐมวัยของชมุ ชนบ้านชากไทยท้งั ในอดีต จนถงึ ปัจจุบนั ต้ังแต่แรกเกิดจนถึงอายุ 6 ขวบ ตง้ั แต่เดือน ธนั วาคม 2564 – กุมพาพันธ์ 2565 2. ขอบเขตด้านเน้ือหาที่ศึกษา ไดแ้ ก่ - ด้านโครงสรา้ งทางกายภาพและข้อมูลทัว่ ไป - ดา้ นวัฒนธรรม ประเพณี ความเชอ่ื เก่ียวกบั การอบรมเล้ียงดเู ดก็ - ด้านการอบรมเลย้ี งดู 3. ขอบเขตดา้ นประชากรที่ศึกษา ได้แก่ ประชากรทเี่ ป็นผเู้ ชีย่ วชาญและผปู้ กครองของชุมชนบา้ นชากไทย หมู่ 4 ตำบลชากไทย อำเภอเขาคิชฌกูฏ จังหวัดจันทบรุ ี 4. ลักษณะการวิจัยเชงิ คุณภาพที่เปน็ การศึกษาวฒั นธรรมการอบรมเล้ียงดเู ดก็ ปฐมวัยของชมุ ชนบ้านชาก ไทย โดยใชก้ ารสมั ภาษณแ์ บบเจาะลกึ การสงั เกตแบบมีส่วนร่วมและการสงั เกตแบบไมม่ สี ่วนร่วม
3 คำจำกดั ความทีใ่ ชใ้ นงานวิจัย วฒั นธรรมการอบรมเลยี้ งดู หมายถึง การอบรมเลีย้ งดูเดก็ ปฐมวัยบนพ้นื ฐาน วฒั นธรรมประเพณี พธิ กี รรม ความเช่ือ การตู้แลบุตร บทบาทหน้าท่ีและรปู แบบในการเลี้ยงดู รวมท้ังการส่งเสริมพฒั นาการทง้ั 4 ด้าน ของเด็กปฐมวัยชมุ ชนบา้ นชากไทย ผู้เช่ยี วชาญ หมายถึง ผ้ทู ี่มีความรคู้ วามเชย่ี วชาญในดา้ นข้อมูลชมุ ชน ประเพณี ความเช่อื ทเ่ี ก่ยี วข้องกบั การอบรมเลย้ี งดูเดก็ ของชุมชนบ้านชากไทย ท่ีเปน็ ท่ีถือของชุมชนบา้ นชากไทย ผูป้ กครองเด็กปฐมวัย หมายถงึ พ่อแมห่ รือผ้ดู ูแลเด็กชมุ ชนบ้านชากไทย แรกเกิด จนถงึ 6 ชวบ ชมุ ชนบา้ นชากไทย หมายถึง หมบู่ า้ นเล็กๆแห่งหนึ่งอยทู่ างภาคตะวนั ออกของประเทศไทย ที่มีวัฒนธรรม การอบรมเลี้ยงดูเด็กท่เี ป็นเอกลักษณเ์ ฉพาะของตน ประโยชนท์ ีค่ าดวา่ จะได้รบั 1. เพ่ือได้ข้อมลู เกีย่ วกับวฒั นธรรมการอบรมเล้ียงดูเด็กปฐมวยั ของชมุ ชนบ้านชากไทย 2. เพื่อเผยแพรว่ ัฒนธรรมการอบรมล้ียงดูเต็กปฐมวยั ชุมชนบา้ นชากไทยในเวทีสาธารณะมีการแลกเปลยี่ น องค์ความรู้เร่อื งเดก็ ชุมชนบา้ นชากไทย ในอดีต ปจั จบุ ัน และการอบรมเล้ียงดเู ดก็ ปฐมวัยบริบททั้งในประเทศและ ต่างประเทศ
4 บทท่ี 2 แนวคิด ทฤษฏี เอกสารและงานวจิ ัยทีเ่ กย่ี วข้อง ในการวจิ ยั เรอ่ื งการดูแลเดก็ ปฐมวัยของชุมชนบ้านชากไทย คณะผวู้ ิจยั ได้ศกึ ษา คน้ ควา้ เอกสารเกย่ี วกับ แนวคิดทฤษฏี หลกั การ และงานวิจัยท่ีเกยี่ วขอ้ ง ดงั นี้ 1. แนวคดิ เกย่ี วกับวัฒนธรรม 1.1 ความหมายและท่ีมาวฒั นธรรม 2. แนวคดิ หลกั การ และความหมายของการอบรมเล้ียงดเู ด็กปฐมวัย 2.1 แนวคดิ หลักการ ในการอบรมเลย้ี งดูเด็ก 3. ความรู้ทั่วไปเก่ยี วกบั ชมุ ชนบา้ นชากไทย 3.1 ระบบทางโครงสรา้ งทางสังคมของชุมชนบา้ นชากไทย 4. งานวจิ ัยที่เกยี่ วข้อง 1. แนวคดิ เกี่ยวกับวัฒนธรรม 1.1 ความหมายและที่มาวัฒนธรรม สำนกั งานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ : (2535) ได้ใหค้ วามหมายของวฒั นธรรมในความ หมายทัว่ ไป และความหมายเชงิ ปฏิบัตกิ าร ดังนี้ วฒั นธรรมในความหมายท่ัวไป คือ วิถีชีวิตของคนในสงั คม เปน็ แบบการปฏิบัติและการแสดงออกซ่งึ ความรู้สกึ นกึ คดิ ในสถานการณ์ตา่ งๆ ทสี่ มาชิกในสังคมเดยี วกันสามารถเข้าใจ ซาบซึง้ ยอมรบั และปฏบิ ตั ริ ่วมกนั อนั นำไปส่กู ารพฒั นาคุณภาพชีวิตของคนในสงั คมน้ันๆวัฒนธรรมในความหมาย เชิงปฏิบัติการ หมายถงึ ความเจริญงอกงามซึง่ เป็นผลจากระบบความสัมพันธ์ระหวา่ งมนุษยก์ บั มนุษย์ มนษุ ย์กับ สงั คม และมนษุ ยก์ ับธรรมชาติ แบง่ ออกเป็น 3 ประเด็นดงั นี้ 1. วฒั นธรรมดา้ นจติ ใจ หมายถงึ ส่ิงที่เป็นรากฐานหรือพ้ืนฐานของความรู้สึกนึกคิดท่ีโน้มนำให้มนษุ ย์คดิ พดู และทำดว้ ยความรัก และความปรารถนาต่อเพ่อื นมนุษยด์ ้วยกนั ยังส่งผลให้ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งมนุษยเ์ ป็นไป ด้วยความอบอุน่ ไดแ้ ก่ ภูมปิ ัญญา ความเชื่อ ค่านยิ ม คุณธรรม อดุ มการณ์ เป็นต้น 2. วัฒนธรรมด้านสังคม หมายถึง ระเบยี บแบบแผนแห่งการดำเนินชวี ติ ที่ช่วยใหม้ นุษยอ์ ยอู่ าศัยและทำ กจิ กรรมรว่ มกนั ดว้ ยความเรยี บรอ้ ยงคงาม ได้แก่ ภาษา ขนบธรรมเนียมประเพณี เป็นตน้ 3. วัฒนธรรมด้านวัตถุ หมายถงึ สิง่ ประดิษฐ์และสง่ิ กอ่ สร้างต่างๆที่แสดงออกซง่ึ ความประณตี แห่งความ
5 รสู้ ึกนกึ คดิ ของมนุษย์ ไดแ้ ก่ เครื่องมือ เครอื่ งใช้ อาคาร เครอ่ื งประดบั ตกแต่งศลิ ปกรรม ตลอดจนผลงานทาง วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยตี า่ งๆ เปน็ ตน้ โดยความหมายของวฒั นธรรมทั้ง 3 ประเภทน้ี ย่อมต้องสมั พันธเ์ ชื่อมโยงกนั อยา่ งเหมาะสมและสมดลุ มกี ารสั่งสมสบื ทอดจากคนรุ่นร่นุ หน่ึงสคู่ นอกี ร่นุ หนึ่ง จากสังคมหนงึ่ สอู่ ีกสงั คมหน่ึงจนกลายเปน็ แบบแผนทส่ี ามารถ เรียนรไู้ ด้ และก่อใหเ้ กิดผลิตกรรมและผลติ ผล ท้ังทเ่ี ป็นรปู ธรรมและนามธรรม กล่าวโดยสรปุ วา่ วัฒนธรรมวถิ ชี ีวิตของคนในสังคม เปน็ แบบการปฏบิ ตั ิและการแสดงออกซ่งึ ความรสู้ ึกนกึ คิดในสถานการณ์ต่างๆเป็นสมบตั ขิ องส่วนรวมและถ่ายทอดจากคนรนุ่ หนึ่งไปสู่คนอกี รุน่ หนึ่ง จากสงั คมหน่ึงสสู่ ังคม หนง่ึ ซึง่ เปน็ การรกั ษาวัฒนธรรมเอาไว้ให้คนรนุ่ หลงั ต่อไป 2. แนวคิด หลกั การ และความหมายของการอบรมเล้ียงดเู ดก็ ปฐมวยั 2.1 แนวคิด หลักการ ในการอบรมเล้ียงดเู ด็ก ความสำคญั ของครอบครวั ให้การศึกษา อบรมเล้ียงดู ถ่ายทอดประสบการณ์ต่างๆและสรา้ งเสริม ประสบการณ์ต่างๆ ใหก้ ับสมาชกิ ทีอ่ าศยั อยรู่ ว่ มกนั ตงั้ แต่เกดิ จนเจรญิ เติบโตเปน็ ผู้ใหญ่ ให้ความรัก ความเมตตา การเอาใจใส่ หว่ งใย อาทร สรา้ งความเข้าใจ พยายามเข้าใจ และสรา้ งสมาชิกในครอบครวั ใหม้ คี ณุ ลักษณะอนั พึง ประสงค์ทส่ี งั คมต้องการปัญหาครอบครัวครอบครัวและอารมณท์ ี่ถ่ายทอดมาจากพ่อแม่ เปน็ ตน้ ผลการวจิ ยั ในตา่ ง ประ เทศ พบว่า บดิ ามารดาในฐานะบานกลางใหค้ วามอบอนุ่ แก่ลูกและอธิบายเหตผุ ลและแสดงความเสยี ใจ เม่ือ บุตรทำผดิ ในดา้ นตรงข้ามบิดามารดาฐานะตำ่ อาชีพกรรมกร ใช้การลงโทษทางกายควบคุมบุครฮีริคสัน Er ikson ได้กล่าวไวใ้ นทฤษฎีพัฒนาบุคลกิ ภาพว่า การที่พอ่ แม่ให้ความรกั ความอบอุน่ แก่เด็กอยา่ งเพียงพอ จะทำให้เด็กมีอา รมม่นั คง และมีความมัน่ ใจในส่งิ ท่ดี ีต่าง ๆ ในโลกซ่งึ เป็นรากฐานของการที่เ ด็กมีความเชื่อถือผูอ้ ่นื ในสังคม หลงั จาก ที่เด็กไดเ้ ช่ือถือและไว้วางใจส่วนทฤษฎอี น่ื กช็ ว่ ยในการสนับสนนุ ในดา้ นความรักของพ่อแม่ เป็นการวางรากฐานการ พัฒนาด้านจรยิ ธรรมให้แกเ่ ด็ก ถ้าเด็กแรก เกดิ ได้ความรัก ความอบอุ่น ทะนุถนอม และสนองตอบความต้องการ ของร่างกายอย่างพอเพยี งแล้ว เด็กจะเกดิ ความพอใจ มีความสขุ เมื่อได้อย่ใู กลกั บั ผู้เลี้ยงดหู รือพ่อแม่ เด็กจะตอ้ ง เรยี นร้สู ่ิงต่าง ๆ จากบุคคลเหลา่ นี้ เด็กจงึ ยอมเลียนเบบคนอ่นื ต่อไป การท่ีเด็กจะทำตามกฎเกณฑ์ของศาสนา และบฏบิ ัตติ ามกฎหมายตา่ ง ๆ ได้เดก็ ต้องยอมทำตามกฎเกณฑ์ของบา้ นเสยี ก่อนทางจิตวิทยาไดก้ ลา่ ววา่ การอบรม เล้ียงดูเต็ก ไดแ้ ก่ ความสัมพันธ์ระหว่างเด็กกับพ่อแมห่ รือผอู้ บรมเลย้ี งดู ตัง้ แต่เดก็ จนเจริญเตบิ โค สิ่งทีไ่ ดร้ ับและ ถ่ายทอดต้ังแต่วัยเด็กเลก็ จะเป็นสงิ่ ท่ีเปล่ยี นแปลงยาก และตดิ นิสยั ไปนานดังน้ัน จึงควรใหเ้ ด็กไดร้ ับการปลูกฝงั ลกั ษณะนิสัยท่ถี ูกตอ้ งตง้ั แต่วัยทารกตามกระบวนการพัฒนาการกลา่ วว่า คือ การท่ีพ่อแม่หรือผูค้ บรม เลยี้ งดู ถ่ายทอดบดุ ลกิ -ภาพ คำนิยม ระเบียยกฎเกณฑ์ใหก้ บั เด็ก
6 2.2 ความหมายของการอบรมเลี้ยงดู การอบรมเล้ียงดูเดก็กน้ันไดม้ ผี ศู้ ึกษาให้ความหมายของการอบรมเลย้ี งดไู ว้ดงั น้ี สุมน อมรววิ ัฒน์ (อ้างถึงใน ดวงเดอื น มูลกลาง, 2546 ไดใ้ หค้ วามหมายของการอบรมเล้ียงดหู มายถงึ ลักษณะ วิธกี ารต่างๆ ที่ผเู้ ล้ยี งเด็กใชใ้ นการเลี้ยงดูเด็ก ดูแลเด็ก อบรมสั่งสอนเดก็ และมีปฏสิ มั พนั ธต์ อ่ เดก็ รวมท้งั การปฏิบตั ิ ตัวของผเู้ ล้ียงเด็ก ความคิดเหน็ ของผู้ใหญเ่ ก่ียวกบั เด็ก ตลอดจนส่อื กิจกรรม และสิ่งแวดล้อมตา่ งๆ ทเี่ ดก็ มี ปฏิสัมพนั ธด์ ว้ ย พรทิพย์ พิชัย (2545) กลา่ ววา่ การอบรมเลีย้ งดูเดก็ หมายถึง การท่บี ิดามารดา หรือบุคคลที่ เก่ียวข้องเลี้ยงดูเดก็ พึงปฏบิ ัติต่อเด็กที่ยังไมส่ ามารถช่วยเหลอื ตนเองไดใ้ ห้ไดร้ ับการตอบสนองความต้องการจำเปน็ ขัน้ พน้ื ฐานทางด้านร่างกายและจติ ใจอยา่ งเพียงพอ รวมทง้ั ชี้แนะสง่ั สอน อบรมเดก็ ด้วยการมคี วามรู้ มีความรัก มี ความเข้าใจมคี วามตระหนกั มองเหน็ ความสำคัญของเด็ก ปรับวธิ กี ารเลีย้ งดเู ด็กอย่างเหมาะสม โดยคำนึงถงึ สังคม โลกท่ีมกี ารเปลย่ี นแปลงอย่างรวดเรว็ คำนงึ ถงึ ธรรมชาตขิ องเดก็ ความตอ้ งการและความสนใจของเด็กเพ่ือใหเ้ ดก็ เติบโตเปน็ คนดี สตปิ ญั ญาเฉลยี วฉลาด มบี ุคลิกภาพดี สามารถเผชิญกับสภาพการณ์ของสังคมและอยูร่ ่วมกับผ้อู นื่ ไดอ้ ยา่ งมปี กติสุขรติชน พีรยสถ์ (2543) ไดก้ ลา่ วไวว้ ่า การอบรมเลย้ี งดูสามารถแบง่ ความหมายเปน็ 2ส่วน คอื การ อบรมและการเลี้ยงดูการอบรม หมายถึง การแนะนำสัง่ สอนใหค้ วามรู้ใหแ้ นวคิดแนวปฏิบตั ิ ถ่ายทอดบุคลกิ ภาพ ค่านิยม ตลอดจนการทำตวั เปน็ ตัวอยา่ งในเรื่องต่างๆ ให้เด็กมนี ิสัยท่ีพึงประสงค์ การเลี้ยงดู หมายถึง การดแู ลใน เรอ่ื งอาหาร ดูแลสุขภาพ ดแู ลความเป็นอยู่ เพื่อสนองความตอ้ งการของเด็ก เลี้ยงดสู ง่ เสรมิ ให้เดก็ ไดพ้ ัฒนาการทั้ง ทางกาย อารมณ์ สงั คม และสติปัญญาตามวัยอนั เหมาะสมการอบรมเลยี้ งดูจึงหมายรวมถงึ การแนะนำส่งั สอนเป็น แบบอย่างท่ดี ใี ห้กบั เด็กเลี้ยงดูส่งเสริมให้เด็กไดพ้ ัฒนาการครบทุกด้านสรปุ ได้ว่า การอบรมเลี้ยงดู หมายถงึ วิธีการท่ี พอ่ แม่หรือผปู้ กครองปฏิบตั ติ ่อเดก็ หรือบตุ ร โดยการดูแล เอาใจใส่ ใหค้ ำแนะนำ สง่ั สอน ใหค้ วามช่วยเหลอื ให้ความรกั คมุ้ ครอง ให้ความอบอุ่น และตอบสนองความต้องการให้ทัง้ ทางกายและต้องการใหท้ ้ังทางกายและจติ ใจ กับเด็กทิศนา แขมมณี และคุณะ (2536) กลา่ วว่า การอบรมเล้ียงดูเด็ก หมายถงึ การทีเ่ ด็กไดร้ ับการพัฒนาให้มี คุณสมบตั ทิ ่ีพงึ ประสงค์ และมีพัฒนาการอย่างเหมาะสมครบทกุ ด้านเดก็ จำเปน็ ตอ้ งได้รับการอบรมเล้ยี งดจู าก ผใู้ หญ่ใกล้ชิดอย่างถกู ต้อง ซ่งึ ทผ่ี ู้ใกลช้ ิดและมีอิทธ์ิพลตอ่ เด็กกมลนันท์ รงั สยาธร์ (2543) ไดก้ ล่าวสรุป การอบรม เลยี้ งดู หมายถึง การทบี่ ดิ า มารดาหรือผ้ปู กครองปฏบิ ัตติ ่อเด็ก โดยการให้คำแนะนำสัง่ สอนดแู ลให้ความช่วยเหลือ ค้มุ ครองและตอบสนองความต้องการทางกายและใจ เพื่อให้เด็กได้มีชีวติ และการเจริญเติบโตเป็นสมาชิกท่ดี ีของ สังคมตามความมุ้งหวงั นอกจากนี้ การอบรมเล้ียงดูยังเปน็ กระบวนการในการพฒั นาบุคลิกภาพของบุคคล เปน็ เรอ่ื ง ของการถา่ ยทอดความคดิ ความเชื่อ และวธิ ีการปฏิบัติของแต่ละครอบครวั บลมู (Bloom 1971) ได้ให้คำนยิ ามการ
7 อบรมเล้ยี งดเู ด็กไว้ 2 ลักษณะ คือทางสงั คมหมายถงึ การถา่ ยทอดวฒั นธรรมและการทำให้บคุ คลมีวิถีชวี ติ ที่เป็น ระเบียบและในแง่ของแต่ละบุคคล 3. ความรู้ทั่วไปเกยี่ วกบั ชุมชนบ้านชากไทย 3.1 ระบบทางโครงสร้างทางสังคมของชมุ ชนบา้ นชากไทย ณฐั มน พรมะหา : (2556) ไดอ้ ธิบายวา่ ระบบโครงสร้างทางสังคม หมายถงึ ความสัมพนั ธ์ระหว่างกันท่ี คอ่ นข้างมน่ั คง หรือการจดั ระเบียบของกลุ่ม หรอื สถานภาพของกลุ่ม เมอื่ พฤตกิ รรมของสมาชิกในสงั คมโยงใย และเชอ่ื มต่อกันเปน็ ตาข่ายจึงมกี ารจำแนกออกเปน็ หมวดหม่ตู ามสถาบนั ทางสังคมแต่ละประเภท ซ่งึ สถาบนั ทาง สงั คมเหลา่ น้ี ก็จะมีความสัมพันธ์เชอื่ มโยงกันจนกลายเปน็ โครงสรา้ งทางสังคม โครงสรา้ งทางสังคมสามารถแบ่งได้เปน็ 2 ระดับ ได้แก่ กลมุ่ สงั คมและสถาบันทางสังคม 2.1 ความสมั พันธใ์ นระดับกลุม่ สังคม กลมุ่ สังคม คือ กลุ่มบุคลลท่สี มาชกิ ติดต่อสมั พันธก์ ันอยา่ งเป็นระบบแบบแผนและเป็นทย่ี อมรบั กลุม่ สังคมจะมคี วามรู้สึกเป็นอันหนงึ่ อันเดยี วกัน มีความสนใจคลา้ ยกนั ซง่ึ ทำใหก้ ลุ่มมเี อกลักษณแ์ ตกตา่ งจากกลุ่ม อนื่ ๆ กลุม่ สังคมสามารถแบ่งออกได้เปน็ 2 ประเภท คือ กลมุ่ ปฐมภมู ิ และ กลุ่มทตุ ยิ ภูมิ โดยการมองเปน็ การ มองในแง่ตวั คนท่ีมาอย่รู วมกันเปน็ กล่มุ แต่ละกลมุ่ จะมีความสมั พันธท์ ี่แตกต่างกัน กลา่ วคอื หากเป็นคนกลุ่มเล็ก ที่มคี วามสมั พนั ธแ์ บบใกลช้ ดิ เชน่ ครอบครัว กลมุ่ เพ่ือนสนทิ เราจะเรียกวา่ กลมุ่ ปฐมภูมิ ส่วนคนกลุ่มใหญ่ที่ รวมตัวกนั ในเรื่องใดเรือ่ งหนึง่ เชน่ โรงเรียน สมาคม องค์การ จะมคี วามสัมพันธก์ นั แบบที่ เรียกว่ากลุ่มทตุ ิยภูมิ 2.2 ความสัมพนั ธใ์ นระดบั สถาบันทางสงั คม เป็นการมองในแงก่ ลุ่มความสมั พันธ์ นกั สงั คมวิทยา เช่ือวา่ มนษุ ยต์ ่างมีความสัมพันธ์กบั ผู้คนในทุกดา้ น ไม่ว่าจะเป็นความสัมพนั ธด์ ้านครอบครัว เศรษฐกจิ การเมือง การศึกษา ศาสนา นนั ทนาการ ดงั นน้ั จึงต้อง จำแนกกลุ่มความสัมพนั ธข์ องคนในสงั คมเปน็ สถาบนั ทางสังคมประเภทตา่ งๆ เพ่ือความสะดวกในการมองภาพ ของสงั คมในแต่ละส่วนได้อย่างชัดเจนมากขึ้น อย่างไรก็ตาม ถึงแม้เราจะสามารถจำแนกกลมุ่ ความสมั พนั ธ์ของผู้คนในสงั คม เป็นสถาบันทางสงั คม ประเภทต่างๆ แต่ตามสถานการณเ์ ปน็ จริงน้นั ลักษณะความสัมพันธข์ องผ้คู น มิใชม้ ีเพียงด้านใดดา้ นหนง่ึ แต่จะ
8 เช่ือมโยงเสมือนเปน็ ตาขา่ ย โดยความสมั พันธท์ ี่เปน็ ตาข่ายนี้จะอยภู่ ายใต้การจดั ระเบยี บทางสังคม เพื่อใหค้ นใน สงั คมปฎิบัติตามและนำไปสกู่ ารอยูร่ ่วมกันอยา่ งเปน็ ระเบียบ โครงสร้างสงั คม หมายถงึ การจดั ระเบียบในสงั คมท้งั หมด รวมถงึ ความสมั พันธ์ระหว่างบุคคลและกลุม่ คนในสังคม ซึง่ อาจเป็นไปท้ังในทางความรว่ มมือ สนบั สนนุ ซ่งึ กนั และกนั การแข่งขัน การขัดแย้ง การ ประนปี ระนอม หรือการเอารัดเอาเปรยี บกันก็ได้ แต่ความสมั พันธ์ระหวา่ งบุคคลและกลมุ่ ต่างๆ นัน้ จะต้อง เป็นไปตามแบบแผน หรอื อย่ใู นกรอบแห่งโครงสรา้ งสงั คมน่ันเอง จะเหน็ ได้ว่า โครงสรา้ งทางสงั คมเปน็ ภาพรวมของสงั คม ทำใหเ้ ราสามารถมองเหน็ สงั คมวา่ มลี กั ษณะ เป็นเช่นไร และระบุไดว้ า่ นีค่ อื โครงสรา้ งสงั คมไทย โครงสรา้ งสังคมจีน โครงสร้างสังคมองั กฤษ ท่ีมีความแตกตา่ ง และเป็นเอกลกั ษณ์ จอร์น เอมบรี นักวิชาการชาวอเมริกัน ไดก้ ล่าวว่า ประเทศไทยมีโครงสร้างทางสังคมแบบ หลวมๆ เขาไดส้ ังเกตจากการทีค่ นไทยมักปฎบิ ตั ติ นตามอำเภอใจของตนเองมากกวา่ ที่จะกระทำตามกฎเกณฑ์ ของสังคม ข้อนี้ได้รับการคัดค้านจากนักวิชาการของไทยวา่ ไมเ่ ป็นความจรงิ เพราะกฎระเบยี บของสังคมไดร้ บั การปฎิบตั ิอย่างเคร่งครัด และผู้คนต่างมีความสมั พนั ธตื ่อกนั อยา่ งเหนียวแน่น ยิ่งในปัจจุบันสงั คมไทย เปลี่ยนแปลงไปอยา่ งรวดเรว็ กฎหมายได้เข้ามามีบทบาทสำคญั ต่อการดำรงชีวติ ทำใหโ้ ครงสรา้ งทางสังคมต้องมี ความเขม้ งวดมากขึ้น เพราะสมาชิกตา่ งต้องปฎบิ ัตติ ามกฎหมายและกฎศลึ ธรรมอยา่ งเคร่งครดั กลา่ วโดยสรปุ โครงสร้างทางสงั คม ทำใหเ้ ราสามารถมองเห็นภาพรวมของสงั คมไดแ้ จ่มชดั และสามารถ ระบุได้วา่ สังคมนัน้ ๆ จะมคี วามม่นั คงแข็งแรงมากนอ้ ยแคไ่ หน โดยดไู ดจ้ ากการทำหน้าท่ขี องสถาบนั ทางสังคม ตา่ งๆ วา่ มคี วามสอดคล้อง สมดุล สนบั สนนุ หรือแข่งขนั ตามกฎกติกาหรือไมเ่ พยี งใด ในทางตรงข้ามโครงสร้าง สงั คมจะออ่ นแอไม่ม่นั คง หากวา่ ความสมั พันธ์และสถาบันทางสังคมมีแต่ความขัดแย้ง คนในสังคมไม่ทำตาม บรรทัดฐานทางสังคมทวี่ างไว้ ปญั หาของสังคมก็จะปรากฏขนึ้ ในที่สุดก็จะประสบแต่ความสับสน วนุ่ วาย และไร้ ระเบยี บ 4. งานวิจยั ที่เกยี่ วข้อง ปรีชา สุกใส ( 2541) ไดศ้ ึกษาเจตคติเก่ยี วกับจรยิ ธรรม คา่ นยิ ม ประเพณีและวัฒนธรรมของครอบครัวที่มี ผลต่อการอบรมเลย้ี งดบู ตุ ร พบวา่ จริยธรรม ค่นิยม ประเพณีและวฒั นธรรมทางด้านบวกที่ครอบครัวสว่ นใหญ่ ยอมรับและเห็นดว้ ย นัน่ คอื หลกั การอบรบเล้ียงดทู ส่ี ืบทอดกันมาแต่ความเป็นจริงในสงั คมปัจจบุ นั ครอบครวั มเี จต คตดิ ้านบวกต่อการยอมรับ การกระทำท่ีสะท้อนใหเ้ หน็ วา่ สภาพการขาดจริยธรรม ค่านิยม ประเพณี ทจี่ ะสง่ ผลถึง
9 การปลกู ฝังกระบวนการเรยี นรู้แก่บุตรหลานที่เปน็ เด็กและเยาวชนอนั จะเปน็ ผใู้ หญ่ที่เป็นผลเมอื งดีและสร้างสรรค์ สงั คมไทยใหก้ า้ วหน้าต่อไป Diana Baumrind (1971) นกั จิตวทิ ยาชาวอมริกันแหง่ มหาวิทยาลัยแคลฟิ อร์เนยี เบิรค์ ลีย์เป็นผู้หนง่ึ ท่ี สนใจศกึ ษารปู แบบการอบรมเลย้ี งดอู ยา่ งจริงจัง Baumind ได้เสนอมติ ิสำคญั ในการอธิบายพฤติกรรมของบิดา มารดาในการอบรมเล้ยี งดบู ุตรวา่ ประกอบด้วย 2 มิติ คอื 1) มิติควบคุมหรอื เรยี กรอ้ งจากบดิ ามารดา และ 2) มติ ิ การตอบสนองความรสู้ กึ เด็ก จากการผสมผสาน 2 มติ ิ ทำให้Baumrind จัดรูปแบบการอบรมเล้ยี งดูเปน็ 3 รูปแบบ คอื 1) รูปแบบการอบรมเลย้ี งดูแบบเอาใจใส่(ควบคุมและตอบสนองความรูส้ ึกเดก็ ) 2) รปู แบบการอบรม เลยี้ งดูแบบควบคุม (ควบคุมแตไม่ตอบสนองความรสู้ กึ เด็ก) และ 3) รปู แบบการอบรมเล้ียงดูแบบตามใจ (ไม่ ควบคมุ แตต่ อบสนองความร้สู ึกเด็ก) ได้อธบิ ายไวว้ ่า การอบรมเล้ียงดแู บบเอาใจใส่เป็นการอบรมเลีย้ งดูท่เี หมาะ พัฒนาตามวฒุ ภิ าวะของเด็ก เน่อื งจากการอบรมเลย้ี งดแู บบเอาใจใส่บิดามารดาจะอนญุ าตใหเ้ ด็กมีอสิ ระตามวฒุ ิ ภาวะของเด็ก แตในขณะเดียวกันบดิ ามารดาจะกำหนดขอบเขตพฤตกิ รรมของเด็กและกำหนดใหเ้ ด็กเชอื่ ฟังและ ปฏิบัตติ ามแนวทางท่บี ดิ ามารดากำหนดไว้ บดิ ามารดาจะแสดงความรกั ความเอาใจใส่ และให้ความอบอุ่นต่อเด็ก สนใจพรอ้ มทจี่ ะรับฟงั ความคิดเห็น และสนบั สนุนให้เด็กมีส่วนรว่ มในการคดิ ตดั สินใจในเร่ืองต่างๆ ของครอบครัว ให้ความเสมอภาค มคี วามเป็นประชาธปิ ไตยยอมรบั ในสิทธซิ งึ่ กันและกัน ให้การช้แี นะอยา่ งมเี หตผุ ล ธิบายถงึ เหตุผลของการเรียกร้องให้ปฏบิ ตั ิตามคำสั่ง รวมไปถงึ การลงโทษบดิ ามารดาจะใช้อำนาจเมื่อจำเปน็ และมเี หตุผล ในการใช้อำนาจทีน่ ำไปสู่พัฒนาการที่ดีของเดก็ กล่าวโดยสรุปไดว้ า่ หลักการอบรบเลีย้ งดูที่สบื ทอดกันมาแต่ความเปน็ จริงในสังคมปัจจบุ ัน ครอบครวั มีเจต คติดา้ นบวกต่อการยอมรบั การกระทำทสี่ ะทอ้ นใหเ้ ห็นวา่ สภาพการขาดจรยิ ธรรม ค่านิยม ประเพณีทจ่ี ะสง่ ผลถงึ การปลกู ฝังกระบวนการเรียนรู้แก่บตุ รหลานทีเ่ ป็นเด็กและเยาวชนแตในขณะเดียวกนั บิดามารดาจะกำหนด ขอบเขตพฤตกิ รรมของเด็กและกำหนดให้เดก็ เชอ่ื ฟังและปฏิบัติตามแนวทางทบ่ี ิดามารดากำหนดไว้
10 บทที่ 3 วิธดี ำเนนิ การวจิ ัย ในงานวจิ ยั เรือ่ ง การศึกษาวัฒนธรรมการอบรมเลยี้ งดูเด็กปฐมวัยชุมชนบา้ นชากไทย กลุ่มตวั อย่างที่ใช้การ วจิ ยั เปน็ ประชากรชมุ ชนบา้ นชากไทย ในจังหวดั จันทบรุ ี โดยมีการสมุ่ แบบเจาะจง คือ ผูป้ กครองเดก็ ปฐมวยั ชุมชน บา้ นชากไทย จำนวน 5 คน การวจิ ัยครง้ั นี้ เป็นการศึกษาทีม่ ุ่งประเดน็ ทคี่ รอบคลุมท้ังมิตคิ า้ นโครงสร้าง บรบิ ทแวดล้อมและวฒั นธรรม ในการอบรมเล้ยี งดขู องตรอบครัวชุมชนบา้ นชากไทยที่อาศัยอยู่ทางภาคตะวันออกของประเทศไทยมาเป็นระยะ เวลาช้านาน ผู้วิจัยไดช้ ้ระเบียบวิธกี ารศึกษาเชงิ คณุ ภาพ (Qualtative Methodology) เนื่องจากเปน็ วิธีการศึกษาท่ี เน้นความหลายหลากและครอบคลมุ ของขอ้ มูล เปน็ การศึกษาที่เนน้ การมองปรากฎการณ์อยา่ งเป็นภาพรวม และ วิเคราะห์ความสัมพันธข์ องเหตุการณ์กบั สภาพแวดลอ้ มหรือระบบทัง้ หมดเพื่อให้เกิดความเขา้ ใจอยา่ งถ่องแท้ ทำ ความเขา้ ใจเกีย่ วกบั กระบวนการของการเกิดข้ึนและการเปลย่ี นแปลงของปรากฏการณ์หนง่ึ ๆ ในสงั คมเป็นองค์รวม ในการคน้ หาความจริงจะใช้วิธีการท่หี ลากหลาย ประกอบด้วย การสมั ภาษณ์ การสมั ภาษณ์เจาะสกึ การสังเกตแบบ มสี ่วนร่วมและการสงั เกตแบบไมม่ ีสว่ นรว่ ม จากกลมุ่ ผใู้ ห้ข้อมูลทหี่ ลากหลายและหลายๆคน เพอื่ ให้ไดข้ ้อมลู ทม่ี ี ความนา่ เชือ่ ถือมากที่สดุ ประกอบกับการจดบันทึกสภาพแวดล้อมเหตกุ ารณ์ท่ีเกิดข้นึ นำมาประมวลเข้าดว้ ยกนั วธิ กี ารดำเนินการวจิ ยั ในครั้งนี้ ไดแ้ บง่ วิธกี ารดำเนินการวจิ ยั ออกเป็นขั้นตอน ดังนี้ 1. การศกึ ษาข้อมูลเบ้ืองตน้ 2. การเลือกพนื้ ที่ในการศึกษา 3. การสรา้ งและออกแบบเครือ่ งมือในการสัมภาษณ์ 4. การเตรยี มตัวเข้าส่ภู าคสนาม 5. การเข้าเกบ็ ข้อมูลในภาคสนาม 6. ประเดน็ ตา่ งๆ ในการเก็บรวบรวมข้อมูลภาคสนาม 7. เทคนคิ ในการเก็บรวบรวมข้อมูล 8. การตรวจสอบข้อมลู 9. การวิเคราะหข์ ้อมลู 10. การเสนอรายงาน รายละเอยี ดของแต่ละขน้ั ตอนมดี งั นี้ คอื
11 1. การศกึ ษาข้อมูลเบ้ืองตน้ ก่อนทจ่ี ะเข้าสภู่ าคสนามผูว้ ิจยั ได้ศึกษาข้อมูลเบื้องตนั เกย่ี วกับเอกสาร ตำราตา่ งๆ ทีเ่ ก่ียวกับ การอบรม เลีย้ งดูเด็ก รวมทัง้ แหล่งทมี่ าของข้อมลู ทเี่ ช่ือถือ ดังน้ี 1.1 ศึกษาภาพรวมของเอกสาร ตำรา และงานวิจัยที่เกีย่ วข้องการอบรมเลีย้ งดเู ด็กปฐมวัย 1.2 รวบรวมรายชอ่ื แหล่งขอ้ มูล เอกสาร ตำรา ไดด้ ังน้ี - หอ้ งสมุดโรงเรียนบ้านชากไทย 1.3 สำรวจและเก็บข้อมูลท่ีเก่ียวข้องกับงานวจิ ยั ได้ดงั นี้ - เอกสารสว่ นบคุ คล - เอกสาร หนังสือ ทเี่ ก่ยี วกับการอบรมเลีย้ งดูเดก็ - หนังสอื และตำราเกี่ยวกับชุมชนตำบลชากไทย - งานวจิ ยั 1.4 นำขอ้ มูลเอกสารทร่ี วบรวมไดม้ าคดั เลือก และวิเคราะห์หลักฐาน 2. การเลอื กพนื้ ทใ่ี นการศกึ ษา ผูว้ ิจัยทำการศึกษาข้อมลู เอกสารทเี่ ก่ียวข้องกับชมุ ชนบา้ นชากไทย และไดส้ อบถามอย่างไม่เป็นทางการ ผปู้ กครองเกย่ี วกบั วฒั นธรรมกับการอบรมเลี้ยงดเู ด็ก เพื่อเปน็ ขอ้ มลู พน้ื ฐานท่ีจะนำไปสู่การศกึ ษาในระดบั ต่อไป จากนนั้ ผ้วู จิ ยั ได้เข้าติดต่อขอข้อมลู จากผู้ใหญ่บา้ นชากไทยรวบรวมเป็นข้อมูลพน้ื ฐานเพื่อใช้ประกอบเกณฑก์ าร เลือกหมบู่ ้านท่ีผูว้ ิจยั ตง้ั ขน้ึ ดงั น้ี 2.1 เปน็ หมบู่ า้ นท่ีเปน็ คนบ้านชากไทยอาศัยอย่ไู ม่ต่ำกว่ารอ้ ยละ 80 ของประชากรท้งั หมด 2.2 เป็นหมูบ่ า้ นที่ตั้งมานานกวา่ 100 ปีขนึ้ ไป 2.3 เปน็ หมบู่ ้านที่ยงั คงรกั ษาวถิ ีชวี ิตความเป็นอยแู่ ละวฒั นธรรมดั้งเดิมของชุมชนไว้ เนอื่ งจากผ้วู ิจยั ต้องการนำความเป็นเอกลกั ษณท์ างด้านต่างๆ ในวิถีชวี ิตของครอบครัวบา้ นชากไทยมาพจิ ารณา ประกอบดว้ ย 2.4 เป็นหม่บู ้านท่ีมีครอบครวั ท่เี ลีย้ งดูเดก็ แรกเกิดถึง 3 ขวบ 2.6 เปน็ หมู่บา้ นทม่ี ีความยินดีท่ีจะให้ผวู้ ิจัยทำการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลภาคสนามได้
12 2.7 เป็นหมบู่ ้านทผ่ี ู้วิจยั คุ้นเคยมาก่อนและสามารถเข้าไปเก็บข้อมูลภาคสนามได้อยา่ งสะดวก ปลอดภยั ผู้วิจัยไดเ้ ลอื กกลุ่มตัวอยา่ ง ทง้ั หมด 5 ครอบครัว ในหม่บู ้านชากไทย หมู่ 4 ตำบลชากไทย อำเภอเขาคชิ ฌกูฏ จังหวดั จนั ทบุรี ซงึ่ เปน็ พ้ืนท่ีในการศกึ ษาแบบเจาะจงเพราะมีหลกั เกณฑ์ครบตามที่ได้ระบุไว้ในขา้ งต้น จากนัน้ ผูว้ ิจยั ไดเ้ ขา้ ขอ คำปรกึ ษาจากชาวบ้านในชุมชนเพอ่ื เปน็ ข้อมูลในการออกแบบแผนทีจ่ ะเข้าไปศึกษาข้อมูลพืน้ ฐาน ดงั น้ี - สอบถามจากผเู้ ชี่ยวชาญประจำหมู่บา้ น - สอบถามและขอความอนเุ คราะหข์ ้อมูลจากผู้ทรงคณุ วฒุ ิ - สอบถาม สัมภาษณอ์ ย่างไม่เป็นทางการจากผอู้ าวุโสประจำชุมชนบ้านชากไทย - รวบรวมรายช่ือบุคคลทจ่ี ะใหข้ อ้ มูลทั้งทเี่ ป็นผูเ้ ชย่ี วชาญในเรอื่ งของพธิ กี รรม ความเช่ือ การอบรมเลย้ี งดู และผปู้ กครองท่ีมีบตุ รอายุแรกเกดิ จนถงึ 3 ขวบ โดยวธิ ีการสอบถามจำนวนผู้เช่ียวชาญและผปู้ กครองที่จะใหข้ ้อมูลจากผูน้ ำหมูบ่ ้านอาสาสมัครของหมบู่ า้ น จากการสำรวจข้อมลู เบื้องต้น ผู้วจิ ยั ได้นำมาคัดเลือกเฉพาะผทู้ ี่เป็นคนในชมุ ชนบ้านชากไทยและอาศยั อยูใ่ นหมู่ บ้านเปน็ เวลานาน จากนัน้ ทำการเลอื กกลุ่มตัวอยา่ งที่เหมาะสม เพอ่ื ตดิ ตอ่ สอบถาม สมั ภาษณแ์ ละขออนเุ คราะห์ ด้านข้อมูลต่างๆด้านโครงสรา้ งทางกายภาพและข้อมูลทั่วไป ด้านวัฒนธรรม ประเพณี ความเช่ือเกี่ยวกับการอบรม เลี้ยงดเู ดก็ และด้านการอบรมเล้ยี งดเู ด็กปฐมวัยของชมุ ชนบ้านชากไทย 3. การสร้างและออกแบบเครือ่ งมือในการสมั ภาษณ์ 1. ในระหวา่ งการตรวจสอบและสบื คน้ ข้อมูล ผ้วู จิ ยั นั้นไดน้ ำรายละเอียดท่ตี ้องการจะศึกษามาสรา้ งแบบ สัมภาษณ์ เพ่อื นำไปใชใ้ นการเกบ็ ข้อมูลจากผู้เช่ยี วชาญและผู้ปกครอง เกย่ี วกบั โครงสร้างทางกายภาพและบรบิ ท ของชุมชน และประเพณี วฒั นธรรม พธิ กี รรม ความเช่ือ ท่ีเกยี่ วกับการอบรมเลยี้ งดูเด็กปฐมวัย โดยได้ออกแบบ ประเด็นคำถามในการสัมภาษณ์ ดงั นี้ ออกแบบแนวคำถามที่ครบคลุมเนื้อหาเกี่ยวกับ เกยี่ วกับโครงสรา้ งทาง กายภาพ และบรบิ ทของชมุ ชน และประเพณีวฒั นธรรม พิธีกรรม ความเช่อื ที่เกีย่ วกบั การอบรมเล้ียงดูเดก็ ปฐมวยั 2. แบง่ แบบสัมภาษณ์เป็น 2 สว่ น คอื - สว่ นที่ 1 แบบสมั ภาษณผ์ ู้ปกครองชุมชนบ้านชากไทย ในประเดน็ ดา้ นโครงสร้างทางกายภาพและ ขอ้ มูลท่วั ไปด้านวัฒนธรรม ประเพณี เกีย่ วกบั การอบรมเล้ียงดูเดก็ - ส่วนท่ี 2 แบบสมั ภาษณ์ผปู้ กครองชมุ ชนบา้ นชากไทย ในประเด็นการปฏบิ ตั หิ น้าทีต่ อ่ กจิ วตั ร ประจำวัน การฝกึ สุขนิสัยและลักษณะนิสยั ทด่ี ี การสนับสนุนใหเ้ ดก็ เลน่ /วิธีการ กิจกรรมทเี่ ด็กได้ ลงมือกระทำโดยผา่ นประสาทสมั ผัสท้งั 5 การสง่ เสริมพัฒนาการของเด็ก การปฏบิ ัตติ ่อเด็ก(คำพดู และวธิ ีการ) การสงั เกตพัฒนาการ การเฝ้าระวังความผดิ ปกตใิ นการอบรมเล้ียงดูเด็ก
13 3. เม่ือออกแบบแนวคำถามในการสัมภาษณ์แล้วได้นำไปใหผ้ ้ทู รงคุณวุฒิตรวจสอบความเหมาะสมของ เนอื้ หาทต่ี ้องการศกึ ษา 4. นำแนวถามมาปรับและแก้ไขให้มีความสมบรู ณ์ นำไปสมั ภาษณ์กล่มุ ตัวอย่างตามวนั เวลาและสถานท่ี ทก่ี ำหนดต่อไป 4. การเตรยี มตัวเข้าสู่ภาคสนาม ผู้วจิ ยั มวี ิธกี ารเตรยี มตัวในการดำเนินการวิจัย เพื่อเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ภาคสนามดงั น้ี 4.1 ศกึ ษาข้อมลู พ้ืนฐานของหมูบ่ ้านชากไทยในเขตพ้นื ท่ีภาคตะวันออกจากแหลง่ ต่างๆ รวมทง้ั การเข้าทำความคนุ้ เคยกับผู้นำหมู่บ้าน เจา้ หน้าท่อี าสมัครและประชาชนในพ้นื ที่ พร้อมท้งั ทำแผนท่ี หม่บู ้านและกลุ่มตวั อยา่ งเป้าหมายทจี่ ะศกึ ษาและขอความอนุเคราะหผ์ นู้ ำชุมชนในการลงสำรวจพืน้ ที่ เนอื่ งจาก ผู้วจิ ยั เปน็ เด็กรุ่นใหม่ยงั ไมค่ ุน้ เคยกบั คนในชมุ ชนและยงั ไม่รูใ้ นเรอ่ื งพธิ ีกรรม และบางทา่ นยังไม่เข้าใจในแนวการ สัมภาษณ์ 4.2 ทำหนังสอื ขอความอนุเคราะห์พ้นื ทใ่ี นการเกบ็ ข้อมลู จากมหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บา้ นจอมบึง 4.3 จดั เตรียมเคร่ืองมือและอุปกรณใ์ นการเก็บรวบรวมข้อมลู ได้แก่ แบบสัมภาษณ์(แนวคำถาม) แบบสังเกต สมดุ โน้ต ปากกา ดนิ สอ ยางลบ เครอ่ื งบันทึกเสียง กลอ้ งถ่ายรปู และคอมพิวเตอรแ์ บบพกพา 4.4 ผวู้ ิจยั ทำหนังสอื ขอความอนุเคราะหใ์ นการเกบ็ ข้อมูล พร้อมทงั้ วนั เวลาที่จะลงภาคสนาม ไป ยังผ้นู ำชมุ ชน จากนั้นผวู้ จิ ยั ได้เข้าพบผู้นำชมุ ชนเพ่ือแจ้งวัตถุประสงคข์ องผวู้ จิ ยั ในการศึกษาขอ้ มูลในคร้ังน้ี และให้ ผ้นู ำชมุ ชนประชาสัมพนั ธ์ใหก้ ับประชาชนในหมู่บ้านทราบอีกคร้ังหน่ึง 5. การเขา้ เก็บขอ้ มูลในภาคสนาม ในการเขา้ ไปเก็บข้อมลู ภาศสนาม เพื่อเป็นการวางแผนในการศกึ ษาและเปน็ การสร้างความคนุ้ เคยกบั ชมุ ชนและกลุ่มตวั อย่าง ผวู้ จิ ัยได้ดำเนนิ การดงั ต่อไปน้ี 5.1 การแนะนำตัว ผวู้ ิจยั ร่วมประชุมกับผนู้ ำชุมชน ว่าผู้วิจัยจะขอเข้ามาทำการศึกษาวัฒนธรรม การอบรมเลยี้ งดูเดก็ ของชุมชนบ้านชากไทย รวมทั้งวถิ ชี วี ิตความเป็นอยู่ของชุมชนบ้านชากไทย 5.2 การทำแผนทห่ี ม่บู ้านผ้วู ิจยั นั้นได้เดินสำรวจหมบู่ ้านและลกั ษณะการต้งั บา้ นเรือนของชาว บ้านและกลมุ่ ตัวอยา่ งเพ่ือทำแผนทีไ่ ว้ใหส้ ะดวกต่อการไปเกบ็ ข้อมูล ในขณะเดียวกันผูว้ จิ ัยได้ทักทายพดู คยุ กบั ชาวบ้านและได้กลุม่ ตัวอยา่ งเพือ่ สร้างความค้นุ เคยก่อนการเกบ็ ข้อมูลจรงิ และไดเ้ หน็ สิ่งต่างๆทเ่ี กิดข้นึ มากมายรวม ท้งั การเล้ยี งดูเด็กของชาวบ้านนบั เปน็ ประโยชน์ทางอ้อมอีกประการหนึง่ ท่ผี ้วู จิ ัยได้นำมาใชป้ ระกอบการวิเคราะห์ ขอ้ มลู 5.3 การสมั ภาษณผ์ เู้ ชีย่ วชาญในการใหข้ ้อมูลซึ่งผ้วู ิจยั ไดแ้ บ่งสัดส่วนในการให้ข้อมูลจากกลมุ่ ตัว
14 อย่างของผู้เชยี่ วชาญในดา้ นต่างๆดงั น้ี 5.3.1 การสำรวจข้อมลู พื้นฐานในดา้ นข้อมูลและโครงสร้างทางกายภาพของหมู่บา้ นและ วัฒนธรรมประเพณตี ่างๆทเี่ กี่ยวขอ้ งกับการอบรมเลี้ยงดูเด็ก ผ้ใู หข้ อ้ มลู ตอ้ งเปน็ ผู้ที่อาศยั อยู่ในหมบู่ ้านเป็นเวลานาน มีความรเู้ กี่ยวกับความเป็นมาของหมู่บ้าน วฒั นธรรมประเพณี ผูเ้ ช่ยี วชาญที่ให้ข้อมูลเกี่ยวกบั การดูแลมารดาและ บตุ รก่อนคลอดและหลังคลอด รวมทง้ั ความเชื่อและข้อห้าม ข้อปฏิบตั ติ า่ งๆ ท่ตี ้องปฏิบตั ใิ นระหว่างการตง้ั ครรภ์ และหลังคลอด ตลอดจนการเลือกสมุนไพรในการดูแลมารดาและเด็ก ผ้ทู ีจ่ ะให้ข้อมูลจึงต้องเปน็ ผู้ทีม่ คี วามรู้ ความสามารถเฉพาะด้าน และเป็นทน่ี บั ถือของคนในชุมชน 5.4 การสัมภาษณผ์ ปู้ กครองเด็กแรกเกดิ จนถงึ 6 ขวบจากข้อมลู ที่ไดจ้ ากอาสาสมคั รของหมบู่ า้ น และจากการสำรวจขอ้ มลู เบ้ืองต้นของผู้วิจัยเอง ผู้วิจยั ไดเ้ ลือกกลุ่มตวั อย่างโดยใชเ้ กณฑ์ ดงั นี้ 5.4.1 เปน็ ครอบครวั ที่พ่อแมเ่ ป็นชาวชุมชนบา้ นชากไทย 5.4.2 เป็นครอบครัวที่อาศัยอยใู่ นหมบู่ า้ นมาเปน็ เวลานานต้ังแต่ 20 ปี 5.4.3 เปน็ ครอบครัวท่ยี นิ ดีท่จี ะให้ข้อมูลกบั ผ้วู ิจัยและแบ่งออกเปน็ ครอบครัวที่มีเด็กแรก เกิด - 6 ขวบ จากจำนวนครอบครวั ของกลมุ่ ตวั อยา่ ง 5 ครอบครัวแบง่ ตามชว่ งอายุได้ ดังน้ี - ครอบครวั ที่มีเด็กแรกเกดิ - 2 ขวบ จำนวน 2 ครอบครัว - ครอบครวั ทเ่ี คยมเี ด็กแรกเกิด – 6 ขวบ จำนวน 3 ครอบครวั 6. ประเดน็ ในการเก็บรวบรวมข้อมลู ภาคสนาม การเก็บรวบรวมข้อมลู ภาคสนามในครงั้ น้ีใช้ระยะเวลาในการจดั เกบ็ รวบรวมข้อมูลภาคสนามและจัด หมวดหมูข่ อ้ มูลต้งั แต่เดือน ธันวาคม 2564 – กมุ พาพนั ธ์ 2565 รวมระยะเวลาท้ังหมด 3 เดือน โดยมปี ระเดน็ การ เก็บข้อมูลในการศึกษา ดงั น้ี 6.1 ด้านโครงสรา้ งทางกายภาพและข้อมูลท่ัวไปชุมชนบา้ นชากไทย โดยพิจารณาถงึ 6.1.1 องค์ประกอบของครอบครัวเปน็ ครอบครวั เด่ยี วหรือครอบครวั ขยาย และสมาชิก ในครอบครวั ประกอบด้วยใครบ้าง 6.1.2 ความสัมพันธภ์ ายในครอบครัว โดยพจิ ารณาจาก โครงสรา้ งบทบาทหนา้ ทีข่ อง สมาชกิ ภายในครอบครวั และโครงสรา้ งอำนาจภายในครอบครัว เช่น การตัดสินใจในเรอ่ื งตา่ งๆ และ รูปแบบการปกครองภายในบ้าน เป็นตน้ 6.2 ดา้ นวฒั นธรรม ประเพณี ความเชอื่ เกย่ี วกับการอบรมเลี้ยงดูเดก็ ซ่งึ จะพิจารณาถงึ วฒั นธรรม ประเพณขี องชมุ ชน การประกอบพิธีกรรมทางศาสนาทเ่ี กี่ยวข้องกับการอบรมเล้ยี งดู 6.3 ด้านการอบรมเลี้ยงดู ซ่งึ จะพิจารณาถงึ 6.3.1 การปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ตี อ่ กิจวตั รประจำวนั ได้แก่ การฝกึ สุขนสิ ยั และลกั ษณะนิสยั ทดี่ ี
15 การสนับสนุนให้เด็กเลน่ /วธิ ีการ กิจกรรมทเ่ี ด็กได้ลงมือกระทำโดยผา่ นประสาทสัมผัสทง้ั 5 6.3.2 การส่งเสรมิ พัฒนาการของเด็ก 6.3.3 การปฏิบัตติ ่อเด็ก (คำพูดและวธิ ีการ) 6.3.4 การสังเกตพัฒนาการ 6.3.5 การเฝ้าระวงั ความผดิ ปกติ 7 . เทคนคิ ในการเก็บรวบรวมข้อมูล การเก็บรวบรวมข้อมูลในครง้ั น้ี ผูว้ จิ ัยได้ใช้เทคนคิ ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลหลายวธิ ีการประกอบการจด บันทึกข้อมลู ภาคสนาม และการบนั ทกึ เสยี ง ทั้งน้ีขน้ึ อยู่กับความเหมาะสมของโอกาส และระดบั ข้อมูลท่ตี ้องการจะ ไดร้ บั โดยรายละเอียดของวิธีการเก็บข้อมูลต่างๆ ดังน้ี 7.1 การสังเกตแบบมสี ่วนร่วม ในการศึกษาครง้ั น้ีใช้วิธกี ารสงั เกตแบบมสี ว่ นรว่ ม ในระยะแรกของการเขา้ สภู่ าคสนาม ผวู้ จิ ยั ใช้ วธิ กี ารดงั กล่าวในการสังเกตเกยี่ วกับการดำเนินชวี ิตประจำวนั ของชาวบา้ นการเขา้ รว่ มกิจกรรมตา่ งๆภายในหมู่ บ้าน และการหาเลย้ี งชีพว่า สมาชิกภายในหมู่บา้ นแตล่ ะคนมีบทบาทหนา้ ที่ หรือพฤติกรรมอย่างไร ต่อมาเม่ือผูว้ จิ ยั มีความคุ้นเคยและสนิทสนมกับชาวบา้ นแล้วและได้เลือกครอบครวั กลุ่มตัวอยา่ งเรียบร้อย จงึ ใชว้ ิธีการสงั เกตแบบมี สว่ นรว่ มในเกบ็ ขอ้ มูลเกี่ยวกบั พฤติกรรมของสมาชิกในครอบครวั ในการอบรมเล้ยี งดเู ด็ก ประกอบกับการใชว้ ธิ กี าร อืน่ ๆ ตามแตโ่ อกาสท่เี หมาะสม 7.2 การสงั เกตแบบไม่มีส่วนรว่ ม การสังเกตแบบไม่มีส่วนรว่ มในคร้ังนี้ ผวู้ จิ ัยใชศ้ กึ ษาข้อมลู เกยี่ วกบั ความสัมพันธ์ภายในครอบครวั พฤติกรรมของสมาชกิ ในครอบครัวและเครือญาติในการสือ่ สารระหวา่ งกันความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งครอบครวั และใน สภาพแวดลอ้ มตา่ งๆ ทั้งทางกายภาพและทางวฒั นธรรม ท้ังในระหวา่ งการพูดคุยสัมภาษณ์ สนทนา หรอื ขณะร่วม กิจกรรมอื่นๆ และทำการจดบันทกึ ส่ิงทีส่ ังเกตไดท้ ันที 7.3 การสมั ภาษณ์แบบไม่เปน็ ทางการ ในช่วงแรกของการเข้าสภู่ าคสนามจะใชว้ ธิ กี ารสัมภาษณ์แบบไม่เป็นทางการกับชาวบ้านและกล่มุ ตวั อย่าง ในเรอ่ื งของการดำเนินชีวิตโดยทว่ั ไป เช่น การหาเลีย้ งชีพ อาชพี สขุ ภาพรา่ งกายและความคิดเหน็ เกี่ยวกับ การดูแลเดก็ โดยทั่วไป ของชาวบา้ น เพือ่ ใหข้ ้อมูลเบ้อื งต้นทจ่ี ะแสดงให้เห็นภาพของความเปน็ อยขู่ องกลมุ่ ตัวอยา่ ง นจะนำไปสู่การตรวจสอบและวเิ คราะห์ข้อมูลประกอบกบั ขอ้ มลู ที่ได้มาจากวธิ กี ารอนื่ ๆ ต่อไป 7.4 การสมั ภาษณ์แบบเจาะลึก การศกึ ษาคร้ังน้ีใช้วิธีการสมั ภาษณแ์ บบเจาะลกึ เมื่อผู้วิจัยไดพ้ ดู คยุ เพ่ือสร้างความคนุ้ เคยกับกลุ่ม ตวั อยา่ งแลว้ กจ็ ะขออนุญาตกล่มุ ตวั อย่างในการสมั ภาษณ์ตามประเด็นตา่ งๆ ทีก่ ำหนดไว้ พรอ้ มกับขออนญุ าตใน
16 การใชเ้ ครอื่ งบนั ทึกเสยี ง เพื่อสัมภาษณ์แบบเจาะลกึ ในประเดน็ ของโครงสรา้ งทางครอบครวั การอบรมเล้ียงดูเด็กท่ี สัมพันธ์กับวฒั นธรรม ประเพณี พิธีกรรม ความเชอ่ื บริบทแวดล้อมทางสังคมและ บริบทแวดล้อมทางกายภาพตา่ งๆ 8. การตรวจสอบข้อมลู ในระหว่างการเกบ็ รวบรวมข้อมูล ผวู้ ิจัยจะทำการตรวจข้อมูลเป็นระยะๆ เพ่อื ใหม้ ั่นใจว่าไดข้ ้อมูลท่ีจะใช้ ประกอบการวเิ คราะห์ที่ถูกต้อง โดยใชก้ ารตรวจสอบแบบสามเส้า ดังนี้ - การตรวจสอบขอ้ มูลจากการสำรวจชุมชน โดยใชว้ ธิ กี ารตรวจสอบสามเสา้ ด้านวิธีการเกบ็ รวบรวมข้อมูล จะทำการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีท่ีตา่ งกัน คอื การสงั เกตแบบมสี ่วนร่วม การสมั ภาษณ์ และจาก เอกสารที่บันทกึ เพ่ือตรวจสอบข้อมลู ทไ่ี ดใ้ นเรอ่ื งเดยี วกนั แตจ่ ากวิธีการที่แตกต่างกนั มคี วามสอดคล้องและเชอ่ื ถอื ได้ หรือหากมีความแตกต่างกัน จะตอ้ งเกบ็ ข้อมูลเพมิ่ เติม - การตรวจสอบข้อมลู เก่ยี วกับประเดน็ ท่ีทำการศึกษา จะใช้วิธกี ารตรวจสอบสามเส้าดา้ นวธิ กี าร เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู และด้านข้อมูล ประกอบกับผ้วู จิ ยั จะทำการตรวจสอบข้อมูลโดยการใชว้ ธิ กี ารเก็บรวบรวมขอ้ มลู ทตี่ ่างกัน คือ การสังเกตแบบมสี ว่ นรว่ ม การสงั เกตแบบไม่ส่วนรว่ ม และการสัมภาษณว์ ่า ขอ้ มลู ท่ไี ด้ในเรอ่ื งเดยี วกัน แต่มาจากวธิ ีการเกบ็ รวบรวมข้อมลู ที่ต่างกนั จะมีความสอดคล้องหรอื มคี วามแตกต่างกัน หากข้อมูลทีไ่ ด้มคี วาม สอดคล้องกนั ย่อมหมายความว่าข้อมลู น้ันมีความน่าเชอื่ ถือไดใ้ นความถูกต้อง แต่หากขอ้ มลู ที่ได้รบั มีความแตกตา่ ง กนั ผู้วิจยั จะทำการเก็บรวบรวมข้อมูลเพม่ิ เตมิ เพ่ือหาข้อสรุปตอ่ ไป - การตรวจสอบจากแหล่งบุคคล ผู้วิจยั จะทำการตรวจสอบวา่ ถ้าบคุ คลให้ขอ้ มูลเปล่ียนไปขอ้ มูลที่ ได้จะเหมือนเดิมหรอื ไม่ โดยในกล่มุ ตัวอยา่ งทลายๆ คนแต่สมั ภาษณใ์ นประเด็นเดียวกันว่าจะเหมือนกนั หรือไม่ จากน้ันจงึ ทำการบันทึกข้อมูลเพอื่ เปรยี บเทียบความสอดคล้องหรือข้อมูลทแ่ี ตกต่างกนั และหาข้อสรุปท่ีเป็นข้อเทจ็ จรงิ ตอ่ ไปด้วยการอ้างอิงจากตำรา และหนังสอื 9. การวิเคราะห์ข้อมูล การวเิ คราะห์ข้อมูลเบ้ืองตน้ จะทำการวิเคราะห์ข้อมูลควบคู่กบั การบนั ทึกข้อมลู และตรวจสอบข้อมูลเป็น ประจำ และเก็บข้อมูลเพ่ิมเติมในครัง้ ต่อไปในข้อมูลท่ีขาด ขัดแย้งกันหรือไมช่ ัดเจน การวเิ คราะหข์ ้อมลู ในเบื้องตน้ จะเปน็ การวเิ คราะห์ข้อมลู แบบจำแนกชนิดข้อมูล โดยผวู้ ิจยั ได้แบง่ การจัดเก็บขอ้ มลู ออกเปน็ 3 ส่วนคือ 1. โครงสรา้ งทางกายภาพและขอ้ มูลทั่วไปชุมชนบา้ นชากไทย เป็นข้อมูลทไี่ ด้จากการสัมภาษณ์ กลุ่มตัวอยา่ งทเ่ี ป็นผเู้ ชยี่ วชาญในชุมชน และข้อมลู ที่ได้จากบันทึกเอกสารตา่ งๆ ในเร่ืองของประวตั หิ มู่บา้ น ลกั ษณะ ของบา้ นเรือน การดำเนนิ ชีวิต ความสัมพันธ์ในครอบครัว การสร้างครอบครัวการแต่งงานและการมีบตุ รตลอดจบ ประเพณวี ัฒนธรรมตา่ งๆ ของเมีย่ น ความเชื่อ พธิ ีกรรม ข้อหา้ มข้อปฏบิ ตั ิ สมนุ ไพรท่เี กย่ี วการอบรมเลี้ยงดูเดก็
17 2. โครงสร้างด้านวัฒนธรรม ประเพณี ความเชอื่ เกย่ี วกับการอบรมเล้ยี งดูเดก็ ในปจั จุบนั เปน็ ข้อมูลที่ได้จากการสมั ภาษณ์ กลุ่มตวั อย่างที่เป็นผูเ้ ชีย่ วชาญ และผูป้ กครอง การสังเกต และข้อมลู เอกสาร ในเรือ่ ง ของการเปลยี่ นแปลงของชมุ ชน ในด้านวัฒนธรรม ประเพณี ภาษา ลกั ษณะของความเช่อื ในการเล้ยี งดเู ด็กใน ปจั จุบนั 3. วัฒนธรรมการอบรมเล้ยี งดเู ด็ก เป็นข้อมลู ท่ไี ดจ้ ากการสมั ภาษณ์ สังเกต กลุ่มตัวอย่างท่ีเป็น ผู้ปกครอง เกี่ยวกบั วัฒนธรรมการอบรมเลยี้ งดเู ด็ก รูปแบบการเลี้ยงดูเด็ก บทบาทหน้าที่ในการเลี้ยงดูเดก็ และ ตอบสนองความต้องการใหก้ ับเด็กในดา้ นต่างๆข้อมลู ที่ไดม้ าจากวธิ กี ารทตี่ ่างกนั ผู้วิจัยจะทำการตรวจสอบข้อมูล เพอ่ื หาแบบแผนในสถานการณต์ า่ งๆ แลว้ นำขอ้ มูลมาเรียงลำดบั ตามความเหมาะสม โดยใช้ความสมั พันธ์ระหว่าง ของขอ้ มูลท่มี ีเหตุมผี ล เพ่อื นำมาสรา้ งเป็นข้อสรปุ ข้อมลู สว่ นขอ้ มลู ท่ีเป็นความคดิ การให้คุณคา่ ในเรือ่ งต่างๆ ผวู้ ิจัย จะใช้วิธกี ารตีความโดยใชพ้ ื้นฐานจากขอ้ มลู เอกสารตา่ งๆที่ผ้วู จิ ยั ไดค้ ันคว้าในชว่ งก่อนของการเตรยี มตัวสภู่ าคสนาม ในการศึกษาครง้ั นีผ้ ู้วจิ ยั ใช้การวเิ คราะหข์ ้อมลู โดยจดั ประเภทข้อมลู สรุปแบบอุปนัยและสรปุ แบบตคี วาม ทัง้ ข้อมลู ทีร่ วบรวมได้ในสว่ นท่ีเปน็ ข้อมลู ท่ีเป็นเอกสารในพ้ืนที่ และข้อมูลท่ีได้จากการสัมภาษณ์ ป้องกนั ปญั หาการ ยดึ ติดในกรอบแนวคิดท่ผี ู้วิจยั สร้างข้ึนจะตีความบนพน้ื ฐานของทัศนะและความหมายของผ้ใู หข้ อ้ มลู ศึกษาเป็นหลกั 10. การนำเสนอรายงาน การเขียนรายงานและนำเสนอข้อมูลในการศึกษาในคร้ังนี้ ใช้วิธีการพรรณนาประกอบการวเิ คราะห์และ รูปภาพตา่ งๆ ประกอบการพิจารณา
18 บทท4ี่ ผลกรวิจัย ผู้วจิ ยั จะนำเสนอขอ้ มลู ของชมุ ชนท่ีศกึ ษาเพ่ือให้เขา้ ใจถึงสภาพท่วั ไปของหม่บู า้ นเปา้ หมายท่ีเป็นชนบ้านชาก ไทย ท้ังในด้านของวิถีการดำเนนิ ชีวิต วัฒนธรรม ประเพณี พธิ ีกรรม ความเชื่อ การดูแลหลงั คลอด บทบาทหน้าที่ รูปแบบทีเ่ กี่ยวข้องกับการอบรมเลีย้ งดเู ดก็ ปฐมวยั ชนบ้านชากไทยตลอดจนการอบรมเลยี้ งดเู ด็กในด้านของการ สง่ เสริมพฒั นาการทง้ั 3 ด้านของเด็กปฐมวยั โดยแบ่งผลการศกึ ษาดังน้ี 1. ด้านโครงสร้างทางกายภาพและขอ้ มลู ทวั่ ไป 2. ด้านวัฒนธรรม ประเพณี ความเชือ่ เกี่ยวกับการอบรมเลยี้ งดเู ด็ก 3. ดา้ นการอบรมเล้ียงดู 1. ดา้ นโครงสร้างทางกายภาพและบริบทของชุมชน ในการเก็บข้อมลู และการลงพน้ื ที่เปา้ หมาย ผ้วู จิ ยั ได้กำหนดเป้าหมายผปู้ กครอง 5คน ดงั น้ี 1.บ้านชากไทย หมู่4 ตำบลชากไทย อำเภอเขาคิชฌกฏู จงั หวดั จันทบรี ซ่งึ ผวู้ จิ ัยสามารถลงเก็บข้อมูลได้ครบท้ังหมดในการเก็บขอ้ มูลภาคสนามและ การลงพน้ื ท่เี ป้าหมาย ผูว้ ิจัยไดก้ ำหนด พ้นื ท่เี ป้าหมายไว้ 1 จังหวดั 1 หมูบ่ า้ น ดงั น้ี 1.บ้านชากไทย ตำบลชากไทย อำเภอเขาคิชฌกูฏ จังหวดั จันทบรีซง่ึ ผวู้ จิ ัยสามารถลงเกบ็ ข้อมลู ได้ มีลักษณะโดยทวั่ ไปท่ี หม่บู ้านชากไทยมลี กั ษณะภมู ปิ ระเทศ เป็นที่ราบรุ่ม สงู ตำ่ สลับกนั ไป 1.1 ลกั ษณะภมู ิประเทศและภูมอิ ากาศ ลกั ษณะภูมิประเทศโดยทวั่ ไปเป็นภเู ขาสูงชัน เนอื่ งจากการดนั ตวั ของเปลือกโลก หินฐานเป็นหนิ อคั นี พวกหินแกรนิต ยุคจแู รสสคิ มอี ายปุ ระมาณ 135-180 ล้านปี ทางดา้ นทิศตะวนั ออกจะมคี วามลาดชันมาก แนวสันเขาวางตัวไปในแนวตะวนั ตกเฉยี งเหนือ-ตะวนั ออกเฉยี งใต้ เชงิ เขาดา้ นตะวันออกเฉยี งใตม้ ีความลาดชนั นอ้ ย มียอดเขาพระบาทเปน็ ภูเขาสงู สุด สูงจากระดบั น้ำทะเลประมาณ 1,085 เมตร มีที่ราบอยู่ทางทศิ ตะวันตกเพยี งเล็กน้อย บนเขาพระบาทมหี นิ ก้อนใหญล่ กั ษณะกลมเกล้ียงกระจายอยู่ท่ัวไป โดยเฉพาะบริเวณ รอยพระพุทธบาทมหี นิ กอ้ นใหญม่ าก สามารถมองเหน็ ได้จากพืน้ ราบนอกเขตอทุ ยานแห่งชาติ เทอื กเขาสงู ใน อุทยานแหง่ ชาติเขาคชิ ฌกูฏเปน็ แหลง่ ต้นน้ำลำธารของลำห้วยท่ีสำคญั เชน่ คลองกระทิง คลองตะเคยี น คลอง ทงุ่ เพล คลองพลวง เปน็ ตน้ ลำนำ้ เหลา่ นี้เปน็ แหลง่ ตน้ นำ้ ท่ีสำคัญของแม่น้ำจนั ทบุรี
19 ลกั ษณะภมู อิ ากาศ ลักษณะภูมิอากาศบริเวณอุทยานแห่งชาตเิ ขาคิชฌกฏู อยภู่ ายใต้อทิ ธพิ ลของลมมรสุม ตะวนั ออกเฉยี งเหนือ และลมมรสมุ ตะวันตกเฉยี งใต้ โดยช่วงตัง้ แตก่ ลางเดอื นตุลาคมถงึ กลางเดอื นกุมภาพันธ์ อากาศหนาวเยน็ ทอ้ งฟา้ โปร่ง ในชว่ งกลางเดอื นพฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคมจะมีความชืน้ ในอากาศสงู เกิดเมฆ และฝนตกหนกั ปริมาณนำ้ ฝนเฉลยี่ ปลี ะ 2,900 มิลลเิ มตร ชว่ งฤดูรอ้ นระหวา่ งเดือนกุมภาพนั ธ์-เดือนเมษายน เป็น ชว่ งเวลาทเี่ ปล่ยี นอทิ ธิพลจากลมตะวันออกเฉียงเหนือเป็นลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ อุณหภูมเิ ฉลย่ี ทงั้ ปี 27 องศา เซลเซียส ภาพที่ 4.1 การเดินทางเข้าสหู่ มบู่ า้ น ภาพที่ 4.2 บรรยากาศในหมู่บา้ น 1.2 ลกั ษณะของประชากร ลักษณะประชากรของหมบู่ า้ นชากไทย สว่ นใหญ่จะมอี าชีพทำสวนผลไม้ คา้ ขาย คนเหล่านจ้ี ะมาสรา้ งบา้ นเรือนในหมู่บ้านและอีกบางสว่ นแต่งงานกบั หนมุ่ สาวในหมบู่ า้ น ผู้คนในหมบู่ ้านส่วนใหญ่ จะเป็นผเู้ ฒา่ ผแู้ ก่ กับเดก็ ปฐมวยั และเด็กทีย่ ังเรยี นในระดบั ชน้ั ประถมศึกษา สว่ นหนมุ่ สาวท่ีเรียนจบมัธยมศึกษาปีที่ 3 หากไม่เรยี นต่อในระดับที่สูงขึน้ กจ็ ะไปทำงานในตัวจังหวัด หรอื ต่างจังหวดั และต่างประเทศ ส่วนผ้ทู ีศ่ ึกษาต่อใน ระดับอุดมศึกษาจะต้องเขา้ ศึกษาในตวั อำเภอ และตวั จังหวดั ซึ่งจะต้องไปเชา่ หอพักอยู่ในเมือง นานๆ คร้ังจะได้
20 กลบั บา้ น ที่นึง กต็ อนตรษุ จีนนน้ั แหละ สว่ นคนทีอ่ ยตู่ ่างประเทศ ประชากรที่อยู่ในหมบู่ ้านสว่ นใหญ่จะเปน็ ผู้ปกครองรุ่นอายุ 30 ปีขน้ึ ไป และเด็กเล็กระดับปฐมวยั 1.3 ลกั ษณะทางกายภาพ การสรา้ งบา้ นเรอื น ลกั ษณะทางกายภาพของการตัง้ บา้ นเรือนของชุมชนบา้ นชากไทยส่วนใหญ่จะเปน็ บา้ นชนั้ เดยี วทำดว้ ยปูนอิฐ จากท้งั 8 หม่บู า้ น สว่ นใหญ่จะสร้างบ้านดว้ ยปูน ระดับฐานะปานกลาง และสร้างบ้านดว้ ยกระเบื้อง ซเี มนต์และ หลังคาใช้กระเบอื้ งลอน จะมีฐานทีร่ ำ่ รวยกวา่ คนอ่ืนๆ ภาพท่ี 4.3 ลักษณะการสรา้ งบา้ นเรอื นของชุมชนบ้านชากไทย 2. ด้านวัฒนธรรม ประเพณี ความเชอ่ื เกยี่ วกบั การอบรมเลี้ยงดูเด็ก ชุมชนบ้านชากไทยมีทรัพยากรอุดม สมบูรณ์ มชี วี ิตความเป็นอยู่ท่ีเรยี บง่าย อุปนิสยั ดัง้ เดิมของคนจันทบรุ ี เป็นคนใจดมี เี มตตากรณุ าสงู เข้มแข็ง อดทน หากเราได้ศกึ ษาถึงชวี ติ ความเปน็ อยขู่ อง บรรพบรุ ุษท่ีไดส้ รา้ งสรรคส์ ่งิ ดงี ามเอาไว้ ก็เท่ากับเราไดช้ ่วยสบื สาน วัฒนธรรมขนบธรรมเนียมประเพณที ี่มีคุณค่าน้ี ไว้ เชน่ การแตง่ กาย การกนิ อยู่ กริ ยิ ามารยาท ประเพณีท่ีคนใน ท้องถนิ่ ยึดถือปฏิบตั ิ เปน็ ต้น 1.การแตง่ กาย การแตง่ กายของชาวบา้ นชากไทยไดพ้ ัฒนามาตามยคุ ตามสมยั อย่างทเี่ ปน็ อยู่ในปจั จบุ ันมี ความ ใกลเ้ คยี งกบั ภาคกลางมาก ในอดีตชาวจนั ทบุรีจะนยิ มทอผา้ ใชก้ ันเองแทบทุกครัวเรือน แตต่ ่อมาเม่ือมเี สื้อผา้ สำเร็จรปู จำหนา่ ยผ้คู นจงึ นิยมซอื้ หามาใช้มากข้ึน ชายฐานะดีนิยมน่งุ กางเกงแพรสีดำเรยี กวา่ ปงั ล้นิ (ปงั หลนิ ) ถา้ เป็นคนหนุ่ม จะนุ่งกางเกงแพรหลากสีสวมเส้อื คอกลม แขนสน้ั แบบเสื้อกยุ เฮง แต่ก็ยังมบี างส่วนทน่ี ิยมนุง่ โจง กระเบน และขณะ อยู่กับบ้านจะนุง่ กางเกงขากว๊ ย ผ้าขาวมา้ คาดเอวผ้หู ญิง เมือ่ อยู่บา้ น จะนงุ่ ผ้าถุงสวมเสื้อคอ กระเชา้ หรือใช้ผา้ คา ดอกกบั ผ้าโจงกระเบน ส่วนผูส้ ูงอายุนุ่งผา้ โจงกระเบน สวมเส้ือคอกระเช้า เมอ่ื ไปงานพิธกี าร ตา่ ง ๆ นิยมสวมเสอ้ื คอ กลมแขนสัน้ และเสอ้ื คอกลมแขนกระบอก การแต่งกายของชาวตราดในอดีต เป็นตวั อยา่ งท่ี ดีแก่อนุชนรนุ่ หลงั เรื่อง ความประหยดั ในการเลอื กใชเ้ ส้ือผ้าตามฐานะความเปน็ อยู่ ตลอดจนรูปแบบการสวมใสย่ ัง
21 คำนงึ ถงึ วัฒนธรรมอันดี งาม และความเหมาะสมกับสภาพดินฟ้าอากาศของเมืองตราดอีกด้วย โดยเดก็ นั้นจะสวม ใสเ่ สือ้ ผ้าปกติด้วยเสื้อยืด และกางเกงผ้าทัว่ ไปตามบริบทของกาลเทศะไมม่ ีชุดปรจำถ่ิน 2.ประเพณีทคี่ นในท้องถ่นิ ยึดถอื ปฏบิ ตั ิ ประเพณที ี่คนในท้องถิ่นยึดถอื ปฏิบัติ เป็นวถิ ชี ีวิตต้งั แต่เกิด จนกระทง่ั ตาย เชน่ ประเพณเี กีย่ วกบั การเกดิ การบวช การแต่งงาน การปลูกสรา้ งบา้ นเรอื น และการตาย ทแ่ี ฝง ไปดว้ ยลักษณะขัน้ ตอน พิธกี าร ตลอดจน ความเชื่อ ข้อห้ามข้อปฏิบัติ ที่มีคณุ ค่าควรแกก่ ารบนั ทึกไวใ้ ห้อนชุ นรนุ่ หลังไดศ้ ึกษาเพ่อื สืบทอดคุณลักษณะที่ดีงาม 2.1การเกดิ สมยั กอ่ นการแพทย์แผนปจั จบุ ันไม่เจรญิ กา้ วหน้าเช่นปจั จบุ นั น้ี การคลอดบุตรจะคลอดที่ บ้านเมอ่ื มคี นครรภแ์ กใ่ กล้คลอด ญาตจิ ะไปตามหมอตำแยมาคอยชว่ ยเหลอื ดูแลอยา่ งใกลช้ ดิ (หมอตำแย คือ หมอ ท่ี ทำคลอดซ่ึงเป็นคนในหมู่บ้าน) คำสอนทป่ี ฏิบตั ิสบื กนั มา ระหว่างต้ังครรภ์จะต้องทำจิตใจให้ผอ่ งใส ทำบญุ ให้ ทาน สวดมนตไ์ หว้พระเจรญิ ภาวนา แผ่เมตตาและต้ังจติ อธิษฐานใหล้ กู มีอาการครบ ๓๒ วา่ นอนสอนงา่ ย มี สตปิ ัญญา เฉลียวฉลาด อีกประการหน่ึงทนี่ า่ สนใจคือ ผูใ้ หญ่จะห้ามหญิงต้ังครรภ์ห้ามนงั่ ขวางประตู ห้ามนั่งคา บรรได ห้ามกินไกย่ างท่ีไม่ดรึ วดออก เพราะจะทำให้คลอดลูกยาก ห้ามกินโอเล้ยี งของดำๆ เพราะจะทำให้ลูกตวั ดำ ห้ามกินของกับทบั พเี พราะจะทำให้ลูกเกิดมาปากใหญ่ เมอ่ื คลอดลกู แลว้ หมอตำแยจะตดั สายสะดือเดก็ แต่กอ่ นจะตดั สายสะดือต้องดูวา่ รกออก หมดแลว้ หรอื ยัง ถ้ายงั ไม่ออก ต้องเอารก ออกใหห้ มดก่อน (เพราะรกเปรียบเสมอื นปอดของเด็ก) แลว้ จึงค่อยตัด สายสะดือ ซงึ่ ต้อง ใช้ด้ายมัดไว้ท้ังสองส่วน คอื ส่วน ทต่ี ิดกบั ตวั เด็กและส่วนท่ตี ดิ กบั รก ตดั สายสะดอื ด้วยไม้หลอด (เปน็ ไมต้ ระกูลไม้ ไผท่ ีใ่ ช้ทำเปน็ หลอดป่ันดา้ ยสมัยกอ่ นจึงเรียกวา่ ไมห้ ลอด) เสร็จแล้วจึงนำเดก็ ไปทำความสะอาด จากนน้ั ก็เอาผ้าห่อ เด็กเพื่อใหเ้ กดิ ความอบอุ่น ช่วงนีจ้ ะมญี าติผูใ้ หญ่เอากระด้ง ทป่ี ูด้วยผา้ มารับเด็กถา้ เป็นเด็กชาย จะใส่สมดุ ดนิ สอ ไวใ้ นกระด้งดว้ ยมคี วามเชอ่ื ว่าเดก็ คนนีจ้ ะไดเ้ รยี นเกง่ ถา้ เป็นเดก็ หญิงจะใส่เขม็ ดา้ ยเชอ่ื วา่ โตข้ึนจะ ไดเ้ ป็นแม่บ้าน แม่เรอื น คนทเี่ อากระดง้ มารับเดก็ น้นั เขาจะเรียกวา่ “แม่ทูนหวั ” เม่ือลกู ออกจากท้องแล้ว หมอตำแยจะเอายาประสะผวิ มะกรดู เป็นยาขบั เลอื ด ใหแ้ มก่ นิ ส่วน รกนัน้ เอา เกลือโรยแล้วหอ่ ผ้าไป ฝังไว้ ทใ่ี จกลางเตาไฟใต้แคร่ท่ีแมอ่ ยู่ไฟ ซึ่งเรียกว่าหม้อรก หม้อราก รกจะแหง้ ไป เอง หรือ นำใส่หมอ้ ดนิ ไปฝังไวท้ ี่ต้นไม้มีทีม่ ีมงคลนามเชน่ ตน้ ขนุน เป็นทีม่ าของคำถามว่ามีรกรากอยทู่ ่ีไหนก็คือ ถิ่น ทีเ่ กิด นน่ั เอง เม่ือคลอดบุตรแล้วตอ้ งอย่ไู ฟ 3 เดือน โดยการทับหมอ้ เกลือ ใชอิฐแดงเผาและใชน้ ้ำเกลอื ราดห่อใบพบั พึง นำมาทบั ท้อง ขับน้ำคาวปลา เพอื่ ใหร้ า่ งกาย เกิดความอบอุ่นทง้ั แม่และลูกการอยู่ไฟจะต้องมี ยนั ต์ตรนี สิ งิ เห และ ผูกสายสญิ จน์ล้อมรอบบริเวณห้องที่อยูไ่ ฟ คนไปเย่ียมต้องรเู้ คลด็ ห้ามพูดว่าร้อนและไม่ให้ทัก เดก็ ว่าน่ารัก ใหท้ ักว่า นา่ เกลยี ดนา่ ชงั เปน็ ต้น หญงิ หลังคลอดต้องงดของแสลงอยา่ งน้อย 4 เดือนไดแ้ ก่ แตงโม แคนตาลูป ของทะเล ไก่ หนอ่ ไม้ ของหมัก ดองเชือ่ วา่ หากไม่งดของแสลงจะทำให้เปน็ ผลเสยี แก่ร่างกายเมือ่ อายมุ าก เชน่ หรู ดู กระเพาะปสั สาวะเส่ือมทำให้
22 กล้ันปัสสาวะไม่อยู่ ถ้าอยไู่ ฟน้อยวนั เกินไป เม่อื เห็นฝนตั้งเค้าจะมีอาการหนาวสัน่ ถ้าต้องการมนี ้ำนมมากให้กนิ แกง เลียงหวั ปลี ให้มดลูกเข้าอ่เู รว็ ต้องทับหมอ้ เกลอื ใหร้ ่างกายสดช่ืนแขง็ แรงต้องเข้า กระโจมอบสมุนไพร และรกั ษา แผลช่องคลอดดว้ ยการอบสมุนไพร ความเช่ือทนี่ ่าสนใจอีก เร่อื งหน่งึ คือ เม่ือสะดือ เด็กหลดุ แลว้ รักษาแผลสะดือ โดยใช้พิมเสนโรยรกั ษาแผลส่วนสายสะดือน้นั เกบ็ ไว้ เวลาเดก็ ปวดทอ้ งใหเ้ อาสาย สะดือมาฝนกบั เหลา้ ใหเ้ ด็กกิน และเมื่อมลี ูกคนต่อ ๆ ไปกจ็ ะนำสายสะดือไปเก็บไว้รวมกันเช่ือวา่ เดก็ จะรัก สามัคคี ไมร่ งั แกกัน แม้เปน็ ลกู ผพู้ ่ีผ้นู ้อง ทีอ่ ยบู่ ้านเดยี วกันก็จะเอาไว้รวมกนั ดว้ ย การเกิดลมื ตามาดูโลกภายใต้ความอบอุ่นเช่นนปี้ ระกอบกบั ความเชอื่ ใน เรือ่ งตา่ ง ๆ ท่ี เปน็ ภูมปิ ัญญาถา่ ยทอด กนั มานับเป็น วิถีชวี ิตท่นี ่าศกึ ษาอย่างยิง่ มิใชเ่ รื่องเหลวไหล แตม่ ีเหตมุ ผี ลใน ตวั เองทกุ เรอ่ื ง จึงทำให้ครอบครวั มีความเป็นอยู่ที่อบอนุ่ มีความผูกพนั ฉันญาติมติ ร คอยช่วยเหลอื เกือ้ กลู กนั ตลอด มา ประเพณีของชุมชนบา้ นชากไทย หรือส่วนประชุมชน หมายถงึ ประเพณที ่สี ่วนรวมของสงั คมท่ีคณะบคุ คล หรือกลมุ่ คนในสังคมจดั ข้นึ อันเป็นผลมาจากแนวคดิ ความเช่อื ปรชั ญาสงั คมทร่ี ับสบื ทอดกันมาเพื่อเปน็ สริ ิมงคล แก่คนในสงั คม หรอื เพื่อ ความสนุกสนานรืน่ เรงิ ประจำเทศกาล เชน่ ตรษุ สงกรานต์ เทศกาลเข้าพรรษา การทำ ขวญั ข้าว ทอดกฐิน ลอย กระทง ซงึ่ นำมากลา่ วเปน็ เดอื น ๆ ดังนี้ เดอื น ๕ ตรงกับประเพณตี รุษสงกรานตถ์ ือเป็นวันขึ้นปใี หม่ของไทย วัดต่าง ๆ ในจังหวัดตราดจะ ทำบุญ ตดิ ต่อกัน หลายวันและกำหนดใหว้ ันหน่งึ เปน็ วันทำบญุ ฉลองทราย วัดที่อยู่ในละแวกเดยี วกนั จะกำหนดวนั ฉลอง ทรายไม่ให้ตรงกัน เพ่ือจะได้นิมนตพ์ ระวัดใกลเ้ คียงมาร่วมงานทำบุญฉลองทรายดว้ ย การทำบุญฉลองทราย เปน็ อบุ ายของบรรพบรุ ุษที่สอนให้ลกู หลานขนทรายไปคนื วดั เนื่องจากทุก คนท่ีไปวัด ไดเ้ คยไป เหยยี บเอาดินเอาทราย ของวดั ออกไป เกรงวา่ จะเปน็ บาปติดตวั ดังนั้น กอ่ นวนั ทำบุญฉลอง ทราย ๑ วนั ชาวบา้ นท้ังคนแก่ หนุ่มสาว และ เด็ก จะช่วยกันขนทรายมากอ่ เป็นเจดีย์ นำธงสีต่าง ๆ มาประดับ และวนั รุ่งขี้นจะมารว่ มทำบุญฉลองทราย วนั น้จี ะ มีคนมาทำบญุ มากกว่าทุกวันที่ผ่านมา บางวัดหลังจากทำบุญแล้ว ชาวบ้านจะชวนกนั เลน่ สะบ้าล้อ หรือนดั หมาย กันอยสู่ รงนำ้ พระผูใ้ หญ่ เสร็จแลว้ จะชกั ชวนกันไปรดน้ำขอพรจาก ผใู้ หญใ่ นครอบครัวตนเองหรือผู้เคารพนบั ถอื ใน หมู่บ้านต่อไป นอกจากนี้ บางหมบู่ ้านยังมีประเพณขี อทานโดยชาวบ้านจะนัดหมายรวมกลุ่มกัน เดอื น ๕ ตอ่ เดอื น ๖ มเี ทศน์มหาชาตซิ ่ึงชว่ งน้เี ปน็ ฤดผู ลไม้ ชาวบา้ นจงึ ไดน้ ำผลไม้ชนิดตา่ ง ๆ มาตกแตง่ บริเวณพิธี สมมติให้เปน็ ป่าหิมพานต์ ในคืนก่อนวนั เทศน์มหาชาตติ ้องนมิ นต์พระมาเทศนค์ าถาพัน (เทศน์มหาชาติ เป็นภาษาบาล)ี ใช้เทียน ๑,๐๐๐ เล่มบูชาคาถาพนั และทำนำ้ มัน นำ้ มนต์ วนั ร่งุ ขี้นทำบุญถวายภตั ตาหารแด่ พระภกิ ษสุ งฆ์และเร่ิมเทศน์กัณฑ์ที่ ๑ ถงึ กณั ฑ์ที่ ๑๓ เม่ือการเทศนจ์ บลง ผ้ทู อี่ ยู่ในบริเวณพิธจี ะนำผลไม้ไปกิน นำ น้ำมนต์ น้ำมันไปดื่มไปทา เพื่อเปน็ สริ ิมงคลแก่ตนเองและครอบครวั เดอื น ๖ ข้ึน ๑๕ คำ่ วันวสิ าขบูชาตอนเช้า พทุ ธศาสนิกชนพร้อมใจไปทำบุญยังวัดต่าง ๆ ตอนค่ำทุกวัดจดั เวยี นเทยี นและแสดงธรรมแก่ประชาชน ในเดือนน้ี ยงั มีประเพณีทำบญุ ถวายสลากภตั เน่ืองจากเปน็ ฤดผู ลไม้แต่ ละวัดจะ แจกสลากภัตในวันทีม่ ีคนมาทำบุญ โดย นมิ นต์พระสงฆ์จากวัดใกล้เคยี งมารับสลากภัต ทพ่ี ุทธศาสนิกชน จัดเตรียมมาถวาย มักเป็นผลไม้ท่ีหาได้ใน
23 เรือกสวนไร่นาของตน ใสภ่ าชนะทีส่ านจากไม้ไผห่ รอื อืน่ ๆ ก็ได้ตามแต่ สะดวก พร้อมจดั อาหารคาวหวานไปทำบญุ ถวายทานดว้ ย เดอื น ๗ ขึ้น ๕ คำ่ สารทขนมจ้าง ชาวบา้ นจะหอ่ ขนมจา้ งหรือขนมตา่ ง ๆ ไหวบ้ รรพบุรุษ โดยใช้ ข้าว เหนียวขาวแช่กบั น้ำด่างที่ได้จากขี้เถ้าไม้โกงกาง แลว้ นำมาห่อดว้ ยใบเละเป็นรปู สามเหลี่ยมมีสม่ี ุม มัดเปน็ พวง แลว้ นำไปต้มให้สกุ จ้ิมนำ้ ตาลอ้อย หรอื ใสน่ ้ำเช่ือมรบั ประทาน ในวนั นชี้ ุมชนทีอ่ ยรู่ มิ แม่นำ้ ลำคลองจะมปี ระเพณี การ แขง่ เรือดว้ ย เดือน ๘ ข้ึน ๑๕ คำ่ วันอาสาฬหบชู า ตอนเช้าพุทธศาสนิกชนจะทำบุญตักบาตร ฟังธรรม รักษาศีล ตอน ค่ำเวยี นเทยี น เดอื น ๙ กลางเดอื น เทศกาลสารทจีน คนจนี เซ่นไหว้บรรพบรุ ษุ ด้วยขนมมัดไต้ ขนมเทยี น ซาแซ โง้ว แซ ชกิ แซ (ไหว้ดว้ ยของคาว ๓ อยา่ ง ๕ อย่าง ๗ อย่าง เช่น หมู ไก่ เปด็ กงุ้ ปู ไข่ต้ม หรือหมกึ แหง้ ) ตามฐานะ ข้าว อาหารหวานคาว คนไทยไปทำบญุ ทวี่ ัดเพื่ออุทศิ ส่วนกุศลใหก้ ับบรรพบุรุษ ตามความเชือ่ การเซน่ ไหวไ้ ม่ใช้ อาหาร ประเภทแกงเพราะมรี สเผด็ ร้อน เดอื น ๑๐ สิน้ เทศกาลสารทไทย แต่เดิมชาวบ้านจะกวนกระยาสารท เพื่อ นำไปทำบุญถวายพระตาม ประเพณีโบราณ จะกวนกระยาสารทกันแทบทุกบ้าน เพ่อื ใหเ้ หลือเกบ็ ไว้เล้ยี งลูกหลาน ในครอบครวั ไดน้ าน ๆ เทศกาลน้ีชาวบา้ นมีความเชื่อว่า ยมบาลจะถือศีล ๓ วัน ปล่อยให้เปรตและวญิ ญาณ ทั้งหลายเปน็ อสิ ระมีโอกาส ได้รับสว่ นบญุ ส่วนกุศล พทุ ธศานกิ ชนพรอ้ มใจกันไปทำบุญที่วัดและบังสุกุลให้บรรพ บรุ ุษทีล่ ่วงลบั ไปแล้ว ดงั นั้นการ เดอื น ๑๑ ขึ้น ๑๕ คำ่ วันออกพรรษาเปน็ วันสน้ิ สุดการจำพรรษาเป็นเวลา ๓ เดอื น หรอื เรยี กว่า วนั ปวารณา คือ เป็นวันที่พระสงฆก์ ลา่ วคำปวารณา เปิดโอกาสให้พระสงฆด์ ว้ ยกนั วา่ กล่าวตักเตือนกันได้พระรูปใด มี ขอ้ ข้องใจเกีย่ วกบั วินยั สงฆ์อนุญาตให้บอกกนั ได้ พุทธศาสนิกชนพรอ้ มใจกันทำบุญยังวัดต่าง ๆ ทวั่ ท้ังจังหวดั ถ้าวัด ใดจัดให้มี งานตักบาตรเทโว ผู้ท่มี าทำบญุ จะอยูช่ ่วยเตรยี มงานสำหรบั วนั รงุ่ ข้นึ สะท้อนใหเ้ ห็นถึงความศรัทธา อย่างแรงกล้าต่อพระพุทธศาสนา เดอื น ๑๒ ขนึ้ ๑๕ คำ่ วันลอยกระทง การลอยกระทงเป็นประเพณีที่สบื ตอ่ กันมาจากอดีตโดยเชอื่ ว่า ใช้ กระทงนำเคร่ืองบชู าไปบูชารอยพระพุทธบาท ณ รมิ ฝงั่ แม่นำ้ นัมทามหานที และขอขมาพระแมค่ งคา ดงั นั้น ชาวบา้ นและวดั ตา่ ง ๆ ทอี่ ยู่ใกล้แมน่ ้ำลำคลองจะร่วมกนั จัดงานลอยกระทงขึน้ โดยใชว้ ัสดุธรรมชาติมาประดษิ ฐ์ กระทง เดือนยี่ต่อเดือนสาม เทศกาลตรุษจีน ชาวตราดท่มี เี ช้ือสายจีนจะเตรียมขนม และเครื่องเซน่ ไหว้ สำหรบั ไหว้เจา้ เจ้าที่ และ บรรพบรุ ุษ โดยจัด ดงั น้ี ไหวเ้ จา้ และเจ้าท่ี ใชข้ นมมดั ไต้ ขนมเทยี น ขนมเข่ง ซาแซ โง้วแซ ชิก แซ ตามฐานะ และผลไม้มงคล ไหวบ้ รรพบุรุษใชข้ ้าวสี่ถว้ ย สำรบั อาหารคาวหวาน ขนมมัดไต้ ขนมเทยี นขนมเข่ง และผลไม้ ตามธรรมเนียมท่ีปฏบิ ัตสิ บื กันมาเพื่อแสดงความกตัญญูกตเวทโี ดยเช่อื ว่าบรรพบรุ ษุ จะค้มุ ครองให้อยู่เย็น เปน็ สุขทำมาคา้ ขนึ้
24 3. ประเพณที ีช่ าวจันทบรุ ีถือปฏบิ ัติสบื ทอดกันมา ล้วนแตเ่ ป็นส่งิ ทม่ี คี ุณคา่ ควรแกก่ ารศกึ ษาท้ังสิ้น สอดแทรกสาระ คณุ ธรรม ความเชื่อนับเปน็ วิธีการอนั แยบ ยลของบรรพบุรุษซ่งึ แสดงใหเ้ ห็นภมู ธิ รรม ภมู ิปัญญาในการส่ังสอน ลกู หลาน โดยเฉพาะเร่ืองความกตัญญูกตเวทีต่อ ผู้มีพระคุณ เอกลักษณ์ทางวฒั นธรรม เอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมของชมุ ชนชากไทย 3.1วฒั นธรรมและประเพณี ชุมชนบา้ นชากไทยในอำเภอเขาคชิ ฌกูฏ จงั หวดั จนั ทบรุ ี เป็นถิน่ ทอี่ ยู่ของคน หลากหลายเชอ้ื ชาติ เนือ่ งจากเคยเปน็ เมอื งหนา้ ดา่ นทางทะเลจึงทำใหม้ ีประชากรอพยพ ยา้ ยถิ่นฐานมาประกอบ อาชพี และตัง้ หลกั ฐานจนเกิดเป็นชมุ ชนที่ หลากหลาย มีขนบธรรมเนยี ม ประเพณีและวฒั นธรรม ทีเ่ กีย่ วข้องกบั การดำรงชีวิตของผคู้ นทผี่ สมผสานสอดคล้อง กันจนเปน็ เอกลักษณ์ทางวฒั นธรรมในท้องถนิ่ ซ่งึ กิจกรรม พิธกี รรม และความเชื่อทถ่ี ือปฏิบัตสิ ืบต่อกันมานั้นจะแฝง 3.2การละเลน่ พ้นื บา้ นและนาฎศลิ ปข์ องชุมชนบ้านชากไทย ประชากรจงั หวดั ตราดสว่ นใหญม่ ีอาชีพเกษตรกรรม ดังนัน้ แตล่ ะบ้านจะมีทว่ี า่ งเป็นลานบ้านให้ลูกหลานได้ ว่งิ เล่น ซง่ึ การเลน่ ของเด็ก ๆ จะเป็นการเล่นทีง่ ่าย ๆ ไมต่ ้อง ซือ้ หาของเล่นที่มรี าคาแพงเหมอื นปัจจุบัน ส่วนใหญ่จะเป็นของท่หี ากันไดเ้ องในบรเิ วณบ้าน หรอื นำของเหลือใชม้ า ประดษิ ฐ์เป็นของเล่นโดยไมต่ ้องรบกวนพ่อแม่ให้ เดือดร้อน และมกั จะเลน่ รวมกันเป็นกลุ่ม ทำให้เกดิ ความสนทิ สนม รักใครป่ รองดองกนั สืบมาจนเตบิ ใหญ่ การละเลน่ ของเดก็ จงั หวัดจันทบรุ ีเทา่ ท่ี หลงเหลืออยู่ จากการสอบถาม ผเู้ ฒา่ เลา่ ให้ฟัง และเดก็ ๆ ท่ียงั คงเล่นอยู่พอ รวบรวมไดด้ งั ต่อไปนี้ 3.2.1 ม้าขาลบี วธิ เี ล่น ขีดวงเป็นขอบเขตขนาดของขอบเขตจะกว้างหรือแคบข้นึ อยู่กบั จำนวนผ้เู ลน่ ให้ มขี นาด กวา้ งพอเหมาะกับการวงิ่ หนี ว่งิ ไล่จับกัน จำนวนผ้เู ลน่ ที่เหมาะสมตั้งแต่ ๕ - ๑๐ คน ในกลุ่มผู้เล่น ตกลง กนั วา่ ใคร จะเป็นมา้ ขาลีบก่อน ถา้ ใครเปน็ ผไู้ ดร้ ับเลือกจะต้องกระโดดขาเดียว วิ่งไล่เอามอื แตะเพ่อื น เพือ่ น ๆ ต้อง ว่ิงหนี ภายในวงทีข่ ดี ถา้ เอามือแตะถกู เพ่ือนคนใด คนนัน้ จะตอ้ งมาเปน็ มา้ ขาลบี แทน 3.2.2 กระโดดเชือก วธิ ีเล่น เด็กจะตกลงกนั วา่ ๒ คนใดจะเปน็ ผ้แู กวง่ เชือกก่อน จะใช้เชอื กเสน้ ใหญ่ไมเ่ กิน นิว้ ก้อย สมัยกอ่ นเด็กจะใชห้ วาย เถาวัลย์หรอื เชอื กท่หี าได้ ความยาวพอประมาณ เมอ่ื แกวง่ แลว้ จะท่วมหัวผู้เล่น ผู้ เล่นที่ เหลอื จะเข้าไปกระโดดให้เชือกตกเขา้ จังหวะ จะเข้ากระโดดก่ีคนก็ได้ แต่ถ้าใครสะดดุ เชือกแลว้ เชือกหยดุ ถือ วา่ ตาย ต้องไปเป็นผแู้ กว่งเชือกแทน 3. ดา้ นการอบรมเล้ียงดู 1. การปฏิบตั หิ น้าทีต่ อ่ กจิ วตั รประจำวัน - การฝึกสุขนสิ ัยและลกั ษณะนสิ ยั ท่ีดี - การสนับสนนุ ให้เดก็ เลน่ /วิธีการ - กจิ กรรมที่เด็กไดล้ งมอื กระทำโดยผา่ นประสาทสมั ผสั ท้งั 2. การส่งเสริมพัฒนาการของเดก็ 3. การปฏิบัตติ ่อเด็ก (คำพูดและวธิ ีการ)
25 4. การสังเกตพัฒนาการ 5. การเฝา้ ระวงั ความผดิ ปกติ 1. การปฏิบตั หิ น้าทต่ี อ่ กิจวตั รประจำวนั การปฏบิ ตั ริ หน้าทีต่ อ่ กิจวัตรประจำวนั น้ันเป็นการช่วยในการสง่ เสรมิ และ เปน็ การสนบั สนนุ ให้เด็กเกิดการ เปลย่ี นแปลงและมีพัฒนาการท่ีดี ทง้ั ดา้ นกล้ามเนื้อมดั เล็กมัดใหญ่ ด้านอารมณ์สังคมสตปิ ัญญาจิตใจและสุขภาพท่ี แข็งแรง 1.1การฝึกสุขนิสัยและลักษณะนสิ ยั ท่ดี ี สุขนสิ ยั ท่ีดี สำหรับเด็ก ดว้ ยความทเ่ี ปน็ วยั เยาว์ ความเข้าใจถึง อันตรายในเรื่องนจ้ี ึงมนี ้อยกว่าผใู้ หญ่ พวกเขามักไม่ไดใ้ สใ่ จในเรื่องการดแู ลสขุ ภาพมากนัก ทำให้พวกเขามีโอกาสที่ จะได้รับอันตรายจากสุขนิสัยท่ีไมด่ ีทงั้ ของตวั เอง และรวมถึงของเพื่อนฝูงใกลช้ ิด ขณะทอี่ ยู่รว่ มกันในสถานที่ตา่ ง ๆ เช่น ในโรงเรยี น โรงอาหาร สนามเด็กเล่น หรอื แมแ้ ต่ในห้องเรียน เป็นตน้ ซ่ึงอาจส่งผลทำใหพ้ วกเขาล้มป่วยและ เปน็ อันตรายได้ ดงั นัน้ เพ่ือเป็นการปอ้ งกันในเร่ืองน้ี อย่างน้อยก่อนที่เด็กจะกา้ วมาเปน็ นักเรยี น ผปู้ กครองก็ควรที่ จะสอนเด็กสขุ นิสัยทค่ี วรปฏบิ ัตเิ ป็นประจำ เพื่อใหห้ ่างไกลจากการเจบ็ ปว่ ย การดูแลสุขนิสัย 8 สุขนสิ ยั ทีค่ วรสอน เด็ก ๆ ได้อย่างน่าสนใจ ดงั นี้ 1.การสั่งนำ้ มกู อาจจะดูเปน็ เรือ่ งที่ดงู า่ ย ๆ แต่กเ็ ปน็ กระบวนการหน่งึ ท่ีควรฝึกฝนให้เดก็ ทำใหเ้ ป็นนสิ ยั เพอ่ื ใหน้ ้ำมกู ซึง่ อาจเปน็ แหล่งสะสมของเชอ้ื โรคไม่ค่ังค้างในโพลง่ จมกู จนอาจเกดิ เปน็ อาการตดิ เช้อื ในโพลง่ จมกู และลามไปถงึ การติดเช้อื ในหูและลำคอที่เป็นระบบของรา่ งกายที่ทำงานร่วมกนั ได้ 2.การป้องกนั อันตรายจากแสงแดดทกุ วันน้ีแสงแดดไม่ได้เป็นมติ รกับเราเทา่ ไหร่นกั และยิง่ แสงแดดในชว่ ง เทีย่ งหรือบ่ายทมี่ ีความเขม้ ข้นของรังสี UV สงู อาจส่งผลให้นักเรียนเกิด กระ ฝา้ และเป็นมะเรง็ ผวิ หนงั ได้ ดังน้ัน สอนใหพ้ วกเขาหาเครือ่ งป้องกัน เชน่ ปลอกแขนและหมวก เพื่อใส่กันแสงแดด นอกจากน้ี ควรฝกึ ให้เขารู้จกั ทา ครีมกนั แดด และควรใหเ้ ขาพกครมี กนั แดดในกระเป๋าอยู่เสมอ 3.รกั การออกกำลงั กายทุกวันน้โี รคอว้ นในเด็ก กลายเป็นสิ่งทที่ ุกคนวติ กกังวล เพราะเปน็ ปัญหาท่ีจะสง่ ผล กระทบอย่างมากต่อสขุ ภาพของเดก็ ในระยะยาว ซงึ่ ผู้เช่ียงชาญมองว่าสาเหตุหน่ึงที่ทำให้เดก็ อว้ นมีจำนวนเพิม่ มาก ขึ้นน้นั ส่วนหนึ่งมาจากการทีเ่ ดก็ ใช้เวลาอย่กู ับการเลน่ เกมผ่านอปุ กรณ์ต่าง ๆ และดโู ทรทัศน์มากจนเกนิ ไปทำให้ ขยับเขย้ือนตัวเองน้อยกว่าที่ควรจะเป็น ดงั นน้ั เพ่ือลดปญั หาดงั กลา่ ว ผ้ปู กครองควรสนบั สนใุ หเ้ ดก็ รูจ้ ักขยับเขย้ือน ร่างกาย ออกกำลงั กาย และเปน็ แบบอย่างทีด่ ีให้เด็กในเร่ืองน้ี เพอื่ ให้การออกกำลงั กายนนั้ เปน็ อุปนสิ ยั ตดิ ตัวของ เดก็ ต่อไป 4.การแปรงฟันการแปรงฟันคือสขุ อนามยั เบื้องต้นท่ีควรจะตอ้ งสอนให้เด็กถือปฏิบัตเิ ปน็ ประจำ เพราะเร่ือง สุขภาพในช่องปากน้ันมีความสำคญั อย่างมากและส่งผลต่อบุคลิกภาพของเราโดยตรง ปญั หาสขุ ภาพในช่องปากที่
26 ไม่ดี นอกจากจะส่งผลไม่ดตี อ่ บุคลกิ ภาพแล้ว ยงั นำมาสกู่ ารเป็นโรคฟันผุ โรคเหงือก ซึ่งจำเป็นตอ้ งไดร้ ับการรักษา และเป็นการรักษาทมี่ คี ่าใชจ้ า่ ยสูง 5.ปดิ ปากเมือ่ ไอหรอื จามการปดิ ปากเมื่อไอหรอื จาม ชว่ ยลดการแพรเ่ ชื้อของกลุ่มโรคตดิ ตอ่ ในระบบ ทางเดนิ หายใจได้ ไมว่ ่าจะเป็นโรคหวดั หรือ ไขห้ วดั ใหญ่ จึงเป็นเร่อื งสำคัญมากทต่ี ้องใหเ้ ด็กปฏิบัติสิง่ นีใ้ หเ้ ปน็ นิสัย และอยา่ ลืมส่ิงสำคญั ท่สี ุด เมื่อเอามือ รวมถึงการใช้ผา้ หรอื กระดาษชำระ มาปิดการไอหรือจามแล้ว จะต้องรบี ลา้ ง มอื ใหส้ ะอาดทุกคร้งั ปัจจุบัน ดว้ ยความท่ีปญั หาการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ยงั คงมีอยแู่ ละรวมถงึ ปัญหาฝนุ่ ละอองทม่ี ีมากข้ึน ทำให้การใสห่ น้ากากอนามยั กลายมาเป็นวถิ ีใหมข่ องการใช้ชวี ิตประจำวนั ดงั นน้ั การสอนใหเ้ ด็ก ใสห่ น้ากากอนามัยให้ถกู ตอ้ งและเคยชินนั้น คือส่ิงใหม่ที่ควรเพม่ิ เข้ามาเพือ่ ใหพ้ วกเขาป้องกนั ตวั เองจากโรคภัยต่าง ๆ ไดด้ ีขนึ้ 6.อยา่ ยอมแพเ้ ด็กในยคุ สมยั ตอ่ ไปน้ี ในอนาคตจะตอ้ งเผชิญกบั การแข่งขนั ท่ีดุเดือด และแรงกดดันอัน มากมายจากสังคมโลกท่มี ีการเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเรว็ ดังนนั้ จงึ ควรสอนให้เขาอย่ายอมแพ้ต่ออุปสรรคต่าง ๆ เด็ก ควรมีโอกาสรู้จกั ตัวเอง ทำสง่ิ ต่าง ๆ ดว้ ยตัวเอง และควรเรยี นรใู้ นสง่ิ ทีด่ ีที่สุดตามทักษะและความสามารถของพวก เขา ซ่งึ จะช่วยให้พวกเขามัน่ ใจในการทำสง่ิ กิจกรรมต่าง ๆ และสามารถจดั การกับความผิดหวังได้อยา่ งเหมาะสม นอกจากนี้ การชมเชยจากผ้ปู กครองนั้น ควรเกิดขึ้นจากความมุ่งมน่ั พากเพียรของเขามากกวา่ ทจี่ ะเกดิ เพราะ ผลลัพธ์ น่ันคอื ควรชมเชยและให้กำลังใจเขาในความพยายามมากกวา่ ท่จี ะมอบส่งิ เหล่าน้ีให้เขาเฉพาะต้องทีเ่ ขาทำ สำเรจ็ 7.มองข้ามอาหารทานเล่นอาหารทานเลน่ จำพวก Fast Food ขนมขบเคย้ี วและนำ้ อดั ลม นับว่าเป็น อาหารให้พลงั งานสงู ซ่ึงเดก็ ส่วนใหญ่ช่ืนชอบ และมักจะมีโอกาสไดร้ ับประทานบ่อยคร้ัง เพราะปจั จบุ นั หาอาหาร ประเภทนี้รับประทานได้ง่ายมันจงึ กลายเปน็ ตวั การหน่งึ ที่ทำให้เด็กมีภาวะน้ำหนักเกนิ และเมื่อบวกกบั วิถชี ีวิตของ เดก็ ในปจั จุบัน ที่มักจะอยแู่ ต่กับอปุ กรณ์ส่ือสารและโทรทัศนจ์ นไม่ยอมขยับตวั ไปไหนด้วยแลว้ ปัญหานก้ี ย็ ่งิ ทวี ความรนุ แรงมากข้ึนไปอีก ดังนั้นควรปรบั พฤติกรรมของเขาด้วยการเป็นแบบอยา่ งในการรบั ประทานอาหารทด่ี ี และควรสนบั สนุนเขาใหร้ บั ประทานอาหารท่มี ีประโยชนต์ ามมือ้ อาหาร ลดการทานอาหารจุกจกิ ระหว่างมื้อ และ ควรใหเ้ ขาทานผักผลไมแ้ ทนของหวานซึ่งมีคณุ คา่ ทางอาหารทดี่ ีกว่า 8.อาบนำ้ และล้างมือเป็นสงิ่ สำคญั ทเี่ ด็ก โดยเฉพาะในประเทศไทยจะต้องอาบน้ำอย่างน้อยวันละ 2 คร้งั คือตอนเชา้ และก่อนเข้านอน เพราะด้วยภมู ิอากาศทร่ี ้อนอบอา้ วแทบจะตลอดทั้งปี ทำให้เกดิ คราบเหง่ือไคลต่าง ๆ ซ่ึงเป็นแหลง่ สะสมของเชื้อโรคและควรจะต้องชำระลา้ งออกด้วยการอาบนำ้ จงึ ควรจะต้องเนน้ ย้ำให้เด็กทำสงิ่ น้ีทุก วนั จนเป็นนิสยั
27 นอกจากนี้ การล้างมือทุกครั้งกอ่ นรับประทานอาหารและทำกิจกรรมต่าง ๆ กเ็ ป็นอกี เร่ืองหนึ่งท่ีตอ้ งเนน้ ยำ้ ด้วย เชน่ กัน เพราะการล้างมือนั้นช่วยลดการตดิ ตอ่ ของโรคตา่ ง ๆ มากมาย และทำให้เดก็ ไม่สัมผัสกบั เช้อื โรคโดยการ เอามือเข้าปากหรือแกะเกาสว่ งตา่ ง ๆ ของรา่ งกายอีกด้วย จงึ ควรกวดขนั ให้เด็กลา้ งมือเป็นประจำ และให้พวกเขา รจู้ ักพกเจลล้างมอื หรือกระดาษเปยี กผสมแอลกอฮอล์ สำหรบั ใช้ทำความสะอาดมือและแขนใหเ้ ปน็ นิสัย 9.ทงั้ หมดน้ีคอื สิ่งสำคัญทท่ี กุ ครอบครวั ควรจะต้องสรา้ งใหเ้ ด็ก ๆ เพือ่ ให้พวกเขามีสขุ นสิ ัยท่ดี กี ่อนที่พวกเขา จะก้าวเข้ามาสูส่ ังคมในโรงเรียน แต่เหนอื ส่งิ อ่ืนใด ในการสรา้ งสง่ิ เหลา่ น้ี อย่าลมื วา่ การเป็นแบบอย่างทีด่ นี ัน้ มี อิทธพิ ลมากกว่าการพร่ำบอกหรอื สง่ั สอน ดังนนั้ ผู้ใหญ่ควรทำสิง่ เหลา่ นใ้ี ห้เดก็ ๆ เห็นก่อนเปน็ อนั ดบั แรก ซงึ่ ผูเ้ ขียน เชื่อแน่วา่ สุดท้ายเด็ก ๆ จะซึบซบั สงิ่ เหลา่ นแี้ ละสามารถปฏิบัตติ ามได้อยา่ งแน่นอน 1.2การสนับสนุนให้เดก็ เลน่ /วธิ กี าร การเรียนรู้ของเดก็ ปฐมวยั มคี วามแตกตา่ งไปจากเด็กในวยั อ่ืน การจัดกิจกรรมหรอื ประสบการณส์ ำหรับ เด็กปฐมวัยจงึ เป็นกิจกรรมบูรณาการผา่ นการเล่นทีห่ ลากหลาย การเล่นเปน็ การเรยี นรขู้ องเดก็ น้นั การจดั กจิ กรรมให้กบั เดก็ ในชว่ งปฐมวัยจงึ เปน็ กจิ กรรมเล่น หากสงั เกตพฤติกรรมการเรียนรขู้ องเดก็ การเล่นเกีย่ วกับ ตนเอง ซึง่ ในระยะแรกเราอาจจะไม่ได้คิดว่าส่งิ ที่เด็กทำน้นั เป็นการเล่น เพราะการเลน่ ของเด็กในระยะนีเ้ ริ่ม โดยการเคลื่อนไหวส่วนตา่ งๆของรา่ งกายซ้ำๆ รวมทง้ั เสียงซ้ำๆอยู่ตลอด เวลา ตอ่ มาเม่อื ทารกจะมุง่ ความสนใจ ในการเล่นออกไปที่คนอน่ื หรือของสงิ่ อ่ืน เช่น การเล่นเสียงระดบั ตา่ งๆเพื่อดกู ารตอบ สนองของแม่ หรือ สำรวจร่างกาย หน้าตาของแม่ดว้ ยนวิ้ มอื การเล่นเก่ียวกับตนเองนีเ้ ปน็ การเริ่มต้นทจี่ ะเรยี นรู้ลกั ษณะต่างๆของ ส่งิ แวดลอ้ มที่เด็กอาศยั อยู่ ต่อมาเมอ่ื เดก็ มีอายุมากขน้ึ พอที่จะใชส้ ายตาหรอื มือในการหยิบจบั สมั ผสั สงิ่ ต่าง ๆ ไดม้ ากขนึ้ หรอื เด็กสามารถใช้กล้ามเนื้อเล็กอย่างประสานสัมพันธม์ ากขึ้น 1.การเล่นคือพัฒนาการเรยี นรแู้ ละส่งเสริมความคิดสรา้ งสรรค์ 2.การเลก็ กับเด็กในทกุ ๆวัน 3.การให้เด็กได้เล่นอย่างอิสระ 4.ใหแ้ รงเสรมิ หรอื ชมเชยเม่ือเด็กทำสำเร็จ 5.สภาพแวดล้อมทปี่ ลอดภยั 1.3 กจิ กรรมที่เด็กได้ลงมอื กระทำโดยผ่านประสาทสัมผสั ท้งั 5 การเรียนรใู้ นแตล่ ะคร้งั เด็กอาจใชป้ ระสาทสัมผัสอยา่ งใดอย่างหนึ่งหรืออาจใช้ประสาทสัมผัสหลายๆอย่าง ในการ เรียนรู้ ดงั นนั้ พ่อแมช่ ุมชนบ้านชากไทยจงึ พยายามจัดกจิ กรรมในแตล่ ะครั้งเพ่ือใหเ้ ด็กไดเ้ รยี นรู้ด้วยการใช้ ประสาท สัมผสั อย่างหลากหลาย สำหรับการเรียนรู้ด้วยประสาทสัมผัสท้งั หา้ มีคุณค่าและประ โยชนต์ ่อเดก็ ปฐมวัย ในบาง ครอบครัวที่มีความพร้อม ในส่วนของครอบครัวท่ีพ่อแม่ไม่มีเวลาว่างกจ็ ะปล่อยให้เด็กเล่นตามอสิ ระ โดยการ สนทนาพูดคุยหรือการใชค้ ำถาม การพูดคยุ หรือการใช้คำถามของพ่อแม่ผปู้ กครองในชมุ ชนบา้ นชากไทยชว่ ยให้เดก็
28 ได้เรยี นรู้ดว้ ยการใช้ประสาทสัมผสั อย่างรอบดา้ น เชน่ พ่อแมน่ ำวสั ดธุ รรมชาตทิ ม่ี ใี นชุมชนเชน่ กา้ นกลว้ ยนำมาเล่น กบั ลูกมาทำเปน็ สื่อเช่นม้า ปืน ให้เดก็ ไดส้ ัมผสั ไดเ้ ล่นดว้ ยตวั เองเกิดการเรยี นรสู้ ิ่งใหม่ๆ หรอื การไดช้ ิมรสชาติของ กลว้ ยสุกผลไม้ตา่ งๆทมี่ ีรอบตัวท่สี ามารถทานได้ซึง่ ผ้ปู กครองต้องคอยจบั ตาดูและใกล้ชิดอยู่เสมอ เปดิ โอกาสใหเ้ ดก็ มสี ว่ นร่วมในกจิ กรรมต่างๆในครอบครัว พอ่ แม่ให้ลูกไดฝ้ ึกช่วยพ่อแม่ล้างจานทเ่ี ป็นพาสติก ช่วยแม่หน่ั ผกั ทำกับข้าวหรือการชว่ ยกันทำความสะอาดบ้านสิ่งเหลา่ น้ลี ้วนแต่ส่งเสริมให้เด็กไดเ้ รียนร้ดู ว้ ยการใช้ ประสาท สมั ผสั ท้ังห้าได้ จัดสภาพแวดลอ้ มภายในบา้ นทสี่ ่งเสรมิ การเรียนรู้ดว้ ยการใชป้ ระสาทสัมผสั ทงั้ หา้ เชน่ การจดั สภาพแวดล้อมที่ เออ้ื ต่อการเรยี นร้ขู องเด็กปลอดภยั มสี ื่อมขี องเลน่ ใหเ้ ด็กไดเ้ ลน่ มมุ ต่างๆภายในบ้านอยา่ งอิสระ 2. การสง่ เสรมิ พัฒนาการของเดก็ พัฒนาการ หมายถงึ การเปล่ียนแปลงความสามารถและพฤติกรรมที่เกดิ ข้นึ ในมนุษย์ ท้ังดา้ นร่างกาย สตปิ ัญญา อารมณ์ สังคม เปน็ การเจริญก้าวหน้าอยา่ งมีลำดับขนั้ ตอน ต้งั แตแ่ รกเกิดจากครรภม์ ารดา เปน็ ทารก จนโตขน้ึ พฒั นาการในเดก็ แบง่ เปน็ 4 ด้านหลักๆ ดังนี้ พัฒนาการดา้ นกล้ามเน้ือ พัฒนาการด้านภาษาและการ ส่ือสารพัฒนาการด้านอารมณแ์ ละสังคม พฒั นาการด้าน การชว่ ยเหลอื ตวั เอง ส่งเสริมพัฒนาการ เด็ก 2 ขวบ 1. สอนลกู ใหร้ ู้จักทกั ทาย ขอบคุณ และขอโทษในเวลาท่เี หมาะสม 2. ตดั อาหารเป็นช้นิ เล็กๆ ให้เดก็ ตักกินเอง 3. พอ่ แมท่ ำตัวเป็นตัวอย่างท่ดี ีตลอดเวลา และ อบรมสง่ั สอนลูกดว้ ยเหตผุ ลงา่ ยๆ ส่งเสรมิ พัฒนาการ เด็ก 2 ขวบ 6 เดอื น 1. พาเด็กเดินรอบบ้าน และบรเิ วณใกล้ๆ ชี้ชวนใหส้ งั เกตสง่ิ ท่ีพบเห็น หมั่นพูดคยุ ด้วยคำพดู ทชี่ ดั เจน และ ตอบคำถามของลูกโดยไม่ดหุ รือแสดงความรำคาญ 2. ชวนลกู แปรงฟนั เมื่อตน่ื นอนและก่อนนอนทุกวนั 3. สง่ เสรมิ กจิ กรรมกลางแจง้ การวิง่ เลน่ การเข้ากลุ่มกับเดก็ อื่น 4. ฝึกหดั การขดี เขียน สอนให้รักการอา่ น โดยมีคนทำเปน็ ตวั อยา่ ง มีหนงั สือที่เหมาะสม 5. ฝึกหัดการช่วยเหลอื ตนเองในกิจวัตรประจำวัน การฝกึ หัดขับถ่าย 6. ฝกึ หดั ใหค้ วบคุมตนเองเวลาโกรธ โมโห และสอนใหร้ ู้จกั การแบ่งปนั ส่งเสรมิ พัฒนาการ เดก็ 3 ขวบ
29 1. สนบั สนนุ ให้ลกู พดู เล่าเร่อื ง ร้องเพลงและขดี เขยี น และทำทา่ ทางต่างๆ 2. สังเกตทา่ ที ความรสู้ กึ ของเด็กและตอบสนองโดยไมบ่ งั คบั หรือตามใจลูกเกินไป ควรค่อยๆพูดและผ่อน ปรน 3. จัดหาของทมี่ ีรปู รา่ งและขนาดตา่ งๆให้เด็กเลน่ หัดขีดเขียน หัดนบั แยกกลมุ่ และเลน่ สมมตุ ิ ส่งเสรมิ พัฒนาการเดก็ 4 ขวบ 1. ตอบคำถามของเด็ก 2. เล่าเรอื่ งจากภาพ คยุ ซักถาม เลา่ เรอ่ื ง 3. ฝกึ ให้ลูกใสเ่ สอื้ ผ้า ตดิ และกลัดกระดุม รดู ซปิ ส่งเสริม พัฒนาการ เดก็ 5ขวบ 1. ให้ลูกเดินบนไม้กระดานแผน่ เดียว หดั ยืนทรงตัวขาเดียว และกระโดดขา้ มเชือก 2. เลน่ ทาย “ อะไรเอย่ ” กบั ลูกบ่อยๆ ฝกึ หดั นับสงิ่ ของและหยิบของตามจำนวน1 - 5 ชิ้น 3. ใหล้ ูกชว่ ยทำงานบ้านง่ายๆ และพดู คยุ เก่ยี วกบั สง่ิ ท่ที ำ เช่น ซักผ้า เลือกข้าวเปลอื ก 4. ฝึกให้ลกู สังเกต ร้จู ักเปรียบเทียบสิง่ ท่ีแตกต่างและ จัดกลมุ่ ส่งิ ทเ่ี หมือนกัน ส่งเสริม พัฒนาการ เด็ก 6 ขวบ 1. ใหล้ กู นับสิง่ ของท่ีพบเห็น หัดอา่ น เขียนรปู และตวั อักษร 2. พูดคยุ กับลกู เก่ยี วกบั บคุ คลต่างๆและประเพณใี นท้องถิ่น 3. ให้ลูกวาดรูปตามความคิดของตนและเลา่ เร่ืองจากรปู ทีว่ าดหรืออธบิ ายส่ิงทตี่ นพบเห็น 4. การปฏิบัติต่อเดก็ (คำพดู และวธิ กี าร) การป้องกันอุบัติเหตอุ นั ตราย ในชุมชนบ้านชากไทยการปฏิบัติต่อเด็กเพ่ือป้องกันอันตรายในบ้านกจ็ ะเก็บของมีคม ป๊ักไฟให้พน้ มือเด็กจ จบั ตาดเู ด็กอยเู่ สมอจะดุเด็กเสยี งดังเมื่อเด็กทำอะไรที่เส่ียงหรืออนั ตรายเพ่ือให้เดก็ กลวั และไม่กล้าทำอกี ผ้ปู กครองมีการเฝ้าระวงั เชน่ เวลาเด็กเล่นน้ำกจ็ ะไม่ปล่อยให้คาดสายตาจะใหเ้ ด็กใส่เส้อื ชชู พี อย่เู สมอ หรือไม่กเ็ ล่นกับเด็กเลยหลกั การสร้างการเรียนรเู้ รื่อง ความปลอดภัยใหก้ บั เด็กมดี ังน้ี 1. กฎของความพร้อม เดก็ ไม่สามารถเข้าใจความรู้ เจตคติ อปุ นิสยั เรอ่ื งความปลอดภัยเพื่อ นำไป ประเมนิ สถานการณ์ความปลอดภยั ใดๆ ตงั้ แต่เรมิ่ ตน้ เรียน ครูมหี นา้ ทช่ี กั จงู ให้เดก็ เห็นคุณคา่ ของความ ปลอดภยั ผ่านการเรยี นร้ใู นรปู แบบทเี่ หมาะสม โดยเนน้ ความปลอดภยั เป็น “ส่งิ ท่ตี ้องทำ” การสรา้ งเจต
30 คตทิ ่ีดี ความคิดเชิงบวก และการพฒั นาอปุ นิสยั ท่ีถูกต้องเกี่ยวกับความปลอดภัยท่ี สามารถนำไปใช้ไดจ้ รงิ ในชีวติ ประจำวันเพื่อการมชี ีวิตท่ีมีความสุขและประสบความสำเร็จ 2. กฎการตอบสนองอย่างมเี ง่ือนไข การตอบสนองใด ๆ ล้วนเกดิ จากการไดร้ ับการกระตุ้น ครผู ้สู อนเรอ่ื ง ความปลอดภัยต้องหาวิธกี ารหรอื สง่ิ กระตุ้นท่ีนา่ สนใจเพอื่ สร้างความสนใจเกีย่ วกบั พฤตกิ รรมความ ปลอดภัยที่ถูกต้องให้กับเด็กในช้ันเรียน ประสบการณ์การตอบสนองอยา่ งมีเง่อื นไข อยา่ งมีความหมาย และช่วยสรา้ งความสนใจให้เด็กพฒั นาเจตคติ และพฤติกรรมความปลอดภยั แมว้ ่า จะไดร้ ับการกระตนุ้ เพียงช่วงเวลาส้ัน ๆ 3. กฎของการใช้ “การตอบสนองหรือการแสดงออกท่ีถูกต้องเกิดจากการไดร้ บั การกระตุ้น อยา่ งสม่ าเสมอ เน่ืองจากความปลอดภยั เป็นเรือ่ งของวถิ กี ารดำรงชีวิต เจตคตแิ ละอปุ นิสยั ไม่ใชส่ ง่ิ ที่ ครจู ะหยิบย่นื ให้แก่เด็ก แต่เปน็ สงิ่ ที่เดก็ ต้องพัฒนาขน้ึ จากตวั เดก็ เอง โดยเริ่มต้นจากส่งิ ง่าย ๆ ที่ เกิดข้นึ ในชีวติ ประจ าวนั แลว้ ท าใหเ้ กดิ ความต่อเนื่องในระยะเวลานานเท่าทจี่ ะสามารถนานได้ การ ทำซ้ำจะช่วยให้พฤตกิ รรม ทต่ี อ้ งการใหเ้ กิดฝังอยู่ในตัวเด็ก 4. กฎการไม่ใช้ ความตอ่ เนื่อง ความเขม้ ข้น ความคงทน และความเช่อื มนั่ ของการแสดง พฤติกรรมความ ปลอดภัยจะลดลงเม่ือไมไ่ ด้ใชต้ รงกันข้ามอุปนิสยั ความปลอดภัยทไ่ี ม่ดจี ะฝงั แนน่ เมื่อ ใช้บ่อย และความ ต่อเนือ่ งของพฤติกรรมไมด่ อี าจเปน็ ผลน าไปสู่อปุ นิสยั ทีผ่ ดิ และนำไปสู่อนั ตรายต่อ สขุ ภาพ 5. กฎของผลลพั ธ์ผลลัพธ์จากการกระตนุ้ ใหเ้ กิดพฤตกิ รรมความปลอดภยั ทนี่ า่ พึงพอใจทำ ให้บคุ คลนั้นมี แนวโน้มจะแสดงพฤติกรรมนั้นซ้ าและนานขน้ึ ในสถานการณ์เดยี วกนั ทจี่ ะเกดิ ข้ึนใน อนาคต ความ เจบ็ ปวดหรือการบาดเจบ็ ทไี่ ด้รับจากการกระตนุ้ จะเป็นสาเหตุท่ีขัดขวางการทำซ้ำใน สถานการณเ์ ดียวกนั ทอี่ าจเกิดขนึ้ ในอนาคต ทักษะความปลอดภยั ท่เี ด็กตอ้ งรู้ เดก็ ควรไดร้ ับการเตรียมตัวใหร้ ู้จกั กับสถานการณท์ ี่อนั ตราย เพือ่ พัฒนา ทักษะและความรู้ เม่ือต้องเผชิญหนา้ กับสถานการณ์อัตรายเหล่านนั้ เดก็ ตอ้ งไดร้ บั การสอนใหส้ งั เกต เข้าใจ เช่อื ฟังและ ปฏิบัตติ ามกฎและข้อปฏิบัตอิ ย่างสม่ าเสมอเพื่อความปลอดภยั ของตนเองและผอู้ ืน่ หากครกู ระตนุ้ ให้ เด็กไดเ้ ห็นถึงคณุ ค่าและเคารพกฎ เด็กย่อมมแี นวโน้มในการป้องกนั อุบัตเิ หตุของตนเอง และผูอ้ ื่น เด็กปฐมวยั จำเปน็ ต้องปอ้ งกนั ตนเองจากอนั ตรายที่สำคญั คือ 1) อนั ตรายจากผ้อู ่ืน เชน่ การลักพาตัว และ 2) อนั ตรายจากตนเอง เช่น การใชถ้ นน การกิน การ สัมผสั และการเลน่ เป็นต้น ทักษะความปลอดภัยโดยทัว่ ไปแบ่งออกเปน็ 3 ประเภท คือ 1) การหลกี เลย่ี งจาก อนั ตราย และการข่มขู่ 2) การแสดงพฤติกรรมเพอ่ื หลีกหนีจากสถานการณท์ ่ีไมป่ ลอดภยั และ 3) การ ส่อื สาร กับครหู รือผปู้ กครองเก่ียวกับสถานการณ์อนั ตรายเพือ่ หาทางแก้ไข เด็กต้อง ไดร้ บั ความรู้และ สามารถแสดงทักษะความปลอดภัย ไดแ้ ก่ หลกี เลยี่ ง หลีกหนี และบอกเล่า ได้ ในชว่ งเวลาท่ีเหมาะสมผา่ น การฝึกฝน การเลยี นแบบ และการกระตนุ้ เพื่อสนับสนุนและสง่ เสรมิ ให้ เดก็ สามารถแสดงทกั ษะความ
31 ปลอดภยั ได้ ซึ่งผลลพั ธ์ที่ไดร้ ับจากการฝกึ ฝนนน้ั จะปรากฏใหเ้ หน็ ได้ใน อนาคตเม่ือเด็กตกอยใู่ นอันตรายที่ เกดิ ขึ้นในชวี ิตจริง) ทักษะท่เี ด็กปฐมวัย สามารถน ามาใช้ คอื ทักษะการป้องกันตนเองและการหลบหลีก การสอนทักษะการป้องกันและการ หลบหลีกเป็นทักษะการคิดปกป้องตนเอง โดยทกั ษะการปกป้อง ตนเอง ประกอบด้วย 1) มีความรู้ เกีย่ วกับปัญหาหรือความรุนแรงท่เี กิดขึ้นในชวี ติ เช่น เข้าใจความหมาย หรือค าจ ากัดความของ เหตุการณ์อนั ตราย 2) มีความเข้าใจเกี่ยวกับสาเหตุ และลกั ษณะของปัญหาที่ เกดิ ข้นึ 3) สามารถ ป้องกันตนเองในสถานการณ์ทีม่ ีแนวโน้มวา่ รนุ แรงขน้ึ 4) สามารถรบั มือกับ สถานการณ์อันตรายด้วย การหลีกเลย่ี ง และ5) ขอความชว่ ยเหลือด้วยการบอกหรือเลา่ ช่วงเวลาถูกข่มขู่ หรือตกเปน็ เหย่ือ ความรุนแรงกบั ผู้ใหญ่ได้ 4.การสงั เกตพัฒนาการ 1. ดา้ นร่างกาย เดก็ จะเตบิ โตเปน็ ไปอย่างสม่ำเสมอ โดยเฉลย่ี มีน้ำหนกั ตัวเพมิ่ ข้ึนปลี ะ 2-2.5 กโิ ลกรมั และมีสว่ น สูงเพมิ่ ปลี ะ 6-8 เชนตเิ มตร เด็กวัยนีจ้ งึ ดูผอมลงและสงู ขึน้ กลา้ มเนื้อมดั ใหญ่เจรญิ พัฒนาขึ้นมาก ควบคมุ การ เคลอ่ื นไหวและทรงตวั ในทต่ า่ งๆ ได้ดี ชอบห้อยโหน ปนี ปา่ ย ล่ืนไถล อายุ 3 ปี เดก็ สามารถยืนขาเดียว ไดช้ วั่ ครู่ วง่ิ แลว้ หมนุ ตวั ไดโ้ ดยไมล่ ม้ ขน้ึ บันไดสลบั เท้าได้ ข่ีจักรยานสามลอ้ เมื่ออายุ 4 ปี เดก็ จะสามารถกระโดด ขาเดียว เดิน ลงบันไดสลบั เท้าได้ ปีนตน้ ไม้ และเมือ่ อายุ 5 ปี จะสามารถกระโดดสลับเท้า กระโดดข้ามสิ่งกดี ขวาง เตี้ย ๆ ได้ เดิน ต่อเทา้ เป็นเสน้ ตรงได้โดยไม่ลม้ อายุ 6 ปี เดินบนสน้ เท้าใช้ 2มือรับลูกบอลทโี่ ยนมา และกระโดด ไกลได้ประมาณ120 ชม. สำหรบั พัฒนาการด้านการใชก้ ลา้ มเนื้อมือ เด็กชว่ งวยั น้สี ามารถวาดรูปทรงเรขาคณิตง่าย ๆ เช่น วงกลม สี่เหลีย่ ม สามเหลย่ี ม และใชม้ อื ได้คลอ่ งในทุกทศิ ทางถ้าไดร้ ับการฝกึ ฝน โดยเฉพาะอย่างยง่ิ การฝึก ให้ ช่วยเหลอื ตนเอง เช่น ถูสบู่ แต่งตัว ติดกระดมุ ผกู เชอื กรองเท้า หรือชว่ ยงานบา้ นอื่น ๆ จะทำให้มอื และสายตา ทำงานประสานกนั ได้ราบร่นื มผี ลดตี อ่ การเขยี นหนังสอื ทำใหเ้ ด็กเขยี นไดส้ วยและทำงานเรียบรอ้ ย (ดูรายละเอียด ในภาคผนวกทา้ ยบท) 2. ด้านความคิด การเรียนรู้ ช่วงวัยนเ้ี ป็นวยั ท่เี ด็กมจี นิ ตนาการและมีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ อยากรอู้ ยาก เห็น กระตือรอื ร้น สามารถแยกแยะความแตกตา่ งของสงิ่ ตา่ ง ๆ จดั กลมุ่ ของสัตวแ์ ละรปู ทรง เมอื่ ถึงตอนกลางของ ชว่ งวยั นเ้ี ดก็ จะ สามารถมีความคดิ รวบยอดด้านพื้นฐานจำนวนและตัวเลข เดก็ วยั น้ีจะแก้ปญั หาตา่ ง ๆ ดว้ ยสง่ิ ที่ รับรู้จนิ ตนาการ ของตนเอง โดยยงั ไม่รู้จักคิดไตรต่ รองอย่างรอบด้าน การแก้ปัญหาของเขาจงึ เปน็ แบบลองผดิ ลอง ถูก และเรียนรู้ จากผลของการกระทำ ดังน้นั หากพอ่ แม่หรือครูสนบั สนุนและให้โอกาสเด็กได้ทดลองแกป้ ัญหาด้วย ตนเอง โดยคอย ให้คำแนะนำ ชมเชยเมื่อเด็กทำสำเร็จ ใหก้ ำลังใจเม่ือทำผิด พลาด พร้อมทั้งชว่ ยซแี้ นะวิธแี ก้ไขข้อผิดพลาด จะช่วยให้เด็กเตบิ โตเปน็ คนกลา้ คดิ กลา้ ทดลองทำ มคี วาม คิด สรา้ งสรรค์ และไมเ่ กรงกลวั ตอ่ ปัญหา รวมทงั้ เกิดความภาคภมู ใิ จในตนเองเมื่อสามารถเอาชนะปญั หา ตา่ ง ๆ ได้ แต่ในทางกลับกนั หากผู้ใหญ่ไม่เปดิ โอกาสให้เด็กหดั ทำส่ิงต่างๆ หรือคอยตำหนิ ห้าม เขม้ งวด หรือลงโทษมาก เกินไป จะเปน็ การหยดุ ย้ังการแสดงออก ทำใหเ้ ด็กกลายเป็นคนไม่มั่นใจ ไม่กล้าตัดสินใจ และส่งผลเสียต่อการ
32 เรียนร้ใู นข้นั ต่อไปของเด็ก เด็กวยั น้ีมีความคิดด้านเหตุและผลอย่ใู นขอบเขตจำกัด ต่างจากความคิดของผู้ใหญ่ โดย เด็กวัยนี้ มกั จะเช่ือมโยงเหตุการณ์ 2 เหตกุ ารณ์ทตี่ ่อเนื่องกันว่าเป็นเหตุเปน็ ผลซงึ่ กันและกัน เช่น เด็กวยั อนบุ าล คนหน่ึงไปโรงพยาบาลเพราะมีไข้และจำเปน็ ต้องเจาะเลอื ดตรวจ แตห่ ากกอ่ นถูกเจาะเลือด เขาทำความ ผดิ บางอย่างแล้วถกู ดุว่าด้ือ เขาอาจเข้าใจวา่ การทเ่ี ขาถูกเจาะเลือดนั้น เป็นการทำโทษทีเ่ ขาเปน็ เดก็ ดอ้ื ดัง น้ัน พ่อแม่ หรอื ครูควรมีความเขา้ ใจความคดิ ของเด็ก และชว่ ยอธิบายใหเ้ ด็กมีความเข้าใจทถ่ี ูกต้องต่อไป 3. ด้านการพูดและการสือ่ สาร เดก็ วยั อนบุ าลมีพฒั นาการทางภาษาอย่างต่อเนื่องและซบั ซ้อนข้นึ จากวยั เตาะแตะ ในช่วงสิน้ สดุ วัยอนบุ าล เดก็ จะสามารถเข้าใจคำพดู ของผใู้ หญ่ได้เกือบทั้งหมด รู้จักสี จำนวน และ เปรยี บเทยี บขนาด เล็ก-ใหญ่ จำนวนมาก-นอ้ ย พ้นื ผิวทแี่ ตกต่างกนั เช่น เรียบ-ขรขุ ระ นิ่ม-แขง็ ได้ ช่วงอายุ 3 ปี เดก็ จะพดู คุยไดเ้ ปน็ ประโยค แมจ้ ะยังไม่คล่องนัก อาจพบคำพูดซำ้ ๆ หรอื ฟังดูคล้าย ติดอ่างได้เปน็ ปกตติ ามวยั ซึ่งคำซ้ำ ๆ นจ้ี ะคอ่ ย ๆ หายไปเม่อื เด็กอายุ 4-5 ปี อีกทง้ั ประโยคทเี่ ด็กพดู จะ ค่อย ๆ ซบั ซอ้ นขึน้ สามารถเล่าเร่ืองราวทมี่ ีลำดบั ขัน้ ตอนให้ผู้ใหญ่ที่ไม่คุน้ เคยกบั เด็กฟังได้เขา้ ใจท้ังหมด หรอื เกือบทั้งหมด เล่าเรอื่ งทีเ่ กดิ ข้ึนในอดตี และพดู ถึงอนาคตใกล้ ๆ โดยเข้าใจความหมาย เช่น เม่อื วาน พรุ่งน้ี เป็นตน้ สามารถพูด ประโยคในเหตกุ ารณท์ ่เี ก่ยี วข้องกันและยกเหตผุ ลงา่ ย ๆ ได้ เชน่ หนทู ำน้ำหก ตวั เปียกหมดเลย หนไู ม่รกั น้อง เพราะน้องชอบแกลง้ หนู จนกระทัง่ ช่วงปลายของวยั น้คี ือเม่ืออายุ6 ปี จะ สามารถอธิบายความหมายของคำได้ เริ่ม อา่ นสะกดคำ นับเลขได้ถงึ 30 ในช่วงวัยอนบุ าลน้ีเด็กจะช่างชกั ถาม โดยมักจะถามความหมายของคำหรือวลที ไ่ี ม่ เขา้ ใจ หรอื ถามถึงทมี่ า หรือเหตุผลของสง่ิ ที่พบเหน็ ในชีวิตประจำวัน เช่น ทำไมพระจนั ทร์จงึ เป็นรปู วงกลม หนเู กดิ มาได้อยา่ งไร ของสิ่งน้ี ทำงานไดอ้ ย่างไร พ่อแม่และครคู วรตอบคำถามของเด็กโดยไมแ่ สดงความหงดุ หงิดรำคาญ และให้เหตุผลง่าย ๆ ที่ เด็กเข้าใจ รวมทัง้ หมน่ั พูดคยุ ในเรื่องต่าง ( ชวนใหเ้ ด็กเล่าเรอ่ื งท่เี ขาพบเหน็ หรือไดย้ นิ มา เพอื่ สง่ เสริมพัฒนาการ ทางภาษาและต่อยอดความรู้ให้กบั เดก็ 4. ดา้ นอารมณ์ เด็กจะรจู้ กั และแสดงอารมณ์หลากหลายทง้ั อารมณ์รัก พอใจ เสยี ใจ ทกุ ข์ใจ เศร้า อจิ ฉา กงั วล กลวั โกรธ ก้าวร้าว เมอ่ื อายุ 4 ปีขึน้ ไป เดก็ จะเรม่ิ เขา้ ใจอารมณค์ วามรู้สึกของผอู้ น่ื ในสถานการณต์ ่าง ๆโดย การอ่านทา่ ทแี ละ นำ้ เสยี ง เช่น รู้ว่านอ้ งรู้สกึ เสยี ใจที่ไม่ได้เล่นของเล่น เร่ิมแสดงความเห็นอกเหน็ ใจผู้อ่นื จะ ปรบั เปล่ียนอารมณ์และ ระงับอารมณ์ของตนไดบ้ ้าง รอคอยไดน้ านขนึ้ ปลอบตนเองและคนอ่นื เป็นความกลวั ทจี่ ะ การแยกจากพ่อแม่และ ความกลัวคนแปลกหน้าจะนอ้ ยลงเม่อื เทียบกับวัย 1-2 ปี สามารถแยกจากแม่ได้นานขน้ึ และสรา้ งความผูกพนั กบั บคุ คลอื่นได้ เช่น ครู พ่เี ลี้ยง เพ่ือน เป็นต้น แต่กย็ งั อาจมีความกงั วลอยบู่ า้ ง โดยเฉพาะ เมอื่ เจบ็ ปว่ ย แปลกท่ี หรอื มี การแยกจากกนั นาน นอกจากนอ้ี าจมคี วามกลวั อย่างอน่ื เกดิ ขึ้นจากจินตนาการ เชน่ กลัวความมืด กลวั สัตว์ กลวั เสียงลมพายุ ซึ่งถือเปน็ ภาวะปกติ ในยามที่เด็กประสบเหตุการณ์ทีท่ ำให้เกิด ความเครียดหรือวติ กกังวล เช่น เม่ือมนี ้องใหม่อาจแสดง พฤตกิ รรมถดถอยกลับเป็นเด็กเล็กกว่าเดมิ ไม่ยอมทำสิ่งท่ี เคยทำได้แลว้ เช่น กลับมาดูดขวดนมใหม่ท้ังทเ่ี คยเลิก ขวดนมได้แลว้ ปัสสาวะรดทน่ี อน อ้อน ติดแม่มากข้นึ อารมณโ์ กรธร้องอาละวาดเมื่อถกู ขดั ใจในวัย 1-2 ปี หากได้รบั การฝึกสอนอย่างเหมาะสม เม่อื เข้าสูว่ ยั อนุบาล เด็ก
33 จะควบคุมอารมณ์และการแสดงออกได้อย่างเหมาะสมมากขนึ้ พ่อแม่และครูควรพูดคุยกับเด็กเกี่ยวกบั อารมณ์ ความร้สู ึก ไม่ควรตำหนิหรอื วิจารณ์วา่ ตวั เด็กนิสยั ไม่ดี หากเด็กสามารถพดู ถึงอารมณแ์ ละความรสู้ กึ ได้มาก ขนึ้ จะ เห็นวา่ การแสดงพฤติกรรมที่บ่งชถี้ ึงความโกรธ ความไม่พอใจ เช่นการอาละวาดลงดน้ิ กบั พืน้ จะลดลงไป 5. ดา้ นสงั คม เดก็ วยั นี้เรมิ่ มคี วามสนใจและอยากมสี ่วนรว่ มในการเล่นกบั เด็กอน่ื อย่างไรกต็ าม ใน ระยะแรกของช่วงวยั น้ี เด็กอาจยังทำได้ไมด่ นี ัก เพราะยังมีความเอาแต่ใจตนเอง และอาจยังไมส่ ามารถเลน่ ตามกฎ หรือกติกา จึงยังคงเหน็ พฤติกรรมหวงของ แย่งของ ตีตนเองหรอื ตผี ู้อนื่ เม่ือเกิดความไม่พอใจ หรือใช้คำพดู ท่ีไม่ ถกู ต้องเหมาะสม พ่อแม่ หรือครูจึงควรกำกับดูแล เล่นไปกับเด็ก คอยชีแ้ นะวิธกี ารเลน่ และส่งเสริมการสรา้ ง สัมพันธภาพกับเพ่ือนอยา่ ง เหมาะสม จนทำให้เดก็ สามารถควบคมุ อารณต์ ัวเอง มคี วามความเห็นอกเหน็ ใจผู้อ่นื เรยี นรกู้ ารแบง่ ปัน ยอมรับ กติกา และทำใจเมื่อแพไ้ ด้บ้าง เดก็ วัยน้มี ีจินตนาการ ชอบเลน่ สมมติ และเร่มิ เล่นรวม เปน็ กลมุ่ กบั เด็กคนอ่ืน ๆ โดยการแบ่งบทบาทในการ เลน่ จะชับซอ้ นขึ้นตามวัย เชน่ เล่นบทบาทพ่อ-แม่-ลกู ครู- นักเรียน หรอื เลียนแบบตัวละครในสอื่ ท่ีไดด้ ู เป็นต้น ใน เด็กทเ่ี ป็นลกู คนเดยี วหรอื ขาดเพื่อนเลน่ อาจสร้างเพ่อื น สมมติในจนิ ตนาการได้ โดยเด็กจะเลน่ คนเดียว สง่ เสียงพูด คุยเล่น เหมอื นมเี พ่ือนเล่นจริง ๆ อยู่ดว้ ย ซงึ่ ถือว่าเป็น ภาวะปกตทิ ี่พบได้ตามวัย 6. ด้านจรยิ ธรรม มนษุ ย์ไม่ได้เปน็ สตั ว์ประเสรฐิ ตั้งแตแ่ รกเกิด การทีม่ นุษย์จะประเสรฐิ ไดเ้ กิดจากการทตี่ ้อง ฝึกฝน และฝืนตนเอง มิฉะนั้นเราก็ไม่ต่างอะไรจากสัตวท์ ท่ี ำทุกอย่างไปตามสัญชาตญาณ ผ้ทู พ่ี ฒั นาตนองจงึ สามารถทำในสิ่งทถ่ี ูกต้อง เหมาะสม ท้ังๆที่อาจไม่ถูกใจหรือฝนื ใจไม่ทำส่งิ ที่ไม่ถกู ต้องท้ังๆใจปรารถนา อยากจะทำ วัยนี้เปน็ ชว่ งสำคญั ในการปลูกฝังสรา้ งพฤตกิ รรมท่ดี ีงามให้คุ้นเคยโดยไปอยู่ในชวี ิตประจำวนั ทั้ง การดูแลตนเอง กินอาหารเอง เคารพกติกา รักษามารยาท สือ่ สารอยา่ งมีสัมมาคารวะผูอ้ าวโุ ส ฝกึ ให้มี น้ำใจ เสียสละ ชว่ ยเหลือคน รอบขา้ ง ความเหน็ อกเห็นใจผู้อ่ืน และตอบแทนบญุ คุณผู้ใหญ่ เชน่ รวู้ ่าแม่ กำลังเศรา้ และอยากจะเขา้ ไปปลอบ ดังน้ัน การพัฒนาพฤตกิ รรมคุ้นเคยที่ดงี ามนจ้ี ะเปน็ การพฒั นาจิตใจ ไปพร้อมกัน คือ ยงิ่ ช่วยผ้อู ืน่ ยงิ่ มนี ำ้ ใจ เสยี สละและมจี ติ อาสาเพมิ่ ขน้ึ วยั นจ้ี ึงเป็นชว่ งเวลาสำคญั ในการ ส่งเสรมิ ให้เดก็ มีคุณธรรม7. พฒั นาการทางเพศ เด็กวัย 3-6 ปี จะเข้าใจวา่ ตนเองเป็นเพศใด สามารถแยกความแตกต่างของลักษณะและบทบาท ของแตล่ ะเพศได้ นอกจากน้ยี งั เรมิ่ เข้าใจวา่ เพศเป็นสิ่งทตี่ ดิ ตัวถาวรไมเ่ ปล่ียนแปลงตามลกั ษณะภายนอก หรือการแต่งกาย เชน่ เม่ือ เด็กเหน็ ผูห้ ญงิ ท่ีไว้ทรงผมส้นั คลา้ ยผชู้ าย และใส่กางเกง เด็กกย็ ังสามารถบอก ได้ว่า ผู้ท่เี ขาเหน็ เป็นผหู้ ญงิ ไม่ใช่ ผู้ชาย วยั 6 ปี เด็กจะยอมรบั เพศของตนและแสดงบทบาททางเพศท่ี เหมาะสม ความอยากร้อู ยากเห็นในเร่ืองเพศ ในวัยอนบุ าลจะเปน็ ไปตามธรรมชาติ เดก็ อาจสนใจสำรวจ อวยั วะเพศหรอื อวัยวะอื่นท่ีบ่งบอกเรื่องเพศ จงึ ไม่ควร ลงโทษเดก็ แต่ควรช้ีแจงงา่ ยๆ ส้นั ๆ ให้พอเข้าใจแตต่ ้องสอนใหร้ ูจ้ กั สิทธิของบคุ คล เชน่ จับหน้าอกแม่หรอื ผู้อน่ื ไมไ่ ด้ นอกจากนคี้ วรสอนเด็กใหร้ ะมดั ระวัง ตัวไม่ควรใหผ้ ูอ้ ื่นมาดูหรือจบั อวัยวะเพศของเดก็ ด้วย ไม่ควรส่งเสรมิ ให้ เด็กแสดงหรือแตง่ ตวั เกินวัยหรอื เลียนแบบการแต่งตัวของผู้ใหญ่ทีเ่ ปดิ เผยรา่ งกายอยา่ งไมเ่ หมาะสม 5.การเฝ้าระวังความผดิ ปกติ หลกั การแก้ไขปัญหาในเด็กเบ้ืองต้น
34 การเฝ้าระวังความผดิ ปกติขั้นแรกคือผปู้ กครองจะต้องเปน็ ผู้สงั เกตและเฝา้ ระวังถงึ ความผดิ ปกตขิ องบุตรใน หลายๆเรอื่ งที่สามารถเกดิ ขึน้ ได้ ทัง้ จากตัวเด็กเองและสภาพแวดล้อม อาหารการกิน การเกิดอุบัติเหตซุ ึ่งที่กลา่ วมา นี้ผ้ปู กครองจะต้องระมดั ระวังสอดส่องดูแลบุตรไม่ให้คาดสายตาและให้การสง่ เสรมิ อยู่เสมอทัง้ ดา้ นรา่ งกาย อารมณ์ สงั คม สติปญั ญา 1. ปัจจยั จากตัวเด็ก เด็กในวยั นีเ้ ป็นวยั ท่เี รยี นรู้ผา่ นการสงั เกต การลงมือทำ มจี นิ ตนาการสงู เดก็ จะอยาก ลองทำส่ิงต่างๆ ดว้ ยตนเอง ในขณะเดยี วกนั ทักษะด้านต่างๆ ยังอยู่ในช่วงท่กี ำลังพฒั นา จงึ เป็น ชว่ งท่เี ด็กจะเกิด ความหงุดหงดิ ขัดใจในตวั เองได้บ่อย เม่ือไม่ไดใ้ นส่ิงท่ีต้องการ และยังเป็นวัยที่ยังควบคมุ อารมณ์ของตนเองได้ไมด่ ี นกั 2. ปจั จัยจากผเู้ ล้ยี งดู ผูเ้ ลยี้ งดบู างส่วนขาดความรูค้ วามเขา้ ใจเกย่ี วกับการดูแลเด็กในวัยน้ีท้งั ในด้าน โภชนาการ การสง่ เสริมพฒั นาการการเรยี นรู้ และการจดั การเร่อื งอารมณ์ ทำใหเ้ กดิ การตอบสนองอย่างไม่ เหมาะสมของผเู้ ล้ยี งดู เช่น รักและตามใจมากเกนิ ไปจนเด็กเอาแต่ใจ ควบคุมอารมณ์ได้น้อยปกป้องหรือวิตกกังวล มากเกนิ ไปจนเด็กขาดโอกาสฝึกฝน จะทำให้ปัญหาตา่ งๆจัดการไดย้ ากขึ้น 3. รบั ประทานอาหารไมเ่ หมาะสม อาหารทีเ่ หมาะสมสำหรับเด็กวัยอนุบาลควรกนิ อาหารมอ้ื หลัก 3 มื้อ ได้รับขา้ ว หรอื อาหารประเภทแป้ง วันละ 4 - 5 ทพั พี กบั ข้าวแตล่ ะมื้อควรมีเนื้อสตั ว์ ประมาณ 2 ชอ้ นโตะ๊ ไขว่ นั ละ 1 ฟอง ผกั ประมาณ 2 ทัพพี นำ้ มันพืช เช่น น้ำมนั ถว่ั เหลือง ปรมิ าณเล็กน้อย ใหผ้ ลไมเ้ ป็นอาหารว่าง 1 ม้อื และให้นมววั ครบส่วนเปน็ ประจำทุก วัน วนั ละประมาณ 2 - 3 แก้ว แก้วละประมาณ 7 - 8 ออนซ์ โดยอาหารมื้อหลักทง้ั 3 ม้อื นื้ ม้ือเช้าจดั เปน็ ม้ือท่ี สำคัญทส่ี ดุ สมองต้องการพลังงานจากอาหารจงึ จะทำงานได้ตามปกติ ถ้าอดอาหารจะไม่ มสี มาธิ ความ ตง้ั ใจลดลง สบั สน หงดุ หงดิ เพลีย งว่ งนอน จะกระทบต่อผลการเรียนในระยะยาว อาหารว่าง สำหรับ เดก็ วัยนีก้ ็เป็นส่ิงสำคัญ เพราะเดก็ กำลงั เจริญเตบิ โตแต่ความจุกระเพาะยังนอ้ ย ดังนั้นจงึ ต้องกินเพ่มิ เติม ระหว่างมือ้ เพอื่ ใหไ้ ดร้ ับพลงั งาน และสารอาหารใหเ้ พียงพอ ถึงแม้เดก็ จะไดร้ ับเน้ือสัตว์ และ ไข่ ซึ่งเปน็ แหล่ง อาหารโปรตนี ท่ีดแี ต่กย็ ังจำเป็นต้องใหน้ มวัวครบส่วนแก่เดก็ เป็นประจำทุกวัน เพราะนมเป็นแหล่ง อาหารทดี่ ีทส่ี ดุ ของแคลเซยี ม ซ่งึ เปน็ แร่ธาตุที่มคี วามสำคัญ และจำเป็นต่อการเจรญิ เติบโต และเสริมสรา้ ง ความแขง็ แกร่งของ กระดูกและฟนั นอกจากน้ีแคลเซียมยงั มคี วามสำคัญต่อการทำงานของระบบประสาท อีกดว้ ย อาหารท่ีไมเ่ หมาะสมกบั เดก็ วัย 3-6 ปี นมเปรยี้ วพรอ้ มด่มื ใช้แทนนมสดไม่ได้ เด็กไม่ควรด่มื มากกวา่ 1 กลอ่ ง หรอื 1 ขวดเล็กตอ่ วัน เพราะผลิต จากนมพร่องมันเนย นมธรรมดา หรือนมสดท่ีมคี ณุ คา่ น้อย แต่มนี ำ้ ตาลสงู ซ่ึงไม่ เหมาะกบั เด็กวัยนี้ นมถัว่ เหลอื งแมจ้ ะมีปริมาณโปรตนี สูงใกลเ้ คียงนมวัว แตม่ ีวติ ามนิ และแร่ธาตุต่ำมาก โดยเฉพาะ แคลเชยี ม ถ้าต้องการดม่ื นมถ่ัวเหลอื งเพ่ือตอ้ งการแคลเซียมจะตอ้ งดม่ื นมถ่ัวเหลืองถึง 3 -5 กล่อง จึงจะเทา่ การด่ืม นมววั เพยี ง กล่องเดยี ว ลกู กวาด ขนมหวาน น้ำหวาน น้ำอัดลม ชอ็ กโกแลต อาหารจานด่วนไมค่ วรให้เด็กกนิ เป็น ประจำ เพราะ จะทำให้กนิ อาหารม้ือหลักน้อย ชูบผอมและขาดสารอาหาร หรือกลายเป็นโรคอว้ นเนื่องจาก ผลิตภณั ฑเ์ หล่าน้ี ประกอบดว้ ยแป้งและน้ำตาลสูง แต่ขาดสารอาหารและแร่ธาตุอน่ื ๆ ซึ่งจำเป็นต่อการเจรญิ เตบิ โต
35 ของเด็ก นำ้ ตาล ในขนม จะทำให้เด็กไมห่ วิ เม่ือถึงเวลาอาหาร และทำให้ฟนั ผุ ขนมขบเค้ียว (ขนมถงุ ) ประกอบดว้ ย แปง้ ขมัน เกลือ บางชนิดจะมีผงชรู สด้วย จงึ ไมเ่ หมาะกับเด็ก ส่วนบะหม่ีสำเร็จรปู น้นั หา้ มเดก็ กินแห้ง ๆ เปน็ ของ ว่าง เพราะจะเข้า ไปพองอดื ในกระเพาะอาหารและดูดนำ้ ทำใหร้ า่ งกายเสยี น้ำ ซุปไก่สกัดเป็นผลติ ภณั ฑ์ท่ีไมม่ คี วาม จำเป็นต่อรา่ งกาย เปรียบเทยี บง่ายๆ การดม่ื ซปุ ไก่สกัด 5 ขวด จะได้ โปรตีนเท่ากับไก่ย่าง 1 น่อง หรือถ้าดม่ื 290,000 ขวด จะได้แคลเซยี มเทา่ กับ นม 1แกว้ หรือดื่ม 3 ขวดจะได้โปรตนี เท่ากับไข่ไก่ 1 ฟอง นำ้ มันปลาทะเล ไม่มหี ลกั ฐานใดทแี่ สดงว่าการบริโภคนำ้ มนั ปลาทะเล ทำให้เดก็ ฉลาดมากขนึ้ และทำให้ ผสู้ ูงอายุมคี วามจำดขี น้ึ นำ้ มนั ปลาทะเลไมส่ ามารถรักษาความผดิ ปกติของสมองใดๆ ทั้งสิ้น ทงั้ ในเด็ก ผู้ใหญ่ และผู้ สูงอายไุ มค่ วรซื้อนำ้ มนั ปลาทะเลรับประทานเอง โดยเฉพาะน้ำมนั ตับปลาทะเล มีอันตรายมาก เน่ืองจาก 46 มวี ิตามนิ เอ และดี ถา้ บรโิ ภค มากๆ อาจเกดิ เป็นพิษจากวติ ามนิ เอ หรอื วิตามินดี เกินได้ เพ่อื ความปลอดภัย ควรบริโภคปลาทะเลแทนนำ้ มนั ปลา ทะเล เด็กกลุม่ เสยี่ งต่อปญั หาการเรียน ประเทศไทยกำลงั ประสบกับปญั หาในการพัฒนาเดก็ ของชาติ พบปัญหา การเรียนในเด็กสูงมาก โดยดูจากผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น ขณะทดี่ า้ นการแพทยม์ รี ายงานในเด็กวัยเรียนท่ีพบโรค ทางกายและโรค ทางพฒั นาการทีเ่ ป็นสาเหตุทำให้การเรียนบกพร่องอยู่เป็นจำนวนมาก เชน่ คอพอกจากขาดสาร ไอโอดีน ร้อยละ 7 โลหิตจาง รอ้ ยละ 20.5 สายตาผดิ ปกติ ร้อยละ 6-8 ภาวะสติปัญญาบกพร่อง ร้อยละ 4.1 โดย ในบางพื้นท่ีพบภาวะสติปัญญาบกพร่องสงู ถึงร้อยละ 43.3 โรคสมาธิสัน้ รอ้ ยละ 2.4-8 ภาวะบกพร่อง ในทักษะ การเรียนรู้ (Specific learning disordesr: SLD) รอ้ ยละ 6-10 ซ่ึงส่งผลให้มีปญั หาการเรียน โดยตรง ลักษณะ ครอบครัวของเด็กท่ีมีความเสี่ยงตอ่ ปญั หาการเรยี น มปี ญั หาการเรียนในครอบครวั หรอื ญาติ มปี ญั หาการเรยี นในวยั เดก็ เชน่ สอบไมผ่ ่าน ต้องซ้ำชน้ั เรียนไมจ่ บ เป็นโรคทางพัฒนาการหรือจติ เวช เช่นสมาธิสัน้ ครอบครัวท่ผี ู้ปกครอง ไม่มเี วลาหรือไม่มีทักษะในการฝึกฝนทักษะสำคัญสำหรับการเรยี นของเด็ก เช่น ฝกึ การทำงานของตา-ห-ู มือ ผา่ น การเล่น ขาดการพูดคุย อ่านหนังสือ หรอื ทำกิจกรรมร่วมกับเดก็ ขาดการฝึกวินัย ขาดการสรา้ งแรงจูงใจ ขาด ทกั ษะการรับฟงั ความคดิ เห็นของเด็ก ลกั ษณะเด็กที่มคี วามเสี่ยงตอ่ ปัญหาการเรยี น ปัญหาการเรยี น อาจสังเกตเหน็ ได้ในระดับอนบุ าล โดยดจู าก รายละเอียดต่อไปนี้ 1. พดู ช้า ทำตามคำสั่งได้ไมด่ ี ความเข้าใจภาษาต่ำ รบั รยู้ าก พูดน้อย 2. อยู่ไมน่ ่งิ ความสนใจส้ัน สมาธิไมด่ ี 3. ใช้มอื ไม่คล่อง งุ่มงา่ ม 4. เลน่ ไมเ่ ก่ง หรือมีปัญหาในการอยรู่ ว่ มกับผ้อู ืน่ 5. จดจำพยัญชนะหรือตวั เลขไดล้ ำบาก ไม่เข้าใจในจำนวนและทศิ ทาง 6. ระบบประสาททำงานไมส่ ัมพนั ธ(์ มือ-ตา-ห-ู แขนขา จบั ขอ้ มลู จากการฟังและเหน็ ภาพไมไดห้ รือทำไดไ้ ม่ดี แนวทางช่วยเหลือ
36 1. คดั กรองเดก็ กล่มุ เสยี่ ง และประเมนิ สาเหตุ 2. วางแผนใหค้ วามช่วยเหลอื ในดา้ นต่างๆ ที่มีปญั หา โดยทีมสหวชิ าชีพรว่ มกบั พ่อแม่ 3. การให้ความช่วยเหลอื โดยสหวิชาชพี ทมี (นักฝกึ พดู นักกิจกรรมบำบัด ครูพละ ครูดนตรี ครู ศิลปะ ซึ่งควรทำ เบ็ดเสรจ็ ภายในโรงเรียน 4. ดำเนนิ การและติดตามประเมนิ ผลเป็นระยะ
37 บทที่ 5 ผู้วจิ ัย สรปุ ผลการวจิ ยั อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ งานวิจัย เร่ือง การศกึ ษาวัฒนธรรมการอบรมเล้ยี งดูเดก็ ปฐมวัยกรณศี กึ ษาชุมชนบ้านชากไทย เสนอ สรุปผลการวิจัย อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ ดงั นี้ สรุปผลการวจิ ัย การศกึ ษาวฒั นธรรมการอบรมเลีย้ งดเู ด็กปฐมวัยกรณศี ึกษาชุมชนบา้ นชากไทยเป็นการศึกษาเพอ่ื เขา้ ใจถึง วัฒนธรรมการอบรมเล้ียงดเู ด็กของชมุ ชนบา้ นชากไทยมีวตั ถปุ ระสงค์เพ่ือศึกษาวัฒนธรรมการอบรมเลีย้ งดเู ด็ก ปฐมวัยในชุมชนชากไทย จังหวัดจนั ทบรุ ี ภาคตะวันออก ใช้การเลอื กกลมุ่ ผู้ให้ขอ้ มูลดว้ ยเทคนิคการเลอื กแบบ เจาะจง กลุ่มผู้เช่ยี วด้านข้อมูลทว่ั ไปในชุมชนชากไทย ผเู้ ชี่ยวชาญด้านด้านการอบรมเลี้ยงดูในหมู่บ้าน 5 ทา่ น เครอ่ื งมือท่ีใช้ในการศกึ ษา คือ การสัมภาษณเ์ ชิงลึก การสัมภาษณแ์ บบไมเ่ ป็นทางการ การสังเกตแบบมีส่วนรว่ ม และแบบไม่มีสว่ นร่วม เพอ่ื เป็นการตรวจสอบข้อมลู และเพ่ิมเตมิ ข้อมลู ท่ีอาจขาดหายหรือไมส่ มบูรณ์ กรอบแนวคิด ในการศึกษา ดา้ นข้อมูลทวั่ ไปของหมู่บา้ น ด้านประเพณแี ละวัฒนธรรมทีเ่ กี่ยวข้องกับวิถีชวี ติ ดา้ นการอบรมเลยี้ งดู บุตร การวิเคราะหแ์ ละการตรวจสอบขอ้ มลู ดำเนินไปพรอ้ มๆ กับการเกบ็ ข้อมูลในหมบู่ ้าน ผ้วู จิ ยั ลงพ้ืนที่ภาคสนาม ซ่ึงจะทำการเปรียบเทียบข้อมูลทไี่ ดร้ บั จากหมูบ่ า้ นแลว้ นำมาวิเคราะห์ และตรวจสอบความถกู ต้องของขอ้ มูลอีกครง้ั จากผู้เชย่ี วชาญ หรอื สงั เกตจากพฤตกิ รรมต่างๆ ทผ่ี ูว้ จิ ัยพบเห็นในการดำเนนิ ชวี ติ ของผู้ปกครอง ผู้วจิ ัยจะจดบันทึก ประจำวันตอ่ เหตุการณ์ ปรากฏการณท์ ่ีพบนำมาจำแนกและจัดหมวดหมู่ประเภทของข้อมลู และสรุปแบบตีความ โดยยดึ หลกั การตรวจสอบแบบสามเสา้ จากผลการศึกษาไดเ้ นื้อทาทว่ี เิ คราะหเ์ พอื่ ตอบคำถามและอธิบาย ปรากฏการณ์ท่เี กิดข้ึน พอสรุปได้ดังนี้ 1. โครงสร้างทางกายภาพและบรบิ ทชมุ ชน เนอื่ งจากหมู่บ้านท่ีเข้าศึกษาทั้งหมด 1 หมู่บา้ น มกี ารตั้งบ้านเรือนทีไ่ ม่แตกต่างกนั มากนัก น่นั คือ สว่ นใหญต่ ั้งอยู่ราบร่มุ มีความอุดมสมบรู ณ์ มีภูเขาล้อมรอบและมลี ำธารไหลผา่ น และจะอย่หู า่ งไกลจากตัว อำเภอหรือตัวจังหวดั ไมม่ ากนัก การเดินทางไม่ลำบาก การสร้างบ้านเรือนค่อนข้างทันสมัยการเดินทาง สะดวกสบาย แตล่ ะหมูบ่ ้านมีการพัฒนาตนเองไปพร้อมกับการเปลยี่ นแปลงของสงั คมในยุคสมัย ในดา้ นต่างๆ เช่น ดา้ นการศึกษา การดำเนินชวี ติ ด้านวฒั นธรรม ประเพณี การแตง่ กายภาษา ใหเ้ ปน็ ไปตามการเปล่ยี นแปลง ของโลกในยุคปจั จุบัน แต่การอบรมเลี้ยงดูเด็กท่ีผรู้ ้ใู นอดตี ถา่ ยทอดให้กับคนรุ่นใหม่นนั้ ยังไม่มีการเปลยี่ นแปลง ชมุ ชนบา้ นชากไทยจะเลย้ี งดูเด็กตามสภาพความเป็นอยู่ของครอบครัวท่ีมุง่ เนน้ ให้เด็กเจริญเติบโตขน้ึ ทจี่ ะ
38 สามารถช่วยเหลอื ครอบครวั ในดา้ นการประกอบอาชีพโดยท่ีมโี อกาสในการศึกษาเลา่ เรยี นมีนอ้ ย การอบรม เลี้ยงดเู ดก็ ของชนบา้ นชากไทยนั้นยังคงไว้ซ่ึงวฒั นธรรม ประเพณี พีธีกรรม ความเชื่อทีส่ บื ทอดกันมาได้อยา่ ง เหนยี วแนน่ ยงั ไมม่ ีความรู้หรือวิทยาการใหมๆ่ เข้ามามีบทบาทในชีวติ ของชุมชนบา้ นชากไทย ชมุ ชนบา้ นชาก ไทยในอดีตจึงสามารถพูดภาษาชองและเข้าใจวัฒนธรรมอนั ดงี ามของชมุ ชนบ้านชากไทยเป็นอยา่ งดี ซึ่งตา่ ง จากผปู้ กครองรุ่นใหม่ในปัจจุบนั ในแต่ละหมู่บา้ น มีความเจริญและการเขา้ ถึงทางด้านเทคโนโลยี ดา้ นการศึกษา ด้านงองคค์ วามรู้ตา่ งๆ จึงทำให้ให้ในแตล่ ะหมู่บา้ นมีการเปล่ยี นแปลงไปพร้อมกับการเลือนหายของวฒั นธรรม อนั ดงี ามไปบา้ ง แม้จะไดร้ บั การถา่ ยทอด จากบรรพบรุ ุษก็ตาม แต่คนรนุ่ ใหม่ยังไมส่ ามารถรักษาไว้ไดท้ ้ังหมด นน่ั คือ ภาษาชอง รวมทั้งการส่ือสารภาษาชองในปัจจุบนั จะใช้สอ่ื สารกนั เฉพาะผ้เู ฒ่าผ้แู กในหมูบ่ า้ น สว่ นคนร่นุ ใหมส่ ว่ นใหญ่แล้วจะสื่อสารด้วยภาษาไทยกลาง 2. ด้านประเพณี และวัฒนธรรมทเ่ี กยี่ วข้องกบั การดำเนนิ ชวี ติ ชุมชนบา้ นชากไทยมีประเพณี วฒั นธรรมเป็นเอกลกั ษณ์ของตนเอง และมีการสืบ ทอดวิถีปฏิบตั ิต่อกันมาอย่างยาวนาน บางส่วนได้ผา่ นการปรับเปลีย่ นเพอื่ ความเหมาะสมและสอดคล้องกบั สภาพสังคม การดำรงชีวิตทเี่ ปล่ียนไป อย่างไรกต็ ามชุมชนบา้ นชากไทยก็ยังดำเนนิ ชีวติ ภายใต้กรอบ ประเพณี วัฒนธรรมอย่างเครง่ ครัด สมาชิกในสังคมมีข้อทพี่ ึงปฏิบตั ิและข้อห้ามในการกระทำอยู่มาก การละเมิดจารีต ประเพณี จะเป็นการนำมาซง่ึ ความอปั มงคลและถือเป็นการกระทำผดิ ต่อเจตนารมณ์ของบรรพบุรษุ แม้ กาลเวลาและยุคสมยั จะเปลี่ยนไปมากเท่าใด กย็ ังคงรกั ษาไว้ซง่ึ ประเพณี อย่างเหนียวแนน่ จากการสมั ภาษณ์ ผ้เู ชีย่ วชาญดา้ นประเพณี วฒั นธรรม ของแตล่ ะหม่บู า้ น ได้ใหข้ อ้ มลู ท่ีตรงกันวา่ ประเพณี และวัฒนธรรมที่ เกิดขึ้นในแต่ละหมู่บ้านจะมจี ดุ ประสงคเ์ ด่ียวกันและเกิดข้นึ ในชว่ งวนั เวลาทต่ี รงกันกนั แตท่ ี่แตกต่างกนั คอื ใน ดา้ นของลักษณะ และรูปแบบการจัดกจิ กรรมเท่านัน้ จากการศกึ ษาขอ้ มูลทำให้ทราบว่าในแตล่ ะปีชุมชนบ้าน ชากไทยแต่ละหม่บู ้านมีประเพณี วัฒนธรรมที่เก่ียวข้องกบั วิถกี ารดำเนินชีวติ ดังน้ี - ประเพณลี อยกระทง - ประเพณีสงกรานต์ -ประเพณีอาบนำ้ คนแก่ -ประเพณีสารทเดือนสบิ ประเพณลี อยกระทง
39 การลอยกระทง (ขึ้น 15 ค่ำ เดอื น 12) เมื่อถงึ วนั เพ็ญพระจนั ทรเ์ ต็มดวงในเดือน 1 2 ชาวบ้านจะจดั เตรียม ทำกระทงจากวัสดทุ ่หี างา่ ยตามธรรมชาติ เช่น หยวกกลว้ ย และดอกบัว นำมาประดษิ ฐ์เป็นกระทงสวยงาม ปักธูป เทียนและดอกไม้ เคร่ืองสกั การบชู า ก่อนทำการลอยในแมน่ ้ำกจ็ ะอธิษฐานในส่ิงที่มุ่งหวงั พรอ้ มขอขมาตอ่ พระแม่คง คา ตามคุ้มวัดหรือสถานทจี่ ัดงานหลายแหง่ มีการประกวดกระทง ประกวดนางนพมาศ และมมี หรสพสมโภชใน ตอนกลางคนื นอกจากนน้ั ยังมกี ารจดุ ดอกไม้ ไฟ พลุ ตะไล ซ่งึ ในการเลน่ ต้องระมัดระวงั เป็นพเิ ศษ วัสดุท่นี ำมาใช้ ทำกระทง ควรเปน็ ของท่สี ามารถยอ่ ยสลายได้ง่ายตามธรรมชาติ ประเพณีสงกรานต์ พิธีกรรมที่เกิดข้นึ ภายในครอบครัว หรอื ชุมชนบ้านใกล้เรือนเคียง แต่ในปัจจุบนั ได้มีการเปลย่ี นแปลงให้พธิ ี สงกรานตน์ ั้นเป็นเทศกาลสงกรานต์ โดยไดข้ ยายออกไปสูค่ มเปน็ วงกว้างมากขึน้ และมแี นวโนม้ ท่จี ะเปลี่ยนทศั คติ ตลอดจนความเชื่อไป แตเ่ ดมิ ในพิธีสงกรานตจ์ ะใช้ น้ำ เปน็ สญั ลักษณ์ท่ีเป็นองค์ประกอบหลักของพธิ ี แก้กันกับ ความหมายของฤดูร้อน ชว่ งเวลาท่ีพระอาทิตยเ์ คล่อื นเขา้ สู่ราศเี มษ ในวันนจ้ี ะใชน้ ้ำรดให้แก่กันเพือ่ ความชมุ่ ชืน่ มี การขอพรจากผใู้ หญ่ มีการรำลึกและกตัญญตู ่อบรรพบรุ ุษท่ีลว่ งลับ ต่อมาในสงั คมไทยสมัยใหมเ่ กิดเป็นประเพณี กลับบา้ นในชว่ งเทศกาลสงกรานต์ นบั วา่ วนั สงกรานต์เปน็ วนั ครอบครัว อีกทง้ั ยังมีประเพณีที่สืบทอดมาตั้งแต่ ดงั้ เดิม อยา่ ง การสรงน้ำพระท่นี ำมาซึง่ ความเป็นสริ มิ งคล เพอื่ ใหเ้ ป็นการเริม่ ต้นปใี หม่ที่มีความสขุ ประเพณอี าบนำ้ คนแก่ ระหว่างวนั ท่ี ๑๓-๑๕ เดอื นเมษายน (เดอื น ๕) ของทุกปี ซ่ึงจะเลือกทำวนั ไหนก็ได้ จะเปน็ ตอนเช้า หรือตอน บ่ายเป็นไปตามการนดั หมายของแต่ละครอบครวั แต่ละบา้ นโดยนดั หมายสถานท่แี ละวันเวลาไว้ล่วงหน้าเป็น ประจำทุกปี ซึง่ อาจเป็นทบี่ ้านหรอื ท่วี ัดก็ได้ตามความเหมาะสม ความสำคญั ประเพณอี าบนำ้ คนแกเ่ ป็นวธิ ีการ แสดงออกซง่ึ ความเคารพนบั ถือ แกบ่ ิดามารดา และญาติคนแก่ (ผอู้ าวุโส) ของตระกูล รวมทั้งผูม้ ีพระคุณและ บุคคลท่ีตนเคารพนับถอื ประเพณสี ารทเดอื นสิบ ระยะเวลาของการประกอบพธิ สี ารทเดือนสิบมีขึ้นในวันแรม ๑ ค่ำถึงแรม ๑๕ คำ่ เดือนสบิ แต่วนั ที่ชาว นครศรีธรรมราชนยิ มทำบุญคือวนั แรม ๑๓-๑๕ คำ่ เปน็ ความเช่อื ของพุทธศาสนิกชนชาวนราธิวาส ทเี่ ช่อื ว่าบรรพบุรุษอันได้แก่ ปู่ยา่ ตายาย และญาติพน่ี ้องที่ลว่ งลบั ไปแล้ว หากทำความช่ัวจะตกนรกกลายเปน็ เปรต ต้องทนทุกข์ทรมานในอเวจี ต้องอาศยั ผลบุญที่ลกู หลานอทุ ิศสว่ น กุศลให้แต่ละปมี ายังชีพ ดงั นั้นในวันแรม ๑ คำ่ เดอื นสบิ คนบาปทง้ั หลายทเี่ รยี กว่าเปรตจงึ ถูกปล่อยตัวกลบั มายงั โลกมนษุ ย์เพ่ือมาขอ สว่ นบุญจากลกู หลานญาติพ่ีน้อง และจะกลับไปนรกในวันแรม ๑๕ ค่ำ เดอื นสบิ ในโอกาสน้เี องลกู หลานและผู้ยงั มีชีวติ อยจู่ ึงนำอาหารไปทำบญุ ที่วดั เพอื่ อุทิศส่วนกุศลให้แกผ่ ู้ท่ีล่วงลบั ไปแล้ว เป็น การแสดงความกตญั ญูกตเวที
40 4.1.2 การส่งเสริมพัฒนาการดา้ นอารมณ์ จิตใจ การแสดงความรักและการเอาใจใส่ พบว่าครอบครัวชมุ ชนบ้านชากไทยเป็นครอบครัวที่อบอุ่น เปน็ ครอบครัวใหญ่ท่อี ยู่กนั พร้อมหนา้ พรอ้ มหนา้ ทุกคนต่างแสดงความรกั ความเอาใจใสก่ บั เด็กๆ โดยเฉพาะครอบครัวที่ มหี ลานคนแรกและเป็นลูกผู้ชาย แตก่ ็มบี างครอบครัวท่ีลูกไม่ได้อยูก่ ับพอ่ แม่ ผู้ท่ีมอบความรกั ความเอาใจใส่แทน ก็ คือผู้ดูแล เน่ืองจากเด็กยงั เล็กจงึ ยังไมเ่ ห็นวา่ เดก็ ไม่มีความสุขหรอื ว่า ไม่รับความรกั จากพอ่ แม่ การแสดงความรัก ของผู้ปกครองชุมชนบา้ นชากไทยที่กระทำต่อลูกคือ การกอด หอมแก้ม และบอกรกั รวมทั้งการเล้ียงดูลูกบน พืน้ ฐานของครอบครวั ท่ีรักและเขา้ ใจกันไมท่ ะเลาะหรือตบตใี ห้ลกู เห็น และมีการทำกิจกรรมตา่ งๆ ในวนั วา่ งจาก การทำงานและในช่วงเวลาเย็นๆ ก่อนนอน สิ่งเหลา่ นีก้ เ็ ป็นการสง่ เสรมิ พฒั นาการดา้ นอารมณ์ จติ ใจ ทจ่ี ะสามารถ ทำใหเ้ ด็กชุมชนบ้านชากไทยมีความสุข จากความรกั และความอบอุ่นทผ่ี ู้ปกครองมอบให้ได้ 4.1.3 การส่งเสริมพัฒนาการทางสังคม ครอบครวั ชนเผา่ อ้ิวเม่ยี นอยู่กันแบบเก้ือกลู ซึ่งกันและกนั ฉะนน้ั การเรียนรู้การเข้าสงั คมของเด็กๆ จะ เกดิ ขน้ึ ตัง้ แตเ่ ล็กๆ โดยที่ผูป้ กครองจะพาไปรว่ มกิจกรรมต่างๆ อาทิเช่น งานประเพณี พธิ ีกรรม หรอื งานมงคล ต่างๆ ท่ีเกิดขึน้ ภายในชุมชน อกี ท้ังการไปมาหาสซู่ ่ึงกนั ระหวา่ งผู้คนในหมบู่ ้าน ทำใหเ้ ดก็ ไดม้ ีเพ่อื นทัง้ ในวัยเดียวกันและ ต่างวัย ไดเ้ รยี นรู้การเป็นพน่ี ้อง การเล่นรว่ มกนั การแบง่ ปันและการเปน็ ผนู้ ำผตู้ ามจากการเล่นกบั เพ่ือนในหมบู่ ้าน โดยมีผู้ปกครองเป็นแบบอย่างที่ดใี นการเข้าสังคมการเรียนรู้วัฒนธรรมของเดก็ ชุมชนบ้านชากไทยไดร้ บั การ ถา่ ยทอดตง้ั แตเ่ ด็กยงั เล็กวัฒนธรรมบางประการเปน็ ส่ิงทล่ี ึกซ้งึ ละเอยี ดอ่อน เด็กยังไมส่ ามารถเข้าใจได้ แต่ยังมี วัฒนธรรมที่บง่ บอกถึงรากเหง้าของการเป็นชุมชนบา้ นชากไทย ทผ่ี ปู้ กครองถ่ายทอดให้กับเดก็ ๆ ให้เรยี นรตู้ ้งั แต่เกดิ นั่นคอื ภาษา ประเพณี พธี กี รรมต่างๆ แม้วา่ เด็กยังเล็กและยงั ไมเ่ ข้าใจ แต่ผ้ปู กครองกเ็ ชือ่ วา่ ส่งิ ท่ีเดก็ ได้เรียนรู้ ได้ สมั ผสั ในวถิ ีชวี ิตประจำวันของจะมซบั ให้กบั เด็กทกุ ๆ วันและทำให้เด็กมีความเข้าใจและเหน็ คุณคา่ ของวฒั นธรรมได้ วธิ กี ารทป่ี กครองจะถ่ายทอดวัฒนธรรมหรอื ความเปน็ ตัวตนของชุมชนบา้ นชาก 4.1.4 การส่งเสริมพัฒนาการดา้ นสตปิ ญั ญา การส่งเสรมิ พัฒนาการดา้ นสติปญั ญา สิ่งทผ่ี ปู้ กครองชุมชนบ้านชากไทยส่งเสริมพัฒนาการใหเ้ ดก็ ๆ ได้ น้นั คอื การหาของเลน่ สอื่ การเรยี นรู้ ท่ีมอี ยู่ในท้องถ่ินและท่ีจัดซื้อ แต่ในครอบครัวที่มฐี านะทางครอบครวั ไมด่ ีนัก การส่งเสริมก็เปน็ ไปตามสภาพครอบครวั และหน้าที่ส่วนใหญจ่ ึงตอ้ งเป็นครูท่ีต้องส่งเสริมให้กับเด็กๆ
Search