Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ออกแบบทัศนศิลป์

ออกแบบทัศนศิลป์

Published by Apisak Chuwongwan, 2022-01-20 03:45:22

Description: ออกแบบทัศนศิลป์

Search

Read the Text Version

จุ ด ป ร ะ ส ง ค์ ก า ร เ รี ย น รู้ 1 . นั ก เ รี ย น ส า ม า ร ถ อ ธิ บ า ย ง า น ทั ศ น ศิ ล ป์ ท่ี เ ห ม า ะ ส ม กั บ โ อ ก า ส แ ล ะ ส ถ า น ท่ี ไ ด้ อ ย่ า ง ถู ก ต้ อ ง 2 . นั ก เ รี ย น ส า ม า ร ถ อ อ ก แ บ บ ง า น ทั ศ น ศิ ล ป์ ไ ด้ แ ล ะ นา ไ ป ใ ช้ ไ ด้ อ ย่ า ง ส ร้ า ง ส ร ร ค์ 3 . นั ก เ รี ย น ส า ม า ร ถ ถ่ า ย ท อ ด ค ว า ม คิ ด ใ น ก า ร อ อ ก แ บ บ ง า น ทั ศ น ศิ ล ป์ ที่ พ บ เ ห็ น ไ ด้ อ ย่ า ง ถู ก ต้ อ ง

นักเรียนเคยพบเห็น งานทัศนศิลป์ หรือ งานออกแบบ ในสถานที่ไหนบ้าง ?

เ ร า ม า เ รี ย น รู้ กั น เ รื่ อ ง การออกแบบ

การออกแบบ • หมายถงึ การสรา้ งสรรคส์ ่ิงใหมห่ รอื ปรบั ปรงุ ดัดแปลงสิ่งท่ีมอี ยูใ่ หด้ ีข้ึนมรี ปู แบบท่ี เปล่ยี นไปจากเดิม เปน็ การถ่ายทอดรูปแบบจากความคดิ ออกมาเปน็ ผลงาน ท่ี ผ้อู ่ืนสามารถมองเหน็ รบั รู้หรอื สมั ผสั ไดโ้ ดยมจี ดุ มงุ่ หมายด้านประโยชน์ใช้สอย หรอื สุนทรยี ภาพความงามใหเ้ หมาะสมตามสถานการณ์

การออกแบบจาแนกได้ 2 แบบ • 1. การออกแบบโครงสรา้ ง คอื การออกแบบรูปรา่ งและรูปทรงของวัตถุ เพือ่ ให้ ได้สัดส่วนพอเหมาะ • 2. การออกแบบตกแตง่ คอื การใชล้ วดลายตกแต่งใหก้ บั โครงสรา้ งหลักเพื่อ ความสวยงาม

องค์ประกอบของการออกแบบ • ผลงานออกแบบสว่ นมากจะมีการผสมผสานองค์ประกอบอยา่ งกลมกลืน ตรง ตามความมุง่ หมายที่ออกแบบไว้ โดยการออกแบบน้นั จะตอ้ งคานงึ ถึงหลกั การ เพอ่ื ใหไ้ ดผ้ ลงานท่มี ีคณุ ภาพ โดยอาศยั องค์ประกอบต่อไปน้ี

เส้น (LINE) -เส้นแนวนอน ให้ความรู้สึกแสดงออกถงึ ความเงียบสงบ ผอ่ นคลาย -เส้นแนวตง้ั ใหค้ วามรสู้ ึกแสดงออกถึงความรสู้ ึกมั่นคง จริงจัง -เสน้ โค้ง ใหค้ วามรู้สึกแสดงออกถงึ ความมคี วามออ่ นไหว อ่อนโยน -เสน้ เฉียงหรอื เสน้ ทะแยง ใหค้ วามรูส้ ึกแสดงออกถึงความว่องไว ไม่มน่ั คง -เสน้ หยกั หรือเส้นซิกแซก ใหค้ วามร้สู ึกแสดงออกถึงความตนื่ เตน้ สับสน ว่นุ วาย -เส้นโคง้ แบบคลืน่ ให้ความรสู้ ึกแสดงออกถึงความลน่ื ไหล การเคลือ่ นไหวสุภาพ นุ่มนวล

ทิศทาง (DIRECTION) ลักษณะทีแ่ สดงให้รู้ว่า การออกแบบนั้นจูงใจ ให้ผู้พบเห็นใน ทิศทางใดและรู้สึกว่าการออกแบบน้ันลักษณะเช่นใด ผู้ออกแบบสามารถเลือก และกาหนดทิศทางของภาพได้ตาม ความต้องการการออกแบบทิศทาง มีการใช้ทิศทางใน ลักษณะต่างๆ เชน่ - ส่วนประกอบพื้นฐานของศิลปะที่มีมุมเหลี่ยม ความกว้าง และ ความยาว - ระนาบ - การใชเ้ ทคนิคในการทางาน เช่น ฝแี ปรง รอยแปรง - ลักษณะของการจดั องคป์ ระกอบของภาพที่เป็นโครง - ลกั ษณะการมองของมนุษย์

รูปร่างและรูปทรง (FORM AND SHAPE) รปู รา่ ง จะมคี วามหมายถงึ การประกอบกนั ของเสน้ โค้งหรือ เสน้ ตรง เป็นลกั ษณะ 2 มิติ รปู ทรง จะมคี วามหมายถงึ การประกอบกนั ของเสน้ โค้งหรือ เส้นตรง เปน็ ลักษณะ 3 มติ ิ รปู ร่าง และ รปู ทรง จะมีลกั ษณะท่ีจาแนกความแตกตา่ งได้ ดงั น้ี - รปู รา่ ง และ รูปทรง ของธรรมชาติ - รูปรา่ ง และ รปู ทรง เรขาคณติ - รูปรา่ ง และ รปู ทรง อสิ ระ

ขนาดและสัดส่วน (SIZE AND PROPORTION) ความสัมพนั ธ์ของขนาด กวา้ ง ,ยาว สูง ,ใหญ่ ,เล็ก ,หรอื ความลกึ ของส่ิงใดส่งิ หนึ่ง หรือมีปรมิ าตรทีส่ ัมพนั ธ์กันระหว่าง สิง่ สองสง่ิ ท่ีมรี ูปทรง หรอื ขนาดแตกตา่ งกนั

ลักษณะพ้ืนผิว (TEXTURY) บริเวณผวิ นอกของวสั ดตุ า่ ง ๆ ซง่ึ มีผลตอ่ ความรู้สึกในเรือ่ ง ของ ความงาม ระยะ นา้ หนกั และประโยชนใ์ ช้สอย ลกั ษณะของพน้ื ผวิ จะรบั รู้ไดด้ ว้ ยการ รับสัมผัสทางตาและ สัมผสั ทางกาย การนาเอาพน้ื ผิวในลกั ษณะ ตา่ ง ๆ มาใช้เพ่อื สร้างสรรค์ ความงาม และประโยชน์ใช้สอย

สี (COLOUR) การรบั รคู้ วามถ่ี ของแสง คือมนุษย์สามารถรบั รู้สไี ด้เน่อื งจากโครงสรา้ งของดวงตา สมี ีอทิ ธพิ ลอย่างมาก ในเรอ่ื งของการออกแบบ นักออกแบบโดยทัว่ ไปควรทีจ่ ะรู้จัก ทฤษฎี เรื่องของสี เช่น สีร้อน สเี ย็น สคี ู่ตรงข้าม และ มคี วามรู้ในเรอ่ื งอทิ ธพิ ลของสีที่มีตอ่ ความรู้สกึ ของ คน

นา้ หนัก (VALUE) นา้ หนกั แสงและเงา ท่ีทาใหใ้ นการออกแบบนั้นท่ี มิติ มากข้ึน

ดุลยภาพ (BALANCE) ความสมดลุ ขวาซ้ายเท่ากนั ไม่ มีทางให้มากกวา่ หรอื น้อยกว่า

ความกลมกลืน (HARMONY) ลักษณะของความสัมพันธก์ นั ขององคป์ ระกอบต่างๆ ท่ี นามาประกอบเขา้ ด้วยกนั แล้วมคี วามสนบั สนุนกัน เข้า กันได้

ความขัดแย้ง (CONTRAST) เปน็ การจดั องค์ประกอบให้ตรงข้ามกนั ในเร่อื ง ของ สี หรือ เรือ่ งราวของภาพ

ความเด่น (DOMINANCE) การสรา้ งองค์ประกอบ ให้มีลกั ษณะเดน่

การเคล่ือนไหว (MOVEMENT) องค์ประกอบ ทางศลิ ปะ ทาใหร้ ู้สึกว่ามกี ารเคลื่อนไหว ผา่ น จกั ษุสมั ผสั และความรสู้ ึกของการเคล่ือนไหวนน้ั สว่ นหน่ึง ก็เกิดจาก ประสบการจากการรบั รู้ ของมนษุ ย์จากธรรมชาติ

เอกภาพ (UNITY) การจัดใหเ้ ปน็ อนั หนึง่ อนั เดียวกัน เรอื่ งราว เดียวกัน ทศิ ทางเดียวกนั

คาว่า ออกแบบงาน มี หลายประเภท



1.การออกแบบสร้ างสรรค์ - งานจิตรกรรม คือ ภาพวาด - งานประติมากรรม คือ งาน 3 มิติ งาน 2 มิติ โดยเกดิ จากการสร้าง การป้ัน การหล่อ - งานภาพพมิ พ์ คือ งานลกั ษณะ 2 มิติ สามารถทาซ้าได้ - งานสื่อผสม คือ การนาสื่อวตั ถุมากกว่า 2 ชิ้นขนึ้ ไป มาทาให้เกดิ ผลงาน 2 มิติ และ 3 มิติ - งานถ่ายภาพ คือ การถ่ายภาพ ถ่ายรูป

2.การออกแบบสถาปัตยกรรม - การออกแบบโครงสร้าง คือ การออกแบบเฉพาะโครงสร้าง เช่น บ้าน อาคาร - การออกแบบภายใน คือ การออกแบบผงั ห้อง ตกแต่ง ให้สวยงาม และคานึงถงึ การใช้ งาน - การออกแบบภูมทิ ศั น์ คือ การออกแบบภายนอกอาคาร ท่คี านึกถงึ ความงาม และ ประโยชน์ใช้สอย - การออกแบบผงั เมือง คือ การออกแบบพืน้ ที่ ให้เหมาะสมกบั สถานทน่ี ้ันๆ

3.การออกแบบวิศวกรรม - การออกแบบเครื่องใช้ไฟฟ้า - การออกแบบเคร่ืองยนต์ - การออกแบบเคร่ืองมือสื่อสาร

4.การออกแบบผลิตภัณฑ์ - การออกแบบเฟอร์นิเจอร์ คือ โต๊ะ เตยี ง ตู้ - การออกแบบเครื่องประดับ - การออกแบบบรรจุภัณฑ์ คือ ส่ิงทหี่ ่อหุ้มสินค้า เพ่ือดงึ ดูดความสนใจ - การออกแบบกราฟิ ก คือ การใช้เทคโนโลยเี ข้ามาร่วมในการออกแบบ รูปภาพ สัญญา ลกั ษณ์ ตวั อกั ษร



ประเภทการออกแบบ

การออกแบบสร้างสรรค์ • เปน็ การออกแบบเพ่ือนาเสนอความงามที่เนน้ ความคดิ สรา้ งสรรค์ แปลกใหม่ ให้ เกดิ ความสะเทอื นใจเร้าใจ อาจเปน็ การพัฒนาจากสง่ิ เดมิ ท่ีมีอยู่แล้ว หรือสรา้ ง ขึน้ ใหม่ งานออกแบบในประเภทน้ี มี 5 ลักษณะ คือ

งาน จิตรกรรม คอื ภาพวาดนัน้ เอง การขูด ขดี เขยี น ระบายบนพ้นื ระนาบ

งาน ประติมากรรม คือ งานลกั ษณะ 2 มิติ หรือ 3 มติ ิ ทาดว้ ยการแกะ ปน้ั หล่อ มีดว้ ยกัน 3 รูปแบบก็คือ ประติมากรรมนนู ต่า นนู สงู และ ประตมิ ากรรมลอยตัว

งานภาพพิมพ์ งานลกั ษณะ 2 มติ ิ สามารถทาซ้าได้

งาน สื่อผสม งานลกั ษณะ 2 มติ ิ สามารถทาซ้าไดห้ ลาย ๆ ครงั้ ต่อไปงานสื่อผสม คอื นา สื่อ หรือวตั ถุ 2 ชนิ้ ขนึ้ ไป นามาใช้ ร่วมกัน มี2แบบก็คือ 2มิติ แบนๆบนพืน้ ระนาบเช่น การตดั แปะ และแบบ 3 มิติ

งาน ถ่ายภาพ การกาหนดโครงสร้าง รปู แนวคิดในการถ่ายห้าม ให้ ภาพทไี ด้ออกมามีความคิด สร้างสรรค์ สวย งาม

เ ร า ม า เ รี ย น รู้ กั น เ ร่ื อ ง ส ถ า น ท่ี

สถานท่ี คือ • สถานทีเ่ ป็นประโยคที่มคี วามหมายกว้างๆ และเป็นส่ิงที่มนษุ ย์สรา้ งข้นึ ซึง่ สามารถเปล่ยี นแปลงไปได้ตามกาลเวลา

สถานที่ ในความหมายของพจนานุกรม แปล ไทย-ไทย ราชบัณฑิตยสถาน • สถานที่ หมายถึง ท่ตี ัง้ แหลง่ เชน่ สถานที่ทอ่ งเทย่ี ว สถานทต่ี ากอากาศ สถานท่ี พักผ่อนหย่อนใจ

สรุปสถานท่ี • สถานที่ หมายถงึ สถานท่ีบนผิวโลกทมี่ ีทั้งขนาดเล็กและขนาดใหญ่ มีการเปลีย่ นแปลงท่ี ก่อให้เกดิ ผลตามมานานาประการ นอกจากนั้นสถานทย่ี ังมอี งคป์ ระกอบทางด้านกายภาพ และด้านวฒั นธรรม องคป์ ระกอบทางดา้ นวัฒนธรรมของสถานทป่ี ระกอบดว้ ยจานวน ประชากรและความหนาแน่นและการกระจายตวั ตลอดจนชาติพนั ธ์ขุ องกลุ่มชน ภาษา ศาสนา ระบบความเชอ่ื ระบอบการปกครอง ระบบเศรษฐกิจ ความกา้ วหนา้ ทางด้าน เทคโนโลยีและคุณภาพชวี ติ และสถานท่ยี ังมกี ารเปล่ียนแปลงไปตามกาลเวลา เมือ่ เกิด กระบวนการทางดา้ นกายภาพและวฒั นธรรมทแี่ สดงออกซ่ึงความเปลี่ยนแปลง สถานที่ น้ันๆก็ยอ่ มมีความเปลี่ยนแปลงตามไปดว้ ย

ภ า พ ท่ี แ ส ด ง ถึ ง ค ว า ม เหมาะสม และ ไ ม่ เ ห ม า ะ ส ม

เหมาะสมกับสถานท่ี

ไม่เหมาะสมกับสถานท่ี

ใบงานท่ี 1

ให้นกั เรยี นออกแบบภาพวาด ทเ่ี หมาะสมกับ โอกาสและสถานที่ พร้อมอธบิ ายแรงบันดาลใจ เหตผุ ลในการสรา้ งสรรค์ผลงาน และจงเขียน อธบิ ายว่าเหมาะสมกับโอกาสสถานที่ใด ใหเ้ วลาทา 30 นาที

กิ จ ก ร ร ม ช่ ว ย กั น ต อ บ

เสน้ เอกภาพ ความเด่น การ ทิศทาง ความขดั แยง้ เคล่ือนไหว ความ รปู ร่างและ องคป์ ระกอบของการออกแบบ รูปทรง กลมกลืน ขนาดและ มอี ะไรบา้ ง ?? สดั สว่ น ดุลยภาพ น้าหนกั และสี ลักษณะพนื้ ผิว

กิจ ก ร ร ม จั บ คู่ ภ า พ ใ ห้ เ ห ม า ะ ส ม กั บ ส ถ า น ท่ี

1 2

1 2


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook