Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานเรื่อง

รายงานเรื่อง

Published by tekenxasa, 2019-07-18 03:40:41

Description: รายงานเรื่อง

Search

Read the Text Version

รายงานเร่ือง... เร่ืองราวทางประวัตศิ าสตร์สมยั สุโขทยั เสนอ คุณครู นริศรา ทองยศ จดั ทาโดย นางสาว ฑติ ยา แก่นอาสา แผนกอเิ ลก็ ทรอนิกส์ ชัน้ ปวช.2 วทิ ยาลัยเทคโนโลยแี ละการจดั การหนองสองห้อง

ตอนท1ี่ ประวตั ศิ าสตร์สมัยสุโขทัย เร่ืองราว... สมยั สุโขทยั หลงั จากมีการสถาปนาอาณาจกั รสุโขทยั ข้ึนเป็น ราชธานี และมีพอ่ ขนุ ศรีอินทราทิตย์ เป็นปฐมกษตั ริยแ์ ลว้ พระองคท์ รงดูแล พระราชอาณาจกั รและบารุงราษฏรเป็นอยา่ งดี พระมหากษตั ริยพ์ ระองคท์ ี่สาม พอ่ ขนุ รามคาแหงมหาราช ทรงพระปรีชาสามารถท้งั ในดา้ นนิรุกติศาสตร์ การ ปกครอง กฎหมาย วศิ วกรรม ศาสนา ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งประเทศ เป็นตน้ ผลงานของพระองคท์ ่ีปรากฏใหเ้ ห็น อาทิ ศิลาจารึกที่คน้ พบในสมยั ของ พระบาทสมเดจ็ พระนง่ั เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ที่อธิบายถึงความเป็นมา ลีลาชีวติ ของชาว สุโขทยั โบราณ น้าพระทยั ของพระมหากษตั ริย์ การพพิ ากษาอรรถคดี ฯลฯ นอกจากน้ียงั มีผลงานทางวิศวกรรมชลประทาน คือ เขื่อนสรีดภงคท์ ่ีเป็นการกกั เกบ็ น้าไวใ้ ชใ้ นยามแลง้ มีการทาท่อส่งน้าจากตวั เขื่อนมาใชใ้ นเมือง พระมหากษตั ริยท์ ่ีทรงทานุบารุงศาสนามากท่ีสุดคือ พระเจา้ ลิไท ในรัชสมยั ของ พระองคม์ ีการสร้างวดั มากที่สุด กษตั ริยพ์ ระองคส์ ุดทา้ ยในฐานะรัฐอิสระ คือ พระมหาธรรมราชาที่ 4 (บรมปาล) ต่อจากน้นั อาณาจกั รไดถ้ กู แบ่งส่วน ออกเป็นของอาณาจกั รอยธุ ยา และอาณาจกั รลา้ นนา จนในที่สุด อาณาจกั ร ท้งั หมด กถ็ ูกรวมศูนย์ เขา้ เป็นดินแดนสวนหน่ึงของอาณาจกั รอยธุ ยาการก่อต้งั

กรุงสุโขทยั อาณาจกั รสุโขทยั ก่อต้งั ข้ึนประมาณ พ.ศ. 1780 พอ่ ขนุ ศรีอินทรา- ทิตย์ ทรงพระนามเดิมวา่ พ่อขนุ บางกลางหาว ทรงสถาปนาสุโขทยั ข้ึนมา สร้าง ความเป็นปึ กแผน่ ใหก้ บั ชนชาติไทย โดยขยายเขตการปกครองออกไปอยา่ ง กวา้ งขวาง สุโขทยั เป็นราชอาณาจกั รของชาติไทย อยปู่ ระมาณ 200 ปี จึงถูก รวมเขา้ เป็นส่วนหน่ึงของอาณาจกั รอยธุ ยา เมื่อ พ.ศ. 1981อาณาจกั รสุโขทยั ต้งั อยบู่ นเสน้ ทางการคา้ ผา่ นคาบสมุทรระหวา่ งอ่าวเมาะตะมะ และที่ราบลุ่ม แม่น้าโขงตอนกลาง มีอาณาเขตดงั น้ี เดิมที สุโขทยั เป็นสถานีการคา้ ของแควน้ ละโว้ (ลวรัฐ) ของอาณาจกั รขอม บนเสน้ ทางการคา้ ผา่ นคาบสมุทรระหวา่ งอ่าว เมาะตะมะ กบั เขตที่ราบลุ่มแม่น้าโขงตอนกลาง (ประเทศลาว) คาดวา่ เร่ิมต้งั เป็น สถานีการคา้ ในราวพทุ ธศกั ราช 1700 ในรัชสมยั ของพระยาธรรมิกราช กษตั ริย์ ละโว้ โดยมีพอ่ ขนุ ศรีนาวนาถม เป็นผปู้ กครองและดูแลกิจการภายในเมือง สุโขทยั และศรีสชั นาลยั ต่อมาเมื่อพอ่ ขนุ ศรีนาวนาถมสวรรคต ขอมสบาด โขลญลาพง ซ่ึงเป็นคลา้ ยๆกบั ผตู้ รวจราชการจากลวรัฐ เขา้ ทาการยดึ อานาจการ ปกครองสุโขทยั จึงส่งผลให้ พอ่ ขนุ ผาเมือง (พระราชโอรสของพอ่ ขนุ ศรีนาว นาถม) เจา้ เมืองราด และ พอ่ ขนุ บางกลางหาว เจา้ เมืองบางยาง ตดั สินพระทยั จะ ยดึ ดินแดนคืน การชิงเอาอานาจจากผคู้ รองเดิมคือ อาณาจกั รขอม เมื่อปี พ.ศ. 1781 และสถาปนาเอกราช ใหก้ รุงสุโขทยั ข้ึนเป็นรัฐอิสระ โดยไม่ข้ึนตรงกบั รัฐ ใด และพ่อขนุ ผาเมือง กก็ ลบั ยกเมืองสุโขทยั ใหพ้ อ่ ขนุ บางกลางหาวครอง พร้อมท้งั พระแสงขรรคช์ ยั ศรี และพระนาม กามรเตงอญั ศรีอินทรบดินทรา ทิตย์ ซ่ึงพระเจา้ ชยั วรมนั ที่ 7 ทรงพระราชทานใหพ้ ่อขนุ ผาเมืองก่อนหนา้ น้ี โดย คาดวา่ เหตุผลคือพอ่ ขนุ ผาเมืองมีพระนางสิขรเทวีพระมเหสี (ราชธิดาของพระ เจา้ ชยั วรมนั ที่ 7) ซ่ึงพระองคเ์ กรงวา่ ชาวสุโขทยั จะไม่ยอมรับ แต่กก็ ลวั วา่ ทาง ขอมจะไม่ไวใ้ จจึงมอบพระนามพระราชทาน และพระแสงขรรคช์ ยั ศรี ข้ึนบรม ราชาภิเษก พอ่ ขนุ ผาเมืองใหเ้ ป็นกษตั ริย์ เพื่อเป็นการตบตาราชสานกั ขอม

หลงั จากมีการสถาปนาอาณาจกั รสุโขทยั ข้ึนเป็นราชธานี และมีพ่อขนุ ศรีอินทรา ทิตย์ เป็นปฐมกษตั ริยแ์ ลว้ พระองคท์ รงดูแลพระราชอาณาจกั ร และบารุงราษฏร เป็นอยา่ งดีพระมหากษตั ริยพ์ ระองคท์ ่ีสาม พอ่ ขนุ รามคาแหงมหาราช ทรงพระ ปรีชาสามารถท้งั ในดา้ นนิรุกติศาสตร์ การปกครอง กฎหมาย วิศวกรรม ศาสนา ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งประเทศ เป็นตน้ ผลงานของพระองคท์ ี่ปรากฏใหเ้ ห็น อาทิ ศิลาจารึกที่คน้ พบในสมยั ของพระบาทสมเดจ็ พระนงั่ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ที่ อธิบายถึงความเป็นมา ลีลาชีวิตของชาวสุโขทยั โบราณ น้าพระทยั ของ พระมหากษตั ริย์ การพพิ ากษาอรรถคดี ฯลฯ นอกจากน้ียงั มีผลงานทาง วิศวกรรมชลประทาน คือ เขื่อนสรีดภงคท์ ่ีเป็นการกกั เกบ็ น้าไวใ้ ชใ้ นยามแลง้ มี การทาท่อส่งน้าจากตวั เข่ือนมาใชใ้ นเมืองพระมหากษตั ริยท์ ่ีทรงทานุบารุง ศาสนามากที่สุดคือ พระเจา้ ลิไท ในรชั สมยั ของพระองคม์ ีการสร้างวดั มากท่ีสุด กษตั ริยพ์ ระองคส์ ุดทา้ ยในฐานะรัฐอิสระ คือ พระมหาธรรมราชาที่ 4 (บรมปาล) ต่อจากน้นั อาณาจกั รไดถ้ ูกแบ่งส่วนออกเป็นของอาณาจกั รอยธุ ยา และ อาณาจกั รลา้ นนา จนในท่ีสุด อาณาจกั รท้งั หมด กถ็ ูกรวมศนู ย์ เขา้ เป็นดินแดน สวนหน่ึงของอาณาจกั รอยธุ ยา โดยสมยั สมเดจ็ พระบรมราชาธิราชที่ 2 (เจา้ สาม พระยา) แห่งอาณาจกั รอยธุ ยา สุโขทยั ถกู แบ่งออกเป็น ๔ ส่วน - พระยาบาล (บรมปาลมหาธรรมราชา) ครองพิษณุโลก - พระยาราม ครองสุโขทยั - พระยาเชลียง ครองเชลียง - พระยาแสนสอยดาว ครองกาแพงเพชร

พนื้ ทีอ่ านาจกั ร สุโขทยั ทิศเหนือ มีเมืองแพร่ (ปัจจุบนั คือแพร่) เป็นเมืองปลายแดนดา้ นเหนือสุด ทิศใต้ มีเมืองพระบาง (ปัจจุบนั คือนครสวรรค)์ เป็นเมืองปลายแดนดา้ นใต้ ทิศตะวนั ตก มีเมืองฉอด (ปัจจุบนั คือแม่สอด) เป็นเมืองชายแดนที่จะติดต่อเขา้ ไปยงั อาณาจกั รมอญ ทิศตะวนั ออก ถึงเมืองสะคา้ ใกลแ้ ม่น้าโขงในเขตภาคอีสานตอนเหนือ - พญางวั่ นาถุม (พ.ศ. 1833 - พ.ศ. 1890) [1] - พระมหาธรรมราชาที่ 1 (ลิไท) (พ.ศ. 1890 - พ.ศ. 1913) - พระมหาธรรมราชาท่ี 2 (ลือไท) (พ.ศ. 1913 - พ.ศ. 1931) (ตกเป็นประเทศราช ของอยธุ ยาในปี พ.ศ. 1921) - พระมหาธรรมราชาที่ 3 (ไสยลือไท) (พ.ศ. 1931 - พ.ศ. 1962) - พระมหาธรรมราชาท่ี 4 (บรมปาล) (พ.ศ. 1962 - พ.ศ. 1981) - พระยายทุ ธิษฐิระ (พ.ศ. 1991 - พ.ศ. 2011) (เป็นประเทศราชลา้ นนาในปี พ.ศ. 2011) [2] ราชวงศส์ ุพรรณภูมิ - สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ (พ.ศ. 2011 - พ.ศ. 2031) (สถาปนา และประทบั ณ พษิ ณุโลก จนสิ้นรชั กาล) - พระเชษฐาธิราช (พ.ศ. 2031 - พ.ศ. 2034) (ตาแหน่งพระมหาอุปราชของ อยธุ ยา)

- พระอาทิตยวงศ์ (พระหน่อพทุ ธางกรู ) (พ.ศ. 2034 - พ.ศ. 2072) (ตาแหน่งพระ มหาอุปราชของอยธุ ยา) - พระไชยราชา (พ.ศ. 2072 - พ.ศ. 2077) (ตาแหน่งพระมหาอุปราชของอยธุ ยา) ราชวงศส์ ุโขทยั - พระมหาธรรมราชา (ขนุ พิเรนทรเทพ) (พ.ศ. 2077 - พ.ศ. 2111) (เจา้ ราชธานี ฝ่ ายเหนือ) - พระนเรศวร (หลงั เสดจ็ กลบั จากหงสาวดี - พ.ศ. 2127) (ตาแหน่งพระมหา อุปราชของอยธุ ยา) การจดั รูปแบบการปกครอง 1. การปกครองราชธานี กรุงสุโขทยั เป็นศูนยก์ ลางการปกครองในอาณาจกั ร 2. การปกครองส่วนภมู ิภาค เป็นการปกครองเมืองต่าง ๆ ท่ีอยนู่ อกเมืองหลวงออกไป แบ่ง ออกเป็น 3 ประเภท - หวั เมืองช้นั ใน (เมืองลกู หลวงหรือเมืองหนา้ ด่าน) เป็นเมืองท่ีต้งั อยรู่ อบ ราช ธานี ท้งั 4 ทิศ - หวั เมืองช้นั นอก (เมืองพระยามหานคร) อยไู่ กลจากราชธานีมากกวา่ เมือง ลูกหลวง กษตั ริยท์ รงแต่งต้งั พระราชวงศห์ รือขนุ นางช้นั สูงไปปกครองดูแลดินแดน - หวั เมืองประเทศราช เป็นเมืองที่อยไู่ กลราชธานีออกไปมาก เป็นเมืองของคน ต่างชาติ ต่างภาษา ที่อยใู่ ตก้ ารปกครองของสุโขทยั ด้านการปกครองสามารถแยกกล่าวเป็ น 2 แนว ดงั นี้ ในแนวราบ

จดั การปกครองแบบพ่อปกครองลูก กลา่ วคือผปู้ กครองจะมีความใกลช้ ิดกบั ประชาชน ใหค้ วามเป็นกนั เองและความยตุ ิธรรมกบั ประชาชนเป็นอยา่ งมาก เม่ือ ประชาชนเกิดความเดือดร้อนไม่ไดร้ ับความเป็นธรรม สามารถร้องเรียนกบั พอ่ ขนุ โดยตรงได้ โดยไปสน่ั กระดิ่งท่ีแขวนไวท้ ี่หนา้ ประตูท่ีประทบั ดงั ขอ้ ความในศิลาจารึก ปรากฏวา่ \"…ในปากประตูมีกระด่ิงอนั หน่ึงไวใ้ ห้ ไพร่ฟ้ าหนา้ ใส…\" นน่ั คือเปิ ด โอกาสใหป้ ระชาชนสามารถมาสน่ั กระดิ่งเพื่อแจง้ ขอ้ ร้องเรียนได้ ในแนวด่ิง ได้มกี ารจดั ระบบการปกครองขนึ้ เป็ น 4 ชนช้ัน คอื - พ่อขนุ เป็นชนช้นั ผปู้ กครอง อาจเรียกชื่ออยา่ งอื่น เช่น เจา้ เมือง พระมหาธรรม ราชา หากมีโอรสก็ จะเรียก \"ลกู เจา้ \" - ลกู ขนุ เป็นขา้ ราชบริพาร ขา้ ราชการท่ีมีตาแหน่งหนา้ ที่ช่วงปกครองเมือง หลวง หวั เมืองใหญ่นอ้ ย และภายในราชสานกั เป็นกลุ่มคนที่ใกลช้ ิดและไดร้ ับการ ไวว้ างใจจากเจา้ เมืองใหป้ ฏิบตั ิหนา้ ที่บาบดั ทกุ ขบ์ ารุงสุขแก่ไพร่ฟ้ า - ไพร่หรือสามญั ชน ไดแ้ ก่ราษฎรทวั่ ไปท่ีอยใู่ นราชอาณาจกั ร (ไพร่ฟ้ า) - ทาส ไดแ้ ก่ชนช้นั ท่ีไม่มีอิสระในการดารงชีวติ อยา่ งสามญั ชนหรือไพร่ (อยา่ งไรกต็ ามประเดน็ ทาส น้ียงั คงถกเถียงกนั อยวู่ า่ มีหรือไม่) เศรษฐกจิ สมยั สุโขทยั สภาพเศรษฐกิจสมยั สุโขทยั เป็นระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนิยม ดงั ขอ้ ความปรากฏใน หลกั ศิลาจารึกหลกั ท่ี 1 \"…ใครจกั ใคร่คา้ ชา้ งคา้ ใครจกั ใคร่คา้ มา้ คา้ ใครจกั ใคร่คา้ เงิน

คา้ ทองคา้ …\" และ \"...เมืองสุโขทยั น้ีดี ในน้ามีปลาในนามีขา้ ว...\" ประชาชนประกอบ อาชีพเกษตรกรรมดว้ ยระบบการเกษตรแบบพ่ึงพาธรรมชาติ เช่นสงั คมไทยส่วนใหญ่ ในชนบทปัจจุบนั 1. เกษตรกรรม การเพาะปลูกเป็นอาชีพหลกั ของประชาชน ประชาชนที่ดินทากินเป็น ของตนเอง มีระบบชลประทานเขา้ ช่วยในการทาการเกษตร 2. หตั ถกรรม เคร่ืองสงั คโลก เป็นสินคา้ ส่งออกไปขายยงั ต่างประเทศ 3. พาณิชยกรรม ระบบการคา้ แบบเสรีไม่เกบ็ ภาษี เงินตรา คือ เงินพดดว้ ง แบ่งออกเป็น สลึง บาท และตาลึง ความเจริญทางศิลปวฒั นธรรม ขนบประเพณี เป็นประเพณีที่เกี่ยวกบั พุทธศาสนา เช่น ประเพณีการบวช ทอดกฐิน การ สร้างวดั เป็นตน้ ศาสนา พระพุทธศาสนานิกายเถรวาท (หีนยาน) ลทั ธิลงั กาวงศ์ เป็นศาสนาประจาชาติ ศิลปกรรม ส่วนใหญ่สร้างข้ึนดว้ ยความศรัทธาในพระพทุ ธศาสนา สถาปัตยกรรมที่ สาคญั คือ เจดียท์ รงกลมตามแบบอยา่ งลงั กา เจดียท์ รงพุ่มขา้ วบิณฑ์ หรือดอกบวั ตูม ภาษา และวรรณคดี พ่อขนุ รามคาแหงมหาราช ไดป้ ระดิษฐอ์ กั ษรไทยข้ึนเป็นคร้ังแรก ใน พ.ศ. 1826

การใชช้ ีวิตของผคู้ นในสมยั สุโขทยั มีความอิสรเสรี มีเสรีภาพอยา่ งมากเนื่องจาก ผปู้ กครองรัฐใหอ้ ิสระแก่ไพร่ฟ้ า และปกครองผใู้ ตป้ กครองแบบพอ่ กบั ลูก ดงั ปรากฏ หลกั ฐานในศิลาจารึกวา่ \"…ดว้ ยเสียงพาทย์ เสียงพิณ เสียงเลื่อน เสียงขบั ใครจกั มกั เล่น เล่น ใครจกั มกั หวั หวั ใครจกั มกั เล่ือน เลื่อน…\" ดา้ นความเช่ือและศาสนา สงั คมยคุ สุโขทยั ประชาชนมีความเชื่อท้งั เรื่องวิญญาณนิยม (Animism) ไสยศาสตร์ ศาสนาพราหมณ์ฮินดู และพทุ ธศาสนา ดงั ปรากฏหลกั ฐานใน ศิลาจารึกหลกั ที่ 1 ดา้ นท่ี 3 วา่ \"…เบ้ืองหวั นอนเมืองสุโขทยั น้ีมีกฎุ ิวหิ ารป่ คู รูอยู่ มีสรีด พงส์ มีป่ าพร้าว ป่ าลาง ป่ าม่วง ป่ าขาม มีน้าโคก มีพระขระพงุ ผี เทพยาดาในเขาอนั น้นั เป็นใหญ่กวา่ ทุกผใี นเมืองน้ี ขนุ ผใู้ ดถือเมืองสุโขทยั น้ีแลว้ ไหวด้ ีพลีถกู เมืองน้ีเที่ยว เมืองน้ีดี ผไิ หวบ้ ่ดี พลีบ่ถูก ผใี นเขาอนั น้นั บ่คุม้ บ่เกรง เมืองน้ีหาย…\" ส่วนดา้ นศาสนา ไดร้ ับอิทธิพลจากพทุ ธศาสนานิกายเถรวาทแบบลงั กาวงศจ์ าก นครศรีธรรมราช ในวนั พระ จะมีภิกษุเทศนาสงั่ สอน ณ ลานธรรมในสวนตาล โดยใช้ พระแท่นมนงั คศิลาอาสน์ เป็นอาสนะสงฆ์ ในการบรรยายธรรมใหป้ ระชาชนฟัง ยงั ผลใหป้ ระชาชนในยคุ น้ีนิยมปฏิบตั ิตนอยใู่ นศีลธรรม มีการถือศีล โอยทานกนั เป็น ปกติวิสยั ทาใหส้ งั คมโดยรวมมีความสงบสุขร่มเยน็ ความสัมพนั ธ์กบั ต่างประเทศ ความสมั พนั ธ์กบั ลา้ นนา และอาณาจกั รพะเยา เป็นไมตรีกนั ตลอดมา ความสมั พนั ธ์กบั อาณาจกั รมอญ มอญสวามิภกั ด์ิต่อสุโขทยั ในสมยั พอ่ ขนุ รามคาแหง มหาราช เพราะทรงสนบั สนุนมะกะโทราชบุตรเขยเป็นกษตั ริย์ 3. ความสมั พนั ธ์กบั

อาณาจกั รนครศรีธรรมราช สุโขทยั รับเอาพุทธศาสนา นิกายเถรวาทลทั ธิลงั กาวงศ์ มา จากลงั กา โดยผา่ นเมืองนครศรีธรรมราช ความสมั พนั ธก์ บั ลงั กา สุโขทยั มีความสมั พนั ธ์อยา่ งใกลช้ ิดกบั ลงั กา ลงั กาไดถ้ วายพระ พทุ ธสิหิงคแ์ ก่สุโขทยั ความสมั พนั ธก์ บั จีน สุโขทยั ทาการคา้ กบั จีนมาเป็นเวลานาน จีนไดส้ ่งคณะทูตเขา้ มา เจริญสมั พนั ธไมตรีกบั ไทย ซ่ึงเป็นประโยชนก์ บั ไทยท้งั การเมือง และการคา้ ความเสื่อมของกรุงสุโขทยั 1. การแยง่ ชิงราชสมบตั ิระหวา่ งเช้ือพระวงศข์ องสุโขทยั ทาใหอ้ านาจการปกครอง อ่อนแอ ลง 2. พระมหากษตั ริยข์ องสุโขทยั สมยั ต่อมา ทรงสนพระทยั ทางดา้ นศาสนามากกวา่ การ ป้ องกนั ประเทศ 3. อาณาจกั รอยธุ ยา สถาปนาข้ึนทางตอนใต้ มีความเขม้ แขง็ มากข้ึน จึงผนวกอาณาจกั ร สุโขทยั เป็นอาณาเขตเดียวกนั ..การสิ้นสุดยคุ อาณาจกั ร พ.ศ. 2127 หลงั จากชนะศึกท่ีแม่น้าสะโตงแลว้ พระนเรศวรโปรดใหเ้ ทครัวเมือง เหนือท้งั ปวง (ตาก สุโขทยั ศรีสชั นาลยั พิษณุโลก กาแพงเพชร ชยั บุรี ศรีเทพ) ลงมาไว้ ท่ีอยธุ ยา เพือ่ เตรียมรับศึกใหญ่ พิษณุโลกและหวั เมืองเหนือท้งั หมดจึงกลายเป็นเมือง ร้าง หลงั จากเทครัวไปเมืองใต้ จึงสิ้นสุดการแบ่งแยกระหวา่ งชาวเมืองเหนือ กบั ชาวเมืองใต้ และถือเป็นการสิ้นสุดของรัฐสุโขทยั โดยสมบูรณ์ เพราะหลงั จากน้ี 8 ปี พิษณุโลกไดถ้ ูกฟ้ื นฟูอีกคร้ัง แต่ถือเป็นเมืองเอกในราชอาณาจกั ร มิใช่ราชธานีฝ่ าย

เหนือในดา้ นวชิ าการ มีนกั วิชาการหลายท่านไดเ้ สนอเพิ่มวา่ เหตุการณ์อีกประการ อนั ทาใหต้ อ้ งเทครัวเมืองเหนือท้งั ปวงโดยเฉพาะพิษณุโลกน้นั อยทู่ ี่เหตกุ ารณ์แผน่ ดินไหว คร้ังใหญ่ บนรอยเลื่อนวงั เจา้ ในราวพุทธศกั ราช 2127 แผน่ ดินไหวคร้ังน้ีส่งผลใหต้ วั เมืองพิษณุโลกราพณาสูญ แมแ้ ต่แม่น้าแควนอ้ ย กเ็ ปล่ียนเสน้ ทางไม่ผา่ นเมือง พิษณุโลก แต่ไปบรรจบกบั แม่น้าโพ (ปัจจุบนั คือแม่น้าน่าน) ท่ีเหนือเมืองพิษณุโไป และยงั ส่งผลใหพ้ ระศรีรัตนมหาธาตุพิษณุโลก หกั พงั ทลายในลกั ษณะท่ีบรู ณะคืนได้ ยาก ในการฟ้ื นฟูจึงกลายเป็นการสร้างพระปรางคแ์ บบอยธุ ยาครอบทบั ลงไปแทน .


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook