เรยี นภาษาอยา่ งไรให้ไดด้ ี ผู้เขยี น พอล เนช่ัน ผูแ้ ปล ศุภฤทัย อิฐงาม พิมพ์คร้งั แรก ตุลาคม 2564 ข้อมูลทางบรรณานกุ รมของหอสมุดแหง่ ชาติ เนชัน่ , พอล. เรยี นภาษาอย่างไรให้ได้ด.ี -- ชลบรุ ี : สถาบนั ภาษา มหาวทิ ยาลัยบูรพา, 2564. 64 หนา้ . 1. ภาษา -- การศกึ ษาและการสอน. I. ศุภฤทยั อิฐงาม, ผู้แปล. II. ชือ่ เรอื่ ง. 407 ISBN 978-974-384-590-1 What do you need to know to learn a foreign language? Copyright © 2014 by Paul Nation Originally published in New Zealand 2014 by School of Linguistics and Applied Language Studies Victoria University of Wellington, New Zealand สงวนลิขสทิ ธฉ์ิ บับภาษาไทยโดย ศุภฤทยั อฐิ งาม จดั พมิ พ์ สถาบันภาษา มหาวทิ ยาลยั บูรพา 169 ถนนลงหาดบางแสน ต�ำ บลแสนสุข อ�ำ เภอเมือง จังหวดั ชลบุรี 20131 โทร. 0-3839-0110, 0-3810-2700 ต่อ 402, 406, 412 แฟกซ์ 0-3839-0110 Email : li@go.buu.ac.th Website : http://li.buu.ac.th สมาคมสง่ เสรมิ เทคโนโลยี (ไทย-ญ่ปี ุน่ ) ออกแบบและจดั ท�ำ 5-7 ซอยสุขุมวิท 29 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 โทร. 0-2258-0320, 0-2259-9160 พมิ พ์ที่ บริษัทพมิ พ์ดีการพมิ พ์ จ�ำ กดั 2
คำำ�นำำ�ผู้แ้� ปล เมื่�อผู้�แปลได้้อ่่านฉบัับภาษาอัังกฤษพบว่่า หนัังสืือ What do need to know to learn a foreign language ที่�เขีียนโดย ศาสตราจารย์์ พอล เนชั่�น เล่ม่ นี้้� มีขี ้อ้ เท็็จจริิง หลัักการตั้�งเป้า้ หมาย ในการเรีียน การบริิหารเวลาเพื่�อเรีียนรู้� รวมทั้�งเทคนิิคเกี่�ยวกัับการเรีียนรู้�ภาษาที่่�มีีประโยชน์์กัับทั้�ง ผู้�เรียี นภาษาด้้วยตนเอง ครู ู นัักเรียี น รวมทั้�งผู้�ปกครอง ด้้วยภาระงานต่่างๆ ทำำ�ให้ผู้้�แปลใช้้เวลาศึกึ ษา หนัังสือื “เรีียนภาษาอย่า่ งไรให้้ได้ด้ ี”ี นานพอ สมควร จากจุุดเริ่�มต้น้ ที่่�อ่่านแล้้วเกิดิ ความสนใจ ได้้ทดลองนำำ�คำ�ำ แนะนำ�ำ เทคนิิคต่า่ งๆ ไปใช้้ในการ เรียี นการสอนด้ว้ ยตัวั เอง จนเกิิดความเชื่�อว่า่ การแปลเพื่�อเผยแพร่น่ี้�จะทำำ�ให้้ส่ง่ เสริมิ การเรียี นรู้�ภาษา ต่า่ งประเทศของคนไทยให้้ได้ผ้ ลดียีิ่�งขึ้�น ผู้�แปลขอขอบคุณุ ศาสตราจารย์์ พอล เนชั่�น ซึ่�งเป็็นผู้�แต่ง่ ที่่�กรุณุ าให้้ได้ม้ ีีโอกาสแปลและจััดทำ�ำ หนัังสืือเล่่มนี้้� ขอขอบคุุณ ดร.ทศพร อิฐิ งาม และดร.ณััฐรััฐ ลีนี ะกิิตติิ ผู้้�ตรวจแก้้ไขด้้านภาษา ที่่�ให้้ คำ�ำ แนะนำำ�ในการปรับั ภาษาไทยให้้เข้า้ ใจง่่ายขึ้�น และขอบคุุณครูอู าจารย์์ทุุกท่า่ นที่่�ทำำ�ให้ร้ ัักและสนใจ การพััฒนาผู้ �เรีียนภาษา ดร.ศุภุ ฤทััย อิิฐงาม 3
สารบญั บทนำ� .............................................................................................7 ยี่่�สิบิ กิิจกรรมการเรียี นภาษา..............................................................................................................7 สรุุปเนื้�อหาของหนัังสือื เล่่มนี้�.............................................................................................................9 บทที่ 1 เรีียนภาษาอย่่างไรให้้ได้้ดีี.................................................... 11 ทำำ�ตามหลัักการของหนังั สืือเล่ม่ นี้�แล้้วจะช่่วยให้้เรีียนได้จ้ ริิงหรืือ.................................................... 11 หลักั การที่่� 1 : ค้น้ หาว่่าต้้องการเรียี นไปเพื่�ออะไรและเลือื กเรีียนในสิ่�งที่่�มีปี ระโยชน์์มากที่่�สุุด......... 12 หลัักการที่่� 2 : แบ่ง่ การเรีียนรู้�ของ “สี่�สาย” ให้ส้ มดุุล (the four strands) ................................... 12 หลัักการที่่� 3 : สร้้างเงื่�อนไขที่่�ช่่วยในการเรียี นรู้� โดยเลืือกใช้้เทคนิิคที่่�ดีีในการเรียี นรู้�ภาษา............. 13 หลักั การที่่� 4 : หาแรงจููงใจและฝึกึ ฝนเรียี นรู้�อย่่างจริิงจััง ลงมืือทำำ�.................................................. 14 บทที่ 2 ค้น้ หาว่า่ เราเรียี นไปเพื่อ�่ อะไรและเลือื กเรียี นให้้ได้ป้ ระโยชน์ม์ ากที่�สุดุ ..... 15 เราเรียี นภาษาไปทำ�ำ ไม.................................................................................................................... 15 นัักท่่องเที่�ยวต้้องรู้�ภาษามากแค่ไ่ หน............................................................................................... 18 ค้น้ หาคำ�ำ และวลีีที่่�มีปี ระโยชน์จ์ ากโปรแกรมคอนคอร์์ดานซ์์ (concordancer)............................... 18 ตรวจสอบว่่าเรารู้้�คำำ�มากแค่ไ่ หน..................................................................................................... 20 บทที่ 3 ถ่่วงดุุลการเรีียนรู้้� : การเรีียนด้้วยการฟัังและการอ่่าน............... 23 เราเรีียนภาษาผ่า่ นการฟัังได้้อย่า่ งไร............................................................................................... 23 เราต้อ้ งรู้้�คำ�ำ ศััพท์์มากแค่่ไหนถ้า้ จะดููภาพยนตร์ส์ ัักเรื่�อง................................................................... 23 เราเรีียนภาษาผ่า่ นการอ่า่ นได้้อย่่างไร............................................................................................. 24 การเลืือกอ่่านหนัังสือื ที่�ชอบ แล้ว้ อ่่านตั้�งแต่่ต้น้ จนจบเพื่�อเพิ่�มพููนคำ�ำ ศััพท์น์ ี่่�ดีีจริิงๆ หรือื ไม่.่ ............ 26 บทท่ี 4 การแบ่่งการเรีียนรู้้�ให้้สมดุุล : การเรีียนด้้วยการพููดและเขียี น......... 29 เราเรียี นภาษาด้ว้ ยการพููดได้้อย่่างไร............................................................................................... 30 เราเรีียนภาษาด้ว้ ยการเขียี นได้อ้ ย่า่ งไร............................................................................................ 32 4
บทที่ 5 การแบ่่งการเรีียนรู้้�ให้้สมดุุล : การเรีียนภาษาแบบเจตนา............. 33 เรียี นภาษาแบบเจตนาแบบไหนดี.ี .................................................................................................. 33 เราควรเรีียนวลีีอย่่างไร................................................................................................................36 เราควรเรีียนคำำ�ศัพั ท์์ที่�เชื่�อมโยงกัันหรืือไม่.่ ...................................................................................... 36 เราควรเรีียนรู้�วิธีีออกเสียี งอย่่างไร................................................................................................... 39 เราเรียี นไวยากรณ์์ (และอื่�นๆ) อย่า่ งไร........................................................................................... 40 เราเรีียนคำำ�ศััพท์์อย่่างไร..............................................................................................................41 บทที่ 6 สร้้างสมดุุลการเรียี นและความคล่อ่ งแคล่่วในการใช้ภ้ าษา............. 43 การพััฒนาความคล่่องแคล่่วในการฟังั ............................................................................................ 44 การพััฒนาความคล่่องแคล่่วในการพูดู ........................................................................................... 44 การพัฒั นาความคล่่องแคล่่วในการอ่า่ น.......................................................................................... 45 การพััฒนาความคล่่องแคล่่วในการเขียี น........................................................................................ 46 บทที่ 7 สร้้างเงื่่�อนไขที่่�ช่่วยในการเรีียนรู้้�............................................. 49 เงื่�อนไขการเรียี นรู้�........................................................................................................................... 49 การประยุุกต์ใ์ ช้้เงื่�อนไขในการเรียี นรู้�............................................................................................... 50 ประโยชน์์ของการเรีียนรู้้�กับครูู....................................................................................................... 51 ครููสำำ�คััญอย่่างไร.........................................................................................................................52 บทที่ 8 หาแรงจูงู ใจและฝึึกฝนเรีียนรู้้�อย่่างจริิงจััง................................... 53 เราใช้เ้ วลานานแค่ไ่ หนเพื่�อเรียี นภาษา............................................................................................. 53 สร้้างแรงจููงใจ ................................................................................................................................. 56 การฝึกึ ฝนอย่า่ งจริิงจััง.................................................................................................................... 60 เอกสารอา้ งองิ ............................................................................... 63 5
6 เรียี นภาษาอย่่างไรให้้ได้ด้ ีี
บทนำ� หนังั สือื เล่ม่ นี้�เหมาะสำ�ำ หรับั ผู้�ใหญ่ท่ ี่่�กำ�ำ ลังั เรียี นภาษาต่า่ งประเทศ เช่น่ ภาษาอังั กฤษ ภาษาฝรั่่�งเศส ภาษาเยอรมััน ภาษาอิินโดนีีเซีีย ภาษาจีีน หรืือภาษาซามััว คำำ�แนะนำำ�ต่่างๆ ในหนัังสืือเล่่มนี้�ใช้้ได้้ กัับผู้�ที่�เรีียนภาษาต่่างประเทศด้้วยตนเอง เรีียนแบบตััวต่่อตััวกัับครูู หรืือผู้�เรีียนที่่�ต้้องการทบทวน บทเรียี นที่�เรียี นไปแล้้ว ยี่่�สิบิ กิจิ กรรมการเรียี นภาษา เมื่�ออ่่านหนัังสือื เล่ม่ นี้้� คุุณจะพบกัับกิิจกรรมจำ�ำ นวน 20 กิจิ กรรมที่่�คุณุ ทำำ�ได้ด้ ้้วยตนเอง โดยมีี คำำ�อธิิบายวิิธีีทำำ�กิิจกรรมและประโยชน์์ของการทำำ�กิิจกรรมนั้�นๆ แทรกอยู่�ในแต่่ละบทของหนัังสืือ จากรายการกิิจกรรมในตารางด้า้ นล่่าง หมายเลข (3.1) ในตารางหมายถึงึ กิจิ กรรมนี้�จะพบในบทที่่� 3 และเป็น็ กิิจกรรมแรกในกล่อ่ งกิจิ กรรมของบทนั้�น สาย (strand) ทักั ษะ กิจิ กรรม การรับั ภาษาที่�เน้น้ ความหมาย การฟังั (Meaning-focused input) การฟังั อ่า่ นพร้อ้ มฟังั (reading while listening) การใช้ภ้ าษาที่�เน้้นความหมาย การอ่า่ น (3.1) (Meaning-focused output) การอ่า่ น อ่า่ นแบบกว้า้ งขวาง (extensive การพูดู reading) (3.2) การเขีียน อ่่านเชิิงลึึก (narrow reading) (3.3) บทบาทสมมติิ (role play) (4.2) ใช้ค้ ำำ�พููดที่�เตรีียมไว้้ (prepared talk) (4.3) การอ่า่ นและเขียี น (read and write) (4.4) บทนำ�ำ 7
สาย (strand) ทัักษะ กิจิ กรรม การเรีียนโดยเน้้นหลักั ภาษา การฟังั (Language-focused การอ่า่ น การถอดเสีียง (transcription) (5.2) learning) การอ่่านอย่่างละเอีียด (intensive reading) การพูดู (5.3) การพััฒนาความคล่่องแคล่่ว การจำ�ำ ประโยคหรือื บทสนทนา (memorized (Fluency development) การเขียี น sentences or dialogues) (4.1) เป้้าหมายโดยทั่ �วไป การฟังั การคัดั ลอกแบบมีรี ะยะเวลา (delayed copy- (General purpose) การอ่่าน ing) (5.4) การพูดู การฟังั ซ้ำ�ำ �ๆ (repeated listening) (6.1) 4/3/2 (6.2) การเขีียน การอ่า่ นซ้ำ�ำ � (repeated reading) (6.3) การอ่่านเร็็ว (speed reading) (6.4) การเขียี น 10 นาทีี (10 minute writing) (6.5) การเขียี นซ้ำำ�� (repeated writing) (6.6) บััตรคำ�ำ (word cards) (5.1) เชื่�อมโยงทัักษะ (linked skills) (7.1) บันั ทึึกประเด็็น (issue logs) (8.1) ฝึึกสะกดคำ�ำ (spelling practice) (5.5) หนัังสืือเล่่มนี้�เขีียนขึ้�นโดยอ้้างอิิงผลการวิิจััยจำำ�นวนมาก แต่่เพื่�อให้้เนื้�อหากระชัับและใช้้ได้้จริิง มากที่่�สุดุ จึงึ อ้า้ งอิงิ งานวิจิ ัยั เพียี งบางส่ว่ น หากสนใจคุณุ สามารถหาแหล่ง่ อ้า้ งอิงิ เพิ่�มเติมิ ได้จ้ ากหนังั สือื ต่่อไปนี้ � 1. Nation, I.S.P. (2009) Teaching ESL/RFL Listening and Speaking. New York: Rout- ledge. 2. Nation, I.S.P. (2009) Teaching ESL/RFL Reading and Writing. New York: Rout- ledge. 3. Nation, P. (2013) What should Every EFL Teacher Know? Seoul: Compass Publishing. 8 เรียี นภาษาอย่่างไรให้้ได้ด้ ีี
สรุปุ เนื้้�อหาของหนังั สืือเล่ม่ นี้้� หลัักการที่�เราควรทำำ�เมื่�อเรีียนภาษาต่า่ งประเทศมีดี ังั นี้� หลัักการที่่� 1 : ค้้นหาว่า่ ต้อ้ งการเรีียนไปเพื่�ออะไร และเลือื กเรียี นในสิ่�งที่่�มีปี ระโยชน์ม์ ากที่่�สุุด หลัักการที่่� 2 : แบ่่งการเรีียนรู้� “สี่�สาย” (the four strands) ให้้สมดุุล หลัักการที่่� 3 : สร้า้ งเงื่�อนไขที่่�ช่่วยในการเรียี นรู้�โดยเลือื กใช้้เทคนิคิ ที่่�ดีใี นการเรียี นรู้�ภาษา หลัักการที่่� 4 : หาแรงจููงใจและฝึึกฝนเรีียนรู้�อย่า่ งจริงิ จััง ลงมือื ทำำ� เราควรใช้้เวลาเท่่าๆ กันั เพื่�อทำ�ำ ตาม “สี่�สาย” (the four strands) ดังั นี้� 1. การรัับภาษาที่�เน้น้ ความหมาย (Meaning-focused input) - การฟัังและการอ่า่ น 2. การใช้ภ้ าษาที่�เน้น้ ความหมาย (Meaning-focused output) - การพููดและการเขียี น 3. การเรียี นโดยเน้้นหลัักภาษา (Language-focused learning) - ศึกึ ษาการออกเสีียง คำ�ำ ศััพท์์ และไวยากรณ์์ 4. การพััฒนาความคล่่องแคล่่ว (Fluency development) - ฝึึกฝนสิ่�งที่�เข้้าใจแล้้วให้้ทำำ�ได้้ดีี ยิ่ �งขึ้ �น กิิจกรรมการเรียี นภาษา เราต้้องมีีเป้า้ หมายว่่าเรีียนภาษาไปเพื่�ออะไร ถ้า้ อยากพูดู ได้้ ก็็ควรฝึึกออกเสียี งให้้ถููกต้้องตั้�งแต่่ เริ่�มเรียี น แต่ถ่ ้า้ เป้า้ หมายหลัักคือื การอ่า่ น ให้เ้ รียี นรู้้�คำ�ำ ศัพั ท์โ์ ดยเจตนา (deliberate learning) เป็็น ประจำำ�และหมั่�นอ่่านให้้มากๆ เข้า้ ไว้้ หนัังสืือเล่่มนี้้�มีีเทคนิิคการเรีียนภาษาประมาณ 20 วิิธีี เพื่�อให้้ได้้ผลดีีที่่�สุุดที่�สามารถนำำ�ไปใช้้ได้้ แต่ค่ วรเข้า้ ใจวิธิ ีกี ารใช้แ้ ละการจัดั สมดุลุ ในการใช้แ้ ต่ล่ ะเทคนิคิ อ่า่ นได้จ้ ากคำ�ำ อธิบิ ายในกล่อ่ งกิจิ กรรม ที่�แทรกอยู่�ในบทต่่างๆ ของหนังั สือื เล่่มนี้� เมื่�อเริ่�มเรีียนภาษาต่่างประเทศ เราควรรู้้�ศััพท์์อย่่างน้้อย 120 คำำ� ซึ่่�งเป็็นศััพท์์เพื่�อการเอา ตััวรอดของแต่่ละภาษาที่�รวบรวมไว้้ในเว็็บไซต์์ของ พอล เนชั่�น และเรีียนรู้้�คำำ�ศััพท์์เหล่่านี้�โดยใช้้ บััตรคำำ� กรณีีที่�ไม่่มีีรายการคำำ�ศััพท์์เพื่�อการเอาตััวรอดสำำ�หรัับภาษาที่่�คุุณกำำ�ลัังเรีียน ให้้ถามจาก เจ้้าของภาษาโดยใช้ร้ ายการคำำ�ศัพั ท์์ภาษาอังั กฤษเพื่�อการเอาตัวั รอดเป็็นแนวทาง ถ้า้ ชอบใช้แ้ ท็บ็ เล็็ต หรือื มืือถือื ลองเลืือกแอปพลิิเคชันั บััตรคำ�ำ ที่่�น่่าสนใจไว้้ใช้้เรีียนคำำ�ศััพท์์ หรือื อาจจะใช้้กระดาษขนาด เล็ก็ ๆ ทำ�ำ บัตั รคำ�ำ เอง โดยเขียี นวลีหี รือื คำ�ำ ภาษาต่า่ งประเทศไว้ด้ ้า้ นหนึ่�ง แล้ว้ เขียี นคำ�ำ แปลไว้อ้ ีกี ด้า้ นหนึ่�ง เลืือกภาพยนตร์ภ์ าษาต่่างประเทศสักั เรื่�องที่�ชอบ หาบทพููดของเรื่�องนี้�จากเว็็บไซต์์ แล้้วเลืือกดูู แค่่บางฉากของเรื่ �องเพื่ �อศึึกษาบทพููด บทนำ�ำ 9
เลือื กหยิบิ หนังั สือื ภาษาต่า่ งประเทศเล่ม่ บางๆ มาอ่า่ นโดยค้น้ ความหมายคำ�ำ ที่่�ไม่รู่้�จักจากพจนา- นุกุ รม ควรเลืือกหนังั สืือที่่�อ่า่ นง่า่ ยๆ หนังั สืือที่�ใช้้ในโรงเรียี นซึ่�งทำ�ำ ขึ้้�นสำำ�หรับั เด็็กที่�เป็น็ เจ้้าของภาษา เพื่�อหััดอ่่านก็เ็ ป็น็ ตัวั เลืือกที่่�ดีี ให้ค้ ่อ่ ยๆ อ่า่ นจนจบ แล้ว้ อ่า่ นซ้ำ�ำ �อีกี อย่า่ งน้้อย 2 ครั้�งโดยพยายามใช้้ เวลาสั้�นลง เลืือกคำำ�ที่่�พบบ่่อยๆ มาทำำ�เป็็นบัตั รคำ�ำ เพื่�อศึึกษาต่่อไป ในแต่ล่ ะสัปั ดาห์ ์ อ่่านหนังั สือื ที่� อ่า่ นง่า่ ยๆ แต่อ่ ่า่ นให้ม้ าก จััดสรรเวลาพููดกัับเจ้้าของภาษาแบบเห็็นหน้้ากัันหรืือผ่่านทางออนไลน์์ ฝึึกพููดบทบาทสมมติิ ตามสถานการณ์ใ์ นชีีวิติ ประจำ�ำ วันั เช่่น การทัักทาย การกล่า่ วอำ�ำ ลา การซื้�อสิินค้้าในร้า้ นค้า้ การขอ ความช่ว่ ยเหลือื การถามทาง ฝึกึ พูดู ตามสถานการณ์์เหล่า่ นี้้�บ่่อยๆ จนคล่่องแคล่่ว จััดทำ�ำ บทสนทนา เพื่�อใช้้ฝึกึ ซ้ำำ��และปรัับเปลี่�ยนบทพูดู ในสััปดาห์ต์ ่่อๆ ไป เรียี นรู้�ความหมายและการใช้ว้ ลีหี รือื ประโยคที่่�มีปี ระโยชน์์ ควรทำ�ำ ความเข้า้ ใจส่ว่ นประกอบของ ประโยคและวลีี เพราะจะทำำ�ให้เ้ ราจำ�ำ ได้้ง่า่ ยขึ้�น หลีีกเลี่�ยงการเรียี นรู้้�คำ�ำ ที่่�จััดเป็็นกลุ่�มคำำ�ที่่�มีคี วามหมายใกล้้เคีียงกััน คำำ�ตรงกัันข้้าม คำำ�ที่่�อยู่�ใน หมวดหมู่�เดียี วกััน เช่น่ เดือื นต่่างๆ ในหนึ่�งปีี ผลไม้้ สีีต่่างๆ ส่่วนต่า่ งๆ ของร่า่ งกาย เสื้�อผ้า้ เป็น็ ต้้น การเรียี นแบบนี้้�ทำำ�ให้เ้ ราสัับสนและยากต่่อการเรียี นรู้�จดจำ�ำ เราควรฝึกึ ออกเสียี งเป็น็ ประจำ�ำ โดยเฉพาะกับั ครูทูี่�เข้า้ ใจธรรมชาติขิ องเสียี งในภาษา การฝึกึ ออก เสียี งมีีความสำำ�คััญ โดยเฉพาะถ้้าคุณุ กำำ�ลัังเรียี นภาษาที่่�มีีวรรณยุกุ ต์์ เช่น่ ภาษาจีีน ซึ่่�งใช้ว้ รรณยุุกต์์ ต่่างจากภาษาพููดของคุณุ เงื่อ�่ นไขในการเรียี นภาษา เงื่�อนไขที่่�สำ�ำ คััญในการเรีียนภาษามีสี องอย่า่ งคือื การเรีียนซ้ำ�ำ �ๆ โดยเว้น้ ระยะเวลา (spaced repetition) และความใส่ใ่ จต่่อสิ่�งที่�เรีียน การเรียี นของเราจะได้้ผลดีีเมื่�อมีีการทบทวนสิ่�งที่�เรีียนไปใน หลากหลายรููปแบบ มีกี ารวิิเคราะห์แ์ ละอธิบิ ายคำ�ำ ที่่�พบและใส่่ใจต่่อวิิธีีใช้้ภาษาที่�ได้้เรีียนไป การเรีียนภาษาจำ�ำ เป็็นต้อ้ งทำำ�หลายสิ่�งหลายอย่า่ ง ผู้้�เรียี นภาษาที่่�ดีตี ้อ้ งทุ่�มเทกัับการเรีียนภาษา ดัังนั้�นต้้องพร้้อมฝึกึ ฝนเรีียนรู้�อย่า่ งจริิงจัังและสม่ำำ��เสมอ เราควรสร้า้ งแรงจูงู ใจให้ส้ ููงไว้้เสมอด้ว้ ยการ ประเมิินสิ่�งที่่�ทำำ�สำำ�เร็็จแล้้ว พยายามเพิ่�มพููนความรู้�ทางภาษา ตั้้�งเป้้าหมายคำำ�ที่่�จะเรีียนในแต่่ละ สััปดาห์ ์ จำ�ำ นวนหน้้าที่�จะอ่่าน และจำ�ำ นวนนาทีีที่�จะฟััง จดบัันทึึกสม่ำ�ำ �เสมอเพื่�อให้เ้ ห็็นพััฒนาการของ ตัวั เอง 10 เรียี นภาษาอย่่างไรให้้ได้ด้ ีี
บ1ทที่ เรียนภาษาอย่างไรให้ได้ดี ในบทนี้�้เราจะมาทำำ�ความเข้้าใจแนวคิิดของสี่�่หลัักการพื้้�นฐานที่่�ควรทำ�ำ เมื่�อเรีียนภาษาต่่าง- ประเทศ ส่ว่ นรายละเอีียดของแต่่ละหลัักการจะกล่า่ วถึึงในบทต่อ่ ๆ ไป หลัักการที่่� 1 → ค้้นหาว่่าต้้องการเรีียนไปเพื่่�ออะไร และเลืือกเรีียนในสิ่ �งที่่�มีีประโยชน์์มากที่่�สุุด หลัักการที่่� 2 → แบ่่งการเรีียนรู้�้ ของ “สี่่�สาย” ให้ส้ มดุุล (the four strands) หลักั การที่่� 3 → สร้า้ งเงื่อ� นไขที่่ช� ่ว่ ยในการเรีียนรู้�้ โดยเลืือกใช้เ้ ทคนิคิ ที่่ด� ีีในการเรีียนรู้ภ�้ าษา หลักั การที่่� 4 → หาแรงจููงใจและฝึึกฝนเรีียนรู้�อ้ ย่า่ งจริิงจังั ลงมืือทำ�ำ ทำ�ำ ตามหลักั การของหนัังสืือเล่ม่ นี้แ้� ล้้วจะช่ว่ ยให้้เรียี นได้จ้ ริงิ หรือื ค่่อยๆ อ่่านทำ�ำ ความเข้้าใจแล้ว้ จะพบว่า่ หนังั สืือเล่่มนี้�้จะช่ว่ ยคุุณได้อ้ ย่า่ งไร ถ้้าคอร์์สเรีียนภาษาที่่�คุุณเรีียนไม่่มีีการรัับภาษาผ่่านการอ่่านและการฟัังในระดัับที่�่เหมาะสม และในปริิมาณที่่�มากพอ คุุณกำำ�ลัังเสีียโอกาสในการเรีียนรู้้�ที่�สำำ�คััญอย่่างยิ่ �งไป มีีงานวิิจัยั เกี่�ยวกัับ เด็ก็ เล็ก็ ที่่เ� รีียนภาษาต่า่ งประเทศพบว่า่ ในชั้น� เรีียนที่่เ� พิ่่ม� การรับั ภาษาผ่า่ นการอ่า่ นเรื่อ� งที่่น� ่า่ สนใจและ เข้า้ ใจง่่าย โดยไม่เ่ พิ่่�มเวลาเรีียน ผู้เ�้ รีียนจะมีีความสามารถทางภาษาดีีกว่่าถึงึ สองเท่่า เมื่�อเทีียบกับั กลุ่�มผู้เ�้ รีียนที่่ใ� ช้้เวลาเรีียนเท่า่ กัันแต่ม่ ีีการอ่่านปริิมาณน้้อยกว่่า โดยความสามารถนี้้�จะคงอยู่่�กับั ผู้�เ้ รีียน อีีกเป็น็ ปีีทีีเดีียว อีีกประเด็น็ หนึ่่�งที่่�คล้า้ ยคลึงึ กััน คุณุ ควรใช้้วิธิ ีกี ารเรีียนรู้โ้� ดยเจตนา (deliberate learning) เช่่น การใช้้บััตรคำ�ำ สองภาษามากกว่่าฝึกึ ทำำ�แบบฝึึกหััดต่่างๆ ที่่เ� กี่ย� วกับั คำ�ำ ศััพท์์ เพราะ การทำ�ำ แบบฝึึกหััดเพีียงอย่่างเดีียว คุณุ จะเรีียนรู้�้ คำ�ำ ศัพั ท์์ได้น้ ้้อยกว่่าครึ่ง� หนึ่่�งของอััตราการเรีียนที่่�ควร จะเรีียนรู้้�ได้้ แล้้วถ้า้ คอร์ส์ ที่่�เรีียนไม่ม่ ีีกิจิ กรรมการพัฒั นาความคล่อ่ งแคล่่ว (fluency development) เช่น่ การอ่่านแบบจับั เวลา ให้้ลองใช้้เวลาสามชั่ว� โมงอ่่านแบบจัับเวลา แล้้วจะพบว่่าคุุณสามารถอ่่าน ภาษาต่า่ งประเทศได้เ้ ร็ว็ ขึ้น� อย่า่ งน้อ้ ย 50% และในบางกรณีีความเร็ว็ ในการอ่า่ นจะเพิ่่ม� ขึ้น� ถึงึ สองเท่า่ บทที่่� 1 11
งานวิจิ ััยด้า้ นการเรียี นภาษาต่่างประเทศนั้�นมีจี ำ�ำ นวนมาก แต่่ผลงานวิิจัยั ก็็ไม่ไ่ ด้้นำำ�มาใช้้ได้้จริิง เสมอไป ถ้้าคุณุ ลองนำ�ำ ผลการวิจิ ัยั มาประยุุกต์ใ์ ช้้ เชื่�อว่า่ การเรีียนภาษาของคุุณจะดีขีึ้�นผิดิ หููผิิดตาเลย ทีีเดีียว หลัักการที่� 1 ค้้นหาว่่าต้อ้ งการเรีียนไปเพื่่�ออะไรและเลือื กเรีียนในสิ่่�งที่่�มีีประโยชน์์ มากที่ �สุุด ถ้้ามีีเป้้าหมายชััดเจนว่่าเรีียนภาษาไปเพื่�ออะไร เราจะตััดสิินใจได้้ดีีขึ้�นว่่าจะเรีียนอะไรและ อย่่างไร คนส่่วนมากอยากพููดสื่�อสารได้้ แต่่บางคนอาจจะมีเี ป้้าหมายด้้านการอ่่าน ถ้้าตอนนี้�เรีียนภาษาต่่างประเทศอยู่่�บ้า้ งแล้้ว ให้ล้ องทำ�ำ แบบทดสอบดูวู ่่ามีีความรู้�มากแค่่ไหน ถ้า้ อยากรู้�ว่าต้อ้ งทุ่�มเทกับั การเรียี นภาษามากแค่ไ่ หน ลองพิจิ ารณาจำ�ำ นวนคำ�ำ ศัพั ท์ภ์ าษาอังั กฤษ ที่่�ต้อ้ งรู้� ซึ่�งก็็ค่่อนข้า้ งใกล้้เคีียงกับั การเรีียนภาษาอื่�นๆ ในยุโุ รป เช่น่ ฝรั่่�งเศส สเปน ดัตั ช์์ และเยอรมันั ส่ว่ นภาษาอื่�นๆ นอกจากนี้้�ก็น็ ่า่ จะต้อ้ งรู้้�คำำ�ศััพท์์จำำ�นวนมากพอๆ กััน เพีียงแต่ย่ ัังไม่่พบว่่ามีีการศึกึ ษา วิจิ ัยั เราต้อ้ งรู้้�คำ�ำ ศััพท์ป์ ระมาณ 6,000 คำำ� ถึงึ จะเข้้าใจ 98% ของคำ�ำ ทั้้�งหมดที่�พบในการสนทนาแบบ ไม่่เป็็นทางการ หรืือ 98% ของคำำ�ทั้้�งหมดที่�พบในภาพยนตร์์สัักเรื่�องหนึ่�ง แล้้วถ้้าเรารู้�ประมาณ 8,000-9,000 คำ�ำ ก็็จะเข้า้ ใจมากถึึง 98% ของคำำ�ที่่�พบในการอ่่านนิยิ ายหรืือหนังั สือื พิมิ พ์์ ในภาษา หนึ่�งๆ จำ�ำ นวนคำำ�มีมี ากมายมหาศาล ต้้องใช้้เวลาเรีียนรู้�พอสมควร เจ้้าของภาษาเองก็็เรีียนรู้้�คำ�ำ ศัพั ท์์ ได้ป้ ระมาณปีีละ 1,000 คำำ� จนกระทั่�งรู้้�คำำ�มากถึึง 20,000 คำ�ำ อัันที่�จริิง คำำ�ทุุกคำำ�ก็็ไม่่ได้้ใช้้บ่่อยเท่่ากััน ถ้้าเรารู้้�คำำ�ที่่�ใช้้บ่่อยมากๆ สััก 1,000-2,000 คำำ� เราก็็ พอจะพูดู สื่�อสารและทำ�ำ อะไรได้อ้ ีีกหลายอย่า่ งเลยทีีเดียี ว หลักั การที่� 2 แบ่่งการเรียี นรู้�้ ของ “สี่่�สาย” ให้ส้ มดุุล (the four strands) การแบ่ง่ การเรียี นให้้สมดุุลเป็น็ หลักั การที่่�สำ�ำ คััญที่่�สุุด แต่เ่ ราจำ�ำ เป็็นต้อ้ งใช้ท้ ักั ษะและความตั้�งใจ ในการปฏิบิ ััติิ ตามหลักั การของ “สี่�สาย” (the four strands) ถ้า้ คุณุ อยากจะมีีคอร์ส์ เรียี นภาษาที่�สมดุุล คุณุ ต้อ้ งใช้้เวลาเท่า่ ๆ กัันทำำ�สิ่่�งต่อ่ ไปนี้� 1. เรียี นจากการรับั ภาษาที่�เน้้นความหมาย (การฟังั และการอ่า่ น) 2. เรียี นจากการใช้้ภาษาที่�เน้น้ ความหมาย (การพููดและการเขีียน) 3. เรียี นโดยเน้น้ หลักั ภาษา (ศึึกษาการออกเสีียง คำ�ำ ศััพท์์ และไวยากรณ์)์ 4. พััฒนาความคล่่องแคล่ว่ (ฝึกึ ฝนสิ่�งที่�เข้า้ ใจแล้ว้ ให้้ทำำ�ได้ด้ ีียิ่�งขึ้�น) 12 เรีียนภาษาอย่่างไรให้้ได้ด้ ีี
ทั้�ง “สี่�สาย” (the four strands) นี้้�สำำ�คััญและต้้องใช้้เวลามากพอๆ กันั ในการปฏิิบัตั ิิ โดยราย ละเอียี ดการนำำ�ไปใช้จ้ ะกล่า่ วต่อ่ ไปในบทที่่� 3-6 ถ้า้ ภาษาที่่�กำ�ำ ลังั เรียี นมีรี ะบบเสียี งต่า่ งจากภาษาแม่ม่ าก ก็ค็ วรจะเรียี นระบบเสียี งของภาษานั้�นๆ อย่า่ งจริิงจััง หมายถึงึ เรีียนกับั ครููที่�นอกจากจะออกเสีียงให้เ้ ราพููดตามได้แ้ ล้ว้ ยังั อธิิบายว่า่ เสียี งเกิดิ ขึ้�นในปากของเราได้อ้ ย่่างไร แต่จ่ ะเรีียนด้้วยตััวเองก็ย็ ่่อมได้้ บางคนก็็สามารถเรีียนเรื่�องการออกเสีียง ได้้ด้ว้ ยตัวั เอง ถ้า้ เป้า้ หมายของเราคือื การอ่า่ น ให้ป้ รับั เปลี่�ยนเวลาที่�ใช้ภ้ าษา (แบบในสายที่่� 2) มาใช้้ในการ อ่า่ นเพื่�อรับั ภาษาแทน หรือื ถ้า้ เราตั้�งใจอยากฝึึกพููด (แล้ว้ บทพููดในภาษานี้้�ก็็ยากด้้วย) ก็เ็ น้้นการรัับ ภาษาด้้านภาษาพูดู ไปเลย หลักั การที่� 3 สร้้างเงื่่�อนไขที่่�ช่่วยในการเรีียนรู้้� โดยเลืือกใช้้เทคนิิคที่่�ดีีในการ เรียี นรู้ภ้� าษา การเรีียนภาษานั้�นต้้องใช้้ทั้�งวิิธีีเรียี นแบบเจตนา (deliberate learning) และแบบไม่เ่ จตนา (incidental learning) และต้อ้ งมีีการทำำ�ซ้ำ�ำ �ๆ การนึึกย้อ้ นหรืือเรียี กคืืนข้อ้ มููล (retrieval/recall) การปฏิิสััมพันั ธ์์และการใช้้ภาษาที่�หลากหลาย การใช้ส้ื่�อวีีดิิทััศน์์ และการจดจ่อ่ ต่่อสิ่�งที่่�ทำ�ำ การเรียี น ที่่�ดีนีั้�นยังั รวมถึึงการหลีีกเลี่�ยงสิ่�งที่่�ทำำ�ให้เ้ ราสัับสน เงื่�อนไขในการเรีียนเป็็นประเด็็นสำ�ำ คััญที่่�มีีการพููด ถึึงในบทอื่�นๆ และกล่า่ วไว้อ้ ย่า่ งละเอีียดในบทที่่� 7 หากถามว่า่ มีวี ิิธีีที่่�ดีที ี่่�สุดุ ในการเรียี นภาษาหรืือไม่่ คำำ�ตอบคืือไม่่มีี การเรีียนภาษาเกิิดขึ้�นผ่่านวิิธีี การเรียี นที่�หลากหลาย สิ่�งสำ�ำ คััญคือื การนำำ�หลักั การเรียี นที่่�ดีีไปใช้้ คุณุ อาจจะเคยได้ย้ ินิ กลวิิธีีการเรีียนแบบเน้้นไวยากรณ์์และการแปล (grammar-translation) การฟััง-พููด (aural-oral) วิิธีเี งียี บ (silent way) แบบชัักชวน (Suggestopedia) แบบเน้น้ สื่�อสาร (communicative approach) แบบการตอบสนองด้ว้ ยท่่าทาง (Total Physical Response) ซึ่่�ง ล้ว้ นแต่เ่ ป็็นกลวิธิ ีีการเรียี นที่่�มีทีั้�งผู้�สนัับสนุุนและคัดั ค้า้ น แต่่ละวิธิ ีกี ็็มีีจุดุ แข็ง็ และจุุดอ่อ่ น และยัังไม่่มีี งานวิจิ ััยที่่�ยืนื ยัันว่่ากลวิธิ ีไี หนดีีกว่า่ กััน เราอาจเจาะจงทำ�ำ ตามสัักกลวิิธีกี ารเรียี นหนึ่�งก็็ได้้ แต่่จริงิ ๆ แล้ว้ ไม่จ่ ำำ�เป็็น สิ่่�งที่่�สำำ�คัญั คืือความ สมดุุลของโอกาสในการเรีียนรู้�ทั้�ง “สี่�สาย” นั่่�นก็ค็ ือื เรียี นจากการรับั ภาษาที่�เน้น้ ความหมาย (การฟััง และการอ่า่ น) เรีียนจากการใช้ภ้ าษาที่�เน้้นความหมาย (การพููดและการเขีียน) เรีียนโดยเน้น้ หลััก ภาษา (ศึึกษาการออกเสีียง คำำ�ศััพท์์ และไวยากรณ์์) และการพััฒนาความคล่่องแคล่่ว (ฝึึกฝนสิ่�ง ที่�เข้า้ ใจแล้ว้ ให้ท้ ำ�ำ ได้ด้ ีียิ่�งขึ้�น) นอกจากนี้้� การเรียี นด้้วยการทำ�ำ ซ้ำำ��ๆ การนึกึ ย้อ้ นหรือื เรีียกคืนื ข้้อมูลู (retrieval/recall) การปฏิิสััมพันั ธ์์และการใช้ท้ี่�หลากหลาย การใช้ส้ื่�อวีีดิทิ ัศั น์์ และการเรีียนที่�เกิิด การประมวลผลแบบลึกึ ซึ้�งก็็จำำ�เป็น็ ต้อ้ งมีี บทที่� 1 13
เราควรเรีียนโดยให้้ความสำำ�คััญกัับส่่วนที่่�มีีประโยชน์์ที่่�สุุดและเรีียนจากสื่�อที่�ตรงกัันกัับระดัับ ความสามารถของตนเอง หลัักการที่� 4 หาแรงจููงใจและฝึกึ ฝนเรีียนรู้�้อย่่างจริิงจััง ลงมือื ทำ�ำ คนจำ�ำ นวนมากเริ่�มเรียี นภาษาแล้ว้ ล้ม้ เลิกิ ไปพอพบว่า่ ต้อ้ งฝึกึ ฝนเรียี นรู้�หนักั แค่ไ่ หน เจ้า้ ของภาษา เองก็็ยังั ใช้้เวลาตั้�งหลายปีเี รียี นภาษาที่�หนึ่�งและมีแี รงจููงใจสููงมากในการเรียี น คนที่�เรียี นภาษาต่า่ งประเทศที่�ไม่ไ่ ด้ใ้ ช้ใ้ นการสื่�อสารในชีวี ิติ จริงิ เช่น่ คนไทยไม่ไ่ ด้ใ้ ช้ภ้ าษาอังั กฤษ สื่�อสารกัับคนไทยด้ว้ ยกััน มัักไม่่ค่่อยมีีแรงจูงู ใจว่า่ เรีียนแล้้วจะได้น้ ำ�ำ ไปใช้้ในทัันทีี การเรียี นภาษาจะ ง่่ายขึ้�นเมื่�อเราอยู่�ในสภาพแวดล้อ้ มที่่�ต้้องใช้ภ้ าษานั้�นๆ ผู้้�เรีียนภาษาจึงึ ควรตั้�งเป้า้ หมายระยะสั้�นเพื่�อ จะได้้เห็็นพัฒั นาการในการเรียี น เช่่น ตั้้�งใจว่า่ จะเรีียนคำำ�ใหม่ๆ่ 20 คำำ� หรือื ฝึกึ พููดคุุยทางโทรศััพท์์ การมีีเป้้าหมายระยะสั้�นทำำ�ให้้เรารัักษาระดัับแรงจูงู ใจไว้้ได้้ ในบทที่่� 8 จะกล่่าวถึงึ รายละเอียี ดเรื่�อง แรงจููงใจและวิธิ ีกี ารฝึึกฝนอย่่างจริิงจังั หลักั การที่่�มีีประโยชน์ใ์ นการเรีียนรู้�แทบทุุกอย่า่ งคืือ หลัักการเรื่�องการใช้้เวลาในกิิจกรรม ซึ่่�ง กล่า่ วไว้้ว่า่ ถ้้าจะเรียี นรู้�เรื่�องไหนให้้ทำ�ำ ให้้มากและบ่อ่ ย ถ้า้ อยากอ่า่ นได้้ดีีให้้อ่่านมากๆ ถ้้าอยากฝึกึ พูดู ให้พ้ ูดู บ่อ่ ยๆ อาจจะดูเู หมือื นเป็็นหลักั การกว้้างๆ ที่่�เน้น้ ปริิมาณแต่ม่ ีปี ระสิทิ ธิิภาพ ยิ่่�งใช้เ้ วลามาก เท่่าไร คุุณจะเชี่ �ยวชาญมากขึ้ �นเท่่านั้ �น หลัักการนี้้�มีีจุุดด้้อยตรงที่�เน้้นปริิมาณมากกว่่าคุุณภาพ แต่่ก็็มีีผลการวิิจััยจำำ�นวนไม่่น้้อยที่� สนับั สนุุนแนวคิดิ นี้้� บทต่่อไปเป็็นการวิิเคราะห์ว์ ่่าเราต้อ้ งเรียี นอะไรบ้้าง 14 เรีียนภาษาอย่า่ งไรให้้ได้้ดีี
บ2ทที่ คน้ หาวา่ เราเรยี นไปเพือ่ อะไรและเลอื กเรยี น ให้ได้ประโยชน์มากทส่ี ดุ เพื่�อค้น้ หาความต้อ้ งการในการเรียี นภาษา ให้้พิจิ ารณาว่า่ อะไรที่่�คุุณรู้�อยู่�แล้้ว และเรียี นภาษา เพราะวางแผนที่�จะทำ�ำ อะไร มีเี หตุุผลอะไรที่่�ทำ�ำ ให้้ต้้องเรียี นภาษานี้� เราเรียี นภาษาไปทำำ�ไม คนเราใช้้ภาษาในวััตถุปุ ระสงค์์ต่า่ งกันั ออกไป วิิธีเี รียี นภาษาแบบเร่่งรัดั คือื ให้้เน้้นเรีียนตามเป้า้ - หมาย เราจึึงต้้องมีจี ุุดประสงค์์ในการเรียี นที่่�ชัดั เจน เช่น่ เรีียนภาษาเพื่�อเดินิ ทางท่่องเที่�ยวในประเทศ ที่�ใช้้ภาษานั้�นๆ ลองพิิจารณาเหตุผุ ลของการเรีียนภาษาจากตาราง 2.1 ดูวู ่า่ เราควรเรีียนอย่า่ งไร ตาราง 2.1 เหตุุผลในการเรียี นและจุุดที่�ควรเน้้นในการเรียี น เหตุุผล จุุดเน้้น ฉัันแค่ส่ นใจภาษานี้� ฉัันอยู่ �ในประเทศที่ �ใช้้ภาษานี้ �และฉัันอยาก ควรเริ่ �มจากเน้้นไปที่ �ภาษาพููด สื่ �อสารได้้ เน้น้ ไปที่�ภาษาพูดู ทำ�ำ รายการว่า่ มีหี ััวข้อ้ เกี่�ยวกับั อะไรบ้า้ งที่�ควรพูดู ได้้ และควรจะเพิ่�มหัวั ข้อ้ ใหม่ๆ่ สามีี/ภรรยา หรืือคนในครอบครััวเป็น็ เจ้้าของ ลงไปเรื่�อยๆ โดยอาจจะเริ่�มจากคำ�ำ ศััพท์เ์ พื่�อเอา ภาษานั้ �นๆ ตัวั รอด (เนชั่น�่ และเครป, 1993)* เน้้นไปที่�ภาษาพูดู แล้้วถ้้าคนในครอบครัวั ยินิ ดีี ช่ว่ ย ให้ฝ้ ึกึ สนทนาเกี่�ยวกับั กิจิ วัตั รที่่�ทำ�ำ เป็น็ ประจำ�ำ เช่่น การทักั ทาย หรืือสนทนาเรื่�องกิจิ วััตรประจำ�ำ วันั เช่่น การทำ�ำ อาหาร หรืือเหตุุการณ์ท์ี่�เกิดิ ขึ้�น ในแต่ล่ ะวันั * เว็็บไซต์์ของพอล เนชั่่�น ส่่วนที่่�เป็็นแหล่่งเรีียนรู้้�คำำ�ศััพท์์ (Vocabulary Resource Booklet) มีีรายการคำำ�ศััพท์์เพื่่�อเอาตััวรอด ภาษาต่่างๆ บทที่� 2 15
เหตุผุ ล จุุดเน้น้ ฉัันจะเดิินทางไปประเทศที่�ใช้ภ้ าษานั้�น ไม่จ่ ำ�ำ เป็น็ ต้อ้ งเรียี นมากมาย แค่เ่ รียี นรู้�คำ�ศัพั ท์เ์ พื่�อ เอาตัวั รอด เน้้นฝึึกพูดู อะไรสั้�นๆ ให้้คล่่องแคล่ว่ ทำ�ำ บัตั รคำ�ำ สำ�ำ หรับั เรีียนคำำ�ศััพท์เ์ พื่�อเอาตััวรอด ควรฝึึกจากเอกสารที่่�ต้้องใช้้ เพราะสััดส่ว่ นของ คำ�ำ ศัพั ท์เ์ ฉพาะทางมีมี ากถึงึ 20-30% ในสิ่�งที่่�อ่า่ น ฉันั เรียี นภาษานี้�เพราะต้อ้ งอ่า่ นหนังั สือื เรียี นหรือื หมายความว่า่ ทุกุ ๆ 3-5 คำ�ำ ที่่�อ่า่ นจะเป็น็ คำ�ำ ศัพั ท์์ เอกสารที่�เกี่�ยวกับั งานที่่�ฉันั ทำำ� เฉพาะทาง ถ้้าอ่่านเรื่ �องที่ �ไม่่เกี่ �ยวข้้องกัับสาขา เราต้อ้ งเสียี เวลาเรียี นรู้�คำ�ศัพั ท์ท์ี่�ไม่เ่ ป็น็ ประโยชน์์ ฉันั ต้้องใช้้ภาษานี้�เพื่�อการเรียี น เริ่�มจากเอกสารต่า่ งๆ ที่�ใช้ใ้ นการเรียี น ใส่ค่ ำ�ำ ศัพั ท์์ ใหม่ห่ รือื วลีทีี่�พบบ่อ่ ยลงในบัตั รคำ�ำ ท่อ่ งจำ�ำ คำ�ำ ศัพั ท์์ ทุุกวันั ฉัันต้้องการทำ�ำ ธุุรกิจิ กัับคนที่่�พูดู ภาษานี้� เริ่�มจากบทสนทนาทั่�วไปแล้้วค่่อยๆ ฝึึกฝนบท สนทนาเชิงิ ธุุรกิิจ มหาวิิทยาลััยหรืือโรงเรีียนที่่�ฉัันเรีียนกำำ�หนดให้้ ศึึกษาตััวอย่่างแบบทดสอบ ฝึึกฝนทำำ�โจทย์์ สอบวััดความรู้�ภาษานี้�และฉัันอยากสอบผ่า่ น คำำ�ถามในข้้อสอบ เหตุุผลในตาราง 2.1 นี้้�เรียี งตามระดัับของแรงจููงใจที่�จะเรียี นภาษา แรงจููงใจจะสููงเมื่�อเกี่�ยวข้อ้ ง กัับความสนใจส่ว่ นตััว ถ้า้ เราต้้องเรีียนภาษาเพราะถููกบัังคัับ แรงจููงใจก็จ็ ะมีนี ้้อยมาก ระดับั ของแรง จููงใจนั้�นมีผี ลอย่า่ งมากต่่อการทุ่�มเทในการเรียี นภาษา หมายเหตุุ 2.1 คำ�ำ ทุุกคำำ�มีีความสำ�ำ คัญั เท่า่ กันั หรือื ไม่่ ถ้้าเรานับั ความถี่�ของคำำ�ที่่�ปรากฏในเอกสารอะไรก็ต็ าม ไม่ว่ ่า่ จะมีคี วามยาวเท่่าใดก็็จะพบ รูปู แบบเดียี วกันั นั่่�นคืือ มีีคำ�ำ จำำ�นวนไม่่มากที่�ปรากฏบ่่อยมากๆ แต่่มีีคำ�ำ จำำ�นวนมากที่�ไม่ค่ ่อ่ ย ปรากฏ คำ�ำ ที่�่ใช้บ้ ่อ่ ยมีจี ำ�ำ นวนน้้อย สำำ�หรับั ภาษาอัังกฤษ เราจะพบคำำ� 10 คำ�ำ ที่่�ปรากฏบ่อ่ ยที่่�สุดุ ในเอกสารมากถึึง 25% (หมาย- ถึึงเราเจอคำ�ำ เดิมิ ๆ ซ้ำ�ำ �ๆ ในการฟังั หรืืออ่า่ น) ส่่วน 100 คำ�ำ แรกที่�ปรากฏบ่อ่ ยที่่�สุุดพบในเอกสาร 16 เรีียนภาษาอย่่างไรให้้ได้ด้ ีี
มากถึึง 50% ลองดููในเอกสารอะไรก็็ได้้สัักหนึ่�งหน้้าว่่าคุุณพบคำำ�ว่่า “the” บ่่อยแค่่ไหน (คำำ�นี้้� มีีแทบทุุกบรรทัดั ในย่่อหน้้านี้�ของฉบับั ภาษาอัังกฤษด้ว้ ยซ้ำำ��) คำำ�ว่่า “the” นี้้�ปรากฏมากถึงึ 7% ของคำ�ำ ในภาษาเขีียนทั้�งหมด ส่ว่ น 1,000 คำำ�แรกที่�ปรากฏบ่่อยที่่�สุุดพบว่่าใช้ใ้ นเอกสารต่า่ งๆ มากถึึง 80% ของคำำ�ทั้้�งหมดในเอกสาร การวิจิ ััยในภาษาอื่�นๆ พบว่่า 1,000 คำำ�แรกที่�ปรากฏ บ่่อยใช้้ในเอกสารมากกว่่านี้้�ด้้วยซ้ำำ��ไป เมื่�อเราเรีียนรู้้�คำำ� ควรจะเริ่�มเรีียนจากคำำ�ที่่�ปรากฏบ่่อยมากๆ ก่่อน การเรีียนรู้้�คำำ�เหล่่านี้� คุ้�มค่่ามาก เพราะคุุณจะพบและต้้องใช้้คำำ�เหล่่านี้้�บ่่อยๆ ผู้้�เชี่�ยวชาญด้้านคำำ�ศััพท์์เองก็็พบว่่าคำำ� ภาษาอังั กฤษที่�พบบ่อ่ ยมากๆ มีปี ระมาณ 2,000-3,000 คำ�ำ โดยที่่�มีคี ำ�ำ บ่ง่ ไวยากรณ์จ์ ำ�ำ นวนไม่ม่ าก (คำำ�จำำ�พวก the, a, of, because, it, one, which, that) ส่่วนใหญ่่เป็็นคำำ�นาม คำำ�กริิยา คำำ�วิิเศษณ์์ และคำำ�กริิยาวิิเศษณ์์ (คำ�ำ ที่่�ให้ค้ วามหมายของประโยค) คุุณสามารถจััดลำำ�ดัับคำำ�ตามความถี่�ที่�ปรากฏในภาษาที่่�คุุณต้้องการเรีียนโดยเข้้าไปที่� เว็็บไซต์์ Sketch Engine www.sketchengine.co.uk (ดูคู ำ�ำ อธิิบายได้ใ้ นตอนต้น้ ของบทที่่� 2) แต่ค่ ุณุ ไม่จ่ ำ�ำ เป็น็ ต้อ้ งเรียี นคำ�ำ เหล่า่ นี้�ตามลำ�ำ ดับั ความถี่�ในรายการก็ไ็ ด้้ ให้เ้ ลือื กเรียี นครั้�งละประมาณ 100 คำำ�ก็พ็ อ คำำ�จำ�ำ นวนมากพบไม่่บ่่อยนััก ครึ่�งหนึ่�งของคำำ�ทั้้�งหมดจะปรากฏในเอกสารเพีียงแค่่ครั้�งเดีียว ดังั นั้�น ถ้า้ อ่า่ นนิยิ ายความ ยาว 100,000 คำ�ำ เราจะพบคำำ�ประมาณ 5,000 คำ�ำ (นิยิ ายเรื่�อง Captain Blood มีีความยาว 115,879 คำ�ำ และมีคี ำำ�ต่า่ งๆ จำ�ำ นวน 5,071 คำ�ำ ) ครึ่�งหนึ่�งของคำำ�ต่า่ งๆ ที่่�พบ (ซึ่�งมากกว่่า 2,000 คำ�ำ ) ปรากฏเพีียงครั้�งเดีียวเท่่านั้�น แปลว่่าเราจะไม่ม่ ีโี อกาสพบคำ�ำ นี้้�ซ้ำำ��และเรียี นรู้้�คำ�ำ นี้้� และถึึงแม้้ เราจะพยายามเรีียนรู้้�คำำ�ๆ นี้้�โดยเปิิดหาความหมายจากพจนานุกุ รม ก็็คงกิินเวลาอีกี นานมากกว่า่ จะพบคำำ�ๆ นี้้�อีกี ทัักษะหนึ่�งของการเรีียนภาษาคืือรู้�ว่าคำ�ำ ไหนที่�เหมาะจะเรีียนตามระดัับความสามารถทาง ภาษาของคุณุ เนื่�องจากคำ�ำ ที่่�ไม่ค่ ่อ่ ยปรากฏนั้้�นมีจี ำ�ำ นวนมาก ทางออกที่่�ดีที ี่่�สุดุ คือื อ่า่ นหนังั สือื ที่่�มีกี ารควบคุมุ คำำ�ศััพท์์ เพื่�อจะได้้ไม่่เสีียเวลาไปกัับคำำ�ที่่�ไม่่ค่่อยปรากฏและไม่่มีีประโยชน์์กัับคุุณในระดัับความ สามารถทางภาษาตอนนี้้� ศึึกษาข้อ้ มูลู เพิ่�มเติิมเรื่�องนี้�จาก http://en.wikipedia.org/wiki/Zipf’s_law บทที่� 2 17
นักั ท่อ่ งเที่�ยวต้อ้ งรู้�ภ้ าษามากแค่่ไหน ข่า่ วดีีคือื ถ้้าเรารู้�แค่่ 120 คำำ�และวลีี (ที่�ใช้้เวลาแค่่ 4 ชั่่�วโมงในการเรียี นแบบเจตนา) ก็ส็ ามารถ ทำำ�อะไรได้ห้ ลายอย่่างแล้ว้ เช่น่ การประชุุม การทัักทาย การพูดู อย่่างสุภุ าพ (ได้โ้ ปรด ขอบคุณุ ) ซื้้�อ สินิ ค้า้ สั่�งอาหาร ถามทาง อ่า่ นป้้าย หาที่่�พััก แนะนำำ�ตััวเอง และในหัวั ข้้ออื่�นๆ ที่่�ไม่ซ่ ับั ซ้้อนเกิินไปนักั คำำ�ศััพท์์เพื่�อการเอาตัวั รอดนี้้�จััดทำำ�ไว้ถ้ ึงึ 20 ภาษา รวบรวมคำ�ำ และวลีี (ที่่�ดูคู ล้า้ ยกับั ที่�พบในคู่่�มืือ ท่อ่ งเที่�ยว) แต่ค่ ำ�ำ ศััพท์เ์ หล่า่ นี้�มาจากการศึึกษาวิิจััยอย่า่ งเป็น็ ระบบ สามารถเข้้าถึึงคำำ�ศััพท์์ได้้จาก http://www.victoria.ac.nz/lals/staff/paul-nation.aspx ถ้้าเพิ่�งเริ่�มเรียี นภาษา ลองตรวจสอบ ดูวู ่่าคุุณรู้้�คำ�ำ ศััพท์์ในรายการนี้�หรือื ยังั เพราะว่า่ เป็็นคำำ�ที่่�มีปี ระโยชน์์มาก ค้น้ หาคำ�ำ และวลีที ี่่�มีปี ระโยชน์์จากโปรแกรมคอนคอร์ด์ านซ์์ (concordancer) คุณุ สามารถเช็ก็ ว่า่ คำ�ำ หรือื วลีทีี่�พบมีคี วามถี่�ของการปรากฏในเอกสารต่า่ งๆ เท่า่ ไรโดยใช้โ้ ปรแกรม คอมพิิวเตอร์์ที่�เรีียกว่่า โปรแกรมคอนคอร์์ดานซ์์ (concordancer) การศึกึ ษาวิธิ ีีใช้้โปรแกรมคอน- คอร์์ดานซ์น์ ี้้�มีปี ระโยชน์ม์ าก เพราะโปรแกรมนี้�สามารถแสดงตััวอย่า่ งได้เ้ ป็น็ จำำ�นวนมาก ซึ่่�งควรนำ�ำ มาใช้้เรีียนภาษาเพราะ 1. ตััวอย่่างช่่วยให้้เข้้าใจความหมายของคำำ�หรืือวลีี และแสดงให้้เห็็นว่่าความหมายใดใช้้บ่่อย ที่่�สุุด 2. ตัวั อย่า่ งแสดงให้้เห็็นว่า่ คำ�ำ หรือื วลีีใช้อ้ ย่่างไร 3. จำ�ำ นวนตััวอย่่างทำำ�ให้ท้ ราบว่่าคำำ�หรือื วลีีมีคี วามถี่�มากเท่่าไร 4. ตัวั อย่่างแสดงให้เ้ ห็็นว่่าคำำ�ที่่�มัักปรากฏร่ว่ มกัันมีีอะไรบ้า้ ง ข้้อมููลเหล่่านี้้�มีีประโยชน์์เพราะสามารถใช้้ช่่วยตััดสิินใจว่่าจะเรีียนรู้้�คำำ�หรืือวลีีนั้�นๆ หรืือไม่่ โดยแสดงข้้อมูลู มหาศาลเกี่�ยวกัับคำำ�หรือื วลีีนั้�นๆ แล้้วโปรแกรมคอนคอร์์ดานซ์ค์ ือื อะไรกันั แน่่ โปรแกรมนี้้�คือื โปรแกรมที่�เราพิมิ พ์ค์ ำำ� หรืือวลีี หรือื คำ�ำ จำำ�นวนสองคำ�ำ หรือื มากกว่า่ ลงไป แล้้วโปรแกรมจะแสดงตัวั อย่่างจากคลังั ข้อ้ มููล (corpus) ซึ่่�ง โปรแกรมคอนคอร์์ดานซ์์นี้้�มีีสองแบบ แบบที่�ใช้้ง่่ายคืือแบบออนไลน์์ ซึ่่�งสามารถเข้้าถึึงจากเว็็บไซต์์ ดังั ต่่อไปนี้� 18 เรียี นภาษาอย่่างไรให้้ได้ด้ ีี
Netspeak www.netspeak.org Word and phrase www.wordandphrase.info Just the word www.just-the-word.com Compleat Lexical Tutor www.lextutor.ca Wordneighbours www.wordneighbours.ust.hk โปรแกรมคอนคอร์์ดานซ์์ในเว็็บไซต์์ www.sketchengine.co.uk สามารถค้น้ คำ�ำ ได้ห้ ลายภาษา และขนาดของคลังั ข้อ้ มูลู (ฟรีีแบบจำำ�กััดระยะเวลา) อีีกวิิธีหี นึ่�งคือื ต้้องดาวน์โ์ หลดและใช้แ้ บบไม่่ต้อ้ งออนไลน์์ แต่่เราต้้องใส่ค่ ลัังข้้อมููลที่�จะค้้นหา ซึ่่�ง หาคลัังข้้อมููลหรืือสร้้างได้้ไม่่ยาก แต่่ที่�สะดวกที่่�สุุดคืือเริ่�มเรีียนจากโปรแกรมคอนคอร์์ดานซ์์แบบ ออนไลน์ ์ ส่ว่ นโปรแกรมแนะนำำ�ที่่�สามารถดาวน์์โหลดมาใช้้ได้ฟ้ รีคี ืือ AntConc โดยเข้้าไปที่�เว็บ็ ไซต์์ ของลอเรนซ์์ แอนโทนีี (Laurence Anthony) http://www.antlab.sci.waseda.ac.jp/software. html ตัวั อย่่างการแสดงผลของโปรแกรมคอนคอร์์ดานซ์์ เมื่�อค้้นข้อ้ มููลคำำ�ว่า่ contrary คุุณสามารถกำ�ำ หนดให้้แสดงผลเพื่�อให้้ง่า่ ยกับั การดูรู ูปู แบบการใช้ค้ ำ�ำ ศึึกษาตััวอย่่างวิธิ ีีจัดั เรียี ง ข้อ้ มููลจากลิงิ ก์์นี้้� http://www.youtube.com/watch?v=QbwgruJ4_gA บทที่� 2 19
ตรวจสอบว่่าเรารู้�้คำำ�มากแค่่ไหน ถ้้าคุุณเรียี นภาษามาเกิินหนึ่่ง� ปีีแล้ว้ ลองเช็็กดูวู ่่าคุุณรู้้�คำ�ำ มากแค่ไ่ หน ถ้า้ เป็็นคำ�ำ ภาษาอัังกฤษให้้ เข้า้ ไปที่เ�่ ว็็บไซต์์ www.my.vocabularysize.com แล้้วทำ�ำ แบบทดสอบวััดจำำ�นวนคำำ�ที่ค�่ ุณุ รู้� เมื่่�อรู้� จำ�ำ นวนคำำ�ก็จ็ ะทราบว่่าต้้องเรีียนรู้้�อีกี แค่่ไหน และเป็็นประโยชน์ใ์ นการเลืือกสิ่่ง� ที่่�จะอ่่านต่อ่ ไป ตาราง 2.2 แสดงการใช้ผ้ ลการวััดจำ�ำ นวนคำ�ำ เพื่�อ่ เลืือกใช้ส้ ื่�่อในการอ่่านภาษาอังั กฤษ ตาราง 2.2 จำ�ำ นวนคำำ�ศััพท์์ต่อ่ สื่�อ่ การอ่่านเพื่อ่� การรัับข้อ้ มููลแบบเน้้นความหมาย จำำ�นวนคำ�ำ ศัพั ท์์ สื่อ�่ การอ่่าน 1,000 คำำ� หรืือน้้อยกว่่า ควรเลืือกอ่า่ นหนัังสืือฝึึกอ่า่ น (graded reader) ระดับั ง่า่ ยๆ 1,000-2,000 คำำ� ควรเลืือกอ่่านหนังั สืือฝึึกอ่า่ น (graded reader) ระดัับกลาง 2,000-4,000 คำำ� ควรเลืือกอ่่านหนัังสืือฝึกึ อ่า่ น (graded reader) ระดัับสููง ควรเลืือกอ่่านหนัังสืือฝึึกอ่่าน (graded reader) โดยมีีคำำ�ที่่� 4,000 คำำ� หรืือมากกว่่า ปรากฏไม่บ่ ่อ่ ยอยู่่�ด้ว้ ย ตอนนี้้�ยัังไม่ม่ ีแี บบทดสอบวััดจำ�ำ นวนคำ�ำ ในภาษาอื่่�นๆ แต่ส่ ามารถวัดั แบบคร่่าวๆ ดังั นี้้� 1. ทำ�ำ รายการคำำ�โดยเรีียงลำ�ำ ดัับตามความถี่�ที่่ป� รากฏ โดยใช้้ www.sketchengine.co.uk 2. เรีียงลำำ�ดัับจากคำำ�ที่่�ใช้้บ่่อยที่่�สุุดไปน้้อยที่่�สุุด แล้้วนึึกถึึงความหมายแต่่ละคำำ� ถ้้าคุุณรู้้�คำำ�ศััพท์์ ในภาษานั้้�นมากพอสมควร ลองดููจากทุุกๆ 50 คำำ�แทน (ถ้้าใช้้วิิธีีนี้้�ก็็สามารถคููณ 50 เพื่่�อหาจำ�ำ นวน คำ�ำ ที่ร่�ู้�) เราสามารถหารายการคำ�ำ ภาษาต่า่ งๆ (แบบเรียี งตามความถี่ข� องคำ�ำ ที่ป�่ รากฏในข้อ้ ความ) ได้ด้ ังั นี้้� 1. ไปที่่�เว็บ็ ไซต์์ www.sketchengine.co.uk 2. เลืือกภาษาของคลัังข้้อมููลที่่�ต้้องการจากหััวข้้อ คลัังข้้อมููล (Corpora) หรืือเลืือกแสดง ทั้้ง� หมด (Show all corpora) ใต้ต้ าราง ถ้า้ เป็น็ คลังั ข้อ้ มูลู ขนาดใหญ่ก่ ็อ็ าจจะต้อ้ งใช้เ้ วลาสักั หนึ่ง�่ หรืือ สองนาทีี จะมีีกล่่องข้อ้ ความว่า่ ต้้องการสร้า้ งคอนคอร์ด์ านซ์์ (Make concordance) หรืือไม่่ให้้ ปฏิิเสธไป 3. เลืือกปุ่่�ม รายการคำำ� (Word list) ด้้านซ้้ายสุุด ไม่่ต้้องเปลี่่�ยนการตั้้�งค่่า (setting) ให้้เลืือก สร้า้ งรายการคำำ� (Make wordlist) ที่่อ� ยู่่�ด้า้ นล่่างของกล่่องข้้อความ แล้ว้ รอสัักครู่่� 20 เรีียนภาษาอย่า่ งไรให้้ได้้ดีี
4. เมื่�อได้ร้ ายการคำ�ำ มา ให้เ้ ลือื ก บันั ทึกึ (Save) ถ้า้ อยากได้แ้ ค่่ 1,000 คำ�ำ แรก (ซึ่�งน่า่ จะพอเพียี ง กัับการเริ่�มเรีียน) ให้้เลือื ก บัันทึึกรายการคำ�ำ (Save Word List) ถ้้าต้้องการวัดั ความรู้้�คำำ�ศััพท์ภ์ าษาฝรั่่�งเศส 2,000 คำำ�แรก ให้้เข้้าไปที่่� http://www.lextutor. ca/tests/yes_no_fr/ สำ�ำ หรับั คนที่�รู้�สึกว่า่ ยังั ไม่เ่ ก่ง่ ภาษานี้�เท่า่ ไร รายการคำ�ำ ที่่�ลำ�ำ ดับั ตามความถี่�สามารถใช้เ้ ป็น็ แนวทาง ในการเรียี นได้้ (ดูหู มายเหตุุ 2.1 คำ�ำ ทุกุ คำ�ำ มีคี วามสำ�ำ คัญั เท่า่ กันั หรือื ไม่)่ คำ�ำ ในลำ�ำ ดับั ต้น้ ๆ ของรายการ มักั ใช้เ้ ชิิงไวยากรณ์์ แนะนำ�ำ ให้้ศึึกษาการใช้้ในประโยค บทต่่อไปจะกล่า่ วถึงึ การเรีียนผ่า่ นการฟังั และการอ่่าน บทที่� 2 21
22 เรียี นภาษาอย่่างไรให้้ได้ด้ ีี
บ3ทที่ ถ่่วงดุุลการเรียี นรู้�้ : การเรียี นด้้วยการฟังั และการอ่า่ น เราเรีียนภาษาผ่่านการฟัังได้้อย่า่ งไร วิิธีกี ารเริ่�มต้น้ เรียี นภาษาที่่�ดีีคือื การฟังั ถึึงแม้้ว่า่ เราจะไม่เ่ ข้้าใจอะไรเลยก็็ตาม วิธิ ีีหนึ่�งที่�ได้ผ้ ลดีี คือื การดูภู าพยนตร์โ์ ดยมีซี ับั ไตเติลิ ในภาษาที่�เราเรียี น เป็น็ การฟังั แบบเน้น้ การใช้ภ้ าษา ทำ�ำ ให้เ้ ราเข้า้ ใจ ธรรมชาติิของภาษาและช่ว่ ยในการฝึึกพูดู เมื่�อทักั ษะภาษาเราดีีขึ้�น ให้้ฝึกึ ฟัังพร้อ้ มอ่า่ น โดยดาวน์์โหลดบทภาพยนตร์์แล้ว้ อ่่านบทก่่อนที่� จะเปิดิ ดููภาพยนตร์์ เริ่�มจากอ่า่ นบทแล้้วหาคำ�ำ ที่่�ไม่่รู้� แล้ว้ ทำำ�ความเข้้าใจว่า่ ประโยคนั้�นๆ แปลว่่าอะไร จากนั้�นให้ด้ ูภู าพยนตร์โ์ ดยมีซี ับั ไตเติลิ สองถึงึ สามสัปั ดาห์ต์ ่อ่ มาให้ด้ ูซู ้ำ�ำ �อีกี ครั้�ง ในการฝึกึ อ่า่ นก็ส็ ามารถ ทำ�ำ แบบเดีียวกัันได้้ เนื่�องจากหนัังสือื ฝึึกอ่า่ น graded reader ในปัจั จุุบันั จะมีซี ีีดีีมาให้้ฟังั ไปด้้วย เรา สามารถฝึึกอ่่านก่อ่ นฟััง และอ่่านขณะที่่�ฟัังไปด้ว้ ยได้้ กิจิ กรรม 3.1 การอ่า่ นขณะฟััง ให้้ฟัังซีดี ีทีี่�มากัับหนัังสืือ และอ่่านไปพร้อ้ มๆ กััน กิิจกรรมนี้�ใช้้ทักั ษะการอ่า่ น ช่ว่ ยส่ง่ เสริิม ทักั ษะการฟังั ผู้้�เรียี นชอบการฟังั ขณะที่่�อ่่านมากกว่า่ การฟังั อย่่างเดียี ว และวิิธีนี ี้้�ยัังทำำ�ให้ผู้้�เรียี น ได้ค้ ะแนนการวััดความรู้้�คำ�ำ ศััพท์์และการทำ�ำ ความเข้้าใจในการอ่า่ นมากขึ้�นด้ว้ ย เราต้้องรู้�ค้ ำ�ำ ศััพท์ม์ ากแค่่ไหนถ้า้ จะดููภาพยนตร์์สักั เรื่�อ่ ง ภาพยนตร์ท์ั่�วไปมีีความยาวไม่่เกิิน 10,000 คำำ� นวนิิยายส่ว่ นมากมีคี วามยาวประมาณ 100,000 คำำ� คำ�ำ ที่่�ปรากฏบ่่อยๆ ในภาพยนตร์์มีปี ระมาณ 1,000 คำ�ำ ถ้า้ จะเข้้าใจบทภาพยนตร์์โดยที่�ไม่ต่ ้้องเตรีียมตัวั ก่่อน คุุณต้้องรู้้�คำำ�ศัพั ท์์ค่่อนข้า้ งมาก (อย่่างน้อ้ ย 3,000-6,000 คำำ�) แต่่จำำ�นวนคำำ�ในบทภาพยนตร์์ก็็มีีไม่่มาก การอ่่านบทและเรีียนรู้้�คำำ�ศััพท์์ก่่อนจึึง ไม่ใ่ ช่เ่ รื่�องยาก เนื่�องจากปริิมาณการรัับภาษาที่�เน้้นความหมายมีีผลต่่อการเรีียนรู้�ภาษา เราจึึงควรฝึึกฟัังและ อ่า่ นอย่า่ งสม่ำ�ำ �เสมอ โดยเลือื กระดับั ที่�เหมาะกัับความสามารถของตนเอง บทที่� 3 23
เราเรียี นภาษาผ่า่ นการอ่า่ นได้อ้ ย่า่ งไร ผลการวิจิ ััยพบว่า่ เราสามารถเรียี นรู้�ภาษาได้้ดีีผ่่านการอ่่าน เราจะอ่่านเพื่�อพััฒนาความสามารถ ทางภาษาได้อ้ ย่่างไร 1. อ่า่ นหนังั สือื ที่�เหมาะสมกับั ระดับั ความสามารถของตนเอง ซึ่�งทำ�ำ ได้ง้ ่า่ ยมากถ้า้ กำ�ำ ลังั เรียี นภาษา อังั กฤษ (แต่่ในภาษาอื่�นๆ อาจจะลำำ�บากหน่่อย) มีีหนัังสือื ฝึึกอ่่านภาษาอังั กฤษประเภท graded reader จำำ�นวนมากซึ่�งเขีียนโดยกำำ�หนดวงคำำ�ศััพท์์ที่�เหมาะสำ�ำ หรับั ระดับั ของผู้�เรียี น เนื่�องจากหนัังสือื ฝึกึ อ่า่ น graded reader นั้�นเขียี นขึ้�นเพื่�อผู้�เรียี นภาษาต่า่ งประเทศ ผู้�เรียี นในแต่ล่ ะระดับั ความสามารถ จึึงสามารถเลืือกอ่า่ นหนัังสือื ที่�ตรงกับั ระดัับความสามารถของตนได้้ หนังั สืือฝึึกอ่่าน graded reader แบ่ง่ ได้้เป็น็ ระดัับต่า่ งๆ โดยจำำ�กััดวงคำำ�ศััพท์ไ์ ว้อ้ ย่า่ งเหมาะสม สำ�ำ นักั พิิมพ์ท์ี่�ผลิติ สื่�อการเรีียนการสอน ใหญ่่ๆ มักั มีซี ีรี ีีส์์หนังั สืือเหล่า่ นี้้� สำ�ำ นักั พิมิ พ์อ์ อกฟอร์ด์ มีีชุุดหนัังสืือ Oxford Bookworms สำ�ำ นักั พิมิ พ์์ เคมบริิดจ์์มีี Cambridge English Readers สำำ�นัักพิิมพ์์เพนกวิินมีี Penguin Readers สำำ�นัักพิิมพ์์ ไฮน์์แมนน์์ (Heinemann) มีทีั้�ง Foundation Readers และ the National Geographic readers ชุดุ หนัังสืือ Oxford Bookworms แบ่ง่ ตามระดับั ได้้ดัังนี้� ระดับั 1 2 3 4 5 6 คำ�ำ ใหม่่ 400 300 300 400 400 700 คำำ�ทั้้�งหมด 400 700 1,000 1,400 1,800 2,500 ดัังนั้�น ผู้้�เรียี นที่�รู้�คำ�ศัพั ท์ป์ ระมาณ 400 คำ�ำ สามารถเลือื กอ่า่ นหนังั สืือในระดับั 1 ได้ห้ ลายเล่ม่ เลยทีเี ดีียว ข้้อดีีของหนัังสืือนอกเวลาคืือ คำำ�ที่่�อ่่านทุุกคำำ�นั้้�นเลืือกมาแล้้วว่่าเหมาะสมที่�จะเรีียนรู้้� ถึึงแม้้ว่่า บางคำ�ำ จะเจอในหนังั สืือแค่ค่ รั้�งเดียี วก็ต็ าม หนัังสืืออ่่านนอกเวลามีีความยาวไม่่เกิิน 3,000 คำำ� ดัังนั้�นถ้้ารู้้�จำำ�นวนคำำ�มากกว่่านั้�น ให้้อ่่าน หนังั สืือนอกเวลาที่�ยากขึ้�นหน่่อย (mid-frequency reader) ซึ่่�งจะแบ่่งเป็็นระดับั 4,000 คำำ� 6,000 คำ�ำ และ 8,000 คำำ� โดยสามารถหาอ่า่ นแบบออนไลน์์ได้ฟ้ รีจี ากเว็บ็ ไซต์์ของพอล เนชั่�น http://www. victoria.ac.nz/lals/staff/paul-nation.aspx สามารถเข้้าไปดููรายละเอีียดเพิ่�มเติิมเกี่�ยวกัับหนัังสืือฝึึกอ่่านที่�เว็็บไซต์ม์ ููลนิิธิิการอ่่านอย่่างกว้้าง- ขวาง (Extensive Reading Foundation) ซึ่่�งมีีการจััดอันั ดับั หนังั สืือดีีเด่่นด้้วย นอกจากภาษา อัังกฤษยัังมีหี นัังสืือภาษาญี่�ปุ่�นและภาษาฝรั่่�งเศสด้้วย ถ้้าเรีียนภาษาอื่�นๆ ที่่�ไม่่ใช่่ภาษาอัังกฤษ ให้้เริ่�มจากหนัังสืือเรีียนที่�ใช้้สำำ�หรัับหััดอ่่าน เพราะมีี คำ�ำ ศััพท์์ไม่ม่ าก และเป็น็ คำำ�ง่่ายๆ เช่น่ หัดั อ่่านสารานุกุ รมสำ�ำ หรับั เด็็ก 24 เรียี นภาษาอย่่างไรให้้ได้ด้ ีี
2. ให้อ้ ่า่ นไปพร้อ้ มกับั การท่อ่ งคำ�ำ ศัพั ท์จ์ ากบัตั รคำ�ำ (จะเป็น็ บัตั รคำ�ำ แบบกระดาษหรือื แบบออนไลน์์ ก็ไ็ ด้้) (ดููบทที่�่ 5) 3. ลองอ่่านจากโปรแกรมที่่�สามารถหาความหมายคำำ�จากพจนานุุกรมได้้ด้้วย เช่่น Kindle หรืือ Kobo ซึ่ง�่ สามารถหาความหมายได้ง้ ่า่ ยๆ เพีียงแค่ส่ ัมั ผัสั ที่ค�่ ำ�ำ ๆ นั้้น� แต่ถ่ ้า้ อยากใส่เ่ รื่อ� งที่ก�่ ำ�ำ ลังั อ่่านไว้้ ในโปรแกรม ต้อ้ งมีีอีีเมลของ Kindle โดยเข้้าไปที่�่เว็็บไซต์์ Amazon Kindle เลืือก Your account แล้้วเลืือกรายการแรกในเมนููชื่ �อ Your account ซึ่่�งถ้้ายัังไม่่ log in ก็็จะไม่่เห็็นคอลััมน์์ด้้านซ้้ายมืือ ให้้เลืือก Personal document settings ในด้้านซ้้ายสุุดของคอลััมน์์ มีีรายการอีีเมลของเครื่่�อง หรืือแอปพลิิเคชัันที่่�คุุณใช้้ หลัังจากส่่งเอกสารที่่�อยากอ่่านใน Kindle ไปที่่อ� ีีเมลนั้้�น ก็็จะสามารถ อ่า่ นเอกสารนั้้�นได้้ผ่่านโปรแกรม Kindle 4. ต้้องอ่่านมากๆ ยิ่ �งเราเก่่งภาษามากเท่่าไร ก็็ต้้องอ่่านให้้มากขึ้้�น เพื่่�อจะได้้เจอคำำ�ที่่�เหมาะกัับ ระดัับความรู้�ของเราได้้บ่่อยๆ จนทำำ�ให้้เราได้้เรีียนรู้�คำำ�มากขึ้้�นจากการอ่่าน (ดููหมายเหตุุ 8.2 เรา ต้อ้ งอ่่านมากแค่ไ่ หน) การอ่่านส่่งเสริิมการเรีียนภาษา เพราะเป็็นโอกาสที่่�ผู้�เรีียนจะได้้เจอคำำ�และเรีียนรู้้�การใช้้ซ้ำำ��ๆ กล่า่ วคืือ การอ่า่ นทำ�ำ ให้ผู้้�เรีียนพบคำ�ำ กลุ่่�มของคำำ� และไวยากรณ์ท์ ี่ใ�่ ช้้ร่ว่ มกัับคำ�ำ เมื่อ� พบบ่อ่ ยๆ ก็ท็ ำ�ำ ให้้ เกิดิ การเรีียนรู้�ไปด้ว้ ย กิิจกรรม 3.2 การอ่่านหนังั สืือนอกเวลา การอ่า่ นหนังั สือื นอกเวลาต้อ้ งมีีสื่่อ� การอ่า่ นจำ�ำ นวนมากที่�ต่ รงกัับระดับั ความรู้�ของคุณุ ตาม หลักั การแล้ว้ ก็ค็ วรเป็น็ เรื่�องที่่�อ่่านแล้ว้ สนุกุ ซึ่�่งสื่�อแบบนี้้จ� ะมีีคำำ�ที่่�เราไม่รู่้�จักแค่่ 2 คำำ�ในการอ่า่ น ยาว 100 คำำ� (หรืือเจอคำำ�ที่่�ไม่่รู้้�จัักแค่่ 1 คำำ� หรืือน้้อยกว่่านั้้�นในการอ่่านยาว 5 บรรทััด) สำำ�หรัับ ผู้�เรีียนระดัับขั้น� ต้้นและกลางควรอ่า่ นหนัังสือื ที่�่มีีการจำ�ำ กััดวงคำำ�ศัพั ท์์ (graded reader) เราควรอ่า่ นหนังั สืือแบบนี้้ส� ัปั ดาห์ล์ ะเล่่ม ใช้เ้ วลาอ่่านสััปดาห์ล์ ะ 1-2 ชั่ว� โมง ในคอร์์สการ เรีียนภาษาที่่�ดีีจะแบ่่งเวลา 1/4 ไว้้สำำ�หรัับอ่่านหนัังสืืออ่่านนอกเวลา โดยเวลา 2/3 ของการอ่่าน ให้้อ่า่ นหนังั สือื ที่�่มีีคำำ�ที่�่ไม่่รู้�จักจำำ�นวนไม่่มาก และเวลาอีีกหนึ่�่งส่ว่ นให้อ้ ่่านเรื่อ� งที่�่อ่า่ นง่า่ ยๆ เพื่่อ� ฝึกึ ความคล่อ่ งแคล่ว่ ในการอ่า่ น อัันที่่�จริิงเราไม่่จำำ�เป็็นต้้องทดสอบความเข้้าใจจากการอ่่านก็็ได้้ แต่่ก็็มีีเว็็บไซต์์ที่่�สร้้างแบบ ทดสอบไว้ใ้ ห้้แล้้ว (เข้า้ ไปที่�่เว็็บไซต์์ Extensive Reading Foundation http://erfoundation. org/wordpress/graded-readers/mreader) งานวิิจััยด้้านการอ่่านนอกเวลาพบว่่า การอ่่านหนัังสืือนอกเวลาทำำ�ให้้ทัักษะการอ่่านดีีขึ้้�น ความรู้�คำ�ำ ศัพั ท์์ก็็มากขึ้้�น รวมทั้้�งทัักษะอื่น� ๆ และความรู้้�ทางภาษาก็ด็ ีีขึ้้น� ด้้วย บทที่่� 3 25
การวิจิ ัยั พบว่า่ เมื่�อเราอ่่านหนังั สือื เราได้เ้ รีียนรู้้�คำ�ำ ศัพั ท์์ กลุ่�มคำำ� การใช้้ไวยากรณ์์ และพัฒั นา ทักั ษะการอ่่าน นอกจากนี้้� การอ่่านยังั ทำ�ำ ให้เ้ รารู้้�สึกถึงึ การประสบความสำ�ำ เร็จ็ การอ่่านไม่ไ่ ด้ใ้ ช้้เวลา มากจนเกิินเหตุุ และยัังทำำ�ให้เ้ พลิิดเพลินิ อีกี ด้้วย กิิจกรรม 3.3 การอ่่านแบบเจาะจง การเลือื กอ่า่ นเฉพาะบางหัวั ข้อ้ หรือื อ่า่ นเฉพาะสาขาวิชิ า เรียี กว่า่ การอ่า่ นแบบเจาะจง ซึ่่�งมีี ข้้อดีี 3 ข้้อใหญ่ๆ่ ประเด็็นที่่�สำำ�คััญที่่�สุุดคืือ เป็็นการลดความหลากหลายของคำำ�ที่่�ต้้องเจอ การอ่่านหััวข้้อ หลากหลายทำ�ำ ให้้เราต้อ้ งเจอคำ�ำ ศัพั ท์ม์ ากเกินิ ความจำำ�เป็็น (บางคำำ�เราก็เ็ จอคำ�ำ นั้้�นๆ แค่่ครั้�งเดียี ว เท่า่ นั้�น) นอกจากนี้้� การอ่า่ นแบบเจาะจงหััวข้้อ ทำำ�ให้้เรามีีความรู้�เฉพาะด้า้ นนั้�นมากขึ้�น ซึ่่�งก็ย็ิ่�ง ทำำ�ให้เ้ ราอ่า่ นได้ด้ ีขีึ้�นและสามารถเดาความหมายคำำ�ที่่�ไม่รู่้�ได้ง้ ่่ายขึ้�นด้้วย การอ่่านแบบเจาะจงทำ�ำ ได้้โดย (1) เลืือกอ่่านเรื่�องเฉพาะสาขาวิชิ า ซึ่่�งอาจจะเป็น็ ด้้านที่�เรา มีีความรู้�ความถนััดอยู่�แล้ว้ (2) เลืือกอ่า่ นเรื่�องในหััวข้อ้ เดีียวกัันหรืือใกล้เ้ คีียงกันั จากหนังั สืือพิิมพ์์ (3) ทำ�ำ กิจิ กรรมบันั ทึกึ การอ่่าน (ดููกิจิ กรรม 8.1) ถ้า้ หากว่า่ เรารู้�คำ�ศัพั ท์จ์ ำ�ำ นวนมากอยู่�แล้ว้ (ประมาณ 6,000-7,000 คำ�ำ ) การอ่า่ นเรื่�องหลาก- หลายหััวข้้อจะเป็็นประโยชน์์ต่่อการเพิ่�มพููนคำำ�ศััพท์์ที่�ไม่่เคยเจอ ให้้ลองอ่่าน แล้้วพิิจารณาดููว่่า หัวั ข้อ้ ต่่างๆ ที่่�เลืือกอ่า่ นนั้�นยากเกิินไปหรือื ไม่่ การเลือื กอ่า่ นหนังั สือื ที่�ชอบ แล้ว้ อ่า่ นตั้้ง� แต่ต่ ้น้ จนจบเพื่อ�่ เพิ่ม�่ พูนู คำ�ำ ศัพั ท์์ นี่่�ดีจี ริิงๆ หรืือไม่่ คำำ�ตอบคืือ ก็็คงจะไม่ด่ ีเี ท่่าไร ถ้้าหนังั สืือที่่�อ่า่ นไม่่ได้้เขียี นแบบควบคุมุ ปริมิ าณคำ�ำ ศััพท์ห์ รือื ไม่่ใช่่ เรื่�องที่่�คุณุ รู้้�ดีอี ยู่�แล้ว้ เหตุุผลสำ�ำ คัญั คืือ คำ�ำ ที่่�เราไม่่รู้�จะมีจี ำำ�นวนมาก (อาจจะมากเกิิน 1,000 คำ�ำ ) แล้ว้ ส่่วนมากเป็็นคำำ�ที่่�ไม่่เกี่�ยวกัับสิ่�งที่�รู้� หรืือจะไม่่เจออีีกในเล่่มที่่�อ่่านหรืือแม้้แต่่ในเล่่มอื่�นๆ เพราะโดย ปกติคิ รึ่�งหนึ่�งของคำ�ำ ที่่�เราอ่่านพบจะปรากฏเพียี งครั้�งเดีียว เราจึงึ มัักเจอคำ�ำ ใหม่่ๆ ในทุกุ บรรทัดั ที่่�อ่่าน เราอ่่านแบบเจาะจงเมื่�อ 1. เป็็นหนัังสืือในรายวิชิ าที่�เรียี น 2. เป็น็ หนัังสือื หลัักในสาขาวิชิ าที่่�กำ�ำ ลังั เรียี น เราก็็จะได้เ้ รีียนรู้้�คำ�ำ ศััพท์์เฉพาะทางไปด้้วย 3. มีเี นื้�อหาใกล้ต้ ัวั และคำำ�ศัพั ท์์เฉพาะทางใกล้เ้ คีียงกัับภาษาไทย 4. เป็็นนิิยายที่่�อ่า่ นฉบัับภาษาไทยมาแล้้ว ทำำ�ให้ส้ ามารถเดาหรือื ข้า้ มคำ�ำ ที่่�ไม่รู่้�จักไปได้้ 26 เรีียนภาษาอย่่างไรให้้ได้้ดีี
การอ่า่ นจะง่่ายดายมากขึ้�นถ้้าซื้�อแบบออนไลน์์หรืือแปลงเอกสารเป็็นไฟล์์ (แต่ต่ ้อ้ งไม่ล่ ืมื ว่่าห้า้ ม เผยแพร่่ไฟล์์ เพราะงานเขียี นมีลี ิขิ สิทิ ธิ์)� ถ้า้ ใช้้ Kindle หรือื Kobo ก็ส็ ามารถเปิิดหาความหมายจาก พจนานุกุ รมได้้ง่า่ ยๆ อีีกวิิธีทีี่�ได้้ผลดีคี ืือการอ่่านแบบเจาะจง โดยเน้้นอ่า่ นเรื่�องสั้�นๆ จำ�ำ นวนมากที่่�มีี หัวั ข้อ้ เดียี วกันั ถ้า้ อ่่านหนัังสืือเล่ม่ หนา เมื่�ออ่่านจบแล้ว้ ควรอ่่านซ้ำำ��หรืือเปลี่�ยนเล่ม่ ใหม่ด่ ีกี ว่า่ กััน ประโยชน์ข์ องการอ่่านซ้ำ�ำ �มีดี ัังนี้� 1. เราอ่า่ นเรื่�องเดิิมเข้้าใจมากขึ้�นเมื่�ออ่า่ นซ้ำ�ำ � 2. ได้เ้ จอคำ�ำ ศััพท์ซ์ ้ำำ��ๆ 3. ได้้ฝึึกนึึกถึงึ ความหมายของคำ�ำ ที่่�เพิ่�งอ่่านไปในรอบแรก 4. ได้ฝ้ ึกึ ความคล่อ่ งแคล่่วในการอ่่าน 5. ใช้เ้ วลาอ่า่ นน้้อยกว่า่ หนัังสืือเล่่มอื่�นที่่�มีคี วามยาวเท่า่ ๆ กััน ข้้อดีขี องการอ่่านเล่่มใหม่่ 1. ได้้ศึกึ ษาวิธิ ีีการใช้้คำ�ำ ที่่�ต่่างออกไปจากที่่�อ่่านเจอในเล่ม่ เก่่า 2. ได้้เรียี นรู้้�คำำ�ใหม่่ๆ อีีกจำำ�นวนมาก คิดิ ดูแู ล้ว้ การอ่า่ นซ้ำ�ำ �น่า่ จะดีกี ว่า่ จริงิ ๆ แล้ว้ ในการเรียี นภาษาควรมีทีั้�งการอ่า่ นซ้ำ�ำ �และอ่า่ นหลายๆ เรื่�อง เมื่�อเริ่�มต้้นเรีียนภาษา ควรจะใช้้เวลาในการอ่่านประมาณครึ่�งชั่�วโมงถึึงหนึ่�งชั่�วโมงต่่อสััปดาห์์ ในการฝึกึ ฟังั และอ่่านแบบเน้้นความหมาย พอทัักษะภาษาดีขีึ้�น ก็ค็ วรใช้เ้ วลาอ่า่ นให้ม้ ากขึ้�น ในบทนี้�เราเน้้นไปที่�การเรีียนรู้�ภาษา ในบทต่่อไปจะเน้้นไปที่�การใช้้ภาษา (พูดู และเขียี น) บทที่� 3 27
28 เรียี นภาษาอย่่างไรให้้ได้ด้ ีี
บ4ทท่ี การแบ่ง่ การเรีียนรู้้�ให้ส้ มดุุล : การเรียี นด้ว้ ยการพููดและเขีียน การฟังั และการอ่า่ นเป็น็ ทักั ษะการรับั ภาษา ส่ว่ นการพูดู และการเขียี นเป็น็ ทักั ษะในการใช้ภ้ าษา โดยทั่�วไป การใช้้ภาษานั้�นยากกว่่าการรับั ภาษา เพราะต้อ้ งคัดั สรรคำ�ำ และเลือื กโครงสร้้างไวยากรณ์ท์ี่� จะนำำ�มาใช้ร้ ่ว่ มกััน ตามหลักั การของสี่�สายที่�เราใช้ใ้ นหนัังสืือเล่่มนี้้� เวลา 1 ใน 4 ของการเรีียนรู้�ที่�ดีควรเป็น็ การฝึึก ทักั ษะการใช้้ภาษา (การพููดและการเขียี น) ซึ่�งรวมถึงึ ความคล่อ่ งแคล่่วในการพููดและเขีียนด้้วย หมายเหตุุ 4.1 เด็็กเรีียนภาษาได้ด้ ีกี ว่า่ ผู้�ใหญ่่จริงิ หรืือ การจะตอบคำ�ำ ถามนี้�คงต้้องแยกกัันระหว่่างการเรีียนภาษาที่�สองกัับการเรีียนภาษาต่่าง- ประเทศ การเรีียนภาษาที่�สองเป็็นการเรีียนเมื่�อภาษานั้�นๆ ใช้้สื่�อสารในประเทศ ซึ่�งกรณีีนี้�เด็็กจะทำำ� ได้ด้ ีี ยิ่่�งอายุุน้อ้ ยยิ่�งเรีียนได้ด้ ีี ผู้้�เรีียนจะมีสี ำำ�เนีียงพููดใกล้้เคียี งกับั เจ้้าของภาษา ถ้า้ เริ่�มเรียี นภาษา ที่�สองตั้�งแต่อ่ ายุนุ ้อ้ ย (ก่อ่ นอายุุ 6-7 ปี)ี ส่่วนการเรีียนภาษาต่่างประเทศนั้�นมีีความแตกต่่างกัันมาก เราไม่่มีีความจำำ�เป็็นมากเท่่า การเรีียนเป็็นภาษาที่�สอง เรามีโี อกาสน้้อยที่�จะพบคนต่่างชาติแิ ละใช้้ภาษาต่่างประเทศ จึึงต้้องมีี แรงจููงใจในการเรีียนสููงมาก ขณะที่�เวลาในการเรีียนเองก็็มีีจำำ�กััด ผู้้�ใหญ่่มีีความได้้เปรีียบใน การเรียี นภาษาต่า่ งประเทศเพราะมีเี ป้า้ หมายระยะยาวที่่�ชัดั เจนกว่า่ สามารถอดทนเรียี นได้ด้ ีกี ว่า่ มีีทัักษะการเรีียนรู้�อยู่�แล้้ว และมีีเทคนิิคที่�เคยใช้้ในการเรีียนภาษา ผู้้�ใหญ่่จึึงสามารถวิิเคราะห์์ การเรียี นของตนเองได้้ดีแี ละควบคุมุ การเรียี นของตนเองได้้ บทที่� 4 29
เราเรียี นภาษาด้้วยการพูดู ได้้อย่า่ งไร วิธิ ีีที่�เ่ ร็ว็ ที่่ส� ุุดในการเริ่�มต้้นพูดู คือื การจำำ�วลีีและประโยคที่�่สำำ�คััญ ซึ่่ง� ดูไู ด้้จากรายการคำ�ำ ศัพั ท์เ์ พื่่�อ เอาตัวั รอด มีหี ัวั ข้อ้ ดังั นี้้� การทักั ทาย การพูดู แบบสุภุ าพ/ตามกาลเทศะ การซื้้อ� สินิ ค้า้ และการเดินิ ทาง ตัวั เลข การสนทนาในร้้านอาหาร และการแนะนำำ�ตััวเอง อาชีพี และเหตุุผลในการไปต่า่ งประเทศ กิจิ กรรม 4.1 จำ�ำ ประโยคและบทสนทนา เขีียนประโยคที่่�ต้้องท่่องจำำ�ในบััตรคำำ�โดยใส่่คำำ�แปลภาษาไทยไว้้อีีกด้้านหนึ่่�ง ควรศึึกษาวิิธีี ออกเสียี งวลีีและประโยคเหล่่านี้้�อย่่างถููกต้้องก่อ่ นเริ่�มท่อ่ งจำำ� เวลาท่่องจำ�ำ ให้ด้ ูคู ำำ�แปลในภาษาไทย แล้ว้ พยายามนึึกว่า่ ประโยคนี้้ค� วรพูดู ว่่าอะไรในภาษา ต่า่ งประเทศ ให้ศ้ ึึกษาวิิธีใี ช้จ้ ากกิิจกรรม 5.1 ประโยคและวลีีที่จ�่ ำ�ำ ควรได้้ใช้้ทัันที ี ตาราง 8.4 เป็็นรายการสถานการณ์ท์ ี่�ใ่ ช้้ฝึึกบทสนทนา สั้�นๆ เพื่่�อท่่องจำ�ำ การท่อ่ งจำ�ำ นั้้�นทำ�ำ ได้้ง่า่ ย ช่่วยให้เ้ ราจำำ�ประโยคหรือื บทสนทนาได้้นาน และนำ�ำ ไปใช้้ได้้อย่า่ ง คล่อ่ งแคล่ว่ เมื่�อทัักษะทางภาษาดีีขึ้�น ควรมีกี ารจััดกลุ่�มสนทนาระหว่่างผู้�เรียี น (โดยอาจจะมีเี จ้้าของภาษา สััก 1 หรือื 2 คนด้ว้ ย) เพื่่�อฝึึกสนทนา ในแต่่ละครั้้ง� ที่่�สนทนาก็ใ็ ห้ล้ องทำำ�รายการสถานการณ์ท์ ี่�ค่ ิดิ ว่่า ต้อ้ งใช้้ภาษาต่่างประเทศ แล้ว้ ลองแสดงบทบาทสมมติิกััน ในการสนทนาทั่่�วไป เจ้้าของภาษามัักไม่่แก้้ไขความผิิดพลาดของผู้�เรีียนภาษาต่่างประเทศถ้้า เขาเข้้าใจความหมายของสิ่ง� ที่่พ� ููด ฉะนั้้�นควรหาใครสัักคนที่่�ยิินดีีช่ว่ ยแนะนำ�ำ และแก้้ไขข้้อผิิดพลาดใน การพููด โดยอาจจะเน้้นแก้้ไขเป็็นประเด็็นไป เช่่น การออกเสีียงบางเสีียงหรืือไวยากรณ์์บางเรื่�อง เพื่่อ� จะได้ไ้ ม่ต่ ้อ้ งมาคอยแก้้ข้้อผิิดพลาดมากจนเกิินไป 30 เรีียนภาษาอย่่างไรให้้ได้ด้ ีี
กิิจกรรม 4.2 บทบาทสมมติิ กิจิ กรรมบทบาทสมมติิเป็น็ งานกลุ่�มที่�สมาชิิกจำ�ำ นวน 2-3 คน แสดงบทบาทตามสถานการณ์์ ที่่�จำ�ำ ลองขึ้�น เช่น่ ไปพบแพทย์์ ซื้้�อสินิ ค้้าในร้า้ น การถามทาง การสั่�งอาหาร หรือื การเริ่�มบท สนทนากับั คนแปลกหน้า้ สมาชิิกแต่่ละคนในกลุ่�มจะแสดงบทบาทต่่างๆ ผู้้�แสดงควรวิิเคราะห์์ว่่าจะปรัับปรุุงการ แสดงได้้อย่่างไร และลองแสดงบทบาทสมมติใิ หม่อ่ ีกี ครั้�ง หากได้ฝ้ ึึกซ้ำ�ำ �ถึงึ 3 รอบก็ย็ิ่�งดีี (บทบาท สมมติคิ วรมีีการฝึกึ ฝนอย่า่ งน้้อย 2-3 ครั้�ง) การเลืือกหััวข้้อแสดงบทบาทสมมติิที่�เหมาะสมเป็็นการเตรีียมความพร้้อมในการใช้้ภาษา พููดแบบหนึ่ �ง กิิจกรรม 4.3 การพูดู แบบเตรีียมตััว ควรมีกี ารฝึึกพููดสั้�นๆ ที่่�เราได้เ้ ขีียนบทพููด ท่่องจำ�ำ ตรวจทาน และฝึึกซ้้อม อาจจะเป็็นหััวข้อ้ ที่�เราจะพููดกับั ผู้�อื่�น เช่่น เรื่�องงาน กิิจกรรมยามว่่าง กิิจกรรมที่่�ทำ�ำ ตอนไปต่่างประเทศ ครอบครััว และสถานที่่�ท่อ่ งเที่�ยวในเมือื งไทยที่�คนต่า่ งชาติิควรไป อีกี กิจิ กรรมหนึ่�งที่่�น่า่ ทำ�ำ คือื การสนทนาแบบนึกึ คิดิ ซึ่�งเป็น็ วิธิ ีพี ูดู ที่�ไม่อ่ อกเสียี ง แต่ม่ ีปี ระโยชน์์ กับั การพููดแบบออกเสีียง (ถึงึ จะไม่่ใช่ก่ ารพููดในที่�สาธารณะก็ต็ าม) กิิจกรรมนี้�เป็น็ การจินิ ตนาการ ว่่าเรากำำ�ลัังพููดกัับคนๆ หนึ่�งอยู่� เช่่น ดาราดังั คนหนึ่�ง ให้้ฝึึกพููดกับั คนคนนั้�นในใจ ฝึกึ ซ้อ้ มปรัับปรุงุ จนพอใจ การพููดเป็็นทัักษะที่�เรีียนด้้วยตััวเองได้้ยาก เพราะขาดโอกาสที่�จะสนทนากัับคนอื่�น เราต้้อง พยายามหาโอกาสสื่�อสารกับั เจ้า้ ของภาษาหรือื ผู้�อื่�นผ่า่ นช่อ่ งทางสื่�อสารออนไลน์์ เช่่น ใช้โ้ ปรแกรม Skype บทที่� 4 31
เราเรีียนภาษาด้้วยการเขียี นได้อ้ ย่่างไร การเขีียนแบ่่งได้้ 3 ประเภทใหญ่ๆ่ ประเภทแรกคือื การเขียี นแบบเน้้นความถูกู ต้อ้ ง มีีการใช้้ พจนานุกุ รม มีีคนที่่�เก่ง่ ภาษาช่่วยตรวจทานการเขียี นเพื่่�อให้เ้ ราปรับั ปรุุงการเขีียนให้ด้ ีีขึ้้น� ประเภทที่่� 2 คือื การเน้น้ ความคล่อ่ งแคล่่ว ซึ่่ง� กิจิ กรรมที่่�แนะนำำ�คือื กิิจกรรมเขีียนใน 10 นาทีี (ดูกู ิจิ กรรม 6.3) ประเภทที่่� 3 คืือ การเขียี นที่่�เน้น้ ปริิมาณ (ดููกิจิ กรรม 8.1 การบันั ทึกึ ) เป็็นการเขีียนในเงื่อ� นไขเฉพาะ ที่่ไ� ม่จ่ ำ�ำ เป็น็ ต้้องมีีคนตรวจทาน กิจิ กรรม 4.4 อ่่านและเขีียน การเขียี นจะง่่ายขึ้น้� เมื่อ� เราเขีียนเรื่�องที่่เ� รารู้� เลือื กหัวั ข้้อที่่เ� กี่�ยวกับั ตััวเรา อ่า่ นเรื่�องนั้้น� ๆ ใน ภาษาไทยและภาษาต่า่ งประเทศ แล้ว้ ลงมืือเขียี นจากเรื่อ� งที่่อ� ่า่ น นอกจากอ่า่ นและเขียี น เราสามารถทำ�ำ กิจิ กรรมฟังั แล้้วเขีียนได้อ้ ีีกด้้วย หรืือดู/ู ฟังั แล้ว้ เขียี น (เช่่น ดูหู นังั แล้้วเขีียน) (ดููกิจิ กรรม 7.1 กิิจกรรมเชื่อ่� มโยงทักั ษะ) ตามหลัักการของเวลาในกิิจกรรม (time-on-task principle) ยิ่่ง� เราใช้้เวลาทำ�ำ กิจิ กรรมมาก เท่่าไร เราก็ย็ิ่�งเก่่งขึ้น้� เท่า่ นั้้�น ยิ่่ง� เราฝึกึ ฝนมากเท่่าไร เราจะทำ�ำ ได้ด้ ีียิ่ง� ขึ้�้น ทักั ษะทั้้�งสี่่� (ฟััง พูดู อ่า่ น เขีียน) จะพััฒนาได้้เมื่อ� เราฝึึกฝนเป็็นประจำำ� นอกจากทัักษะแล้้ว ความรู้�เรื่อ� งคำำ�ศัพั ท์์และไวยากรณ์ก์ ็็ พััฒนาด้ว้ ย ในสองบทก่อ่ นหน้า้ นี้้� เราเน้น้ ที่่�การเรีียนด้ว้ ยการใช้้ภาษา ในบทต่อ่ ไปจะกล่า่ วถึึงการเรีียนอีีก รูปู แบบหนึ่่�ง คืือ การเรีียนแบบเจตนา (deliberate learning) ซึ่่�งเป็็นสายที่่�สามของสมดุุลการเรียี น ภาษา 32 เรีียนภาษาอย่า่ งไรให้้ได้ด้ ีี
บ5ทท่ี การแบ่่งการเรียี นรู้�้ให้้สมดุลุ : การเรีียนภาษาแบบเจตนา การเรียี นแบบเจตนา (deliberate learning) นั้้�นได้้ผลดีีและคุ้�มค่่ามาก จึึงเป็็นสิ่�งที่�ควรทำำ� ซึ่่�ง รวมถึึงการสอนของครูู แต่ผู่้�เรียี นต้อ้ งมีสี ่ว่ นรัับผิดิ ชอบการเรียี นของตนเอง เรีียนภาษาแบบเจตนาแบบไหนดีี ผู้�เรียี นต้อ้ งบริหิ ารจัดั การการเรียี นแบบเจตนาของตนเอง กิจิ กรรมที่่�สำ�ำ คัญั ที่่�สุดุ คือื การใช้บ้ ัตั รคำ�ำ (ดูกู ิจิ กรรม 5.1) เราต้อ้ งควบคุมุ ตััวเองในการทำำ�กิจิ กรรมนี้้� และใช้บ้ ััตรคำำ�ช่่วยเพิ่�มพููนคำ�ำ ศัพั ท์์ใหม่่ๆ และทบทวนคำ�ำ ศัพั ท์ท์ี่�รู้�แล้ว้ ครูบู างคนอาจจะไม่ส่ นับั สนุนุ วิธิ ีนีี้�เพราะเชื่�อว่า่ การเรียี นคำ�ำ ศัพั ท์ต์ ้อ้ งเรียี น ในบริิบทเท่่านั้�น ซึ่่�งเป็น็ ความเชื่�อที่่�ผิดิ การเรียี นคำ�ำ ศััพท์์ในบริบิ ทที่่�ดีนีั้�นคือื การรับั ภาษาและใช้ภ้ าษา แบบเน้้นความหมายและพััฒนาความคล่่องแคล่่ว ขณะที่�การเรีียนแบบบััตรคำำ�ก็็จำำ�เป็็นเพราะได้้ ผลจริงิ และคุ้�มค่่า บางคนคิดิ ว่่าการเรีียนแบบบััตรคำำ�นั้้�นมีีการแปลเป็น็ ภาษาแม่ ่ ทำ�ำ ให้ก้ ารคิิดจะเป็น็ ภาษาไทยมากกว่่าภาษาต่่างประเทศ มีีงานวิิจััยพบว่่า คำำ�ศััพท์์ในภาษาแม่่และภาษาต่่างประเทศ ของผู้�เรีียนภาษาในระดัับต้้นและกลางจะเก็็บไว้้ปะปนกัันในสมอง การใช้้บััตรคำำ� 2 ภาษาจึึงเป็็น การเรีียนแบบเจตนาที่ �ควรทำ�ำ นอกจากเรีียนด้้วยบััตรคำำ� ควรเรีียนคำำ�ศััพท์์และไวยากรณ์์ด้้วยคอนคอร์์ดานซ์์ (ดููบทที่� 2) ฝึกึ เขียี นตามคำ�ำ บอก (dictation) ถอดเสียี ง (transcription) คััดลอกแบบมีีระยะเวลา (delayed copying) กิิจกรรมพููดซ้ำ�ำ � (oral repetition) เพื่�อให้คุ้้�นเคยกับั การใช้้ภาษาในการพููดและเขียี น นอกจากนี้�เราควรอ่า่ นแบบละเอีียด (intensive reading) ด้้วยเครื่�องอิิเล็็กทรอนิกิ ส์์ เช่น่ Kindle เพื่ �อความสะดวกในการหาความหมายของคำำ� บทที่� 5 33
กิจิ กรรม 5.1 บััตรคำำ� บััตรคำำ�เป็็นขั้�นตอนหนึ่�งในการเรียี นคำำ�ศัพั ท์์ เป็็นวิธิ ีีเรียี นแบบเจตนา (deliberate) ซึ่่�งเป็น็ กิิจกรรมการเน้้นความรู้�ทางภาษา 1. เขียี นคำำ�ศัพั ท์์ที่�เรียี นไว้้ด้า้ นหนึ่�งของบัตั รคำำ� และเขีียนคำำ�แปลไว้อ้ ีกี ด้้านหนึ่�ง เพื่�อทบทวน คำำ�ที่่�เจอ ซึ่่�งทำำ�ให้้เราเชื่ �อมโยงคำำ�และความหมายของคำำ�ได้้ดีีกว่่าการอ่่านคำำ�และความหมายไป พร้้อมๆ กันั 2. เริ่�มต้้นด้้วยคำำ�จำำ�นวนเพีียง 15-20 คำำ� การจำำ�คำำ�ศััพท์์ยากๆ ครั้�งละไม่่กี่่�คำำ�ทำำ�ให้้เราได้้ ทบทวนบ่อ่ ยและมีเี วลาทำ�ำ ความเข้า้ ใจ พอเริ่�มจำ�ำ ได้ด้ ีกี ็ค็ ่อ่ ยเพิ่�มจำ�ำ นวนคำ�ำ ศัพั ท์์ แต่อ่ ย่า่ ให้ม้ ากเกินิ 50 คำำ� เพราะจะมีีคำำ�ศััพท์์ชุดุ ใดชุดุ หนึ่�งมากเกิินไปจนไม่ส่ ามารถทบทวนครบทุกุ คำ�ำ ในคราวเดียี ว 3. เว้น้ ระยะเวลาการทบทวน วิิธีที ี่่�ดีที ี่่�สุดุ คืือ หลังั จากดูคู ำำ�ศััพท์์คร่่าวๆ จบหนึ่�งครั้�ง ให้้กลัับ มาทบทวนอีีกครั้�งภายในเวลาไม่่กี่�นาทีี แล้้วค่่อยทำำ�ใหม่่ในชั่�วโมงถััดไป ครั้�งต่่อไปในวัันรุ่�งขึ้�น ในสััปดาห์์ถััดไป ครั้�งสุุดท้้ายในสองสััปดาห์์ถััดไป การเว้้นระยะท่่องจำำ�แบบนี้�ได้้ผลดีีกว่่าการใช้้ เวลาท่่องครั้�งเดีียวเป็็นชั่�วโมงๆ ถ้้าคำำ�นวณเวลาแล้้วทั้�งสองวิิธีีก็็ใช้้เวลาพอกััน แต่่ผลลััพธ์์ที่�ได้้นั้�น ต่่างกััน การเว้้นระยะเวลาการทบทวนนั้�นได้้ผลดีีกว่่าในระยะยาว 4. ส่่วนคำำ�ศััพท์์ยาก ให้้ใช้้เทคนิิคคีีย์์เวิิร์์ด (ดููหมายเหตุุ 5.1) ให้้ดููการใช้้คำำ�ในบริิบทและ สถานการณ์์ต่่างๆ ลองวิิเคราะห์์รากศััพท์์ของคำำ�นั้้�นๆ ด้้วย ยิ่่�งเราเข้้าใจคำำ�นั้้�นๆ มากขึ้�น เราจะ สามารถจำำ�ได้ด้ ีีขึ้�น 5. ตรวจดููว่่าคำำ�ที่่�สะกดใกล้้เคีียงกัันไม่่ได้้อยู่�ในชุุดบััตรคำ�ำ เดียี วกันั เช่่น วัันในสัปั ดาห์์ ไม่่ควร นำำ�มาเรีียนในบััตรคำ�ำ ชุุดเดีียวกันั หรือื การท่อ่ งจำำ�เดือื น จำ�ำ นวนนับั คำ�ำ ตรงข้้าม คำ�ำ ที่่�มีีความหมาย ใกล้เ้ คียี งกันั ชุดุ คำ�ำ เกี่�ยวกับั เสื้�อผ้า้ ผลไม้ ้ ส่ว่ นต่า่ งๆ ของร่า่ งกาย หรือื เครื่�องใช้ใ้ นห้อ้ งครัวั การเรียี น คำำ�ศัพั ท์แ์ บบแบ่ง่ ตามประเภททำ�ำ ให้เ้ ราสัับสนได้ง้ ่า่ ยกว่า่ เรีียนแบบคละกััน 6. ให้้เปลี่�ยนลำำ�ดัับคำำ�ในชุุดบััตรคำำ� เพื่�อป้้องกัันไม่่ให้้เราจำำ�ความหมายของคำำ�ที่่�หนึ่�งเชื่�อม- โยงกับั คำำ�ถัดั ไป 7. อ่่านออกเสีียงช่่วยให้เ้ ราจำ�ำ คำำ�ศััพท์์ได้้ในระยะยาว 8. เขีียนวลีีหรืือประโยคโดยใช้้คำำ�ที่่�เราท่่องจำำ� การนำำ�คำำ�ที่่�ท่่องจำำ�ไปใช้้นี้้�มีีประโยชน์์มาก โดยเฉพาะคำ�ำ กริิยา เราจะเรียี นคำ�ำ ศัพั ท์์บางคำำ�ได้ด้ ีเี มื่�อใช้เ้ ป็็นวลีี 34 เรีียนภาษาอย่่างไรให้้ได้้ดีี
หมายเหตุุ 5.1 เทคนิคิ คียี ์์เวิิร์์ดคือื อะไร เทคนิิคคีีย์์เวิิร์์ดเป็็นวิิธีีที่่�มีีประสิิทธิิภาพและมีีการวิิจััยมาอย่่างดีีแล้้วว่่าเหมาะสมกัับการ เรียี นคำำ�ศััพท์ ์ กิจิ กรรมนี้้�มีขีั้�นตอนดังั นี้� ขั้้�นที่� 1 คิิดถึึงคำำ�ในภาษาไทย (หรืือภาษาอื่�นๆ ที่�รู้�) ที่่�มีีเสีียงคล้้ายกัับคำำ�ศััพท์์หรืือพยางค์์ ต้้นของคำำ� ถืือเป็็นคียี ์์เวิิร์ด์ ขั้้�นที่� 2 คิิดถึึงภาพที่�เกี่�ยวข้้องกัับความหมายของคำำ�ศััพท์์และความหมายของคีีย์์เวิิร์์ด แล้้วให้น้ ึกึ ภาพตาม เทคนิคิ คีีย์์เวิิร์์ดจะประกอบด้้วย 4 ส่่วน (1) คำ�ำ ศััพท์ใ์ นภาษาต่่างประเทศ (2) คีีย์เ์ วิิร์์ด (3) ภาพที่�เกี่�ยวข้อ้ งกัับคำ�ำ ศััพท์แ์ ละคียี ์์เวิริ ์ด์ (4) ความหมายของคำ�ำ ศัพั ท์์ ตัวั อย่า่ งต่อ่ ไปนี้�จะใช้ล้ ำ�ำ ดับั หมายเลขตามลำ�ำ ดับั ในเทคนิคิ ด้า้ นบน เช่น่ คนอินิ โดนีเี ซียี ต้อ้ งการ (4) จำำ�ความหมายของคำำ�ว่า่ (1) “parrot” ก็ใ็ ห้้ (2) นึกึ ถึึงคำำ�ว่่า parit ซึ่�งแปลว่่า “ditch*” แล้้ว ค่อ่ ยจินิ ตนาการถึึงนกแก้ว้ ใน ditch การใช้้คีีย์์เวิริ ์์ดช่ว่ ยเชื่�อมโยงรูปู (เช่น่ parrot-parit) และ ความหมายของคำ�ำ (parrot-ditch) สำ�ำ หรับั คนไทย สมมติวิ ่่าเรา จะ (1) เรีียนคำ�ำ ว่่า “council**” (2) ให้้นึกึ ถึงึ คำ�ำ ว่า่ “ข้้าวสาร” ซึ่�งหมายถึงึ ข้า้ วที่่�ยัังไม่ไ่ ด้้หุุง (3) คิดิ ถึงึ ภาพของข้า้ วสารที่�เชื่�อมโยงกับั ความหมาย ของ “council” (4) ซึ่�งทำ�ำ ให้เ้ ราเชื่�อมโยงความหมายกับั รูปู ของคำำ�ว่า่ “council” ได้้ การเรีียนคำ�ำ ศััพท์์ด้้วยเทคนิิคคีีย์์เวิิร์์ดนั้�นได้้ผลดีีเพราะสมองเราต้้องประมวลผลข้้อมููลของ คำำ�ที่่�เรีียนมากกว่่าการท่่องจำำ�แบบทั่ �วไป ข้้อจำำ�กััดของกิิจกรรมนี้้�คืือจิินตนาการของคุุณเท่่านั้ �น คียี ์เ์ วิริ ์ด์ ไม่่จำ�ำ เป็น็ ต้อ้ งเสีียงเหมืือนคำำ�เป้า้ หมายในภาษาต่่างประเทศที่�เราจะเรียี น แล้้วก็ไ็ ม่่จำำ�เป็็น ต้อ้ งเหมือื นทั้�งคำ�ำ ก็ไ็ ด้้ เพียี งแค่เ่ สียี งพ้อ้ งกับั คำ�ำ เป้า้ หมายในภาษาต่า่ งประเทศก็พ็ อแล้ว้ งานวิจิ ัยั พบ ว่า่ การเรียี นด้ว้ ยเทคนิคิ คียี ์เ์ วิริ ์ด์ ได้ผ้ ลดีกี ว่า่ การเรียี นแบบเจตนา (deliberate learning) ถึงึ 25% (อ้้างอิิงจาก พอล เนชั่่�น (2008). Teaching Vocabulary: Strategies and Techniques. Boston: Heinle Cengage Learning) * ditch หมายถึึง ท้้องร่่อง บทที่� 5 35 ** council หมายถึงึ ประชุุมปรึกึ ษาหารืือ
เราควรเรียี นวลีีอย่า่ งไร คำ�ำ มัักปรากฏร่ว่ มกันั เป็็นกลุ่�ม เรีียกว่่า วลี ี ซึ่่�งส่่วนมากมีีความหมายใกล้้เคียี งกับั คำ�ำ ต่า่ งๆ ในวลีี นั้�น เช่น่ คำ�ำ ว่า่ next week, sick o’clock, strong tea, in a minute มีวี ลีีจำำ�นวนหนึ่�งที่�ความหมาย ของวลีีก็แ็ ทบจะไม่เ่ กี่�ยวกับั ความหมายของคำำ�แต่ล่ ะคำำ�ในวลีมี ารวมกันั เช่น่ kill two birds with one stone, see the light at the end of the tunnel, you know, for instance, think about และมีีวลีีจำำ�นวนไม่่มากนัักที่�ความหมายไม่ไ่ ด้เ้ กี่�ยวข้้องกัับคำ�ำ ในวลีีเลย เช่่น at all, of course, as well, by and large, raining cats and dogs มีีการนิิยามวลีีประเภทต่่างๆ นี้้�ว่่า idiom, collocation, multiwords unit, figuratives, lexical bundles เราควรเรีียนรู้้�คำำ�พวกนี้� เพราะทำำ�ให้้การใช้้ภาษาของเราถููกต้้องและคล่่องแคล่่ว มากขึ้ �น โดยอาจใช้้วิิธีีต่อ่ ไปนี้� 1. ฝึึกวิิเคราะห์์ความหมายของส่่วนต่่างๆ ในคำำ� สำำ�หรัับวลีี (หรืือ phrase/clause) ที่่�มีีความ- หมายแฝง เราคงต้้องคิดิ ถึงึ ความหมายตรงและความหมายแฝง เช่น่ ความหมายตรงของ gave me the green light คือื ไฟจราจร แต่ค่ วามหมายแฝงหมายถึงึ การอนุญุ าตให้เ้ ดินิ หน้า้ ทำ�ำ บางอย่า่ งต่อ่ ไป 2. ดูรู ูปู ของวลีี ซึ่�งประมาณ 20% ของคำำ�มักั เป็็นคำ�ำ พ้อ้ งรููป เช่่น leading light, baby boom, head held high หรืือคำำ�พ้้องเสีียง เช่่น blue moon คำำ�คล้้องจอง เช่่น when the cat’s away, the mice will play คำำ�ซ้ำำ�� เช่่น by and by หรืือคำำ�คล้้องจองสั้�นๆ เช่่น last gasp 3. ลองค้้นหาที่�มาของวลีีแปลกๆ เช่น่ toe the line หรืือ cut and run วลีีก็็เหมืือนคำำ� มีีวลีีจำำ�นวนหนึ่�งที่�เราพบได้้บ่่อยๆ และอีีกจำำ�นวนมากที่�เราไม่่ค่่อยได้้พบ (ดูู หมายเหตุุ 2.1 คำ�ำ ทุกุ คำ�ำ มีคี วามสำ�ำ คัญั เท่า่ กันั หรือื ไม่)่ เราสามารถตรวจสอบว่า่ พบวลีตี ่า่ งๆ นี้้�ได้บ้ ่อ่ ย แค่่ไหนโดยดููจากโปรแกรมคอนคอร์์ดานซ์์ (ดููบทที่� 2) เราควรเรีียนคำำ�ศััพท์์ที่ �เชื่ �อมโยงกัันหรืือไม่่ ฟัังดููแล้้วก็็เป็็นความคิิดที่่�ดีีที่�จะเรีียนคำำ�ศััพท์์ที่�เชื่�อมโยงกัันในเวลาเดีียวกััน ซึ่�งจะมีีประโยชน์์ หรืือไม่่นั้�น ขึ้้�นอยู่่�กัับความสััมพัันธ์์ของคำำ�สองคำำ� คำำ�ที่่�มีีความหมายเหมืือนกััน เช่่น embarrass- humiliate, prevent-protect คำ�ำ ตรงข้้าม เช่่น hot-cold, long-short หรือื ชุุดคำ�ำ เช่่น วัันใน สััปดาห์ ์ สีี ผลไม้้ เสื้�อผ้้าเครื่�องนุ่�งห่ม่ ต่า่ งๆ หรือื แม้ก้ ระทั่�งส่ว่ นต่า่ งๆ ของร่า่ งกายนั้�น พบว่า่ ไม่ค่ วร เรีียนแบบชุดุ คำำ� การเรีียนแบบชุดุ คำำ�ทำ�ำ ให้ค้ ำ�ำ ศัพั ท์ย์ ากขึ้�นไปอีกี 50% ถึึง 100% เลยทีีเดียี ว ความ- หมายของร้้อยเปอร์์เซ็็นต์์ คืือ เราจะต้้องเสีียเวลาท่่องจำำ�คำำ�เพิ่�มเป็็นสองเท่่าเมื่�อเทีียบกัับการเรีียน 36 เรีียนภาษาอย่่างไรให้้ได้ด้ ีี
แบบแยกส่่วน แม้้แต่่การเรีียนรู้้�คำำ�นามของสิ่่�งที่่�มีีรููปร่่างใกล้้เคีียงกััน เช่่น apple-orange ก็็จำำ�ได้้ ยากกว่่าสิ่ง่� ที่�ม่ ีีรููปร่่างต่่างแบบ banana-orange การจััดชุุดคำ�ำ เพื่อ่� จดจำำ�ที่่�ช่่วยให้้เราเรีียนรู้�้ได้้ง่่าย ควรเป็น็ ชุดุ คำำ�ที่่ม� าจากสิ่่ง� ที่�เ่ กี่�ยวข้อ้ งกััน เช่่น frog, pond, green, slimy, hop, croak จึงึ แนะนำ�ำ ว่่าควรนำ�ำ คำำ�ศััพท์์ที่�ไ่ ด้้จากการอ่่านมาทำ�ำ เป็น็ บััตรคำำ� การเรีียนเป็็นชุุดคำำ�ที่่�มีีการสะกดใกล้้เคีียงกัันนั้้�น นอกจากเราต้้องใช้้เวลาเรีียนมากกว่่าแบบ แยกกัันแล้้ว เราอาจจะสัับสนด้ว้ ย เช่่น Tuesday กับั Thursday ทำ�ำ ให้เ้ ราจำ�ำ สับั สนได้ม้ ากกว่า่ Tuesday กับั Sunday เพราะ Tuesday กับั Thursday นั้้น� ขึ้�นต้น้ ด้ว้ ย T แล้้วลงท้า้ ยด้้วย s กับั day เหมืือนๆ กััน จึงึ แนะนำ�ำ ว่า่ ให้แ้ ยกเรียี นคำำ�ที่�ส่ ะกดใกล้้เคีียงกันั จะได้้ผลดีกี ว่่า กิิจกรรม 5.2 การถอดรหััส กิิจกรรมถอดรหัสั คืือการบันั ทึกึ เสียี งพููดสั้้น� ๆ โดยการฟังั ซ้ำ��ำ ๆ เพื่อ�่ จดบันั ทึกึ คำ�ำ ทุกุ คำ�ำ ที่ไ�่ ด้ย้ ิิน ความยาวไม่ค่ วรเกิิน 100 คำำ� แนะนำำ�ให้เ้ ลืือกฟังั เสีียงที่ม�่ ีบี ทพููดอยู่�แล้ว้ เพื่�่อให้้เราสามารถตรวจ สอบว่า่ ถอดรหััสได้ถ้ ููกต้้องหรืือไม่่ เวลาที่�เ่ ราฟังั ซ้ำ��ำ อาจจะหยุุดเป็น็ ช่ว่ งเพื่่อ� ฟังั เฉพาะบางจุดุ ให้้ ชััดเจน กิิจกรรมการเรีียนแบบเจตนา (deliberate) ใช้้ฝึึกทัักษะการฟัังและทำ�ำ ให้ร้ ู้�้ ว่่าเราจำ�ำ คำ�ำ ศัพั ท์์ หรืือวลีีได้้มากน้้อยแค่่ไหน กิิจกรรม 5.3 การอ่่านแบบละเอีียด การอ่่านแบบละเอียี ดเป็็นการจดจ่อ่ กัับลัักษณะการใช้ภ้ าษาในบริิบทต่า่ งๆ การอ่่านแบบละเอีียดต้้องอ่่านแบบค่่อยเป็็นค่่อยไปโดยใช้้พจนานุุกรมช่่วยบ้้าง เป้้าหมาย คืือเราค่่อยๆ ทำำ�ความเข้้าใจความหมายของส่่วนที่่�อ่่านไม่่เข้้าใจในครั้้�งแรก เราจะอ่่านคนเดีียว หรืืออ่า่ นกับั เพื่อ�่ นหรืือครูู รวมทั้้�งการแปลบางส่่วนก็ช็ ่่วยให้เ้ ข้า้ ใจได้้กระจ่่างขึ้น� วิิธีอี ่า่ นแบบเข้้มข้น้ อีีกแบบหนึ่่ง� สำำ�หรัับคนที่�่อ่า่ นคนเดีียวคืือการอ่่านซ้ำ��ำ ๆ แล้ว้ เน้น้ ทำ�ำ ความ เข้้าใจบทความทีีละส่่วน เช่่น เน้้นที่ค�่ ำ�ำ ศััพท์ใ์ หม่่และอ่่านจับั ใจความในการอ่า่ นครั้้�งแรก พออ่่าน ครั้้�งที่่�สองก็็เน้้นที่่�กลุ่่�มคำำ�หรืือวลีีที่่�น่่าจะนำำ�ไปใช้้ในการพููดหรืือเขีียนได้้ อ่่านครั้้�งที่่�สามก็็เน้้น ศึึกษาคำ�ำ คำ�ำ ที่่�ใช้้เพื่�่อแสดงความเกี่�ยวพันั ทางไวยากรณ์์ (function words) เช่่น คำำ�บุพุ บท หรืือ คำำ�นำ�ำ หน้้านาม (article) ประโยชน์์ของการอ่า่ นแบบละเอีียดนี้้ค� ืือ เวลาที่่�อ่่านเราจะเน้น้ ที่�ค่ วาม หมายและคำ�ำ แสดงเนื้้อ� หา (content words) พอเราเข้า้ ใจเนื้้�อหา เราก็็สามารถเน้้นที่�ว่ ิิธีกี ารใช้้ ภาษาซึ่ง� เหมาะกับั การเรีียนภาษา โดยสามารถใช้ก้ ับั การฟัังไปอ่่านไป หรืือการดููรายการทีวี ีหี รืือ ภาพยนตร์์ บทที่่� 5 37
กิจิ กรรม 5.4 คััดลอก เลือื กบทอ่่านที่�สนใจและมีคี วามยาวประมาณ 200 คำำ� (20 บรรทัดั ) ลองอ่า่ นแล้ว้ เปิิดหา ความหมายของคำ�ำ ที่่�ไม่่ทราบ จากนั้�นดูทู ี่่� 4-5 คำ�ำ แรกของบรรทััด พยายามจำ�ำ ให้้ได้้ แล้ว้ เขีียนลง ในกระดาษโดยไม่่ดููบทอ่่าน ค่่อยๆ คััดลอกทีีละน้้อย อาจเพิ่�มจำำ�นวนคำำ�ที่่�คััดลอกในครั้�งถััดไป ประโยชน์์ของกิิจกรรมนี้้�คือื การฝึกึ จำ�ำ วลียี าวๆ ก่่อนที่�จะเขียี นลงกระดาษ กิิจกรรมแบบจดจ่่อนี้้�ช่่วยฝึกึ ลายมือื และความจำ�ำ เรื่�องวลีี กิิจกรรม 5.5 การฝึกึ สะกดคำำ� ถ้า้ ภาษาต่า่ งประเทศที่�เรียี นใช้ต้ ัวั อักั ษรหรือื ระบบการเขียี นที่�แตกต่า่ งจากภาษาไทย เราควร ศึึกษาระบบการเขียี นนั้�นให้้เข้้าใจ วิิธีีหนึ่�งที่�ได้้ผลดีีคืือเขีียนคำำ�หรืือวลีีที่่�ต้้องการฝึึกเป็็นรายการไว้้ด้้านซ้้ายมืือ ถ้้าระบบการ เขียี นใช้ว้ ิธิ ีผี สมอัักษร (ซึ่�งต่่างจากภาษาจีนี ) ให้เ้ ขียี นตััวอัักษรแรกของคำ�ำ ไว้ห้ ลัังคำำ�นั้้�น เช่น่ rhythm r agree a common c ม้ว้ นกระดาษให้้มองเห็น็ เฉพาะตััวอัักษรตััวแรกที่�เขียี นรอไว้้ จากนั้�นให้้เติิมตััวอัักษรที่�เหลือื จนครบเป็็นคำ�ำ rhythm rhythm agree agree common common คลี่�กระดาษออกแล้้วตรวจการสะกด ให้้ทำำ�ซ้ำำ��อีีกรอบ โดยเขีียนอัักษรตััวแรกของคำำ� ม้้วนกระดาษให้้เหลืือแค่่ตััวอัักษรที่�เขีียนใหม่่ เติิมอัักษรที่�เหลืือ ตรวจทาน ทำำ�ซ้ำำ��ไปเรื่�อยๆ จน หมดบรรทััด 38 เรียี นภาษาอย่า่ งไรให้้ได้้ดีี
เราควรเรีียนรู้้�วิธิ ีีออกเสียี งอย่่างไร การเรียี นรู้�วิธีีออกเสียี งให้้ชัดั เจนเป็น็ สิ่�งสำ�ำ คัญั อย่า่ งยิ่�งในการเรีียนภาษา การออกเสีียงให้้ชััดเจนทำำ�ให้้ผู้้�ฟัังที่�เป็็นเจ้้าของภาษาเข้้าใจเรามากขึ้�น และซาบซึ้�งในความ พยายามของเรา ซึ่่�งการเรีียนเรื่�องการออกเสีียงนั้�นก็เ็ หมืือนความรู้�เกี่�ยวกัับภาษาในด้า้ นอื่�นๆ กล่่าว คืือ เราจะเข้า้ ใจการออกเสียี งมากขึ้�นได้้โดยการฟังั บ่อ่ ยๆ (การรัับภาษา meaning-focus input) การพูดู (การใช้้ภาษา meaning-focus output) การเรียี นเกี่�ยวกับั หลัักการออกเสียี ง (การเรีียนโดย เน้้นหลักั ภาษา language-focused learning) รวมทั้�งการฝึกึ ฝนให้้ตนเองมีีความคล่อ่ งแคล่ว่ ในการ ฟัังและพููดหััวข้้อง่่ายๆ ที่่�เป็็นเรื่�องใกล้้ตััว (พััฒนาความคล่่องแคล่่ว fluency development) สำ�ำ หรับั เด็็กเล็ก็ นั้�นแทบไม่่มีคี วามจำำ�เป็น็ ที่�จะต้อ้ งเน้น้ เรื่�องหลักั การออกเสียี ง (การเรียี นโดยเน้้นหลักั ภาษา language-focused learning) สำำ�หรัับเด็็กๆ นั้�นให้เ้ ว้้นการเรีียนหลักั ภาษา แล้้วมุ่�งพััฒนาการ ออกเสียี งจากอีีก 3 สายก็็พอ ผู้�เรีียนที่�เลยช่่วงวััยเด็็กมาแล้้วต้้องใช้้ความพยายามมากพอสมควรที่�จะพััฒนาสำำ�เนีียงให้้ ใกล้เ้ คียี งเจ้้าของภาษาที่่�สุดุ เราจึงึ ควรเน้้นไปที่�การออกเสียี งที่่�ผู้้�ฟัังฟัังเข้้าใจก็็พอแล้้ว สำำ�หรับั ผู้�เรียี น กลุ่ �มนี้้�คุุณภาพการออกเสีียงขึ้ �นอยู่่�กัับโอกาสที่ �ได้้ใช้้ภาษา จำำ�นวนชั่ �วโมงที่ �ฝึึกฝนและความตั้ �งใจใน การฝึกึ ฝน การฝึกึ ฝนการออกเสียี งนั้�นประกอบด้ว้ ยหลายปัจั จัยั ประการแรก ต้อ้ งรู้�ว่าเสียี งใดที่�ออกได้ย้ าก ซึ่�งจะขึ้�นอยู่่�กัับความแตกต่่างระหว่่างภาษาแม่่ของเราและภาษาที่�เรากำำ�ลัังเรีียนรู้� ประการที่�สอง ต้อ้ งเรียี นรู้�และฝึกึ เสียี งที่�ออกเสียี งยากด้้วยการพููดคำำ�สั้้�นๆ ไม่ก่ี่�พยางค์์ การเรีียนรู้�วิธีกี ารออกเสีียง นั้�นเรีียกว่่า สรีีรสัทั ศาสตร์์ (articulatory phonetics) ยกตัวั อย่่างเช่่น ผู้้�เรียี นภาษาอังั กฤษมััก ประสบปััญหาในการออกเสีียงต้น้ คำ�ำ ว่า่ the, this, there, that ซึ่่�งแตกต่่างกัันเล็็กน้้อย หากเรา ทราบว่า่ เสียี งนั้�นเป็็นเสีียงก้อ้ ง (voiced) หรืือเสีียงไม่ก่ ้อ้ ง (voiceless) และส่ว่ นต่า่ งๆ ในช่่องปาก ทำำ�ให้้เกิดิ เสีียงได้อ้ ย่่างไรก็็จะทำำ�ให้เ้ ราเข้า้ ใจวิธิ ีีการออกเสีียงมากขึ้�น ซึ่่�งเสีียงต้น้ คำำ�ว่า่ the นั้้�นเป็น็ เสีียงก้อ้ ง (voiced) หรืือเสียี งที่�เส้น้ เสียี งสั่�น และเป็น็ เสีียงเสีียดแทรก (fricative) หรือื เสียี งที่�ลมผ่่าน ฟัันบนและลิ้ �น หลัังจากที่�เราออกเสียี งยากๆ เป็็นพยางค์เ์ ดี่�ยวได้แ้ ล้้ว เราต้้องฝึึกออกเสียี งร่่วมกับั คำ�ำ อื่่�นๆ ที่่�มักั เกิดิ ร่่วมกััน รวมทั้�งการฝึึกออกเสีียงแบบวลีีและประโยคสั้�นๆ ไม่่แนะนำ�ำ ให้้ฝึกึ ออกเสีียงแบบบดบิิด ลิ้�นหรืือลิ้�นพัันกััน (tongue twisters) เพราะขนาดเจ้้าของภาษาเองยัังพบว่่าออกเสีียงได้้ยากมาก ผู้�สอนมีีส่่วนสำำ�คััญในการช่่วยออกเสียี งแต่ล่ ะเสีียง ส่ว่ นการฝึึกฝนออกเสียี งนั้�นอาจใช้้เสีียงที่�ประดิิษฐ์์ จากคอมพิิวเตอร์ซ์ึ่�งสามารถลดความเร็็วได้้ เช่่น โปรแกรมฟรีทีี่�ชื่�อว่่า Audacity นอกจากนี้้� การฝึึก พููดตามคลิิปจากภาพยนตร์์ก็็เป็็นอีีกวิิธีีที่่�ดีีเช่่นกััน เราควรเน้้นไปที่�การเรีียนรู้�เรื่�องออกเสีียงตั้�งแต่่เริ่�ม เรียี นภาษา เนื่�องจากการแก้ไ้ ขให้้ออกเสีียงถููกต้้องในภายหลังั นั้�นทำ�ำ ได้้ยาก บทที่� 5 39
เราเรีียนไวยากรณ์์ (และอื่�นๆ) อย่่างไร เนื้�อหาส่ว่ นใหญ่ข่ องหนังั สืือเล่ม่ นี้�มุ่�งเน้น้ ไปที่�หลักั 4 สาย คืือ การมีสี มดุลุ ในการเรีียนรู้�แต่่ละ ประเภทในสััดส่่วนเท่่าๆ กันั (1) เรียี นรู้้�ผ่านการรัับภาษา (2) เรียี นรู้้�ผ่านการใช้ภ้ าษา (3) เรียี นรู้�อย่่าง จดจ่อ่ และ (4) ฝึกึ ความคล่่องแคล่่วด้้วยการรับั ภาษาและใช้ภ้ าษา หลัักการ 4 สายช่่วยให้้เราเข้้าใจ วิิธีีเรีียนไวยากรณ์์ คำำ�ศััพท์์ หรืือพููดภาษาต่่างประเทศ ยกตััวอย่่างเช่่น ในการเรีียนไวยากรณ์์ คนทั่�วไปมักั คิิดว่า่ เราต้อ้ งรู้�จักชนิดิ ของคำ�ำ (parts of speech) การอธิบิ ายโครงสร้า้ งทางไวยากรณ์์ (grammatical construction) และการแก้ไ้ ขจุดุ ผิิด ซึ่่�งทั้�งหมดนี้�เป็็นการเรียี นรู้�แบบเจตนา (deli- berate learning) เท่่านั้�น การเรียี นไวยากรณ์์จำ�ำ เป็็นต้้องมีีการใช้ภ้ าษาควบคู่�ไปด้้วย เราเรีียนไวยากรณ์ผ์ ่่านการฟังั และการอ่า่ นได้้ เมื่�อเราเจอโครงสร้้างทางไวยากรณ์บ์ ่่อยๆ ซ้ำ�ำ �ๆ จากการฟัังและการอ่่าน เราก็็จะเรีียนรู้�โดยแทบไม่่ต้้องใส่่ใจว่่าโครงสร้า้ งคือื อะไรเลยด้้วยซ้ำ�ำ � บางครั้�ง การเรีียนไวยากรณ์์อาจเป็น็ การศึกึ ษาว่่า วลีหี รืือคำ�ำ มาเกิิดร่ว่ มกันั ในรูปู แบบใดได้บ้ ้้าง เมื่�อเราฟังั และ อ่า่ นมากขึ้�น เราก็็มีีโอกาสพััฒนาความรู้�ทางไวยากรณ์์มากขึ้�นด้้วย เราเรียี นไวยากรณ์์ผ่า่ นการพููดและการเขีียนได้้ เวลาที่่�พูดู หรือื เขียี น เราจะพบว่า่ ยัังขาดความรู้� เรื่�องอะไร แล้้วต่อ่ มาก็จ็ ะให้ค้ วามสำำ�คััญกับั สิ่�งนั้�นๆ ได้้จากการฟัังและอ่่าน หมายความว่า่ การได้พ้ ูดู และเขีียนทำำ�ให้้เราเรียี นรู้�จากการฟัังและอ่่านมากขึ้�นเพื่�อนำำ�มาใช้้ นอกจากนี้้� เรายังั เรียี นไวยากรณ์ไ์ ด้้ จากการลองใช้ว้ ลีหี รือื โครงสร้า้ งใหม่ๆ่ ที่่�พบในภาษาพูดู หรือื เขียี น ซึ่่�งเรามักั จะนำ�ำ โครงสร้า้ งภาษาไทย มาปะปน การใช้ไ้ วยากรณ์ว์ ิธิ ีนี ี้้�ถึงึ จะมีผี ิดิ พลาดบ้า้ ง แต่ม่ ีคี วามสำ�ำ คัญั ในแง่ข่ องการเรียี นรู้�เป็น็ อย่า่ งยิ่�ง เราสามารถเรีียนไวยากรณ์์แบบจดจ่่อโดยการศึึกษาและท่่องจำ�ำ วลีีและประโยคที่่�มัักใช้้บ่่อยๆ แต่่ก็็ต้้องมีีสััดส่่วนไม่่เกิินหนึ่ �งในสี่ �ของเวลาในการเรีียนรู้้� กิิจกรรมที่่�น่่าสนใจในการเรีียนไวยากรณ์์ ได้้แก่่ การเติิมโครงสร้้างในตาราง (substitution table) การให้้คำำ�แนะนำำ�และข้้อควรแก้้ไขเมื่�อ ผู้�เรีียนผลิิตงานเขีียนหรืือพููด กิิจกรรมเขีียนตามคำำ�บอก (dictation) และการอธิิบายแบบง่่ายๆ เกี่�ยวกัับลักั ษณะสำำ�คัญั ต่่างๆ ทางไวยากรณ์์ นอกจากการเรียี นไวยากรณ์จ์ ากการรัับภาษา (meaning-focused input) และการใช้ภ้ าษา (meaning-focused output) เรายังั เรีียนด้ว้ ยการฝึกึ ความคล่่องแคล่ว่ (fluency development) ซึ่�งประกอบด้้วยการฝึึกทำำ�แบบฝึึกหััดที่�ไม่ย่ ากเกินิ ไปเพื่�อให้เ้ รามีีพื้�นฐานที่่�ดีี มีกี ำำ�ลัังใจฝึึกฝนสม่ำ�ำ �เสมอ 40 เรีียนภาษาอย่า่ งไรให้้ได้ด้ ีี
เราเรีียนคำำ�ศัพั ท์์อย่า่ งไร หลัักการ 4 สายนำ�ำ มาใช้้ในการเรีียนคำ�ำ ศัพั ท์ใ์ นลัักษณะเดียี วกับั การเรีียนไวยากรณ์ ์ ทักั ษะการ ฟััง การพููด การอ่่าน และการเขีียน เราควรเรีียนคำำ�ศััพท์์ด้้วยการรัับภาษา (meaning-focused input) การใช้้ภาษา (meaning-focused output) การเรียี นหลักั ภาษา (language-focused learning) และการพัฒั นาความคล่่องแคล่ว่ (fluency development) กิจิ กรรมที่่�ทำ�ำ ก็เ็ ป็็นกิิจกรรม ที่�เน้้นการสื่�อสาร ซึ่่�งผู้�เรีียนจะต้้องทำำ�ความเข้้าใจกัับสารที่่�รัับและส่่ง โดยกิิจกรรมเหล่่านี้้�ต้้องอยู่�ใน ระดับั ที่�เหมาะสมกับั ระดัับความสามารถ การเรียี นคำำ�ศัพั ท์์แบบเจตนา (deliberate learning) ประกอบด้้วยการเรียี นคำำ�ศััพท์ท์ี่�ไม่่รู้�จัก (โดยเฉพาะการเรียี นด้ว้ ยบัตั รคำำ�สองภาษา) การเรีียนคำำ�ศัพั ท์์จากการอ่่านแบบละเอียี ด (intensive reading) โดยครููเป็น็ ผู้้�ช่่วยเหลืือหรืือเปิดิ หาความหมายจากดิกิ ชัันนารีี การได้ค้ ำ�ำ แนะนำ�ำ จากครููเมื่�อ พููดหรืือเขีียน และเทคนิิคการเรีียนแบบเจตนา เช่น่ การเดาความหมายจากบริิบท การใช้บ้ ัตั รคำำ� การ วิเิ คราะห์ห์ น่ว่ ยคำำ� และการใช้้ดิกิ ชันั นารีี เรานำ�ำ หลักั 4 สายไปใช้้ในการเรีียนทักั ษะการฟััง การพููด การอ่า่ น และการเขียี นได้้ โดย 3 สาย ของหลัักการนี้�เป็็นกิิจกรรมด้้านการสื่�อสาร ความแตกต่่างระหว่่างการเรีียนทัักษะต่่างๆ ก็็คืือ การ โฟกััสที่�การรัับภาษา (listening and reading) หรือื การใช้ภ้ าษา (speaking and writing) และวิธิ ีี การการเรีียนแบบเจตนา (deliberate learning) ที่่�เน้้นไปที่่�ทักั ษะใดทักั ษะหนึ่�ง กิจิ กรรมการเรียี นแบบเจตนาเป็น็ กิจิ กรรมที่�เรามักั นึกึ ถึงึ เมื่�อเรียี นภาษาต่า่ งประเทศ แต่ก่ ารเรียี น แบบเจตนานั้�นเป็็นเพีียงแค่่ส่่วนหนึ่�งของคอร์์สเรีียนภาษาที่่�ดีี และไม่่ควรที่�จะใช้้เวลากัับกิิจกรรม ลัักษณะนี้ �มากเกิินไป ในบทถััดไปจะกล่่าวถึึงการพััฒนาความคล่อ่ งแคล่่วในการใช้ภ้ าษา บทที่� 5 41
42 เรียี นภาษาอย่่างไรให้้ได้ด้ ีี
บ6ทท่ี สร้า้ งสมดุุลการเรียี น และความคล่อ่ งแคล่ว่ ในการใช้ภ้ าษา ตามหลักั การที่�กล่า่ วมานั้�น เราควรสร้า้ งสมดุลุ ในการเรีียน ซึ่่�งได้้กล่่าวถึงึ การเรีียนผ่่านการรับั ภาษา (การฟัังและการอ่า่ น) ในบทที่่� 3 การเรียี นผ่า่ นการใช้้ภาษา (การพููดและการเขีียน) ในบทที่่� 4 รวมทั้�งการเรียี นแบบเจตนาที่�กล่า่ วไปแล้้วในบทที่่� 5 และในบทนี้�จะกล่่าวถึงึ สายที่�สี่� นั่�นก็ค็ ืือ ความ คล่่องแคล่่ว ความคล่่องแคล่่วคืือการทำำ�สิ่่�งที่่�ทำำ�ได้้แล้้วให้้ดีีที่่�สุุด เราควรจะมีีความคล่่องแคล่่วตั้�งแต่่การใช้้ ภาษาในระดับั เบื้�องต้น้ ที่�ได้้เรียี นมาแล้ว้ เช่่น เมื่�อเรียี นเรื่�องตััวเลข เราควรจะพูดู ออกเสีียงได้้ และเมื่�อ ไปซื้�อสินิ ค้้าก็ค็ วรจะอ่่านราคาสิินค้า้ ได้ ้ แนวคิิดเกี่�ยวกัับความคล่่องแคล่่วนั้�นมีีอยู่�มากมาย อาทิิ ความคล่่องแคล่่วในการใช้้ภาษา คืือ การรู้�มากพอและดีีพอ หรืือการเลืือกใช้้คำำ�หรืือวลีีที่่�ถููกต้้องและเหมาะกัับกาลเทศะ แต่่ความคล่่อง- แคล่ว่ ในที่�นี้�หมายถึึงความรวดเร็ว็ ในการใช้แ้ ละเข้า้ ใจภาษา อาจจะดููเป็็นเรื่�องง่่ายๆ แต่เ่ ป็น็ เป้้าหมาย ของการเรีียนรู้ �ที่ �สำ�คััญอย่่างยิ่ �ง แล้้วเราจะพััฒนาความคล่่องแคล่่วนี้�อย่่างไร กิิจกรรมที่่�ส่่งเสริิมความคล่่องแคล่่วประกอบด้้วย 4 ประการดัังนี้้� 1. มีีเนื้�อหาที่�ไม่ย่ าก เราเข้้าใจคำำ�ศัพั ท์์และโครงสร้า้ งประโยคได้้ 2. ทำ�ำ ให้เ้ ราฝึกึ ฝนเพื่�อเพิ่�มความเร็ว็ ได้้ 3. มีแี บบฝึกึ หัดั จำ�ำ นวนมาก 4. มุ่่�งเน้น้ การรัับส่ง่ สาร ในลำ�ำ ดัับถััดไป เป็น็ กิจิ กรรมที่่�ช่ว่ ยพัฒั นาความคล่่องแคล่ว่ ของการฟััง พููด อ่่าน และเขียี น บทที่� 6 43
การพัฒั นาความคล่อ่ งแคล่่วในการฟังั ความคล่่องแคล่่วในการฟัังนั้้�นพััฒนาได้้ไม่่ยาก เช่่น ใช้้เครื่่�องอััดเสีียงที่่�สามารถอััดเสีียงที่่� พููดช้้าๆ ไปจนถึึงพููดค่่อนข้้างเร็็วเหมืือนปกติิได้้ หรืือโปรแกรมที่่�ใช้้ฟัังเสีียงแบบ Windows Flash (ที่่�กดปุ่ม่� เล่น่ และเลืือก enhancements ได้)้ วิธิ ีที ี่่�มีีประโยชน์ว์ ิธิ ีหี นึ่่�งคืือ การฟัังเสียี งของสิ่�งที่่�เรา สามารถอ่่านไปด้้วยได้้ ซึ่่�งไม่่ควรจะยาวมากเกิินไป น่่าจะมีีความยาว 200-300 คำำ�ก็็เพีียงพอแล้้ว ขั้้�นตอนแรก ให้้อ่่านเนื้้�อหาให้้ละเอีียดและทำำ�ความเข้้าใจ จากนั้้�นก็็ฟัังเสีียงโดยอ่่านเนื้้�อหาไปด้้วย อาจจะตั้ง�้ ค่า่ ให้เ้ สียี งพูดู ช้า้ ลง หลายวัันต่อ่ จากนั้น�้ ให้เ้ พิ่่ม� ความเร็ว็ ของเสียี งที่ฟ�่ ังั จนใกล้เ้ คียี งกัับการพูดู คุุยปกติิ เราอาจเลืือกฝึึกฟัังซ้ำำ��ๆ (โดยไม่่ต้้องเพิ่่�มความเร็็ว) จากการดููภาพยนตร์์สั้้�นหรืือภาพยนตร์์ที่่�มีี ซัับไตเติิล การทำำ�ซ้ำำ��ๆ เป็็นเรื่�อ่ งสำำ�คััญในการพัฒั นาความคล่อ่ งแคล่ว่ เพราะเมื่่�อเราฟัังเรื่�อ่ งเดิิมบ่่อยๆ ก็็จะรู้้�สึกว่า่ ทำำ�ได้ง้ ่่ายขึ้น� และการทำ�ำ ซ้ำ��ำ เป็็นการฝึึกฝนอย่่างหนึ่่ง� กิจิ กรรม 6.1 การฟัังซ้ำ�ำ� กาใรห้ฝ้อึักึ ัดพเูสูดียีใหง้ก้คาล่รอ่ บงอแกคจลำ่ำ�ว่ นนั้ว�้นนทำจำ�าไกด้้โ1ดยถึกงึ า1ร0ฝึกึแพบูดูบซ้ไำม��ำ ่่เๆรียี เชง่ลน่ ำำ�ดใันับกิจิเชก่น่ รร6ม, 34,/83,/21, 7, 10, 2, 9, 4, 5, 3, 10, 3, 6 ให้ม้ ีเี สียี งจำ�ำ นวนเดียี วกัันหลายครั้ง� ในลำ�ำ ดัับต่า่ งกััน เพื่อ�่ ให้เ้ ราฝึกึ ฟังั จำ�ำ นวนเดิมิ ซ้ำ��ำ ไป ซ้ำ��ำ มาโดยไม่ต่ ้อ้ งสนใจลำ�ำ ดัับของแต่่ละจำ�ำ นวน เขียี นเรียี งลำำ�ดัับจำ�ำ นวน 1-10 ลงในกระดาษ และ ชี้�ที่่�จำำ�นวนที่่�ได้้ยิิน เมื่่�อเริ่�มต้้นให้้ฟัังการบอกจำำ�นวนช้้าๆ แล้้วค่่อยเพิ่่�มความเร็็วและฝึึกฟัังบ่่อยๆ จะได้ผ้ ลดีีที่ส�่ ุุดถ้้าเราสามารถฝึกึ ฟังั เฉพาะจำ�ำ นวนตััวเลขซ้ำำ��ไปซ้ำำ��มาได้ห้ ลายวััน กิิจกรรมนี้้�ให้้เราฝึึกทำ�ำ ซ้ำ�ำ�ๆ และค่่อยๆ เพิ่่�มความเร็็วของเสีียงพููดซึ่ง�่ ช่ว่ ยพััฒนาความคล่่อง- แคล่่วในการฟััง รวมทั้้�งความเข้้าใจเรื่่�องตััวเลข นอกจากนี้้�เรายัังสามารถใช้้วิิธีีเดีียวกัันนี้้�ฝึึกเรื่่�อง วัันในสััปดาห์์ เดืือนต่า่ งๆ ในปีี การทัักทาย ชื่่�ออาหาร และอื่่�นๆ อีีกมากมาย การพัฒั นาความคล่่องแคล่่วในการพููด การฝึึกพููดให้้คล่่องแคล่่วนั้�น้ ทำ�ำ ได้โ้ ดยการฝึึกพูดู ซ้ำ�ำ�ๆ เช่่น ในกิจิ กรรม 4/3/2 44 เรียี นภาษาอย่่างไรให้้ได้้ดีี
กิิจกรรม 6.2 4/3/2 พูดู เกี่�ยวกับั หัวั ข้อ้ ง่่ายๆ ประมาณ 4 นาทีี โดยที่่�ผู้้�ฟัังไม่พ่ ููดแทรกหรือื ถามคำ�ำ ถาม จากนั้�นให้้ พููดเรื่�องเดิิมซ้ำ�ำ �ให้้ผู้้�ฟัังคนที่่� 2 แต่่จำ�ำ กัดั เวลาลงเหลืือ 3 นาทีี รอบสุุดท้้ายให้้พููดเรื่�องเดิิมซ้ำำ��ให้ผ้ ู้้�ฟััง คนที่่� 3 และจำำ�กััดเวลาลงเหลือื 2 นาทีี กิิจกรรม 4/3/2 ทำำ�ให้้การพููดของเราคล่อ่ งแคล่ว่ ขึ้�น เป็็นการฝึกึ ฝนเรื่�องง่า่ ยๆ (พููดหััวข้้อที่� ใกล้้ตััวมากๆ) ความกดดัันที่่�ต้อ้ งพููดให้เ้ ร็็วขึ้�น (เนื่�องจากถููกจำำ�กัดั เวลา) ระยะเวลาที่�ฝึึก (4+3+2 นาทีี) และการมุ่�งเน้น้ สื่�อสาร (ให้้กับั ผู้้�ฟััง 3 คน) หากใช้ว้ ิธิ ีีนี้้�กัับผู้�เรีียนระดับั ต้้นก็อ็ าจจะลดเวลา ลงจาก 4/3/2 เป็็น 3/2/1½ การลดเวลาลงนั้�นช่่วยเพิ่�มความคล่่องแคล่่ว ส่่วนการพููดซ้ำำ��ทำำ�ให้้ ใช้ภ้ าษาได้ถ้ ูกู ต้้องและมีคี วามซับั ซ้อ้ นมากขึ้�น ถ้้าคุณุ เรีียนภาษาด้้วยตนเองก็็คงจะหาคนฟังั หลายๆ คนไม่ไ่ ด้้ แต่่ก็ส็ ามารถฝึึกพูดู แบบนี้�โดยไม่่ ต้้องมีีคนฟัังได้้ การพััฒนาความคล่อ่ งแคล่ว่ ในการอ่า่ น ความคล่อ่ งแคล่ว่ ในการอ่า่ นคือื สามารถอ่า่ นในใจและเข้า้ ใจเรื่�องที่่�อ่า่ นได้ด้ ้ว้ ยความเร็ว็ ประมาณ 250 คำำ�ต่อ่ นาทีี เราฝึึกอ่า่ นให้้คล่่องแคล่ว่ ด้้วยการอ่่านเรื่�องง่่ายๆ ในการเรียี นภาษาอังั กฤษ เราสามารถฝึึกอ่่าน ข้อ้ เขีียนที่�ใช้้คำ�ำ ศััพท์เ์ บื้�องต้้น (ประมาณ 1,000-2,000 คำ�ำ ) และใช้ไ้ วยากรณ์ท์ี่�ไม่ซ่ ับั ซ้อ้ น (ดูทูี่�เว็็บไซต์์ Sonia Millett) (ดูกู ิจิ กรรม 6.4) ข้อ้ เขีียนแต่่ละเรื่�องจะมีคี วามยาวใกล้้เคีียงกันั และมีคี ำำ�ถามวััด ความเข้้าใจประกอบท้้ายเรื่�อง เมื่�ออ่า่ นจบแต่ล่ ะเรื่�องให้้จดบันั ทึึกเวลาที่่�อ่่านไว้้ รวมคะแนนจากการ ตอบคำำ�ถามใส่่ในแผนภููมิิ ให้้อ่่านสััก 20 เรื่�องโดยแบ่่งเป็็นสััปดาห์์ละ 2-3 เรื่�อง วิิธีีเรีียนนี้้�ทำำ�ให้้ ความเร็ว็ ในการอ่า่ นเพิ่�มขึ้�นมากกว่่า 50% เลยทีเี ดียี ว คุุณอาจจะอ่่านเร็ว็ ขึ้�นเป็น็ สองเท่า่ จากที่�เคย ทำ�ำ ได้้ แต่่ไม่่ควรเร่่งอ่า่ นเร็ว็ จนเกินิ ไป ให้้ฝึกึ ความเร็ว็ ในการอ่่านที่�ใกล้เ้ คีียงกัับเจ้้าของภาษา นั่่�นคืือ ประมาณ 250 คำำ�ต่อ่ นาทีี อีีกวิิธีีหนึ่�งในการฝึึกอ่่านให้้เร็ว็ ขึ้�นคืือ อ่่านเรื่�องที่่�ง่่ายมากๆ ถ้้าภาษาที่่�คุณุ เรียี นมีีหนัังสือื ฝึกึ อ่า่ น graded readers (ซึ่�งส่่วนมากเราจะพบในหนัังสืือภาษาอังั กฤษ) จะช่ว่ ยให้ม้ ีีโอกาสฝึกึ อ่า่ นเรื่�องที่�ไม่่ ยากเกินิ ไป เพราะมีกี ารจำำ�กััดวงคำำ�ศััพท์์ไว้้ แต่ถ่ ้า้ หาหนัังสืือฝึกึ อ่า่ น graded readers ไม่่ได้้จริงิ ๆ ให้ฝ้ ึกึ อ่่านเรื่�องเดิมิ ซ้ำ�ำ �ๆ แทน บทที่� 6 45
กิจิ กรรม 6.3 การอ่่านซ้ำำ�� การอ่่านซ้ำ��ำ คืือการอ่า่ นเรื่�องเดิมิ อย่า่ งน้อ้ ย 3 ครั้ง�้ โดยแต่่ละครั้ง�้ ให้้ลดเวลาที่่ใ� ช้้ในการอ่า่ น เราอาจอ่่านซ้ำ��ำ โดยการอ่า่ นออกเสีียงโดยตั้ง�้ เป้้าหมายว่า่ จะอ่่านให้้ได้้ 150 คำ�ำ ต่่อนาทีี แต่่ถ้้าเป็็น การอ่า่ นในใจ ให้พ้ ยายามอ่่านให้้ได้้ 250 คำ�ำ ต่อ่ นาทีี จุุดสำำ�คััญของการอ่่านซ้ำำ��คืือ เราต้้องเข้้าใจเรื่�องที่่�อ่่าน การอ่่านอย่่างคล่่องแคล่่วนั้้�นต้้องมีี ความเข้า้ ใจเรื่�องที่่�อ่า่ นประกอบด้ว้ ย กิจิ กรรม 6.4 การอ่่านเร็็ว การอ่า่ นเร็ว็ มัักเป็น็ การอ่่านชุุดหนัังสือื ฝึกึ อ่่านที่่ป� ระกอบด้้วยเรื่อ� งต่่างๆ ประมาณ 20 เรื่�อง ที่่ม� ีคี วามยาก-ง่า่ ยพอๆ กััน และมีีคำำ�ถามแบบตััวเลืือกเพื่่�อทดสอบความเข้า้ ใจในการอ่า่ น เรื่�องที่่� อ่า่ นจะจำำ�กััดวงคำ�ำ ศััพท์เ์ พื่่�อให้เ้ ราพบแต่่คำ�ำ ที่่�คุ้�นเคย เมื่อ� เลืือกบทอ่า่ นได้้แล้้วให้้จัับเวลาตอนอ่า่ น จากนั้้�นลองตอบคำำ�ถามโดยไม่่ย้้อนกลัับไปอ่่านเรื่�องซ้ำำ�� แล้้วตรวจคำำ�ตอบ เวลาในการอ่่านให้้ คำำ�นวณเป็็นจำำ�นวนคำำ�ต่่อนาทีี บัันทึึกความเร็็วไว้้ในตารางและจััดทำำ�กราฟความเร็็วในการอ่่าน ส่ว่ นคะแนนด้า้ นความเข้้าใจจากการฝึกึ ตอบคำำ�ถามของเรื่�องให้้บัันทึกึ ไว้อ้ ีีกกราฟหนึ่่ง� ซึ่่ง� การทำ�ำ เช่่นนี้้ไ� ม่ไ่ ด้้เสีียเวลามากมายเลย ทิ้้�งช่่วงไปอีกี 2-3 วััน ให้้อ่า่ นเรื่�องใหม่่แล้้วจัับความเร็็วในการอ่า่ นและบัันทึกึ คะแนนความ เข้้าใจ ทำ�ำ ไปจนครบ 20 เรื่อ� ง การอ่่านแบบนี้้จ� ะช่่วยให้เ้ ราเพิ่่ม� ความเร็ว็ ในการอ่่านได้ถ้ ึึง 50% หรือื สองเท่่าของความเร็ว็ เดิิม เป้้าหมายคือื ให้้อ่า่ นให้้ได้้ 250 คำำ�ต่อ่ นาทีี โดยได้้คะแนนความเข้า้ ใจสััก 7 หรืือ 8 เต็ม็ 10 คะแนน การพัฒั นาความคล่อ่ งแคล่ว่ ในการเขียี น การเขีียนให้้คล่่องนั้้�นสำำ�คััญหากเราต้้องเขีียนคำำ�ตอบในแบบทดสอบเป็็นภาษาต่่างประเทศ เทคนิิคที่่แ� นะนำำ�มีี 2 อย่า่ ง คืือ การเขียี น 10 นาทีี และการเขีียนซ้ำ��ำ ๆ 46 เรียี นภาษาอย่่างไรให้้ได้้ดีี
กิจิ กรรม 6.5 การเขียี น 10 นาทีี เลืือกหัวั ข้อ้ ง่า่ ยๆ ที่่�เราสนใจเพื่�อเขีียนภายใน 10 นาทีี อาจจะใช้้แอปพลิิเคชัันจัับเวลาเพื่�อ ให้้เขีียนภายในเวลา 10 นาทีีจริิงๆ นัับจำำ�นวนคำำ�ที่่�เขีียนแล้้วบัันทึึกจำำ�นวนคำำ�ลงในกราฟ ให้้ทำำ� กิิจกรรมเขียี น 10 นาที ี สััปดาห์์ละ 2-3 ครั้�ง เนื่�องจากเป็็นการพััฒนาความคล่่องแคล่่ว เราจึึงเน้้นไปที่�ปริิมาณที่�เขีียนได้้มากกว่่าความ ถููกต้อ้ ง กิจิ กรรมนี้้�ทำ�ำ ได้ง้ ่า่ ย ไม่จ่ ำ�ำ เป็น็ ต้อ้ งมีคี รูชู ่ว่ ย เพราะการฝึกึ ความคล่อ่ งแคล่ว่ นั้�นเราไม่ค่ วรกังั วล ว่า่ จะเขียี นผิดิ มากน้อ้ ยแค่่ไหน กิิจกรรม 6.6 การเขีียนซ้ำ��ำ ๆ การเขียี นซ้ำ�ำ �ๆ มีีประโยชน์์กัับคนที่�รู้�ล่วงหน้้าว่่าจะต้อ้ งเขีียนตอบข้อ้ สอบเกี่�ยวกัับอะไร และ สามารถเตรีียมคำำ�ตอบไว้ล้ ่ว่ งหน้้าได้้ รวมทั้�งงานเขียี นที่�เราต้อ้ งทำ�ำ บ่อ่ ยๆ การเขีียนซ้ำำ��ๆ คือื การเขียี นแล้ว้ ตรวจสอบว่า่ ผิดิ พลาดตรงไหน จากนั้�นก็แ็ ก้้ไข อ่า่ นพิิจารณา ดูอู ีีกรอบ เก็็บงานที่�เขียี นไว้้ แล้้วกลัับมาเขียี นอีีกรอบโดยอาศััยความทรงจำ�ำ พอเขีียนจบค่่อยมา ตรวจสอบกับั งานต้น้ ฉบัับ (ดูกู ิจิ กรรม 5.2 การถอดรหััส) การเขีียนซ้ำำ��ๆ นี้้�อาจะทำ�ำ ซักั 2-3 รอบ เพื่�อให้ไ้ ด้้งานที่�เขียี นได้้อย่า่ งคล่อ่ งแคล่ว่ ในรอบสุุดท้า้ ย สำำ�หรัับคนที่่�มีีพื้�นฐานระดัับต้้น แนะนำำ�ให้้จำำ�วลีีหรืือประโยคให้้คล่่องแคล่่ว (ดููกิิจกรรม 4.1 จำ�ำ ประโยคและบทสนทนา) เราท่่องจำำ�เพื่�อให้้มีคี วามถูกู ต้อ้ งและชำ�ำ นาญ แนะนำ�ำ ให้เ้ ริ่�มจากวลีีหรืือ ประโยคที่�รวบรวมไว้้ในศัพั ท์เ์ พื่�อการเอาตัวั รอด) นอกจากนี้้� ให้้พิิจารณาเหตุุผลที่�เราต้อ้ งสื่�อสารด้ว้ ย ภาษาต่า่ งประเทศและโอกาสที่�จะได้ใ้ ช้้ภาษา เพื่�อเลือื กท่่องจำำ�สิ่่�งที่�เราได้ใ้ ช้้ในชีวี ิิตจริิง ในแต่ล่ ะระดัับความสามารถ เราควรใช้ส้ิ่�งที่�เรีียนมาแล้ว้ ได้้อย่า่ งคล่อ่ งแคล่ว่ เราได้้กล่่าวถึึงแนวคิิด 4 สายซึ่�งเป็็นหััวข้้อที่่� 2 ในหลัักการของเรา ส่่วนบทต่่อไปจะกล่่าวถึึง หลัักการที่่� 3 ซึ่ �งเป็็นเงื่ �อนไขที่่�ช่่วยในการเรีียนรู้ � บทที่� 6 47
48 เรียี นภาษาอย่่างไรให้้ได้ด้ ีี
บ7ทท่ี สรา้ งเงอื่ นไขทชี่ ่วยในการเรยี นรู้ เป้้าหมายของบทนี้้�คืือ การพููดถึึงเงื่�อนไขในการเรีียนรู้�ซึ่�งซ่่อนอยู่�ในกิิจกรรมต่่างๆ ที่่�ใช้้ในการ เรีียนภาษา พอเราเข้า้ ใจเงื่�อนไขต่่างๆ กิิจกรรมที่่�ทำ�ำ ก็จ็ ะได้้ผลดีี การรู้�ว่าทำ�ำ ไปเพื่�ออะไรช่่วยให้้เราทำ�ำ สิ่�งต่่างๆ ได้ด้ ีขีึ้�น เงื่�่อนไขการเรีียนรู้้� ยิ่�งทำำ�ซ้ำ�ำ �ๆ ยิ่�งเรีียนรู้� การทำำ�ซ้ำำ��ๆ นั้้�นมีีประโยชน์์มากเมื่�อเรารู้้�จัักการเว้้นระยะ การเว้้นระยะเวลาเพื่�อกลัับไปฝึึกฝน สิ่�งเดิมิ หรืือทำำ�สิ่่�งที่�เคยทำ�ำ อีกี ครั้�งนั้�นดีีกว่่าการเร่่งทำ�ำ ซ้ำ�ำ �ต่่อเนื่�องกันั ในเวลาสั้�นๆ เมื่�อเรารู้�จักคำ�ำ มากขึ้�น เราควรเว้น้ ระยะการท่อ่ งจำำ�ฝึึกฝนเกี่�ยวกับั คำำ�นั้้�นๆ ให้น้ านขึ้�นหน่่อย อาจจะเว้้นไปหลายสัปั ดาห์์หรืือ เป็น็ เดือื น การใช้บ้ ัตั รคำ�ำ เพื่�อท่อ่ งจำ�ำ ให้ไ้ ด้ผ้ ลดีจี ะต้อ้ งเว้น้ ระยะเวลา ในการอ่า่ นเราก็เ็ จอคำ�ำ ซ้ำ�ำ �ไปมาแต่่ สลัับกัันไปกัับคำำ�อื่่�นๆ ถ้้าเราใส่่ใจในการทำำ�ซ้ำำ�� ผลที่�ได้้รัับจะยิ่�งมากขึ้�นเป็็นทวีีคููณ โดยนำำ�มาประยุุกต์์กัับการนึึกย้้อน (retrieval) ซึ่่�งเป็็นการดึึงเอาความจำำ�ของสิ่�งที่�เคยได้ท้ ำำ�ออกมา เช่่น เราได้ย้ ิินชื่�อของสิ่�งของชิ้�นหนึ่�ง พอผ่่านไปสัักสองสามนาทีีก็็ให้้ลองนึึกว่่าของสิ่�งนั้�นเรีียกว่่าอะไร การที่�เรานึึกออก แสดงให้้เห็็นว่่ามีี การเชื่�อมโยงคำ�ำ และความหมายของคำ�ำ เกิดิ ขึ้�นในความทรงจำ�ำ ของเรา หากเราสามารถนึกึ ถึงึ คำ�ำ ที่่�ได้ย้ ินิ เมื่�อผ่่านไปสัักหนึ่�งชั่�วโมงหรืือนานกว่่านั้�น แสดงว่่าเราเรีียนรู้้�คำำ�เหล่่านั้�นได้้ดีี แต่่การอ่่านคำำ�และ ความหมายของคำำ�นั้้�นไม่่นัับ เพราะไม่่ได้้เป็็นการดึึงความทรงจำำ�เกี่�ยวกัับคำำ�หรืือความหมายออกมา ขอยกตััวอย่่างการนึึกย้้อนที่่�คุุณน่่าจะเคยทำำ�คืือการเปิิดหาความหมายคำำ�ศััพท์์ที่ �เคยหาความหมาย มาแล้้ว ให้้คุุณลองพยายามนึึกถึึงความหมายที่�เคยเปิิดอ่่านเสีียก่่อนที่�จะเปิิดหาความหมายอีีกครั้�ง ส่่วนเหตุุผลที่�แนะนำำ�ให้้ใช้้บััตรคำำ�ในการเรีียนรู้้�คำำ�ศััพท์์แบบเจตนาก็็เพราะเราได้้ฝึึกนึึกย้้อน การฝึึก ด้ว้ ยบัตั รคำ�ำ นั้้�น เราจะเห็น็ การสะกดของคำ�ำ แล้ว้ ได้น้ ึกึ ถึงึ ความหมาย หรือื เราได้เ้ ห็น็ ความหมายแล้ว้ ได้้ นึกึ ถึึงวิธิ ีสี ะกดคำำ� จริงิ ๆ แล้ว้ ไม่ม่ ีีสูตู รตายตัวั ว่า่ ต้้องทำ�ำ ซ้ำำ��กี่�ครั้�ง แต่่ถ้า้ ทำำ�ได้้อย่า่ งน้อ้ ยแปดครั้�งต่่อคำ�ำ จะได้้ผลดีีมาก บทที่� 7 49
Search