Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การพัฒนาแนวทางการจัดการเรียนรู้โดยใช้นวัตกรรมการสอนพุทธประวัติแสนง่ายผ่านTimeline ด้วยเทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด (QR Code) เรื่องพุทธประวัติ

การพัฒนาแนวทางการจัดการเรียนรู้โดยใช้นวัตกรรมการสอนพุทธประวัติแสนง่ายผ่านTimeline ด้วยเทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด (QR Code) เรื่องพุทธประวัติ

Published by ณัฐวุฒิ ใจแน่น, 2022-07-10 11:02:37

Description: การพัฒนาแนวทางการจัดการเรียนรู้โดยใช้นวัตกรรมการสอนพุทธประวัติแสนง่ายผ่านTimeline ด้วยเทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด (QR Code) เรื่องพุทธประวัติ

Search

Read the Text Version

-ก- คำนำ การจัดทาวิจัยเรอ่ื งการพฒั นาแนวทางการจัดการเรยี นรโู้ ดยใชน้ วัตกรรมการสอนพุทธประวัติแสนง่าย ผ่านTimeline ด้วยเทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด (QR Code) เรื่องพุทธประวัติ ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี5 โรงเรียนหนองอิเฒ่าวิทยา ปีการศึกษา 2564 มีวัตถุประสงค์เพื่อการพัฒนาแนวทางการจัดการเรียนรู้ โดยใช้ นวัตกรรมการสอนพุทธประวัติแสนง่ายผ่านTimeline ด้วยเทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด (QR Code) เร่ืองพุทธ ประวตั ิ ท่ีเหมาะสมกับสภาพการจดั การเรยี นการสอนวิชาสงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม และเพอ่ื ศกึ ษาผล ของการจัดกระบวนการเรียนรู้โดยใช้นวัตกรรมการสอนพุทธประวัติแสนง่ายผ่านTimeline ด้วยเทคโนโลยคี วิ อาร์โค้ด (QR Code) เร่ืองพุทธประวัติ ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี5 โรงเรียนหนองอิเฒ่าวิทยา ปี การศึกษา 2564 ซง่ึ ผลการวจิ ยั ครง้ั นจี้ ะไดน้ าไปประยุกต์ใช้กบั หนว่ ยการเรียนรอู้ ื่นๆได้เป็นอย่างดี ผู้วิจัยขอขอบพระคุณท่านผู้อานวยการ กลุ่มบริหารงานวิชาการและคณะครู โรงเรียนหนองอิเฒ่า วิทยา ท่ีให้คาปรึกษา คาแนะนา เพ่ือจัดทางานวิจัยฉบับนี้ให้สาเร็จลุล่วงด้วยดี และขอขอบคุณนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่5 โรงเรียนหนองอิเฒ่าวิทยา ทุกคน ที่ให้ความร่วมมือในการจัดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ดว้ ยดี มา ณ โอกาสนี้ ณฐั วุฒิ ใจแนน่ ผวู้ ิจยั

-ข- ชื่อผู้วจิ ัย : นายณฐั วฒุ ิ ใจแนน่ ช่อื เร่ือง : การพฒั นาแนวทางการจดั การเรียนรูโ้ ดยใชน้ วัตกรรมการสอนพทุ ธประวัตแิ สนงา่ ยผา่ น Timeline ดว้ ยเทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด (QR Code) เรือ่ งพุทธประวตั ิ ของนักเรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี5 โรงเรียนหนองอเิ ฒ่าวทิ ยา ปีการศึกษา 2564 ปีกำรศกึ ษำ : ปกี ารศึกษา 2564 บทคัดย่อ การวิจัยคร้ังน้ีเป็นการวิจัยเชิงทดลอง มีวัตถุประสงค์มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแนวทางการจัดการ เรียนรู้ โดยใช้นวัตกรรมการสอนพุทธประวัติแสนง่ายผ่านTimeline ด้วยเทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด (QR Code) เรื่องพุทธประวัติ และเพ่ือศึกษาผลของการจัดกระบวนการเรียนรู้โดยใช้นวัตกรรมการสอนพุทธประวัติแสน ง่ายผ่านTimeline ดว้ ยเทคโนโลยีควิ อาร์โค้ด (QR Code) เร่อื งพุทธประวัติ ของนกั เรยี นช้ันประถมศึกษาปีที่5 โรงเรียนหนองอเิ ฒ่าวิทยา ปีการศกึ ษา 2564 กลุ่มเป้าหมายท่ีใช้ในการวิจัยคร้ังน้ีเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี5 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียน หนองอิเฒ่าวิทยา จานวน 10 คน เคร่ืองมือท่ีใช้ในการวิจัยได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้นวัตกรรมการ สอนพุทธประวัติแสนง่ายผ่านTimeline ด้วยเทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด (QR Code) เรื่องพุทธประวัติ นวัตกรรม การสอนพุทธประวัติแสนง่ายผ่านTimeline ด้วยเทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด (QR Code) และใบงานเชิงสร้างสรรค์ เร่ืองพุทธประวัติ โดยนาไปใช้กับกลุ่มเป้าหมายระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ผู้เรียนทากิจกรรมเชิงรุก เพื่อเรียนรู้เร่ืองพุทธประวัติ โดยใช้นวัตกรรมการสอนพุทธประวัติแสนง่ายผ่านTimeline ด้วยเทคโนโลยีคิว อาร์โค้ด (QR Code) และทดสอบความรู้ความเข้าใจด้วยการทาใบงานเชงิ สร้างสรรค์เรื่องพุทธประวตั ิ และทา แบบทดสอบหลังเรียนจากการใชน้ วัตกรรมการสอนพุทธประวัติแสนงา่ ยผ่านTimeline ด้วยเทคโนโลยคี ิวอาร์ โค้ด (QR Code) จากน้ันผู้วิจัยจึงประเมิน และวิเคราะห์ความเหมาะสมของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และ ประเมนิ ความร้คู วามเขา้ ใจของผ้เู รียน ผลการวิจัยปรากฏว่า หลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้นวัตกรรมการสอนพุทธประวัติแสนง่ายผ่าน Timeline ด้วยเทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด (QR Code) เร่ืองพุทธประวัติ ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี5 โรงเรียนหนองอิเฒ่าวิทยา ปีการศึกษา 2564 ผู้วิจัยพบว่า การใช้ใช้นวัตกรรมการสอนพุทธประวัติแสนง่าย ผ่าน Timeline ด้วยเทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด (QR Code) มีความเหมาะสมอยู่ในระดับดีมาก ส่วนด้านความรู้ ความเข้าใจพบว่าหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และวัดประเมินผลผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเพิ่มข้ึนและอยู่ ในระดบั ทีด่ มี าก สามารถตอบคาถามได้ถูกตอ้ งร้อยละ 90

-ค- หนำ้ ก สำรบัญ ข 1 เรอ่ื ง 1 คำนำ 2 บทคัดย่อ 2 บทที่ 1 บทนำ 2 3 ความเป็นมาและความสาคญั ของปญั หา 3 วัตถุประสงค์ของการวิจัย 5 คาถามการวจิ ยั 4 ขอบเขตของการวจิ ยั 26 ประโยชน์ทค่ี าดว่าจะไดร้ ับ 32 นิยามศพั ทเ์ ฉพาะ 34 บทที่ 2 เอกสำรและงำนวิจยั ทเี่ กีย่ วข้อง 35 การจดั การเรยี นรู้ (Leaning Management) 35 นวัตกรรมการสอน (Instructional Innovation) 35 งานวิจยั ทเ่ี กยี่ วข้อง 35 กรอบแนวคิดในการวิจัย 35 บทที่ 3 วิธีดำเนนิ กำรวิจัย 38 ตวั แปร/สงิ่ ทศี่ กึ ษา 39 กล่มุ เป้าหมาย 41 เนื้อหาท่ีใช้ในงานวจิ ัย 41 เครอ่ื งมอื ที่ใชใ้ นงานวจิ ัย 42 การวิเคราะห์ขอ้ มูล 42 แผนการวจิ ัย 43 บทที่ 4 ผลกำรวจิ ัย 45 การวเิ คราะหผ์ ลการทาแบบทดสอบก่อนเรียน 46 การวเิ คราะห์ผลการทาใบกจิ กรรม 47 การวเิ คราะหผ์ ลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นจากแบบทดสอบหลงั เรียน 48 การวเิ คราะหห์ าความเหมาะสมของการจัดการเรียนรู้ฯ 49 บทท่ี 5 สรุปและขอ้ เสนอแนะ สรุปผลการวิจยั อภปิ รายผล ขอ้ เสนอแนะ บรรณำนุกรม

-ง- สำรบญั (ตอ่ ) ภำคผนวก ก แผนการจัดการเรยี นรเู้ ร่ืองพุทธประวัติ ภำคผนวก ข นวัตกรรมการสอนพุทธประวัตแิ สนง่ายผ่านTimeline ดว้ ยเทคโนโลยีคิวอารโ์ ค้ด (QR Code) เร่ืองพทุ ธประวัติ ภำคผนวก ค ใบกิจกรรมท่ี 1-3 เร่ืองพุทธประวัติ ภำคผนวก ง แบบทดสอบก่อน – หลงั เรยี น ภำคผนวก ง ภาพการจัดกระบวนการเรียนรแู้ ละภาพตัวอย่างผลการดาเนินงาน

-1- บทท่ี 1 บทนำ 1. ควำมเป็นมำและควำมสำคญั ของปัญหำ พระพุทธศาสนากาเนิดในประเทศอินเดียและได้เผยแผ่เข้ามาในดินแดนสุวรรณภูมิซ่ึงรวมท้ังท่ีเป็น ดินแดนของไทยในปัจจุบัน และดินแดนของประเทศเพ่ือนบ้าน ซ่ึงอยู่ในราวประมาณ ๓,๐๐๐ กว่าปี พระมหากษัตริย์ไทยทุกพระองค์ทรงนับถือพระพุทธศาสนา ทรงเป็นพุทธมามกะ และได้ให้ความอุปถัมภ์ค้าชู พระพุทธศาสนามาโดยตลอด คนไทยส่วนใหญ่นับถือพระพุทธศาสนาจึงได้นาหลักคาสอนของพระพุทธเจ้ามา เป็นหลักสาคัญในการดารงชีวิต ช่วยสร้างเสริมคุณธรรมและจริยธรรม ตลอดจนเป็นรากฐานสาคัญของ วัฒนธรรมไทย ซ่ึงตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 และที่แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่2) พ.ศ. 2545 ในมาตรา 27 วรรคแรก ท่ีกาหนดให้มีการจัดทาหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานเพ่ือความ เป็นไทย ความเป็นพลเมืองท่ีดีของชาติ การดารงชีวิตและการประกอบอาชีพตลอดจนเพื่อการศึกษาต่อ การ บรรจุหลักสูตรพระพุทธศาสนาให้เด็กได้เรียนรู้ โดยเน้ือหาจะเรียงกันเป็นระบบจากง่ายไปหายาก มั่นใจจะ ปลูกฝงั ใหเ้ ดก็ มหี ลักในการตัดสินใจในทกุ เรอ่ื ง ฝึกให้เด็กเรียนรู้การเป็นผู้ใหญ่ (สาเนียง เลือ่ มใส, 2558) ดังนั้นการศึกษาพุทธประวัติในแต่ละตอนแต่ละเหตุการณ์ของพระพุทธเจ้า จะทาให้เกิดความเข้าใจ หรอื ความศรัทธาในพระพทุ ธศาสนามากยิ่งขน้ึ และทาให้เหน็ แบบอย่างที่ดซี ึ่งสามารถนาไปเป็นแนวทางในการ ประพฤติปฏิบัติให้เกิดความสุขในการดาเนินชีวิตได้ (ภัทรวรรณ วันทนชัยสุข, 2559) แต่ในปัจจุบัน พุทธศาสนิกชนรวมไปถึงนักเรียนในปัจจุบัน กลับไม่ให้ความสาคัญหรือไม่ใส่ใจในการศึกษาเรียนรู้ถึงปร ะวัติ ความเป็นมาของศาสนาพุทธเท่าท่ีควร ขาดการศึกษาธรรมทางพุทธศาสนาให้เกิดความเข้าใจอย่างถ่องแท้ ทา ให้ไม่สามารถระบุเหตการณ์ หรือเรียงลาดับเหตุการณ์ต่างๆท่ีเกิดขึ้นในอดีตได้ จนกลายเป็นปัญหาเรื้อรังของ กระบวนการจดั การเรียนการสอนพทุ ธประวัตทิ ่ีมคี วามน่าเบ่ือในเน้ือหา และมคี วามเขา้ ใจท่ียาก (พมิ พดิ า โยธา สมุทร, 2553) ทั้งนี้ปัญหาดังกล่าวท่ีทาให้พุทธศาสนิกชนรวมไปถึงนักเรียนไม่ให้ความสาคัญหรือไม่ใส่ใจใน การศึกษาเรียนรู้เป็นผลมาจากเน้ือหาที่เกี่ยวกับพุทธประวัติในหนังสือ แบบเรียน เป็นเชิงพรรณา มีเนื้อหาที่ ค่อนข้างยาวส่งผลให้ยากต่อการท่องจา และไม่มีความทันสมัยที่สอดคล้องกับความต้องการของนักเรียนในยคุ ปัจจุบัน (สมพงษ์ ดีสงู เนิน, 2546) หรือนักเรียนในระดับช้ันเลก็ ๆท่ยี งั มีทกั ษะในการอ่านยังไมค่ ล่อง ครูผสู้ อนจึง พยายามคิดค้นหานวตั กรรมที่มีความเหมาะสม และแกป้ ญั หาในการจัดการเรยี นการสอนให้ตรงจุด เพือ่ พฒั นา ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นของนกั เรียน และคุณภาพในกระบวนการจัดการเรียนการสอนใหส้ ูงข้ึน จากที่กล่าวมาในข้างต้น ผู้วิจัยเล็งเห็นความสาคัญของการศึกษาพุทธประวัติ ผู้วิจัยจึงได้คิดค้นหา วธิ ีการแก้ปญั หา และได้จัดทานวตั กรรมการสอนพุทธประวัตแิ สนง่ายผ่านTimeline ดว้ ยเทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด (QR Code) ข้ึน ซ่ึงเป็นนวัตกรรมที่จะช่วยสรุปเน้ือหาเก่ียวกับพุทธประวัติให้มีความกระชับ เข้าใจง่าย และมี ความทันสมยั สอดคล้องกับความตอ้ งการของนักเรียนในยคุ ปัจจุบนั มากยิง่ ขึน้

-2- 2. วัตถุประสงคข์ องงำนวิจยั 1. เพือ่ พฒั นาแนวทางการจดั การเรียนรู้ โดยใชน้ วัตกรรมการสอนพทุ ธประวตั แิ สนงา่ ยผ่านTimeline ด้วย เทคโนโลยีควิ อาร์โคด้ (QR Code) เรื่องพุทธประวัติ 2. เพือ่ ศึกษาผลของการจดั กระบวนการเรยี นรู้โดยใชน้ วัตกรรมการสอนพุทธประวตั แิ สนงา่ ยผา่ น Timeline ด้วยเทคโนโลยคี วิ อารโ์ คด้ (QR Code) เรื่องพุทธประวัติ ของนักเรยี นชน้ั ประถมศึกษาปีท5ี่ โรงเรียน หนองอเิ ฒา่ วิทยา ปกี ารศึกษา 2564 3. คำถำมกำรวิจัย 1. การใชน้ วัตกรรมการสอนพุทธประวตั ิแสนงา่ ยผ่านTimeline ด้วยเทคโนโลยีคิวอาร์โคด้ (QR Code) เร่ืองพุทธประวัติ ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี5 มาเปน็ แนวทางการจัดการเรียนรู้ เปน็ อยา่ งไร 2. ผลการจดั กระบวนการเรยี นรู้โดยใชน้ วตั กรรมการสอนพุทธประวัตแิ สนงา่ ยผา่ น Timeline ด้วย เทคโนโลยีควิ อาร์โค้ด (QR Code) สามารถพฒั นาความรคู้ วามเข้าใจเร่ืองพุทธประวตั ิ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่5 ไดห้ รอื ไม่ อย่างไร 4. ขอบเขตกำรวิจัย 1. กลมุ่ เปา้ หมายที่ใชใ้ นการวิจยั คร้งั น้เี ป็นนกั เรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี5 จานวน 10 คน ปกี ารศกึ ษา 2564 โรงเรยี นหนองอิเฒ่าวทิ ยา 2. เนอ้ื หาวชิ าท่ใี ช้ในการวิจัยครั้งน้ี เปน็ ส่วนหนึง่ ของกลมุ่ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและ วฒั นธรรม สาระท1ี่ ศาสนา ศลี ธรรมจรยิ ธรรม ระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี5 หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐานพทุ ธศักราช 2551 (ปรบั ปรงุ พุทธศักราช 2560) ของสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน เร่ือง พุทธประวัติ 3. ระยะเวลาทใี่ ช้ในการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ใช้เวลารวม 2 สปั ดาห์ 4. ตัวแปรที่ศกึ ษา 4.1 ตวั จัดกระทา คือการจดั กระบวนการเรยี นรู้ โดยใช้นวัตกรรมการสอนพุทธประวตั แิ สนง่าย ผา่ นTimeline ดว้ ยเทคโนโลยีควิ อาร์โคด้ (QR Code) 4.2 ตวั แปรทศี่ กึ ษา คือ 4.2.1 การจดั กระบวนการเรียนรู้ โดยใช้นวัตกรรมการสอนพุทธประวัตแิ สนงา่ ยผา่ น Timeline ดว้ ยเทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด (QR Code) 4.2.2 ผลของการจดั กระบวนการเรยี นรู้โดยใช้นวัตกรรมการสอนพทุ ธประวัติแสนงา่ ย ผา่ นTimeline ดว้ ยเทคโนโลยีควิ อาร์โค้ด (QR Code)

-3- 5. ประโยชน์ทค่ี ำดว่ำจะได้รบั จำกกำรวิจยั 1. ได้แนวทางการจัดการเรียนรู้ทีม่ คี วามเหมาะสมกับสถานการณ์การจดั กิจกรรมการเรียนรูใ้ นปจั จุบนั และตอบสนองความต้องการของผเู้ รียน 2. นกั เรยี นมคี วามรคู้ วามเข้าใจ และมผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนเรอื่ งพุทธประวัติ ทสี่ งู ข้นึ 6. นยิ ำมคำศพั ท์ 1. การจัดการเรียนรู้ หมายถึง คือกระบวนการของครใู นการจัดการ สง่ เสริมพฒั นาผูเ้ รยี นและนาพา ผู้เรียนให้เกดิ สมรรถนะสาคญั โดยคานึงถึงการจัดการเรยี นรทู้ ่มี งุ่ เนน้ ผู้เรยี นเป็นสาคญั คานึงถึงความแตกตา่ ง ระหว่างบุคคล ตอบสนองความต้องการความสามารถ ความสนใจ และวธิ กี ารเรยี นรูข้ องผ้เู รียนเปน็ สาคัญ โดยประกอบดว้ ย 6 องค์ประกอบ ได้แก่ 1.1 กาหนดวตั ถปุ ระสงค์หรือจุดมงุ่ หมาย เปน็ การกาหนดเปา้ หมายท่ตี ้องการให้เกิดขึน้ กับผูเ้ รียน ด้านความรู้ ทักษะ กระบวนการท่ีจะนาไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ โดยมีการกาหนดครบท้ัง 3 ด้าน คอื ด้าน ความรู้ (K) กระบวนการ (P) และคุณลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ (A) 1.2 กาหนดเนื้อหาหรือหลักสูตร คือกาหนดเนอ้ื หาสาระให้สอดคลอ้ งหรือลอ้ ไปกับวตั ถปุ ระสงค์ เชิงพฤติกรรมในแตล่ ะวตั ถปุ ระสงค์ โดยออกแบบหน่วยการเรียนรแู้ ละจัดการเรยี นรู้ทเี่ น้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบคุ คล เพ่ีอนาผเู้ รยี นไปสเู่ ปา้ หมายการเรียนรตู้ ามมาตรฐานการเรียนรู้ และ ตัวช้ีวัดของหลักสูตร 1.3 การศึกษาผู้เรยี น คือการศึกษา หรือวิเคราะหผ์ ู้เรยี นเป็นรายบุคคล เพ่ือนาข้อมลู มาใช้ในการ วางแผนการจัดการเรยี นรู้ท่ที ้าทายความสามารถของผูเ้ รยี นโดยคานึงถึงลกั ษณะการเรยี นรู้ของผูเ้ รยี นแตล่ ะคน ในเรอ่ื ง ภูมหิ ลงั สติปัญญา ความสามารถ ความถนดั รูปแบบการเรียนรู้ ความสนใจ และความต้องการท่แี ตกต่างกนั เพื่อจดั การเรยี นรูท้ ี่เหมาะสมกบั พนื้ ฐานของผ้เู รยี น สนองความต้องการของผู้เรียน ซ่งึ จะชว่ ยใหผ้ เู้ รยี นเกิดการเรยี นรูไ้ ดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ 1.4 กาหนดยทุ ธวิธีในการสอน เป็นการศกึ ษาหลกั การและทฤษฎขี องวิชาทที่ าการสอนอยา่ ง ละเอยี ด โดยพิจารณาหลักการและเหตผุ ลของแนวโนม้ ในการจดั การเรยี นการสอนทเ่ี หมาะสมกับเน้ือหา เหมาะสมกบั ความสามารถของผู้เรยี น บรบิ ทของแหล่งการจัดการเรียนการสอน โดยเน้นผู้เรียนเปน็ ศนู ยก์ ลาง โดยมเี ปา้ หมายคือถือประโยชน์ผูเ้ รยี นเปน็ สาคญั 1.5 การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ เป็นกระบวนการสาคญั ในการนาหลักสตู รสู่การปฏบิ ตั นิ าไปสูก่ าร ออกแบบหน่วยการเรียนรู้ จดั การเรยี นรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบคุ คล และมี ความสอดคล้องกับพัฒนาการทางสมองของผู้เรยี นในแตล่ ะช่วงวยั 1.6 การวดั และการประเมนิ ผล เปน็ การกาหนดวธิ วี ดั ผลการเรียนรูห้ รือประเมินความก้าวหน้าใน การเรยี นรูข้ องผูเ้ รยี นดว้ ยวธิ ีการท่หี ลากหลาย เหมาะสมกบั ธรรมชาตขิ องรายวิชาในแตล่ ะกล่มุ สาระการเรยี นรู้ และใหม้ ีความเหมาะสมกับผู้เรียนทม่ี ีความแตกตา่ งกนั โดยเป็นการวดั ผลท่ีเนน้ ผเู้ รียนเป็นศูนยก์ ลาง

-4- 2. นวัตกรรมการสอนพทุ ธประวตั แิ สนง่ายผา่ นTimeline ดว้ ยเทคโนโลยคี ิวอาร์โค้ด (QR Code) เรือ่ งพทุ ธ ประวตั ิ คือ เครื่องมอื หรอื สื่อทช่ี ่วยในการจัดกระบวนการเรยี นการสอนสาหรับนักเรยี นทจี่ ะช่วยสรุปเน้อื หาเกีย่ วกับ พทุ ธประวตั ใิ ห้มคี วามกระชับ เข้าใจง่าย และมคี วามทนั สมัยเหมาะกบั สถานการณ์การจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนใน ปัจจบุ ัน และสอดคล้องกับความต้องการของผ้เู รยี น ภำพแสดงผงั Sorting ภาพประกอบ 1 เส้น Timeline พทุ ธประวตั ิ โดยใช้เทคโนโลยีคิวอารโ์ คด้ (QR Code) รปู แบบไฟล์ PDF รูปแบบไฟล์ E-book สแกน QR Code เพือ่ ดเู น้ือหา นวตั กรรมพุทธประวัติแสนงา่ ยผา่ นTimeline ดว้ ยเทคโนโลยคี ิวอารโ์ คด้

-5- บทท่ี 2 เอกสำรและงำนวจิ ัยทีเ่ ก่ียวข้อง การวิจัยเรื่อง การพัฒนาแนวทางการจัดการเรียนรู้โดยใช้นวัตกรรมการสอนพุทธประวัติแสนง่ายผ่าน Timeline ด้วยเทคโนโลยคี ิวอารโ์ คด้ (QR Code) เรอื่ งพทุ ธประวัติ สาหรบั นักเรยี นชน้ั ประถมศึกษาปีที่5 โรงเรียน หนองอเิ ฒา่ วิทยา ปีการศึกษา 2564 ผ้วู ิจยั ไดศ้ กึ ษาเอกสาร และงานวจิ ยั ท่ีเกยี่ วขอ้ งตามหัวข้อดงั น้ี 1. การจัดการเรียนรู้ (Leaning Management) 1.1 ความหมายการจดั การเรียนรู้ 1.2 ความสาคญั ของการจัดการเรยี นรู้ 1.3 หลกั การจัดการเรยี นรู้ 1.4 แนวคิดทฤษฎกี ารจดั การเรียนรู้ 1.5 ลกั ษณะการจดั การเรยี นรู้ที่ดี 1.6 องคป์ ระกอบการจัดการเรียนรู้ 2. นวตั กรรมการสอน (Instructional Innovation) 2.1 ความหมายของนวตั กรรมการสอน 2.2 ความสาคญั ของนวัตกรรมการสอน 2.3 ประเภทของนวตั กรรมการสอน 2.4 การนานวตั กรรมการสอนไปใช้ 2.5 นวตั กรรมการสอนพุทธประวัตแิ สนงา่ ยผ่านTimeline ดว้ ยเทคโนโลยคี วิ อารโ์ คด้ (QR Code) เรื่องพุทธประวัติ 3. งานวิจัยทเี่ กยี่ วข้อง

-6- 1. กำรจัดกำรเรียนรู้ (Leaning Management) 1.1 ควำมหมำยกำรจดั กำรเรยี นรู้ การจัดการเรียนรู้เปรียบเสมือนกระบวนการของครูในการจัดการ ส่งเสริม และพัฒนาผู้เรียนให้ เกิดการเรียนรู้เพื่อให้บรรลุตามเป้าหมายท่ีตั้งไว้ ดังนั้นจึงได้มีนักวิชาการหลายท่านได้ให้แนวคิดเก่ียวกับการ จัดการเรียนรู้ ไว้ดงั น้ี วิชัย ประสิทธิ์วุฒิเวชช์ (2542) ได้ให้ความหมายว่า การจัดการเรียนรู้หมายถึงกระบวนการท่ีมี ระบบระเบียบครอบคลุมการดาเนินงาน ต้ังแต่การวางแผนการจัดการเรียนรู้จนถึงการประเมินผลเมื่อ วทิ ยาการทางการศึกษาก้าวหนา้ มากขึ้น แนวคิดในการสอนเร่ิมเปลี่ยนไปเป็นการให้ความสาคญั กบั ผเู้ รยี น โดย มีแนวคิดว่าการเรยี นรขู้ องผ้เู รียนจะเกิดขึ้นไดด้ จี ากการได้คิดวิเคราะห์และลงมือปฏบิ ตั ิ ไม่ใชก่ ารรับความรู้จาก ครูแต่เพยี งอยา่ งเดียว ผ้เู รียนจงึ ควรเป็นศูนยก์ ลางของ การเรียนการสอน ส่วนครูมีบทบาทในการฝึกฝน การชี้แนะ การจัดเตรียมและอานวยความสะดวกสาหรับ กิจกรรมการเรียนการสอน แนวคิดใหม่น้ีคือแนวทางในการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญการจัดการ เรียนการสอนจงึ เปลย่ี นไปเป็นการจดั การเรียนรแู้ ทนตามบทบาทของครูทีเ่ ปลยี่ นไป สาลี รกั สทุ ธี (2544) ไดใ้ หค้ วามหมายว่า การจดั การเรยี นรู้หมายถงึ การจดั กจิ กรรม การเรียนการสอนให้สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ตามมาตรา 22-24 โดยถือว่าผู้เรียนมี ความสาคัญท่ีสุด ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม คือ ร่วมคิด ร่วมทาร่วมสร้างสรรค์ กิจกรรมทางการศึกษาลงมือปฏิบัติ จริง ครูเปลี่ยนบทบาทจากการเป็นผู้ชี้บอกให้ความรู้อย่างเดียว เป็นผู้คอยอานวยความสะดวก คอยช่วยเหลือ แนะนา รวมทั้งเปน็ ทีป่ รกึ ษาใหก้ บั นกั เรยี น ไสว ฟักขาว (2544) ได้ให้ความหมายว่า การจัดการเรียนรู้เป็นกระบวนการสองทาง คือการให้ และการรับความรู้ที่เกิดขึ้นพร้อม ๆ กันท้ังฝ่ายผู้สอนซ่ึงเป็นผู้ให้ความรู้ และฝ่ายผู้เรียนซ่ึงเป็นผู้รับความรู้ ซึ่ง ในขณะเดยี วกนั ผ้สู อนกเ็ กดิ การเรยี นรูจ้ ากการตอบสนองของผเู้ รียนด้วย วรี ะ พลอยครบุรี. (2545) ได้ให้ความหมายวา่ การจัดการเรียนรหู้ มายถึงกระบวนการหรือวิธีการ จัดกิจกรรม ท่ีคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลเพื่อให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์จากการปฏิบัติจริง ได้ พัฒนากระบวนการคิด มีอิสระในการเรียนรู้ตามความถนัดและ ความสนใจ จนเกิดการเรียนรู้และสร้างองค์ ความรไู้ ดด้ ้วยตนเอง โดยครมู กี ารวางแผนการจัดประสบการณก์ ารเรยี นรอู้ ย่างเปน็ ระบบ อาภรณ์ ใจเที่ยง (2546) ได้ให้ความหมายว่า การสอนคือการจัดประสบการณ์ที่เหมาะสมให้ นักเรียนได้ปะทะเพ่ือเกิดการเรียนรู้ หรือเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมท่ีดีข้ึน การสอนจึงเป็นกระบวนการสาคัญท่ี กอ่ ใหเ้ กดิ ความเจรญิ งอกงามที่ใชท้ ัง้ ศาสตรแ์ ละศิลป์ สวุ ิทย์ มูลคา (2547) ไดใ้ ห้ความหมาย การจดั การเรียนรูเ้ พือ่ พัฒนากระบวนการคิด ไว้ว่า เป็นกระบวนการท่ีผู้เรียนได้ใช้ความสามารถทางสมองในการประมวลข้อมูลความรู้และประสบการณ์ ต่างๆ ที่มีอยู่ให้เป็นความรู้ใหม่ วิธีการใหม่ เพ่ือไปใช้ในสถานการณ์ต่างๆ อย่างเหมาะสมสอดคล้องกัน แล้ว นาไปปฏบิ ตั ิจรงิ ตามมาตรฐานการศึกษาแหง่ ชาตดิ า้ นผ้เู รียนท่ีเกยี่ วข้องการพัฒนากระบวนการคดิ

-7- สุรางค์ โค้วตระกูล (2552) ได้ให้ความหมายว่า การเรียนรู้หมายถึง การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ซ่ึงเป็นผลเน่ืองมาจากประสบการณ์ที่คนเรามีปฏิสัมพันธ์กับส่ิงแวดล้อมหรือจากการฝึกหัด รวมทั้งการ เปล่ียนแปลงปรมิ าณความรูข้ องผู้เรียน มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ (2553) ได้ให้ความหมายว่า การ จัดการเรียนรู้หมายถึง กระบวนการปฏสิ มั พนั ธ์ระหว่างผูส้ อนกับผ้เู รยี นเพื่อทจ่ี ะทาให้ผเู้ รยี นเกิดการเรียนรู้ตาม วัตถปุ ระสงคข์ องผู้สอน สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (2553) ได้ให้ความหมายว่า การจัดการเรียนรู้ หมายถงึ การจัดการเรยี นรู้ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 มีมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัดเป็นเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียน และนาพาผู้เรียนให้เกิดสมรรถนะสาคัญของ ผู้เรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในการจัดการเรียนรู้ครูผู้สอนต้องคานึงถึงการจัดการเรียนรู้ท่ีมุ่งเน้น ผู้เรียนเปน็ สาคญั คานึงถึงความแตกตา่ งระหว่างบคุ คล พัฒนาการทางสมอง และ เน้นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยมทพ่ี ึงประสงค์ ใช้สื่อการเรียนรู้ แหล่งการเรียนรู้ ภมู ิปญั ญาทอ้ งถนิ่ ศูนย์สื่อการเรียนรู้ ระบบสารสนเทศเครือข่ายการเรียนรู้ เป็นเครื่องมือสาคัญต่อการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้ เกิดการเรียนรู้ สถานศึกษาต้องมีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้และนาผลท่ีได้ใช้เป็นข้อมูลเพื่อพัฒนา ปรับปรุงการจดั การเรียนรูใ้ หเ้ กดิ คุณภาพสูงสดุ ต่อผเู้ รยี น ธีระ รุญเจริญ และคณะ (2554) ได้ให้ความหมายว่า การจัดการเรียนรู้ หมายถึง กระบวนการ ของการเปลย่ี นแปลงพฤติกรรมอันเน่ืองมาจากประสบการณ์และการฝึกอบรมท่ีแต่ละบุคคลได้รับมาซึ่งอาจจะ มคี วามแตกต่างกนั ไป ทิศนา แขมมณี (2555) ไดใ้ หค้ วามหมายว่า การจดั การเรยี นร้หู มายถึงการบอกกล่าว สงั่ อธบิ าย ชี้แจงหรือแสดงให้ดู การจัดการเรียนรู้เป็นการถ่ายทอดความรู้ ทักษะและเจตคติต่างๆ โดยท่ีผู้สอนและผู้รับ หรือครูและศิษย์มีปฏิสัมพันธ์ต่อกันและกัน โดยครูเป็นผู้มีบทบาทสาคัญในการจัดการให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ ตามความสามารถของตนผู้เรียนเป็นผู้รับการถ่ายทอดความรู้ตามแต่ครูจะให้ครูจึงเป็นศูนย์กลางของการสอน และใช้คาเรยี กกระบวนการนวี้ ่าการจดั การเรยี นการสอน มารุต พัฒผล (2557) ได้ให้ความหมายว่า การจัดการเรียนรู้หมายถึงกระบวนการการรู้คิด (Cognitive Process) ที่เกิดขึ้นในสมองของบุคคล เพื่อสร้างความหมายของข้อมูลสารสนเทศ และสิ่งเร้าต่าง ๆ ท่ีรับเข้ามาทางประสาทสัมผัส เกิดเป็นความรู้ความเข้าใจ ทักษะ เจตคติ ความรู้สึก และพฤติกรรมต่าง ๆ การเรียนรู้ยุคใหม่ผู้เรียนสาคัญที่สุด คือการเรียนรู้ท่ีตอบสนองความต้องการความสามารถ ความสนใจ และ วธิ ีการเรยี นรูข้ องผู้เรียน โดยผเู้ รียนเป็นผู้ลงมือปฏบิ ตั ดิ ว้ ยตนเอง อย่างมีความรบั ผิดชอบ ผเู้ รียนตัง้ คาถาม (Questioning) และแสวงหาความรู้ (Inquiry) วีระชัย ศรีวงษ์รัตน์ (2559) ได้ให้ความหมายว่า การจัดการเรียนรู้หมายถึง กระบวนการ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียนเพื่อท่ีจะทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ของผู้สอนโดยผ่าน กิจกรรม 4 ดา้ น ได้แก่ 1. ดา้ นหลกั สูตร

-8- 2. ด้านการจดั การเรียนรู้ 3. ดา้ นการวดั ผล 4. ด้านการประเมนิ ผลการจดั การเรยี นรู้ Hough และ Duncan (1970) ได้ให้ความหมายว่า การจัดการเรียนรู้ หมายถึง กิจกรรมของ บุคคลซงึ่ มหี ลกั และเหตผุ ลเปน็ กิจกรรมทีบ่ ุคคลได้ใชค้ วามรู้ของตนเองอยา่ งสรา้ งสรรค์ เพ่ือสนับสนุนให้ผู้อื่นเกิดการเรียนรู้และความผาสุกดังน้ันการจัดการเรียนรู้จึงเป็นกิจกรรมในแง่มุมต่างๆ 4 ด้าน ซึง่ ผ้ทู ี่เป็นครจู าเปน็ ท่ีจะตอ้ งมคี วามรู้ ความสามารถ ทกั ษะเหล่านี้ เพอ่ื ใหเ้ ปน็ ครมู ืออาชพี ประกอบดว้ ย 1. ดา้ นหลกั สูตร (Curriculum) หมายถงึ การศึกษาจดุ มงุ่ หมายของการศึกษา ความเข้าใจในจดุ ประสงค์รายวิชาและการตง้ั จุดประสงคก์ ารจดั การเรยี นรู้ท่ีชดั เจนตลอดจนการเลือกเนื้อหาได้ เหมาะสมสอดคล้องกับทอ้ งถิ่น 2. ด้านการจดั การเรยี นรู้ (Instruction) หมายถงึ การเลือกวิธสี อนและเทคนคิ การจดั การเรยี นรทู้ ่เี หมาะสมเพื่อช่วยให้ผู้เรียนบรรลถุ ึงจุดประสงคก์ ารเรียนร้ทู ่ีวางไว้ 3. ด้านการวัดผล (Measuring) หมายถึงการเลือกวิธีการวัดผลท่ีเหมาะสมและสามารถ วิเคราะหผ์ ลได้ 4. ด้านการประเมินผลการจัดการเรียนรู้ (Evaluating) หมายถึงความสามารถในการ ประเมนิ ผลของการจดั การเรียนรทู้ งั้ หมดได้ Good (1974) ได้ให้ความหมายว่า การจัดการเรียนรู้หมายถึงการกระทาอันเป็นการอบรมส่ัง สอนผูเ้ รยี นในสถาบนั การศึกษา Saylor and Lewis (1981) ได้ให้ความหมายว่า การจัดการเรียนรู้ หมายถึง แผนของการสอนที่ มีการจัดกระทาพฤติกรรมข้ึนจานวนหน่ึง ซึ่งมีความแตกต่างกันเพื่อจุดหมายหรือเน้นเฉพาะเจาะจงอย่างใด อย่างหนึ่ง Hills (1982) ได้ให้ความหมายว่า การจัดการเรียนรู้คือกระบวนการให้การศึกษาแก่ผู้เรียน ซึ่ง ตอ้ งอาศัยปฏสิ ัมพันธร์ ะหวา่ งผสู้ อนกับผูเ้ รียน Richey (1986) ไดใ้ ห้ความหมายวา่ การจดั การเรียนรู้ หมายถงึ ศาสตร์ (Science) ในการกาหนดรายละเอียดรายการต่างๆ เพ่ือพัฒนา การประเมินและการทานุบารุงรักษาให้คงไว้ของสภาวะ ตา่ งๆ เพอื่ ทาใหเ้ กิดการเรยี นรู้ ทั้งในเนอ้ื หาจานวนมากหรือเนื้อหาสั้นๆ Moore (1992) ได้ให้ความหมายว่า การจัดการเรียนรู้หมายถึงพฤติกรรมของบุคคลหน่ึงที่ พยายามช่วยให้บุคคลอ่นื ไดเ้ กดิ การพฒั นาตนในทุกดา้ นอยา่ งเต็มศกั ยภาพ Finch และ Crunkilton (1993) ไดใ้ ห้ความหมายวา่ การจดั การเรียนรู้ หมายถงึ การจัดการเรียนรู้ในความหมายของ interaction จะหมายถึง เหตุการณ์ที่เกิดข้ึนควบคู่การเรียนรู้ของผู้เรียน ของผู้เรียนทั้งภายในและภายนอกตัวผู้เรียน อันเป็นผลเนื่องมาจากการจัดกระทาของครู การปฏิบัติกิจกรรม ของนกั เรียน และลักษณะงานที่นามาจดั ให้ผเู้ รยี นในสถานการณ์การเรยี นรู้ แตล่ ะคร้งั

-9- Smith (1999) ได้ให้ความหมายว่า การจัดการเรียนรู้ หมายถึง การทากิจกรรมท่ีมีผู้เรียนได้ ดาเนินการเอง โดยตั้งใจหรือไม่ต้ังใจก็ได้ ซ่ึงส่ิงเหล่าน้ีจะเป็นข้อมูลทักษะ เกิดเจตคติใหม่ เกิดความเข้าใจและ เกดิ ค่านิยมใหม่ๆ ข้นึ โดยปกติแลว้ ผลของการเรยี นรูจ้ ะกระทบไปถงึ การเปลย่ี นแปลงพฤติกรรมในตัวผ้นู น้ั Mayer (2003) ได้ให้ความหมายว่า การจัดการเรียนรู้ หมายถึง กิจกรรมการสร้างสรรค์ เปลี่ยนแปลงความรแู้ ละพฤตกิ รรมการแสดงออกของนักเรียนผ่านการจดั สภาพแวดล้อม เพื่อกระตนุ้ ให้เกิดการ ปรบั เปลีย่ นในตัวผเู้ รยี นมีองค์ประกอบสาคญั ได้แก่ ภารกจิ ท่ีครเู ป็นผลู้ งมอื ปฏบิ ตั ิและ เปน็ กิจกรรมท่ีมเี ปา้ หมายสง่ เสริมให้เกิดการเรยี นในตัวผเู้ รียน Hativa (2005) ได้ให้ความหมายว่า การจัดการเรียนรู้ หมายถึง กระบวนการสร้างปฏิสัมพันธ์ (Interaction) ระหว่างผู้ดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนและผู้เรียน หรือ Interaction หมายถึง กระบวนการ ส่งผ่านประสบการณ์ไปยังผู้เรียน โดยจัดทาเป็นแผนการเรียนรู้แสดงการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผสู้ อนกับผเู้ รยี น เพ่อื มุ่งหวังใหบ้ รรลุผลการเรยี นรตู้ ามทตี่ อ้ งการ Foster (2013) ได้ให้ความหมายว่า การจัดการเรียนรู้ หมายถึง ระยะของการปฏิบัติเพื่อโน้มนา หรอื นาพาผูเ้ รียนไปส่กู ารเรยี นรู้ สรุปได้วา่ การจัดการเรียนรู้ หมายถงึ กระบวนการของครูในการจัดการ ส่งเสริม พัฒนาผู้เรียนและนาพาผเู้ รียนให้เกิดสมรรถนะสาคัญ โดยคานึงถึงการจดั การเรียนรู้ที่มุ่งเน้นผเู้ รียนเป็นสาคัญ คานึงถงึ ความแตกตา่ งระหว่างบุคคล ตอบสนองความตอ้ งการความสามารถ ความสนใจ และวธิ ีการเรียนรู้ของ ผเู้ รียนเปน็ สาคัญ 1.2 ควำมสำคัญของกำรจัดกำรเรยี นรู้ การจัดการเรียนรู้เปรียบเสมือนเครื่องมือท่ีส่งเสริมให้ผู้เรียนรักการเรียน ตั้งใจเรียนและเกิดการ เรียนรู้ข้ึน การเรียนของผเู้ รียนจะไปสจู่ ุดหมายปลายทาง คือ ความสาเร็จในชวี ิตหรือไม่เพียงใดนั้น ย่อมขึ้นอยู่ กับการจัดการเรียนรู้ท่ีดีของผู้สอนด้วยเช่นกัน หากผู้สอนรู้จักเลือกใช้วิธีการจัดการเรียนรู้ ที่ดีและเหมาะสม แล้ว ย่อมจะมีผลดีต่อการเรียนของผู้เรียนดังน้ันจึงได้มีนักวิชาการได้แสดงทรรศนะเก่ียวกับความสาคัญของ การจดั การเรยี นรู้ ไวด้ ังนี้ สาราญ จูช่วย (2553) ได้ให้แนวคิดว่า การจัดการเรียนรู้เปรียบเสมือนเคร่ืองมือท่ีส่งเสริมให้ ผู้เรียนรักการเรียน ต้ังใจเรียน และเกิดการเรียนรู้ข้ึน การเรียนของผู้เรียนจะไปสู่จุดหมายปลายทาง คือ ความสาเรจ็ ในชวี ติ หรือไม่เพียงใดนนั้ ยอ่ มขนึ้ อยกู่ ับการจดั การเรียนรู้ทดี่ ีของผสู้ อน หรือผู้สอนด้วยเช่นกัน หากผู้สอนรู้จักเลือกใช้วิธีการจัดการเรียนรู้ท่ีดีและเหมาะสมแล้วย่อมจะมีผลดีต่อการ เรียนของผู้เรียนดังนค้ี อื 1. มคี วามรู้และความเขา้ ใจในเนอื้ หาวชิ าหรอื กจิ กรรมที่เรยี นรู้ 2. เกดิ ทกั ษะหรือมคี วามชานาญในเนื้อหาวชิ าหรือกิจกรรมทีเ่ รยี นรู้ 3. เกดิ ทัศนคตทิ ีด่ ตี ่อสงิ่ ท่เี รียน

-10- 4. สามารถนาความรทู้ ไ่ี ดไ้ ปประยกุ ต์ใชใ้ นชีวิตประจาวนั ได้ 5. สามารถนาความรู้ไปศกึ ษาหาความรูเ้ พิม่ เตมิ ต่อไปอกี ได้ การท่ีผสู้ อนจะส่งเสริมใหผ้ เู้ รียนมคี วามเจริญงอกงามในทุกๆ ดา้ น ท้งั ทางด้านรา่ งกายอารมณ์ สังคม และสติปัญญานั้น การส่งเสริมท่ีดีที่สุดก็คือการให้การศึกษา ซึ่งจากท่ีกล่าวมาจะเห็นได้ว่าการจัดการ เรียนรู้เปน็ สิง่ สาคญั ในการใหก้ ารศึกษาแก่ผ้เู รยี นเป็นอย่างมาก ปรัชญา เวสารัชช์ (2545) ได้ให้แนวคิดว่า การจัดการศึกษามีความสาคัญและจาเป็น เพราะ ต้องการคนที่ได้รับการฝึกฝนเฉพาะด้านที่มีความรู้ ความเข้าใจ ความชานาญมาดูแลรับผิดชอบ ไม่ว่าจะเป็น การรับผิดชอบด้านการสอน การบริหาร หรือการสนับสนุน ตัวอย่างเช่น ครูท่ีดีต้องได้รับการศึกษาอบรมมา อย่างดี มีความรู้ความชานาญ และมีคุณลักษณะเหมาะสมกับการเป็นครู การเป็นครูจึงเป็นท่ียอมรับว่าเป็น วิชาชีพชั้นสูงเนื่องจากสังคมเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา การจัดการศึกษาจาเป็นต้องได้รับการปรับเปล่ียนพัฒนา อย่างต่อเน่ือง เพื่อให้เหมาะสมกับความจาเป็นของแต่ละยุคสมัย การจัดการศึกษาท่ีย่าอยู่กับท่ี ย่อมหมายถึง ความลา้ สมัย ไมเ่ หมาะสม ไมค่ มุ้ ประโยชนป์ ัจจบุ ันโลกก้าวเข้าส่สู ังคมแห่งการเรียนรู้ หรือเขา้ สู่ระบบเศรษฐกิจ ที่เรียกว่าเศรษฐกิจฐานความรู้ความรู้จึงเป็นเครื่องมือจาเป็นที่ขาดไม่ได้ ในสังคมสมัยใหม่น้ีความรู้ท่ีทันสมัยที่ เหมาะสมกับสภาพการณ์จะช่วยแก้ปัญหาได้ และนาสู่การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เป็นพลังสาคัญสาหรับการอยู่ รอดและการพัฒนา ท้งั สาหรับบคุ คลแตล่ ะคนและสาหรบั สังคมประเทศชาติโดยรวม สรุปได้ว่า การจัดการเรียนรู้ที่ผู้สอนเป็นผู้ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ตาม ความสามารถ เพือ่ ใหผ้ ู้เรยี นนาความรไู้ ปสร้างสรรค์ด้วยตนเองการเรียนการสอนจงึ มีความสาคัญต่อการพัฒนา คนให้มีความเจริญงอกงามในทุกๆ ด้าน ท้งั ทางดา้ นร่างกาย อารมณ์ สงั คม และสตปิ ัญญา เพราะความรู้ที่เกิด จาการเรยี นการสอนเป็นเครอ่ื งมือจาเป็นและขาดไม่ได้ในสงั คมยคุ ปจั จบุ ัน 1.3 หลกั กำรจดั กำรเรียนรู้ หลักการจัดการเรียนรู้เป็นความรู้พ้ืนฐานที่สาคัญสาหรับครูผู้สอน แม้ว่าผู้สอนแต่ละคนจะมี เทคนิคการจัดการเรียนรู้เฉพาะของตน แต่ก็จะยึดหลักการพ้ืนฐานเดียวกันซึ่งหลักการพื้นฐานได้มีนักการ ศกึ ษาได้แสดงทรรศนะไว้หลายท่าน ดังน้ี ทศิ นา แขมมณี (2542) ไดใ้ หแ้ นวคดิ วา่ หลักการพืน้ ฐานของการจัดการเรยี น การสอน มีดังนี้ 1. ผเู้ รยี นมีบทบาทรับผดิ ชอบต่อการเรียนรขู้ องตนเอง ผ้เู รยี นเปน็ ผ้เู รียนรู้ บทบาทของครู คอื ผ้สู นับสนนุ (Supporter) และเปน็ แหล่งความรู้ (Resource Person) ของผูเ้ รียนผูเ้ รยี นจะรับผดิ ชอบต้ังแต่ เลือกและวางแผนสิ่งท่ีตนจะเรียน หรือเข้าไปมีส่วนร่วมในการเลือกและจะเร่ิมต้นการเรียนรู้ตนเอง ด้วย การศึกษาค้นคว้ารับผิดชอบการเรยี น ตลอดจนประเมนิ ผลการเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง 2. เน้ือหาวิชามีความสาคัญและมีความหมายต่อการเรียนรู้ ในการออกแบบกิจกรรมการ เรียนรู้ ปจั จยั ที่สาคัญท่ีจะต้องนามาพจิ ารณาประดว้ ยด้วย เนือ้ หาวชิ าประสบการณเ์ ดมิ และความตอ้ งการของ ผเู้ รียน การเรยี นรทู้ สี่ าคญั และมีความหมายจึงขน้ึ อยูก่ ับสง่ิ ท่สี อน และวิธที ใี่ ชส้ อน

-11- 3. การเรียนร้จู ะประสบผลสาเรจ็ หากผเู้ รียนมีสว่ นร่วมในการจดั กจิ กรรม การเรียนการสอน ผู้เรียนจะได้รับความสุขจากการเรียน หากได้เข้าไปมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ ทางานร่วมกับ เพือ่ น ๆ ไดค้ ้นควา้ พบข้อคาถามและคาตอบใหม่ ๆ ประเด็นที่ทา้ ทายและความสามารถในเร่ืองใหม่ ๆที่เกิดขึ้น รวมท้งั การบรรลผุ ลสาเร็จของงานท่ีพวกเขารเิ ริม่ ด้วยตนเอง 4. สัมพันธภาพที่ดีต่อกันระหว่างผู้เรียน การปฏิสัมพันธ์ท่ีดีในกลุ่มจะช่วยส่งเสริมความ เจริญงอกงาม การพัฒนาความเป็นผใู้ หญ่ การปรับปรงุ การทางานและการจัดการกับชวี ติ ของ แต่ละบุคคล สัมพันธภาพที่เท่าเทียมกันระหว่างสมาชิกในกลุ่ม จึงเป็นส่ิงสาคัญท่ีจะเป็นส่วนช่วยส่งเสริมการ แลกเปล่ยี นเรยี นรู้ซงึ่ กนั และกันของผ้เู รียน 5. ครู คือ ผู้อานวยความสะดวกและเป็นแหล่งความรู้ในการจัดการเรียนการสอนครู จะต้องมีความสามารถท่ีจะค้นพบความต้องการท่ีแท้จริงของผู้เรียนเป็นแหล่งความรู้ท่ีทรงคุณค่าของผู้เรียน และสามารถค้นคว้าหาสื่อวัสดุอุปกรณ์ที่เหมาะสมกับผู้เรียน สิ่งสาคัญที่สุด คือ ความเต็มใจของครูท่ีจะ ช่วยเหลือโดยไมม่ ีเง่ือนไข ครจู ะใหท้ ุกอยา่ งแกผ่ ู้เรียน ไม่ว่าจะเปน็ ความเชยี่ วชาญ ความรู้เจตคตแิ ละการฝึกฝน โดยผเู้ รียนมีอิสระทจ่ี ะรับหรอื ไมร่ บั การใหน้ น้ั ก็ได้ 6. ผู้เรียนมีโอกาสเห็นตนเองในแง่มุมที่แตกต่างจากเดิม การจัดการเรียนการสอนมุ่งให้ ผู้เรียนมองเห็นตนเองในแง่มุมท่ีแตกต่างออกไป ผู้เรียนจะมีความมั่นใจในตนเอง และควบคุมตนเองได้มากขน้ึ สามารถเปน็ ส่ิงทอี่ ยากเปน็ มีวฒุ ภิ าวะสงู มากข้ึน 7. การศึกษา คือ การพัฒนาประสบการณ์การเรยี นรู้ของผู้เรียนหลาย ๆ ด้านคุณลักษณะ ด้านความรู้ ความคิด ด้านการปฏิบตั ิ และด้านอารมณค์ วามรู้สกึ จะไดร้ บั การพัฒนา ทองคณู หงส์พันธ์ (2542) ได้ใหแ้ นวคิดว่า หลกั การจัดการเรยี นรเู้ ป็นบัญญตั ิ 20 ประการ ของการจดั การเรียนรู้ ประกอบดว้ ย 1. ศกึ ษาหลักสตู รให้กระจ่าง 2. วางแผนการจดั การเรียนรู้อย่างดี 3. มีกจิ กรรม/ทาอุปกรณ์ 4. สอนจากงา่ ยไปหายาก 5. วิธสี อนหลายหลากมากชนดิ 6. สอนให้คิดมากกว่าจา 7. สอนให้ทามากกว่าท่อง 8. แคล่วคล่องเร่อื งส่ือสาร 9. ตอ้ งชานาญการจูงใจ 10. อยา่ ลมื ใช้จติ วิทยา 11. ต้องพัฒนาอารมณข์ ัน 12. ตอ้ งผกู พนั หว่ งหาศษิ ย์ 13. เฝ้าตามติดพฤตกิ รรม

-12- 14. อย่าทาตวั เป็นทรราช 15. สร้างบรรยากาศไม่น่ากลวั 16. ประพฤติตวั ตามที่สอน 17. อย่าตดั รอนกาลังใจ 18. ใชเ้ ทคนิคการประเมนิ 19. ผู้เรยี นเพลินมคี วามสุข 20. ผูส้ อนสนกุ กับการเรียน วฒั นาพร ระงบั ทกุ ข์ (2542) ได้ให้แนวคดิ ว่า หลกั การของการจดั การเรียนการสอนมีหลักการ พนื้ ฐาน ดงั นี้ 1. ผู้เรียนมีบทบาทรับผิดชอบต่อการเรียนรู้ของตนเอง บทบาทครู คือ ผู้สนับสนุนและ เป็นแหลง่ ความรขู้ องผูเ้ รยี น ผู้เรยี นจะรบั ผิดชอบในการเลือก และวางแผนทตี่ นจะเรียนหรือเขา้ ไปมสี ว่ นร่วมใน การเลอื ก และเรียนรดู้ ้วยตนเองดว้ ยการศกึ ษาคน้ คว้า ตลอดจนประเมินผลการเรยี นร้ดู ้วยตนเอง 2. เน้ือหาวิชามีความสาคัญ และมีความหมายต่อการเรียนรู้ การออกแบบกิจกรรมการ เรยี นร้เู ปน็ ปัจจยั สาคญั ท่ตี ้องนามาพจิ ารณา เนือ้ หาวชิ า ประสบการณเ์ ดิม และ ความต้องการของผ้เู รยี น การเรยี นรู้จะมีความหมายขึน้ อยกู่ บั เนื้อหาท่สี อนและวธิ ีสอน หรอื เทคนคิ การสอน 3. การเรยี นรูจ้ ะประสบผลสาเรจ็ หากผูเ้ รียนมีสว่ นร่วมในกจิ กรรมการเรียน การสอนผู้เรยี นจะได้รับความสนกุ สนาน ไดเ้ ข้าไปมีส่วนรว่ มในการเรียนรู้ ได้ทางานร่วมกันกับเพ่ือได้ ค้นพบข้อคาถาม และคาตอบใหม่ๆ ประเด็นที่ท้าทายความสามารถ รวมทั้งการบรรลุผลสาเร็จของงานที่ริเรม่ิ ด้วยตนเอง 4. สัมพนั ธภาพทด่ี รี ะหว่างผ้เู รียน การมปี ฏสิ มั พนั ธท์ ด่ี ใี นกลมุ่ จะชว่ ยเสริม ความเจริญงอกงาม การพัฒนา และการจดั การกับชีวติ ของแตล่ ะบุคคล สมั พนั ธภาพทเ่ี ทา่ เทยี มกัน 5. ครูคือผู้อานวยความสะดวก และเป็นแหล่งความรู้ ในการจัดการเรียนการสอนครู จะต้องมคี วามสามารถท่ีจะค้นพบความต้องการท่ีแท้จริงของผู้เรยี นเป็นแหล่งความรู้ที่มีคุณค่าของผ้เู รียน และ สามารถค้นคว้าหาวัสดุอุปกรณ์ท่ีเหมาะสมกับผู้เรียน สิ่งที่สาคัญท่ีสุดคือความเต็มใจของครูที่จะช่วยเหลือโดย ไมม่ เี งอ่ื นไข ครจู ะใหท้ กุ อย่างแกผ่ ูเ้ รยี นไมว่ ่าจะเป็นความเช่ียวชาญ ความรู้ เจตคติ และการฝึกฝน โดยผู้เรยี นมอี สิ ระท่ีจะรบั หรอื ไมร่ บั การใหน้ นั้ ก็ได้ 6. ผู้เรียนมีโอกาสเห็นตนเองในแง่มุมที่แตกต่างจากเดิม การจัดการเรียนการสอนมุ่งให้ ผู้เรียนมองเห็นตนเองในแง่มุมท่ีแตกต่างออกไป ผู้เรียนจะมีความมั่นใจในตนเอง และควบคุมตนเองได้มากข้นึ ได้เป็นในสิ่งท่ีอยากเป็น มีวุฒิภาวะสูงมากขึ้นปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้สอดคล้องกับสิ่งแวดล้อม และส่วนรวม ไดม้ ากขน้ึ 7. การศึกษา คือ การพัฒนาประสบการณ์ของผู้เรียนหลายๆ ด้านไปพร้อมกับการเรียนรู้ เปน็ จุดเรม่ิ ต้นของการพฒั นาผู้เรียนหลายๆดา้ น คุณลกั ษณะด้านความรู้ ความคิด ด้านการปฏิบัติ และด้านอารมณค์ วามรู้สกึ จะได้รับการพัฒนาไปพร้อมๆกัน

-13- พิมพ์พันธ์ เดชะคุปต์ (2549) ไดใ้ ห้แนวคดิ วา่ หลักการจดั การเรียนรู้คือ เสนอหลักการจัดการ จดั การเรยี นรู้ท่ีเนน้ ผู้เรียนเป็นสาคัญต้องคานงึ ถงึ ความแตกตา่ งระหว่างบุคคลโดยจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ให้สมดุลเหมาะสมกับวัย ความตอ้ งการความสนใจของผู้เรยี นและ ความต้องการของสังคมด้วยกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย ส่งเสริมกระบวนการคิด เร้าความสนใจด้วย เทคนิควิธีการสอนที่หลากหลาย ใช้ส่ือการเรียนรู้และวิธีการวัดประเมินผลที่หลากหลาย ผู้เรียนมีส่วนร่วมใน การประเมนิ สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา (2552) ไดใ้ หแ้ นวคดิ ว่า หลกั การทสี่ าคญั ในการจดั การ เรียนร้มู ีดังน้ี 1. การจัดการเรียนรทู้ เ่ี น้นผู้เรียนเปน็ สาคญั 2. การจดั การเรียนร้ทู เี่ นน้ ความแตกตา่ งระหว่างบคุ คล 3. การจัดการเรยี นรู้ท่ีสอดคล้องกับพัฒนาการทางสมอง 4. การจดั การเรยี นรทู้ เี่ น้นดา้ นคุณธรรมจริยธรรม ชยั วฒั น์ สุทธิรตั น์ (2552) ได้ใหแ้ นวคิดวา่ หลักการจัดการเรียนรู้มดี งั นี้ 1. เน้นกระบวนการคดิ ในเนอ้ื หาการเรียนรู้ 2. เนน้ แรงจูงใจภายใน 3. การเรยี นรูแ้ บบรว่ มมือ โดยให้โอกาสการเรยี นหลากหลายระดับและหลากหลาย รูปแบบการเรียนรู้ 4. ผู้สอนเป็นผู้อานวยความสะดวกหรือผแู้ นะนามากกว่าสอนบรรยาย 5. ใช้เทคโนโลยสี นับสนุนการเรยี นร้ทู ก่ี ระตอื รอื รน้ 6. เนอื้ หาควรสัมพนั ธ์กบั ความรพู้ ้ืนฐานของผเู้ รียน มีความหมายและเหมาะสมกับผู้เรยี น 7. สง่ เสริมการใชแ้ หลง่ ขอ้ มลู ทหี่ ลากหลายในการเรียนรู้ 8. สง่ เสริมความร่วมมือกนั ในการวางแผนการสอนของผสู้ อนและผู้มสี ่วนเก่ียวข้อง 9. สง่ เสริมการใชเ้ วลาและสถานที่เรียนท่ยี ดื หยุ่น 10. ส่งเสริมการพฒั นายทุ ธวธิ ีและทักษะทางสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ (2553) ได้ให้แนวคิดว่า หลักการ จดั การเรยี นรู้พืน้ ฐานกาหนดไว้ ดังน้ี 1. สอนจากส่ิงที่อยู่ใกล้ตัวออกไป หาสิ่งท่ีอยู่ไกลตัว ตามปกติผู้เรียนมักจะสนใจและ คุ้นเคยกับสิ่งท่ีอยู่ใกล้ตัว บทเรียนที่ผู้สอนจะนามาสอนน้ันควรเลือกสิ่งท่ีอยู่รอบตัว หรือใกล้ตัวก่อนแล้วค่อย สอนสง่ิ ท่อี ยู่หา่ งจากตวั ออกไปเรอื่ ย ๆ 2. สอนจากสิ่งท่ีง่ายไปหาส่ิงที่ยาก การจัดการเรียนรู้ถ้าจะให้เกิดการเรียนรู้ท่ีดีผู้สอน จะต้องพิจารณาเลือกหัวข้อเรื่องจากง่ายไปหายากอยู่แล้ว เพราะสิ่งง่าย ๆ นั้น ผู้เรียนจะเข้าใจได้ดี และเป็น พื้นฐานในการเรียนสิง่ ยากตอ่ ไป

-14- 3. สอนจากตวั อยา่ งไปหากฎเกณฑ์ ในการจดั การเรียนรบู้ ทเรยี นใด ๆ กต็ าม ผู้สอนควรให้ ตวั อย่างหลาย ๆ ตัวอย่าง หรืออาจจะใหผ้ ู้เรียนชว่ ยหาตวั อยา่ งให้แล้วช่วยกนั สรปุ ตงั้ กฎเกณฑ์ขนึ้ มา 4. สอนจากสงิ่ ที่ร้ไู ปหาสิ่งท่ีไม่รู้ ทั้งนี้ เป็นเพราะว่าประสบการณ์ใหม่น้นั ย่อมตอ้ งอาศัยบทเรยี นเกา่ หรอื ประสบการณเ์ ดมิ เป็นพน้ื ฐาน จึงจะเรียนบทเรียนใหม่ไดเ้ ขา้ ใจ 5. สอนจากรูปธรรมไปหานามธรรม ในการจัดการเรียนรู้บทเรียนใด ๆ ก็ตามผู้สอนควร พยายามใช้สื่อการเรียนประกอบการจัดการเรียนรู้ จะช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจบทเรยี นได้ง่ายข้ึนเพ่ือเป็นวธิ ีการทา ให้บทเรียน เป็นรปู ธรรม ซ่ึงจะงา่ ยแก่การเขา้ ใจของผเู้ รยี น 6. สอนจากการทดลองไปหาการสรุปตั้งกฎเกณฑ์ บทเรียนใดท่ีสามารถให้ผู้เรียนทดลอง ปฏิบัติจริงได้ ผู้สอนก็ควรให้ผู้เรียนทดลองปฏิบัติหรือลงมือกระทาด้วยตนเอง เมื่อทดลองเสร็จแล้ว ผู้สอนจึง ซักถามและใหผ้ เู้ รียนคดิ สรุปเปน็ กฎเกณฑ์ข้ึนมา 7. สอนโดยคานึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ธรรมชาติของผู้เรียนในวัยต่าง ๆ น้ันจะมี ความแตกต่างกันทั้งในด้านความสนใจ ความถนัดพิเศษและความสามารถ ผู้สอนจะต้องเข้าใจในหลัก พัฒนาการของผู้เรียนในวัยต่างๆ ด้วย เพื่อที่จะได้จัดเตรียมบทเรียนและกิจกรรมไว้หลายๆอย่าง ให้ผู้เรียนได้ เลอื กทากจิ กรรมตามความถนดั และความสนใจ ซึง่ จะเกดิ ผลดตี ่อการเรียนของผู้เรียนดว้ ย 8. สอนโดยคานึงถึงหลักจิตวิทยา หลักจิตวิทยาท่ีผู้สอนต้องนามาใช้ในการจัดการเรียนรู้ มากทีส่ ุดคอื จติ วทิ ยาพฒั นาการ และจิตวทิ ยาการศึกษา เปน็ ตน้ 9. สอนโดยยึดจุดหมายของการจัดการศึกษา จุดหมายของการจัดการศึกษาจะเป็น เปา้ หมายหลกั ตามแนวนโยบายในการจัดดาเนินการศกึ ษาของชาติในระดับตา่ ง ๆ 10. สอนโดยยึดความมุง่ หมายของหลกั สตู รและบทเรยี นเปน็ หลัก ในการจดั การเรียนรู้น้ัน ผู้สอนจะต้องจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยยดึ ความมุ่งหมายหรือผลการเรียนรู้ที่คาดหวงั ของหลักสูตรท่ีกาหนดไว้ เป็นหลัก และอกี ทง้ั ผูส้ อนยงั ตอ้ งกาหนดผลการเรียนรู้ทคี่ าดหวังเฉพาะของแต่ละสาระหรือหนว่ ยการเรยี นรู้ขึ้น ด้วย และในขณะสอนผู้สอนต้องพยายามจัดสถานการณ์ สภาพการณ์และกิจกรรมต่าง ๆ เพ่ือให้การจัดการ เรียนรู้บรรลุตามความม่งุ หมายเฉพาะสาระหรือหน่วยการเรยี นรูน้ น้ั เพอ่ื ให้ผ้เู รียนเกดิ ความรู้ ความเข้าใจและมี ทกั ษะในการเรียนท่ดี ี ทศิ นา แขมณี (2553) ได้ให้แนวคิดว่า หลักการจัดการเรยี นรมู้ ีดังนี้ 1. การจดั สภาพแวดล้อมทางการเรียนให้อบอุน่ ปลอดภยั ไมน่ ่าหวาดกลวั น่าไวว้ างใจจะชว่ ยใหผ้ เู้ รียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี 2. ผู้เรียนแต่ละคนมีศักยภาพและแรงจูงใจท่ีจะพัฒนาตนเองอยู่แล้ว ครูจึงควรสอนแบบ ชี้แนะ (Non-Directive) โดยให้ผู้เรียนเป็นผู้นาทางในการเรียนรู้ของตน (Self-Directive) และคอยช่วยเหลือ ผเู้ รยี นใหเ้ รยี นอย่างสะดวกจนบรรลผุ ล 3. ในการจัดการเรียนการสอนควรเน้นการเรียนรู้กระบวนการ (Process Learning) เป็น สาคญั เนอ่ื งจากกระบวนการเรยี นรเู้ ปน็ เครื่องมือสาคัญท่ีบุคคลใชใ้ นการดารงชีวติ และแสวงหาความรู้ตอ่ ไป

-15- วีระชัย ศรีวงษร์ ัตน์ (2559) ได้ให้แนวคิดว่า หลกั การจดั การเรยี นรู้เป็นความรู้พืน้ ฐานท่ีสาคัญ สาหรับผู้ท่ีจะเป็นผู้สอนแม้ว่าผู้สอนแต่ละคนจะมีเทคนิคการจัดการเรียนรู้เฉพาะของตน แต่ก็จาเป็นจะยึด หลกั การพน้ื ฐานเดียวกันในการจดั การเรยี นร้อู ันไดแ้ ก่ หลักการเตรยี ม ความพร้อมพ้ืนฐาน ได้แก่การเตรียมตัวผู้สอนด้านความรู้ ด้านทักษะการจัดการเรียนรู้และด้านการแก้ปัญหา การจัดการเรียนรู้หลักการวางแผนและเตรียมการจัดการเรียนรู้ ได้แก่ การเตรียมเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ การผลิตสื่อเตรียมบททดสอบและซ้อมสอน หลักการใช้จิตวิทยาการเรียนรู้ เช่น หลักความแตกต่างระหว่าง บุคคลหลักการเร้าความสนใจ หลักการเสริมแรง และหลักการประเมินผลและรายงานผล ซ่ึงเก่ียวกับการ กาหนดจุดประสงค์การจัดการเรียนรู้ การสร้างและการใช้เคร่ืองมือ การประเมิน การตีความหมายและการ รายงานผลการประเมนิ Rogers (1969) ได้ให้แนวคิดว่า หลักการจัดการเรียนรู้คือ การจัดสภาพแวดล้อมทางการ เรียนให้อบอุ่นปลอดภัย ไม่น่าหวาดกลัว น่าไว้วางใจ จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดีผู้เรียนแต่ละคนมี ศกั ยภาพและแรงจูงใจท่จี ะพฒั นาตนเองอยู่แล้ว ครจู ึงควรสอนแบบชีแ้ นะ (Non-Directive) โดยใหผ้ ู้เรียนเป็น ผู้นาทางในการเรียนรู้ของตน (Self-Directive) และคอยช่วยเหลือผู้เรียนให้เรียนอย่างสะดวกจนบรรลุผลใน การจัดการเรียนการสอนควรเน้นการเรียนรู้กระบวนการ (Process Learning) เป็นสาคัญเนื่องจาก กระบวนการเรยี นรเู้ ปน็ เคร่ืองมือสาคัญทบี่ คุ คลใช้ในการดารงชวี ิตและแสวงหาความรตู้ อ่ ไป Knowles (1978) ได้ให้แนวคิดว่า หลักการจัดการเรียนรู้คือการให้ผู้เรียนมีส่วนรวมในการ เรียนรบั ผิดชอบรว่ มกันในกระบวนการเรียนรู้ จะชว่ ยให้ผู้เรยี นเกดิ การเรียนรไู้ ดด้ ใี นกระบวนการเรยี นรู้ควรเปิด โอกาสและส่งเสริมใหผ้ ู้เรียนนาประสบการณ์ ความรู้ ทกั ษะ เจตคติ และคา่ นยิ มตา่ งๆ ของตน เข้ามาใช้ในการ ทาความเข้าใจส่ิงใหม่ ประสบการณ์ใหม่ในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน ควรเปิดโอกาสให้ ผู้เรียนได้เลือกสิ่งท่ีเรียนและวิธีเรียนด้วยตนเองในกระบวนการเรียนการสอน ครูควรเข้าใจและส่งเสริมความ แตกต่างระหว่างบุคคล ควรเปิดโอกาสและส่งเสริมให้ผู้เรียนได้พัฒนาคุณสมบัติเฉพาะตน ไม่ควรปิดกั้นเพียง เพราะเขาไม่เหมือนคนอน่ื ในกระบวนการเรียนรู้ควรเปิดโอกาสและส่งเสริมให้ผู้เรียนตัดสินใจด้วยตนเอง ลงมือกระทา และยอมรับผล ของการตดั สนิ ใจหรือการกระทาน้ัน สรุปได้ว่า หลักการการจัดการเรียนรู้ เป็นกระบวนการหรือกิจกรรมการเรียนรู้ที่จะนาไปสู่ ความสาเร็จในการเรียนรู้ของผ้เู รยี นซ่ึงจะต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้ และพัฒนาตนเอง ได้ ครูผูจ้ ดั การเรียนรู้จะตอ้ งเปลยี่ นแปลงบทบาทจากการผู้ถา่ ยทอดความรูเ้ พียง ฝ่ายเดียวไปเป็นผู้ช่วยเหลือ ส่งเสริม และสนับสนุนผู้เรียนในการแสวงหาความรู้ โดยมีเป้าหมายสูงสุดคือ คุณภาพของผู้เรยี น

-16- 1.4 แนวคิดทฤษฎีกำรจัดกำรเรยี นรู้ มนี ักวิชาการได้อธบิ ายแนวคิดทฤษฎีการจดั การเรยี นรู้ตา่ งๆ ซงึ่ มีรูปแบบแนวคดิ การจัดการเรียนรู้ที่คล้ายคลึงและแตกต่างกันบ้าง ซ่ึงเป้าหมายเพื่อท่ีจะทาให้การพัฒนาการจัดการเรียนรู้ สาเร็จและบรรลุเปา้ หมายที่ต้งั ไว้ ดังน้ี Ausubel (1963) ไดใ้ หแ้ นวคดิ ว่า แนวคดิ ทฤษฎกี ารจดั การเรยี นรู้ คือ ทฤษฎี การเรียนรอู้ ย่างมคี วามหมาย (Theory of Meaningful Verbal Learning) ของเดวดิ ออซเู บล ซึ่งเชื่อว่าการเรียนรู้จะมีความหมายแก่ผู้เรียน หากการเรียนรู้น้ันสามารถเชื่อมโยงกับส่ิงใดส่ิงหนึ่งที่รู้มาก่อน การนาเสนอความคิดรวบยอดหรือกรอบมโนทัศน์ หรือกรอบความคิด (Advance Organizer) ในเรื่องใดเรื่อง หนึ่งแกผ่ ้เู รยี นกอ่ นการสอนเนื้อหาสาระนั้น ๆ จะชว่ ยใหผ้ เู้ รยี นรไู้ ดเ้ รียนเนือ้ หาสาระน้ันอยา่ งมคี วามหมาย Bandura (1969) ได้ให้แนวคดิ วา่ แนวคิดทฤษฎีการจดั การเรียนรู้ เปน็ ทฤษฎี การเรียนรู้ซึ่งมีความเชื่อว่าผู้เรียนกับส่ิงแวดล้อมมีอิทธิพลซ่ึงกันและกัน หลักการสาคัญคือ ผู้เรีย นกับ ส่ิงแวดล้อมมีอิทธพิ ลซ่ึงกันและกัน (Reciprocal Determinism) แบนดูราเสนอวา่ พฤติกรรมเกิดข้ึนเนอ่ื งจาก มกี ลไกเกิดข้ึนระหว่าง 3 ปัจจัย ที่มีอิทธิพลต่อกัน คือ ปัจจัยสภาพแวดลอ้ ม ปัจจัยส่วนตนของผู้เรียนและชนิด ของพฤติกรรม ปจั จยั ท้ังสามอาจจะมอี ทิ ธิพล ต่อพฤติกรรมไม่เทา่ กนั ปัจจัย บางตัวอาจมีอิทธิพลตอ่ การเกดิ พฤติกรรมมากกว่าปัจจยั บางตวั ในชว่ งเวลาหน่งึ แต่ปจั จัยท้ังสาม จะไม่มีอิทธพิ ลเท่ากันพร้อมกันในเวลาเดียวกนั ท้งั นีผ้ ลเกย่ี วขอ้ งกันจะเปน็ อย่างไรขน้ึ อยู่กับ ปัจเจกบุคคลพฤตกิ รรมท่จี ะแสดงออก และสภาพแวดลอ้ มในขณะที่เกิดมีพฤติกรรมนัน้ ขนึ้ Bandura (1969) ได้ให้แนวคิดว่า ในการเรียนรู้สิ่งต่างๆ ในโลกมนุษย์มีความสามารถขั้น พน้ื ฐาน 5 ประการ 1. ความสามารถในการใชส้ ญั ลกั ษณ์ (Symbolizing Capability) 2. ความสามารถในการสังเกตผ้อู นื่ (Vicarious Capability) 3. ความสามารถในการคดิ ล่วงหนา้ (Forethought Capability) 4. ความสามารถในการควบคุมตนเอง (Self–Regulatory Capability) 5. ความสามารถในการสะทอ้ นกลบั ใหแ้ กต่ นเอง (Self–Reflective Capability) ดงั ภาพประกอบ2 พฤตกิ รรม บุคลกิ ลักษณะของบุคคล สภาพแวดล้อม ภาพประกอบ 2 การมีอิทธิพลเกย่ี วข้องของ พฤติกรรม บุคลิกลกั ษณะของบุคคลและสภาพแวดลอ้ ม ของBandura (1969)

-17- Maslow (1970) ไดใ้ ห้แนวคดิ วา่ แนวคิดทฤษฎกี ารจดั การเรียนรู้ เปน็ ทฤษฎีเรยี นร้ซู ึ่งมคี วาม เช่ือว่าความรู้ท่ีได้มาเป็นกระบวนการของการสร้างความรู้ด้วยตัวของมันเองอย่างต่อเนื่องหลักการสาคัญ คือ ทฤษฎีลาดับขั้นความต้องการ (Hierarchy of Needs) เป็นนักจิตวิทยามนุษย์นิยมได้เสนอว่ามนุษย์มีความ ต้องการ 5 ขั้น ซึ่งจะเกิดตามลาดับขั้นบุคคลจะตอ้ งได้รับการตอบสนองในขั้นตา่ กอ่ นจึงจะเกดิ ความต้องการใน ขนั้ ตอ่ ไป ความตอ้ งการ ข้นั พื้นฐานของมนุษย์ตามแนวความคิดของMaslow มี 5 ข้นั ดงั นี้ ขนั้ ท่ี 1 ความต้องการด้านสรรี ะ (Physiological Needs) ขน้ั ท่ี 2 ความต้องการด้านความมั่นคงปลอดภยั (Safety Needs) ขน้ั ที่ 3 ความต้องการดา้ นความรักและความเปน็ เจ้าของ (Needs of Love, Affection and Belongingness) ขั้นท่ี 4 ความตอ้ งการด้านศกั ด์ศิ รแี ละความภาคภูมใิ จในตน (Self Esteem) ข้นั ท่ี 5 ความตอ้ งการพัฒนาศักยภาพของตนเองอย่างสมบูรณเ์ ต็มท่ี (Need for Self Actualization) มาสโลว์ ได้ให้แนวคิดว่า เป้าหมายของการเรียนรู้คือ การพัฒนาศักยภาพของตนเองเมื่อใดที่ บุคคลสามารถหลดุ พน้ จากความกลวั ทอ่ี ดอยากหรือไม่มีทีพ่ ักอาศัย ไมม่ ีความมั่นคงปลอดภยั ไม่เปน็ ทร่ี กั หรือไม่ เปน็ ทีย่ อมรบั ยกย่องจากผู้อ่ืน เม่อื น้นั บคุ คลจะเกิดความต้องการก้าวหน้าพฒั นาศักยภาพของตน และพยายาม แสวงหาความร้เู พราะอยากรูแ้ ละอยากเขา้ ใจในศาสตร์ท่ีตนสนใจ ดังภาพประกอบ 3 ความต้องการพัฒนาศกั ยภาพของตนเองอย่างสมบรู ณ์เตม็ ท่ี ความต้องการด้านศักด์ิศรแี ละความภาคภมู ิใจในตน ความตอ้ งการด้านความรักและความเปน็ เจา้ ของ ความต้องการดา้ นความมน่ั คงปลอดภยั ความตอ้ งการด้านสรรี ะ ภาพประกอบ 3 ลาดบั ความต้องการ 5 ข้ัน ของ Maslow (1970) Piaget (1972) ได้ให้แนวคิดว่า ความรู้ที่ได้มาเป็นกระบวนการของการสร้างความรู้ด้วยตัว ของมันเองอยา่ งต่อเน่ือง ในขณะทเี่ ด็กเจริญเติบโตเด็กจะมีพัฒนาการทางสมองและมีพฤติกรรมปฏิสัมพันธ์กับ ส่งิ แวดล้อมรอบตัว เดก็ จะกระตอื รอื ร้นทจ่ี ะสมั พันธ์กบั โลกภายนอกและ ไดค้ วามรูจ้ ากการกระทาของตน ความกระตอื รือร้นทเ่ี รียนร้นู ี้ติดตัวมาแต่กาเนิดจงึ เรียกแนวคิดของเปียเจต์อีก ช่ือหนง่ึ วา่ Genetic Epistemology เปยี เจต์แบง่ ชนดิ ของความร้เู ปน็ 3 ชนิด

-18- 1. ความรู้ทางกายภาพ (Physical Knowledge หรือ Empirical Knowledge)เป็นส่ิงที่ เด็กจะต้องหาความรู้เกี่ยวกับคุณสมบัติของวัตถุในโลก โดยผ่านทางประสาทสัมผัส(Perceptual Properties) เชน่ ส่ิงตา่ ง ๆ มีลกั ษณะเปน็ ของแข็ง หรือของเหลว มีรสเป็นรสหวานหรอื รสเปรี้ยว มสี เี ปน็ สีแดงหรือสเี หลอื ง 2. ความรู้ทางตรรกะคณติ ศาสตร์ (Logical–Mathematical Knowledge) เป็นความรู้ที่เป็นนามธรรม (Abstract) และเป็นความรู้ท่ีมนุษย์ประดิษฐ์ข้ึนมา เช่น ลูกหินจานวนเท่ากันไม่ว่า จะวางห่างกันหรือชิดกนั กจ็ ะมจี านวนเท่ากัน หรอื ดนิ น้ามันหนึง่ ก้อนมนี า้ หนกั เทา่ กับ เมือ่ แบง่ ออกมาปน้ั เปน็ ลกู กลม ๆ 10 ก้อน 3. ความรู้ทางสังคม (Social Knowledge) เป็นการได้ความรู้จากการปฏิสัมพันธ์กับ มนษุ ย์ เช่น การเรยี นร้มู ารยาททางสังคม ถา้ ผใู้ หญ่ให้ของเดก็ นอ้ ยจะตอ้ งไหว้ขอบคณุ หรือการเรียนรู้พฤติกรรม เพอ่ื กาหนดประเภทของบคุ คลและบทบาทของบุคคลในสงั คม Santrock (2008) ได้ให้แนวคิดว่า แนวคิดทฤษฎีการจัดการเรียนรู้ เป็นการเสริมสร้าง แรงจูงใจของผู้เรียนในมุมมองความเห็นทั้งในมิติของแรงจูงใจภายในและภายนอก ซ่ึงโดยธรรมชาติของ แรงจูงใจทั้งสองแบบจะให้ความสาคัญกับแรงจูงใจภายในตัวผู้เรียนมากกว่า เพราะจะเป็นเงื่อนไขกระตุ้นให้ ผ้เู รียนสนใจในการเรียนเพิ่มข้ึน โดยกระต้นุ ให้เช่ือมโยงกับกระบวนการรู้คิด (Cognitive Process) ของผเู้ รียน มิใช่เงื่อนไขกระตุ้นให้สนใจเรียนจากภายนอก ซ่ึงกระบวนการรู้คิดด้านแรงจูงใจของผู้เรียนจะประกอบด้วย 5 ลกั ษณะเงอ่ื นไข ดงั นี้ 1. คุณลักษณะของผู้เรียน (Attribution) ตามกรอบทฤษฎีเกี่ยวกับคุณลกั ษณะของบุคคล (Attribution Theory) อธิบายไว้ว่า แต่ละบุคคลจะได้รับการจูงใจให้ค้นหาสาเหตุของการปฏิบัติและ พฤตกิ รรมของตน ซ่งึ จะเปน็ การรบั รใู้ นสาเหตุของผลที่ปรากฏกับตวั เอง เช่น ผู้เรยี นจะรบั รูว้ ่าตนเองได้คะแนน ผลการเรียนดีเน่ืองมาจากเหตุผลใด นักเรียนชอบเรียนวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์เพราะเหตุผลใด หรือมี อะไรเป็นปัจจัยอยู่เบื้องหลังของการประสบผลสาเร็จในการเรียนจึงเป็นความพยายามของผู้เรียนที่จะรับรู้ เข้าใจพฤติกรรมการปฏิบัติของตน และมีแรงจูงใจท่ีจะค้นหาสาเหตุของปรากฏการณ์ดังกลา่ วด้วยตนเอง ซึ่งมี มิติการอธิบายด้านเหตุผลตามกรอบคณุ ลักษณะของผู้เรียน 3 ด้านไดแ้ ก่ (1) ดา้ นตาแหนง่ ของการใช้เหตุผลว่า เป็นเงื่อนไขจากการจงู ใจภายในหรือภายนอกท่ีนาไปส่คู วามสาเรจ็ ด้านการยอมรับนับถือตนเองของผู้เรียน (2) ความม่ันคงหรือความคงที่ของปจั จัยสาเหตุท่ีนาไปสู่ความคาดหวังในการประสบผลสาเร็จของผู้เรียนแตล่ ะคร้ัง ท่ีมีเงื่อนไขคล้ายกัน (3) ด้านความสามารถในการควบคุมปัจจัยสาเหตุของความสาเร็จที่อาจเป็นอารมณ์ ความรสู้ ึกของผเู้ รียนที่รับร้ผู ่านสถานการณ์ 2. การจงู ใจตามเง่ือนไขการรรู้ อบ (Mastery Motivation) เป็นลกั ษณะการจูงใจท่ีเป็นผล มาจากปัจจัยจูงใจภายในของผู้เรียน ซึ่งการจูงใจจะเป็นผลมาจากการรู้รอบและความเก่งของผู้เรียน ความไม่ ต้องการการช่วยเหลือและความสามารถในการปฏิบัติงาน ดังนั้น การท่ีผู้เรียนมีแรงจูงใจแบบรู้รอบจะให้ ความสาคัญกับเง่ือนไขท่ีนักเรียนมีความรู้ความสามารถในการปฏิบัติงานในการเรียนด้วยตนเอง ไม่ต้องการ ความชว่ ยเหลือจากผอู้ ่นื

-19- 3. ความสามารถท่ีมีประสิทธิผลของผู้เรียน (Self-Efficacy) เป็นการจูงใจที่เกิดจาก เงอ่ื นไขของผู้เรยี นที่สามารถรู้รอบในเหตุการณ์และสามารถสร้างผลงานใหส้ าเร็จ นักเรยี นท่มี คี วามสามารถทา งานท่ีมีประสิทธิผลจะมีทั้งแรงจูงใจแบบรู้รอบและแรงจูงใจภายใน อีกท้ังช่วยให้ผู้เรียนสามารถเลือกกิจกรรม ปฏบิ ัตไิ ด้เหมาะสม เรียนรู้ในส่ิงทท่ี ้าทายตนเองและชว่ ยยกระดับคุณภาพการเรียนรู้ มคี วามสามารถและความ เช่ือมนั่ ในการจัดการเรียนรแู้ ละการส่งผา่ นความรู้ไปใช้ประโยชน์ในสถานการณ์อื่น 4. การกาหนดเป้าหมาย การวางแผนและการกากับตนเองของผู้เรียน เมื่อผู้เรียนมี ความสามารถก็จะส่งผลให้มีการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยย่อยจุดประสงค์หลักเป็นจุดประสงค์ให้ รายข้อย่อย สาหรับนาไปใช้ออกแบบการจัดกิจกรรมให้เหมาะกับผู้เรียน โดยท่ีผู้เรียนจะระบุกิจกรรม ตามลาดบั ข้ันตอนและปฏทิ ินเพื่อใชก้ ากับการปฏิบัติงานของตนให้บรรลุเปา้ หมาย และประสบผลสาเรจ็ 5. การระบสุ ่ิงท่ีคาดหวงั (Expectations) เน่อื งจากสิง่ ท่ีคาดหวังจะเป็นปัจจัยเง่ือนไขช่วย ให้ผู้เรียนเกิดแรงจูงใจในการทางานที่ยากลาบากหรือซับซ้อนให้ประสบผลสาเร็จตามเป้าหมาย โดยท่ีผู้เรียน อาจรบั รู้ เข้าใจความคาดหวังของตน และผอู้ ่นื ทีต่ ้องการเปรยี บเทียบนกั เรียนแตล่ ะคนอาจทุ่มเทความพยายาม ในการทางานใหส้ าเรจ็ เมื่อเหน็ วา่ งานนน้ั มีคณุ คา่ สาหรับตน ซ่งึ มีผลการศึกษาสนบั สนุนจานวนมากว่าหากงาน ที่นักเรียนรับผิดชอบเป็นสิ่งที่คาดหวังและมีคุณค่า ก็จะส่งผลให้นักเรียนมีความสามารถปฏิบัติ มีความคงอยู่ หรือคงทนสภาพการนาไปปฏบิ ตั แิ ละการเลือกวิธีปฏบิ ัตินอกจากน้ผี เู้ รยี นยังสามารถรับรสู้ มรรถนะของตน รับรู้ ความยุ่งยากของงานและเปา้ หมายการทางานของตนแนวคิดการสร้างคุณค่าในตนเอง (Self-Esteem) Woolfolk (2010) ได้ให้แนวคดิ ว่า แนวคดิ ทฤษฎกี ารจัดการเรียนรเู้ ปน็ การสะท้อนความรู้สึก นึกคิด ในการลงความเห็นด้านคุณค่าของตน (Self-Worth) รวมทั้งความรู้สึกเช่ือม่ันและความภูมิใจในตนเอง ที่เป็นการลงความเห็นในด้านบวก ความรู้สึกภูมใิ จในตนเองจะปรากฏก็ต่อเม่ือบุคคลดงั กล่าวประสบผลสาเร็จ ทางวชิ าการ ซ่งึ ความสนใจ ความร้สู กึ พงึ พอใจความรู้สึกห่วงใย การสะท้อนความคดิ เห็นหรอื ให้ข้อมูลป้อนกลับ และการประเมินผลผู้เรียนจะนาไปสู่การตระหนักในคุณค่าของตนเอง นอกจากน้ียังพบว่า ผู้เรียนที่ประสบ ความสาเร็จในการปฏิบัติโดยไม่มีการชว่ ยเหลือจากผ้อู ่ืนหรือได้รบั มาโดยการใชค้ วามพยายามก็จะเป็นปัจจัยที่ ส่งผลให้บุคคลนั้นเกดิ ความรู้สึกตระหนักในคณุ ค่าของตน ในขณะทบ่ี ุคคลใดรสู้ ึกตระหนักในคุณคา่ ของตนก็จะ มีแรงจูงใจในการกระทาหรือการแสดงพฤตกิ รรมในทางบวกเพ่ิมขนึ้ สรุปได้ว่า แนวคิดทฤษฎีการจัดการเรียนรู้ มีหลายแนวคิดที่ครูผู้สอนสามารถนามาปรับใชใ้ น การจัดการเรียนรู้ โดยมีเป้าหมายเพ่ือการจัดการเรียนรู้ท่ีมีประสิทธิภาพและคานึงถึงการพัฒนาศักยภาพของ ผูเ้ รียนเป็นสาคัญ

-20- 1.5 ลักษณะกำรจัดกำรเรยี นรูท้ ดี่ ี ผูส้ อนท่ีดที ุกคนย่อมมีความรบั ผิดชอบในหนา้ ท่ี ในด้านการจดั การเรยี นรูแ้ ละการอบรมผู้เรียนให้ เปน็ สมาชกิ ที่ดขี องชุมชนและประเทศชาติชาติ ดังนนั้ จึงมีนักวิชาการได้ให้แนวคดิ เก่ียวกับการจดั การเรียนรู้ท่ีดี จะตอ้ งมหี ลักในการยึด ดงั นี้ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์ (2553) ได้ให้แนวคิดว่า ลักษณะ การจัดการเรยี นรู้ทดี่ มี ีดังนี้ 1. ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ใช้ความคิดอยู่เสมอ โดยการซักถามหรือให้แสดงความคิดเห็น เกย่ี วกับปัญหาง่าย ๆ สาหรบั ผู้เรียนในระดบั ต่าง ๆ เพอ่ื จะได้เปน็ การฝึกใหผ้ ู้เรยี นคิดหาเหตผุ ลคิดเปรยี บเทียบ และคิดพจิ ารณาถงึ ความสัมพนั ธ์ระหว่างส่ิงต่าง ๆ 2. ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีประสบการณ์ตรงให้มากที่สุดด้วยการเรียนโดยการกระทาด้วย ตนเอง (Learning by doing) 3. ส่งเสริมให้ผู้เรียนทางานเป็นกลุ่ม (Group working) โดยมีการปรึกษาหารือกันในกลุม่ แบง่ งานกนั ทาด้วยความรว่ มมอื กันและประเมนิ ผลรวมกัน 4. ส่งเสริมใหผ้ ู้เรยี นรจู้ ักแก้ปัญหาดว้ ยตนเองตามวธิ ีการทางวทิ ยาศาสตร์ 5. มีการเปล่ียนแปลงวิธีการจัดการเรียนรู้อยู่เสมอ เพ่ือให้การจัดการเรียนรู้น้ันเกิดความ ยืดหย่นุ นา่ สนใจ และไม่นา่ เบื่อโดยการนาเอาเทคนิคการจัดการเรียนรู้แบบตา่ ง ๆ มาดดั แปลงใชใ้ นการจดั การเรยี นรู้ 6. มกี ารเตรยี มการจัดการเรียนรู้ไว้ลว่ งหน้า เพื่อท่ผี สู้ อนจะไดท้ ราบว่าจะสอนอย่างไรบ้าง ตามลาดับขน้ั และยังช่วยให้ผู้สอนพร้อมทจี่ ะสอนดว้ ยความมน่ั ใจ 7. เปดิ โอกาสให้ผู้เรียนไดแ้ สดงความคดิ เห็นเพมิ่ เตมิ และคดิ หาเหตุผล ความเปน็ มาของสิง่ ที่เรียน และมีการรบั ฟังความคิดเห็นซง่ึ กันและกนั 8. มีการประเมินผลอยู่ตลอดเวลา เน้นการประเมินตามสภาพจริง ประเมินตามความรู้ ความสามารถของผู้เรียนอย่างแท้จริง เพ่ือให้แน่ใจว่าการจัดการเรียนรู้ได้ผลตรงตามจุดประสงค์ท่ีวางไว้ หรือไม่ เพยี งใด 9. มีส่ือการจดั การเรยี นรู้ เพอ่ื ชว่ ยให้ผเู้ รยี นสนใจและเขา้ ใจบทเรียน เช่น ของจริงรูปภาพ หุ่นจาลอง แผนภูมิ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน วีดิทัศน์ ฐานข้อมูลการเรียนรู้ เว็บไซต์ และ โสตทศั นปู กรณ์อืน่ ๆ 10. มีการจูงใจในระหว่างการจดั การเรยี นรู้ เช่น การใหร้ างวลั การชมเชย การลงโทษ การติเตียน การให้คะแนน การสอบ การแข่งขัน การปรบมือให้เกียรติ ฯลฯ มาใช้เป็นส่ิงกระตุ้น และช้ีแนวทางเพ่อื ใหผ้ ู้เรียนเกิดความสนใจ ตั้งใจ ขยนั หม่ันเพยี รในการเรยี นการทากิจกรรมมากขึ้น 11. มีกิจกรรมให้ผู้เรียนทาหลายอย่างเพ่ือเร้าความสนใจของผู้เรียนและช่วยให้ผู้เรียน สนุกสนานในการเรียน

-21- 12. ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความเจริญงอกงามในทุกด้านทั้งร่างกาย อารมณ์ สังคมและ สติปญั ญา 13. ส่งเสริมความสัมพันธ์หรือการบูรณาการระหว่างวิชาที่เรียนกับวิชาอื่นๆในหลักสูตร เช่น สอนภาษาไทยก็สอนใหส้ ัมพนั ธก์ บั สังคมศกึ ษา ศลิ ปศกึ ษา ดนตรี และนาฏศลิ ป์ เป็นตน้ 14. มีการสร้างบรรยากาศในการจัดการเรียนรู้ให้เหมาะแก่การเรียนรู้ตามบทเรียนท่ีสอน ทง้ั ในแงข่ องสง่ิ แวดล้อมและอารมณ์ของผเู้ รยี น 15. สอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ(Child center) ในการจดั กิจกรรมต่างๆผ้เู รียนจะเป็น ผู้ลงมือปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ เอง ผู้สอนจะเปน็ เพียงผคู้ อยให้ความชว่ ยเหลอื แนะนาในการทากิจกรรม 16. สอนโดยส่งเสริมให้ผเู้ รียนไดใ้ ชป้ ระสาทสัมผสั ทัง้ 5 ใหม้ ากที่สุด 17. สอนตามกฎแห่งการเรียนรู้โดยจัดบทเรียนให้เหมาะสมกับวัย ความสามารถและ ประสบการณเ์ ดมิ ของผเู้ รยี น 18. สอนโดยส่งเสริมการดาเนินชีวิตตามแบบประชาธิปไตย โดยสามารถแสดงความ คิดเห็นต่าง ๆ และฝึกให้ผู้เรียนรู้จักรับฟังความคิดเห็นของผู้อ่ืน เคารพความคิดเห็นของผู้อื่นอีกท้ังเปิดโอกาส ใหผ้ ้เู รยี นไดม้ ีการวางแผนงานรว่ มกับผ้สู อน สาราญ จูชว่ ย (2553) ได้ใหแ้ นวคดิ ว่า การจัดการเรยี นร้ทู ี่ดีว่าการจัดการเรยี น การสอนลกั ษณะใดกต็ ามท่ที าให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี จัดเปน็ การเรียนการสอนทดี่ ีทั้งสิ้น ถ้าจะกลา่ วโดยละเอียดแยกยอ่ ยแลว้ การเรยี นการสอนท่ดี จี ะมลี กั ษณะดงั น้ี 1. เป็นการสอนท่ีมีการเตรียมการสอนเป็นอย่างดี ครบองค์ประกอบของการสอน อัน ได้แก่ การตั้งจุดประสงค์การสอน การจัดเนื้อหาสาระ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การใช้ส่ือการสอน และการวัดผลประเมินผล 2. เปน็ การสอนทีท่ าใหผ้ เู้ รยี นเกดิ การพฒั นา ทัง้ ด้านความร้คู วามคดิ ดา้ นเจตคติ และด้าน ทักษะ ทาให้ผู้เรียนเกิดความร้แู จ้ง คิดชอบ และปฏิบตั ิดี เกดิ การเจริญเตบิ โตทกุ ดา้ นอย่างช่ืนบานและแจ่มใส 3. เป็นการสอนที่ผู้สอนจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ได้สอดคล้องกับจุดประสงค์กับ เนอ้ื หาและกบั ผู้เรียน โดยใชก้ ิจกรรมในรูปแบบตา่ ง ๆ ทเ่ี หมาะสม 4. เป็นการสอนที่ผู้เรียนได้ลงมือกระทากิจกรรมด้วยตนเอง หรือได้มีส่วนร่วมในกิจกรรม การเรยี นการสอน ทาให้ผู้เรียนเกดิ การเรียนรู้ได้ดี และเกิดความกระตอื รือรน้ ในการเรยี น 5. เป็นการสอนท่ีสอดคล้องกับเจตนารมณ์ของหลักสูตร เช่น หลักสูตรการศึกษาขั้น พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2544 มงุ่ พฒั นาคนไทยให้เปน็ มนุษย์ที่สมบูรณ์ เปน็ คนดี มปี ญั ญา มีความสุข และมีความ เป็นไทย มีศักยภาพในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ ผู้สอนก็ต้องจัดการเรียนการสอนให้ผู้เรียนเกิด คุณลกั ษณะดงั ทห่ี ลกั สตู รกาหนดไว้ 6. เป็นการสอนที่คานึงถึงประโยชน์ของผู้เรียนจะนาไปใช้ในชีวิตประจาวันและตลอดไป เช่นการสอนโดยให้ผู้เรียนได้คิด วิเคราะห์ วิจารณ์ ได้รู้จักวิธีแสวงหาความรู้ ได้ฝึกคิดแก้ปัญหา ย่อมดีกว่าวิธี

-22- สอนโดยบอกความรใู้ ห้ หรือกระทาให้ดูเพียงแตอ่ ยา่ งเดยี ว การให้ผู้เรียนไดน้ าประสบการณท์ ้งั ความรู้ ความคิด ไปใชใ้ นชวี ติ ประจาวันปัจจุบนั และอนาคตได้ ย่อมเปน็ การสอนทีม่ ีคณุ คา่ แก่ผูเ้ รยี น 7. เป็นการสอนที่เร้าความสนใจผู้เรียน ทาให้ผู้เรียนสนใจการเรียนตลอดจนจบ กระบวนการสอน เช่น ผู้สอนใช้ส่ือการสอนท่ีน่าพอใจ ใช้คาถามกระตุ้นให้คิด ใช้วิธีการสอนหลากหลาย รูปแบบที่เหมาะสม ให้ผู้เรียนได้ลงมือกระทา (Learning by doing) ได้ทดลอง ได้คิดค้นคว้า เป็นต้นทาให้ ผ้เู รียน เรยี นดว้ ยความสนใจ 8. เป็นการสอนท่ีมีบรรยากาศส่งเสริมการเรียนรู้ ทั้งบรรยากาศด้านวัตถุและด้านจิตใจ บรรยากาศด้านวัตถุ หมายถึง การมีสภาพห้องเรียน อุปกรณ์การเรียน และสิ่งแวดล้อมท่ีดีเอ้ืออานวยให้เกิด ความสบายตาสบายใจในการเรียน ส่วนด้านจิตใจ หมายถึง การที่ครูมีปฏิสัมพันธ์กับนักเรียนด้วยดี ให้ความ เป็นกันเอง ให้ความเมตตา ความรัก ความอบอุ่นแก่นักเรียน ทาให้นักเรียนมีความสุข มีชีวิตชีวา และไม่ตึง เครยี ด 9. เป็นการสอนที่ผู้สอนรู้จักใช้จิตวิทยาการเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสม เช่น การให้รางวัล และการลงโทษท่ีพอดี การให้คาชม การจูงใจ เร้าใจให้ผู้เรียนเกิดแรงกระตุ้นภายใน การให้ผู้เรียนได้รับทราบ ผลงานของตนทันที การให้ผู้เรียนเกิดความภูมิใจในความสาเร็จของตน การคานึงถึงความแตกต่างระหว่าง บคุ คล การให้เรียนจากสิง่ ท่ีง่ายไปยากเหลา่ นี้เปน็ ปัจจยั ชว่ ยส่งเสรมิ การเรยี นรู้ไดด้ ี 10. เป็นการสอนทีส่ ่งเสรมิ การปกครองระบอบประชาธิปไตย เชน่ ใหผ้ ้เู รยี นมอี สิ ระในการ แสดงความคิดเห็น ผเู้ รียนไดฝ้ กึ การทางานกลุ่มร่วมกัน ไดฝ้ ึกการเปน็ ผนู้ าผตู้ าม ฝกึ การทาตามข้อกาหนดของกลุ่ม และฝกึ ระเบียบวินัยในตนเอง สง่ิ เหลา่ น้ีจะเป็นการปูพ้ืนฐานการเป็นสมาชิก ทด่ี ขี องสังคม และการเปน็ พลเมืองดีของประเทศชาติตอ่ ไป 11. เปน็ การสอนทม่ี ีกระบวนการ หมายถงึ มลี าดบั ข้ันตอนการสอนท่ีไม่สับสนในการสอน จาเป็นต้องมีการเตรียมการสอน เตรียมจัดลาดับการสอนให้สอดคล้องต่อเน่ืองกันอย่างเหมาะสมตั้งแต่ขั้นนา ขั้นสอน และขั้นสรุป กระบวนการสอนจะมีขั้นตอนแตกต่างจากวิธีสอนแบบทดลอง ผู้สอนต้องวางแผน จดั ลาดบั ขัน้ ตอนการสอนให้ถกู ต้อง 12. เป็นการสอนท่ีมีการวัดประเมินผลทั้งก่อนเรียน ระหว่างเรียน และหลังการเรียนโดย อาจใช้วิธีต่าง ๆ เช่น การสังเกต การซักถาม การทดสอบ การให้ค้นคว้ารายงาน การทาแบบฝึกหัดฯลฯ การ วัดผลประเมินผลจะช่วยวัดผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน และวัดผลสาเร็จของผู้สอน ผู้สอนจะนาผลการประเมินมา เป็นข้อมูลย้อนกลับพิจารณาการสอนของตนว่า มีข้อบกพร่องที่องค์ประกอบการสอนข้อใดทาให้แก้ไขได้ตรง จุด เพ่อื ความสมบูรณ์ของการสอนครงั้ ต่อไป 13. เปน็ การสอนทีผ่ ู้สอน สอนดว้ ยวิญญาณความเป็นครู สอนด้วยความกระตือรอื ร้นสอน ดว้ ยความตั้งใจ ความเต็มใจ และความมัน่ ใจ บคุ ลิกภาพทา่ ทีการแสดงออกของผู้สอน สรุปได้ว่า ลักษณะการจัดการเรียนรู้ท่ีดีเป็นกระบวนการจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ ด้วยวิธีการต่างๆ เพ่ือตอบสนองความสามารถของผู้เรียน ที่จะส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดพัฒนาการในแต่ละด้านท้งั ทางรา่ งกาย และจติ ใจ เพ่ือใหผ้ เู้ รียนเกดิ การพัฒนาไปตามเปา้ หมาย

-23- 1.6 องคป์ ระกอบกำรจดั กำรเรยี นรู้ องค์ประกอบในการจัดกระบวนการเรียนรู้เป็นส่วนสาคัญที่จะทากระบวนการจัดการเรียนรู้ของ ครูผู้สอนที่ทาหน้าท่ีจัดการเรียนเรียนรู้ให้กับผู้เรียน เพื่อที่จะบรรลุตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ องค์ประกอบการ เรียนรู้จึงจาเป็นท่ีจะต้องมีครบทุกๆองค์ประกอบ จึงได้มีนักวิชาการหลายท่านได้ให้แนวคิดขององค์ประกอบ การจัดการเรยี นรู้ ไว้ดงั นี้ พมิ พนั ธ์ เดชะคปุ ต์ (2551) ได้ใหแ้ นวคดิ ว่า การจัดการเรียนรู้ท่ีมีประสิทธภิ าพและบรรลุตาม เป้าหมาย ประกอบดว้ ยองค์ประกอบในการจัดการเรยี นรู้ ดังน้ี 1. กาหนดวัตถปุ ระสงค์หรือจดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม ซึ่งควรกาหนดใหค้ รบทง้ั ด้านความรู้ (K) กระบวนการ (P) และคณุ สมบตั ิหรือคณุ ลักษณะทพ่ี งึ ประสงค์ (A) 2. กาหนดเนือ้ หาสาระให้สอดคล้องหรอื ลอ้ ไปกับวัตถุประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม ในแต่ละวัตถุประสงค์ สาระท่ีระบุอาจเป็นข้อเท็จจริง (Fact) มโนทัศน์ (Concept) คานิยาม (Definition) หลกั การ (Principle) กฎ (law) และทฤษฎี (Theory) 3. กาหนดยุทธศาสตร์การสอนว่า ต้องการใช้หรือเน้นทฤษฎีการเรียนรู้หลักการเรียนรู้ หรือแนวคิดใด ที่เหมาะสมกับเนื้อหา เหมาะสมกับความสามารถของผู้เรียน บริบทของแหล่งการจัดการเรียน การสอน โดยเน้นครูเป็นศูนย์กลางบ้าง เน้นนักเรียนเป็นศูนย์กลางบ้าง หรือเน้นสื่อเป็นศูนย์กลางบ้าง โดยถือ ประโยชนน์ ักเรยี นเปน็ สาคัญ จากนั้นจงึ เลือกใชร้ ูปแบบการสอน หรอื วิธีสอนเทคนิคการสอน หรอื ใหใ้ ชแ้ บบผสานให้เหมาะสมกบั เน้อื หาและบรบิ ท 4. จดั กิจกรรมการเรยี นการสอนทีเ่ นน้ ผเู้ รียนเป็นศูนยก์ ลาง 5. กาหนดวิธีวัดผลการเรียนรู้ที่หลากหลายวธิ ี กาหนดเคร่ืองมือผู้วัด เป็นการวัดผลที่เนน้ นกั เรยี นเป็นศูนยก์ ลาง เสาวลักษณ์ รัตนวิชช์ (2551) ได้ให้แนวคิดว่า การจัดการเรียนรู้ที่ประสบผลสาเร็จควร คานงึ ถงึ องคป์ ระกอบสาคญั 5 ประการ ดงั นี้ 1. หลักการและแนวทฤษฎีของวิชาท่ีทาการสอน (Approach) ศึกษาหลักการทฤษฎีของ วิชาท่ีทาการสอนอย่างละเอียด และการศึกษาผู้เรียนแต่ละคน โดยพิจารณาหลักการและเหตุผลของแนวโน้ม ในการจดั การเรยี นการสอนที่เหมาะสมกบั ผเู้ รียนแตล่ ะคนจากตารา หรือผลงานวจิ ยั ตา่ งๆ จากอดีตถึงปจั จุบัน 2. วิธีการสอน (Method of Teaching) ศึกษาแนวโน้มของหลักการและทฤษฎีหรือ ผลงานวจิ ยั วิธีการสอนท่ีได้ผลของวชิ าที่ทาการสอนทเ่ี หมาะสมและจัดลาดับข้นั ตอนการสอนให้สอดคล้องตาม แนวโนม้ ของหลักการและทฤษฎีท่ไี ด้ศกึ ษา 3. เทคนิคการสอน (Techniques of Teaching) ศึกษากลวิธีการสอนต่างๆ ที่จะช่วยทา ให้ข้ันตอนการสอนต่างๆ ประสบความสาเร็จได้ เช่น วิธีการสอนโดยใช้การเรียนรู้ด้วยคาถามเป็นหลัก (Problem-Based Learning) เทคนิคหรือกลวิธีการสอนท่ีสาคัญคือการใช้คาถาม การนาการอภิปราย การ เสรมิ ตอ่ การเรยี นรู้ ฯลฯ

-24- 4. หลักสูตร (Curriculum) ผู้เรียนต้องเข้าใจรายละเอียดของหลักสูตรต้ังแต่ ปรัชญา หลักการ วตั ถุประสงค์ รายละเอยี ดของรายวิชาที่กาหนด รวมทงั้ การวัดและ ประเมินผล เพ่ือการวางแผนการจัดการเรยี นการสอนทม่ี ีประสิทธภิ าพท้งั ในระยะยาวและระยะสน้ั 5. สื่อการเรียนการสอน อุปกรณ์การสอน (Teaching Materials) การเตรียมการเพื่อ นาเสนอเน้ือหาแก่ผู้เรียนเป็นเร่ืองสาคัญท่ีต้องมีการวางแผน และการเตรียมการว่าจะนาเสนอเน้ือหา หรือ แนวคิดอย่างไรจึงจะเหมาะสม สื่อการเรียนการสอน และอุปกรณ์ใดบ้างท่ีสมควรนามาใช้ให้เหมาะสมกับวัย ระดับความสามารถและความสนใจ สอดคลอ้ งกับเนอื้ หาตามวตั ถุประสงคข์ องหลกั สตู ร สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน (2553) ได้ให้แนวคิดว่า การจัดการเรียนรู้ของ ครูผู้สอนจะต้องประกอบไปดว้ ย 1. การสารวจประสบการณ์การเรียนรู้ของผู้เรียน ครูผู้สอนควรคานึงว่าผู้เรียนแต่ละคนมี วิธีการเรียนรู้ (Learning Styles) แตกต่างกัน ดังนั้นครูผู้สอนจะต้องให้เวลาในการเรียนรู้และให้โอกาสกับ ผู้เรียนได้ค้นพบวิธีการเรยี นรูข้ องตนเอง จึงจะเป็นสิ่งที่มีคุณค่าและทาให้การเรียนรู้นั้นมีความหมายต่อผู้เรยี น ดว้ ยเหตนุ ้ีครผู สู้ อนควรดาเนินการดงั นี้ 1.1 ศึกษา วิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล เพื่อนาข้อมูลมาใช้ในการวางแผนการ จัดการเรียนรู้ที่ท้าทายความสามารถของผู้เรียนโดยคานึงถึงลักษณะการเรียนรู้ของผู้เรียนแต่ละคนท่ีมีภูมหิ ลัง สติปัญญา ความสามารถ ความถนัด รปู แบบการเรยี นรูค้ วามสนใจ และความต้องการทีแ่ ตกต่างกันและจัดการ เรียนรู้ให้เหมาะสมกับพื้นฐานของผูเ้ รียน ลักษณะของผู้เรียน และสนองความต้องการของผู้เรียน ซ่ึงจะช่วยให้ ผเู้ รยี นเกิดการเรียนร้ไู ดด้ ี มพี ัฒนาการทเ่ี ปน็ ไปตามความสามารถและเตม็ ตามศักยภาพของแตล่ ะคน 1.2 กาหนดเป้าหมายท่ตี อ้ งการให้เกดิ ข้ึนกับผเู้ รยี นดา้ นความรู้ ทักษะ กระบวนการ ทจ่ี ะนาไปใชใ้ นการจัดการเรยี นรู้ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 2. การบูรณาการและการถ่ายโยงความรู้ ครูผสู้ อนควรไดบ้ ูรณาการสิ่งท่ีต้องการให้ผู้เรียน ได้เรียนรู้เชื่อมโยงกับประสบการณ์เดิมของผู้เรียน นาไปประยุกต์ใช้อย่างสร้างสรรค์และสามารถแก้ปัญหาใน ชวี ติ จริงได้ ในการจดั กจิ กรรมการเรยี นรูค้ รูผสู้ อนควรดาเนินการดงั นี้ 2.1 ออกแบบหนว่ ยการเรยี นรแู้ ละจัดการเรียนรทู้ ี่เน้นผูเ้ รียนเป็นสาคัญ ตอบสนองความแตกต่าง ระหวา่ งบุคคล สอดคล้องกับพัฒนาการทางสมองและเน้นคุณธรรม จรยิ ธรรมเพี่อนา ผู้เรยี นไปสู่เป้าหมายการเรยี นรตู้ ามมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวช้ีวดั ของหลกั สตู ร 2.2 จดั บรรยากาศที่เอ้อื ต่อการเรียนรู้ และดแู ลช่วยเหลอื ผ้เู รยี นใหเ้ กิดการเรียนรู้ 2.3 จัดเตรียมและเลือกใช้สื่อให้เหมาะสมกับกิจกรรม นาภูมิปัญญาท้องถิ่น และ เทคโนโลยีทเี่ หมาะสมมาประยกุ ตใ์ ช้ในการจัดการเรียนรู้ 2.4 ประเมินความก้าวหน้าในการเรียนรู้ของผเู้ รียนด้วยวธิ ีการท่ีหลากหลายเหมาะสม กบั ธรรมชาติ ของวชิ าในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ และระดับพฒั นาการของผ้เู รยี น 2.5 วเิ คราะห์ผลการประเมิน เพ่ีอนาผลมาใช้ในการซ่อมเสริมและพัฒนาผู้เรียนรวมท้ัง ปรบั ปรุงการจัดการเรียนร้ขู องตนเองด้วยกระบวนการวจิ ัย

-25- ทิศนา แขมมณี (2555) ไดใ้ หแ้ นวคดิ ว่า การจดั การเรียนรู้ของครผู สู้ อนประกอบไปดว้ ย 1. พจิ ารณาหลักสูตร ปัญหาความตอ้ งการของผูเ้ รยี น ผ้สู อน 2. กาหนดเน้อื หาและมโนทศั น์ 3. กาหนดวตั ถุประสงค์ 4. กาหนดยทุ ธศาสตร์หรอื ยุทธวิธใี นการสอน 5. จัดกจิ กรรมการเรียนการสอนและสอ่ื 6. การวดั และประเมนิ ผลการเรียนการสอน Klausmeier และ Ripple (1971) ไดใ้ ห้แนวคิดวา่ แนวทางการจดั การเรยี นรู้ของครผู สู้ อน มี 7 องคป์ ระกอบดงั นี้ 1. การกาหนดจุดมุง่ หมายของการจดั การเรียนรู้ 2. การพิจารณาความพร้อมของผู้เรียน 3. การจดั เน้อื หาวิชา วสั ดุอปุ กรณ์ประกอบการจัดการเรยี นรู้ 4. การจดั กจิ กรรมการจดั การเรียนรู้ 5. การดาเนนิ การจัดการเรยี นรู้ 6. การวดั และการประเมนิ ผลการจัดการเรียนรู้ 7. ผลสัมฤทธิ์ของผู้เรยี น

-26- 2. นวตั กรรมกำรสอน (Instructional Innovation) 2.1 ควำมหมำยของนวตั กรรมกำรสอน ในการพฒั นาการเรยี นการสอนให้มีประสิทธภิ าพ และเพ่ือใหเ้ กิดประสิทธผิ ลในบน้ั ปลายนน้ั จาเปน็ อย่างยง่ิ ทผี่ สู้ อนจะตอ้ งพยายามค้นคว้าวิธีการใหม่ๆ ทค่ี ดิ คน้ ขึ้นในรปู แบบต่างๆ นนั้ คือ นวัตกรรมทาง การศึกษา เพอ่ื ใหเ้ กิดความเข้าใจตรงกันผ้วู จิ ยั ขอนาเสนอความหมายของของนวัตกรรมการสอน ดังนี้ สมเดช สแี สง และคณะ (2543) ได้ใหค้ วามหมายวา่ ส่ิงประดษิ ฐห์ รอื วิธกี ารใหมๆ่ หรือปรบั ปรงุ ของเกา่ ให้เหมาะสมโดยมีการทดลองหรือพัฒนาจนเป็นท่นี ่าเชอื่ ถือไดว้ า่ จะมีผลดีในทางปฏิบัตสิ ามารถนาไปใช้ ในระบบได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ กีรติ ยศยง่ิ ยง (2552) ได้ใหค้ วามหมายว่า นวัตกรรม เปน็ กระบวนการสรา้ งสรรค์ คดิ คน้ พฒั นา สามารถนาไปปฏิบตั ิจริงและมีการเผยแพรอ่ อกสู่ชมุ ชน ในลกั ษณะเป็นของใหมท่ ี่ไม่เคยมีมาก่อน หรอื ของเก่าท่ี มีอยแู่ ต่เดมิ แตไ่ ดร้ ับการปรับปรุงเสริมแตง่ พฒั นาขึ้นใหม่ให้มีมลู ค่าทางเศรษฐกิจ อัจศรา ประเสริฐสนิ (2560) ไดใ้ ห้ความหมายว่า นวตั กรรมทางการศกึ ษาคอื การสร้างสือ่ ใหม่ท่ี ช่วยให้นกั เรียนไดร้ บั ความร้คู วามเข้าใจในบทเรียนได้ง่าย เห็นได้จริงในการใช้ในชีวิตประจาวนั เพ่ือให้ได้ ประโยชน์ในการเรยี นสูงสุด เปน็ ได้ทั้งสือ่ ส่ิงพมิ พแ์ ละสอื่ อเิ ล็กทรอนิกส์ เทพสดุ า จิวตระกลู (2560) ไดใ้ ห้ความหมายวา่ นวัตกรรมทมี่ ลี กั ษณะมคี วามนา่ สนใจ เชน่ มีการ ใชเ้ กมและภาพประกอบเพ่อื ใหน้ ักเรยี นมสี ว่ นร่วมปฏบิ ัตกิ จิ กรรมนนั้ ๆ ด้วยตนเอง มีการนาส่ือเทคโนโลยที ี่ ทันสมัยมาใช้ประโยชน์ในการเรียนการสอน 2.2 ควำมสำคญั ของนวัตกรรมกำรสอน ความสาคญั ของนวตั กรรมการสอน ก็คือ สามารถนามาใช้ให้เกดิ ประโยชน์ในวงการศกึ ษาสรปุ ไดด้ งั นี้ 1. เพือ่ นานวตั กรรมมาใช้แกป้ ัญหาในเรอื่ งการเรียนการสอน เช่น 1.1 ปัญหาเรอ่ื งวธิ ีการสอน ปัญหาทมี่ ักพบอย่เู สมอ คือ ครูสว่ นใหญ่ยงั คงยดึ รูปแบบการ สอนแบบบรรยาย โดยมีครเู ป็นศนู ย์กลางมากกวา่ การสอนในรปู แบบอน่ื การสอนดว้ ยวิธกี ารแบบน้ีเปน็ การ สอนทข่ี าดประสิทธิภาพและประสทิ ธผิ ลในบั้นปลาย เพราะนอกจากจะทาใหน้ ักเรียนเกิดความเบอื่ หนา่ ย ขาด ความสนใจแลว้ ยงั เป็นการปิดกน้ั ความคิดและสติปัญญาของผู้เรยี นให้อยู่ในขอบเขตจากดั อีกดว้ ย 1.2 ปญั หาด้านเนอื้ หาวชิ า บางวิชาเนอ้ื หามากและบางวิชามเี นือ้ หาเปน็ นามธรรม ยากแก่ การเขา้ ใจ จงึ จาเป็นจะต้องนาเทคนิคการสอนและสอื่ มาชว่ ย 1.3 ปญั หาเรื่องอุปกรณก์ ารสอน บางเนือ้ หามสี ่ือการสอนเปน็ จานวนนอ้ ยไมเ่ พยี งพอต่อ การนาไปใช้ เพื่อทาใหน้ ักเรียนเกิดความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาวิชาไดง้ า่ ยข้ึนจงึ จาเป็นต้องมีการพัฒนาคิด ค้นหาเทคนิควธิ ีการสอนและผลติ สื่อการสอนใหม่ๆ เพ่ือนามาใชท้ าให้การเรียนการสอนบรรลเุ ปา้ หมายได้ 2. เพอื่ นานวตั กรรมไปใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอน ใหม้ ปี ระสิทธิภาพย่งิ ข้ึนและเป็น

-27- ประโยชน์ตอ่ การศกึ ษา โดยการนาส่งิ ประดิษฐห์ รือแนวความคิดใหม่ๆ ในการเรียนการสอนนั้นเผยแพร่ไปสู่ ผูส้ อน ทา่ นอน่ื ๆ หรือเพ่ือเป็นตัวอย่างอีกรูปแบบหนง่ึ ใหก้ บั ผสู้ อนท่ีสอนในวชิ าเดยี วกนั ไดน้ าแนวความคดิ ไป ปรับปรุงใชห้ รอื ผลิตสือ่ การสอนใหม่ๆ เพอื่ นามาใช้ในการพฒั นาการเรียนการสอนต่อไป 2.3 ประเภทของนวตั กรรมกำรสอน เกริก ท่วมกลาง และคณะ (2552) กล่าวถึงการจาแนกประเภทของนวัตกรรมการศึกษาว่า นวตั กรรมทางการศึกษาได้มีผู้คิดพฒั นาขน้ึ มาเปน็ จานวนมาก สามารถจาแนกไดด้ ังน้ี 1. จาแนกตามผู้ใช้ประโยชนโ์ ดยตรง แบง่ เปน็ 2 ประเภท คือ 1) ประเภทส่อื สาหรบั ครู ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ คูม่ ือครู เอกสารประกอบการ สอนเคร่ืองมือวัดผล อปุ กรณ์โสตทศั นวสั ดุ 2) ประเภทสอื่ สาหรบั นักเรียน ไดแ้ ก่ บทเรียนสาเรจ็ รปู เอกสารประกอบการเรียน ชดุ ฝึกปฏบิ ัติ ใบงาน ชุดเพลง ชุดเกม การ์ตูน 2. จาแนกตามลักษณะของนวัตกรรม แบ่งเป็น 2 ประเภท คอื 1) ประเภทเทคนิควิธีการหรือกิจกรรม เชน่ บทบาทสมมุติ การสอนแบบศนู ยก์ าร เรียนการสอนความคดิ รวบยอดด้วยวธิ สี อนอุปนัยและนิรนัย ฯลฯ 2) ประเภทสื่อการเรียนการสอน เช่น บทเรยี นสาเร็จรปู ชดุ การสอน ชดุ สือ่ ประสม บทเรยี นโมดลู วดี ีทศั น์ เกม เพลง ใบงาน 2.4 กำรนำนวัตกรรมกำรสอนไปใช้ ทศิ นา แขมมณี (2557) อธบิ ายว่าการนานวัตกรรมการสอนไปใชใ้ นแก้ปัญหาหรอื พัฒนาการ เรยี นการสอนให้เกิดประโยชน์สูงสุดนนั้ จาเป็นอย่างยง่ิ ที่ผู้สอนจะต้องพจิ ารณาลกั ษณะตา่ งๆ ต่อไปน้ี 1. เป็นนวตั กรรมทไี่ ม่ซบั ซ้อนและยุ่งยากจนเกนิ ไป ใช้ง่าย ใชส้ ะดวก 2. เปน็ นวัตกรรมท่ีไม่เสยี คา่ ใช้จ่ายเยอะเกนิ ไป 3. เป็นนวัตกรรมทสี่ าเรจ็ รปู อานวยความสะดวกในการใช้งาน 4. เป็นนวัตกรรมทไ่ี มก่ ระทบกระเทือนบริบทเดิมมากนัก 5. เป็นนวัตกรรมท่ไี มม่ คี นเก่ยี วข้องมากนัก 6. เปน็ นวตั กรรมที่ใหผ้ ลชดั เจน กิดานนั ท์ มลทิ อง (2543) ได้เสนอแนะวา่ การนานวัตกรรมไปใชใ้ นการจดั การเรยี นการสอน ผู้สอนต้องคานึงถึงส่งิ ตา่ ง ๆ ดังน้ี 1. นวัตกรรมท่ีนามาใช้นนั้ ต้องมจี ดุ เด่นท่ีเหน็ ไดช้ ัดเจนกว่าวสั ดุ อปุ กรณ์ หรอื วธิ ีการที่ใชอ้ ย่ใู น ปัจจบุ ันมากนอ้ ยเพียงใด 2. นวัตกรรมนน้ั มีความเหมาะสมหรือไม่กบั ระบบหรือสภาพทีเ่ ป็นอยู่ 3. มีกรณวี ิจยั หรือการศึกษายืนยนั แน่นอนแล้วว่า สามารถนามาใชไ้ ด้ดีในสภาพสภาวการณ์

-28- ท่คี ล้ายคลึงกนั 4. นวัตกรรมน้นั มคี วามเกยี่ วข้องกับความต้องการของผใู้ ช้อยา่ งจริงจัง 2.5 นวตั กรรมกำรสอนพุทธประวตั ิแสนงำ่ ยผ่ำนTimeline ดว้ ยเทคโนโลยคี ิวอำร์โคด้ นวัตกรรมการสอนพุทธประวัติแสนง่ายผ่านTimeline ด้วยเทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด (QR Code) เรอื่ งพทุ ธประวัติ คอื เคร่อื งมือ หรอื สอ่ื ท่ีช่วยในการจัดกระบวนการเรยี นการสอนสาหรับนักเรียนทจ่ี ะชว่ ยสรุป เนื้อหาเก่ียวกับพุทธประวัติให้มีความกระชับ เข้าใจง่าย และมีความทันสมัยเหมาะกับสถานการณ์การจัด กิจกรรมการเรียนการสอนในปัจจุบัน และสอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน ซ่ึงมีรายละเอียดการ ดาเนนิ การแบ่งออกเปน็ 2 ระยะ ดงั นี้ ระยะที่1 สร้าง และพฒั นานวัตกรรมการสอนพุทธประวัติแสนง่ายผา่ นTimeline ดว้ ยเทคโนโลยคี ิว อาร์โค้ด (QR Code) ระยะท2ี่ นานวัตกรรมการสอนพุทธประวัตแิ สนง่ายผา่ นTimeline ดว้ ยเทคโนโลยีคิวอาร์โคด้ (QR Code) มาใช้ในกระบวนการจัดการเรียนการสอน เพื่อยกระดับผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นของนกั เรียน ระยะที่1 สรำ้ ง และพฒั นำนวตั กรรมกำรสอนพทุ ธประวัติแสนงำ่ ยผ่ำนTimeline ดว้ ยเทคโนโลยีคิวอำร์ โค้ด (QR Code) 1 ศกึ ษำควำมเปน็ มำและสภำพปัญหำ ครผู ู้สอนไดด้ าเนนิ การศกึ ษาความเป็นมาและสภาพปญั หาของกระบวนการจัดการเรยี นการ สอนในรายวชิ าสงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม โดยเฉพาะสาระท่ี1 ศาสนา ศลี ธรรม จรยิ ธรรม เรื่องพทุ ธ ประวัติ จนทาใหท้ ราบถงึ ความเป็นมาและสภาพปญั หาทสี่ ง่ ผลใหค้ รูผสู้ อนได้คิดค้นนวัตกรรมเพ่ือใชใ้ นการ แก้ปญั หา จนนามาสู่การดาเนินการในครงั้ นี้ 2 คิดค้นนวัตกรรม ครผู สู้ อนได้ศกึ ษาเอกสาร ตารา เก่ยี วกับการสรา้ งนวตั กรรม เพอื่ ถอดบทเรียนในการนาองค์ ความรู้ในการสร้างสรรคน์ วตั กรรมมาใชใ้ นการออกแบบนวัตกรรมการจัดการเรยี นการสอนใหม้ ีความเหมาะสม และสอดคล้องกับสภาพปัญหาท่พี บจึงนาไปสกู่ ารคิดคน้ นวัตกรรมการสอนพุทธประวัตแิ สนงา่ ยผา่ นTimeline ด้วยเทคโนโลยคี วิ อารโ์ ค้ด (QR Code) 3 กำรออกแบบนวตั กรรมและจดั ทำนวัตกรรม หลงั จากครูผ้สู อนได้ศึกษาความเป็นมาและสภาพปัญหา จนทาใหท้ ราบถงึ ตน้ ตอของปญั หา และได้ศกึ ษาเอกสาร ตารา เกี่ยวกับการสร้างนวตั กรรม เพื่อถอดบทเรยี นในการนาองค์ความรูใ้ นการ สร้างสรรคน์ วัตกรรมมาใชใ้ นการออกแบบนวตั กรรมการจัดการเรียนการสอนให้มีความเหมาะสม และ สอดคลอ้ งกบั สภาพปัญหาทข่ี ึ้น จงึ ได้ออกแบบนวตั กรรมการสอนพทุ ธประวตั ิแสนงา่ ยผา่ นTimeline ดว้ ย

-29- เทคโนโลยคี วิ อาร์โคด้ (QR Code) เมื่อออกแบบนวตั กรรมเรยี บรอ้ ย ครูผู้สอนจึงได้ลงมือจดั ทานวัตกรรมการ สอนพุทธประวัตแิ สนง่ายผ่านTimeline ด้วยเทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด (QR Code) ข้ึนจนสาเร็จพรอ้ มทจ่ี ะ นาไปใชก้ บั ผู้เรียน ภาพประกอบ 4 นวัตกรรมพุทธประวตั ผิ ่านTimeline ดว้ ยเทคโนโลยีควิ อารโ์ คด้ (QR Code) ระยะที่2 นำนวัตกรรมกำรสอนพุทธประวตั ิแสนง่ำยผ่ำนTimeline ด้วยเทคโนโลยคี ิวอำร์โคด้ (QR Code) มำใชใ้ นกระบวนกำรจดั กำรเรียนกำรสอน เพ่ือยกระดบั ผลสมั ฤทธทิ์ ำงกำรเรยี นของนักเรียน 1. นำนวตั กรรมไปทดลองใช้ เม่อื ออกแบบและจัดทานวตั กรรมเสรจ็ เรียบรอ้ ย ครูผูส้ อนจึงนาเคร่อื งมือ หรือนวตั กรรมทไ่ี ด้ ไปทดลองใชก้ ับผเู้ รียน ในระดับชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี4-6 เพ่ือวเิ คราะห์ถงึ ข้อดี-ข้อเสีย และสิง่ ท่ีต้องปรับปรุงเมื่อ นานวัตกรรมที่สร้างขน้ึ ไปใชจ้ รงิ หลงั จากทดลองใช้ครูผู้สอนจงึ นาผลจากการทดลองใช้นวตั กรรมไปปรบั ปรุง แกไ้ ขใหด้ ีขึ้นในลาดบั ต่อไป 2. ปรับปรุงแกไ้ ขหลงั ทดลองใช้นวัตกรรม ครูผู้สอนนานวัตกรรมมาปรับปรุงแก้ไขให้ดีข้นึ หลังจากการทดลองใชเ้ พ่อื ใหม้ ีความเหมาะสม กบั บริบทของผู้เรยี นในปจั จุบันและเหมาะสภาพปัญหา 3. นำนวตั กรรมไปสู่ห้องเรยี น นานวัตกรรมหลงั จากการปรับปรงุ แก้ไขไปใชก้ บั กลุม่ เปา้ หมาย คอื นักเรยี นช้ันประถมศึกษาปี ท5่ี พร้อมวเิ คราะห์การใช้นวัตกรรมของผเู้ รยี นเปน็ รายบุคคลวา่ มคี วามสอดคลอ้ ง ตรงตามความต้องการของ กลมุ่ เปา้ หมายมากน้อยเพียงใด

-30- 4. ประเมิน/สรปุ ผล หลังจากการนานวัตกรรมไปใช้จริงในกระบวนการจัดการเรียนการสอนรายวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สาระท่ี1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม เรื่องพุทธประวัติ ครูผู้สอนได้ดาเนินการวัดและ ประเมนิ ผลเพือ่ เปรยี บเทยี บระหวา่ งผลการทดสอบก่อนเรียนหรือก่อนใช้นวตั กรรม และหลังเรยี นหรอื ภายหลัง การนานวัตกรรมการสอนพุทธประวัติแสนง่ายผ่านTimeline ด้วยเทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด (QR Code) ไปใช้ใน กระบวนการจัดการเรียนการสอน ทาให้ทราบถึงข้อแต่งต่างและความเป็นไปได้ในการนานวัตกรรมการสอน พุทธประวัติแสนง่ายผ่านTimeline ด้วยเทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด (QR Code) มาใช้ในกระบวนการจัดการเรียน การสอนเพ่ือเพ่ิมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สาระท่ี1 ศาสนา ศลี ธรรม จรยิ ธรรม เรื่องพทุ ธประวัติ ให้ดขี ึ้นและมีคุณภาพมากยงิ่ ข้ึน 5. รำยงำนผลกำรดำเนินกำร หลังจากประเมินผลการใช้นวัตกรรมในกระบวนการจัดการเรียนการสอนเพ่ือหาคุณภาพของ นวัตกรรม ทาให้ทราบถึงข้อแตกต่างในการจัดกระบวนการเรียนการสอนแบบเดิมคือผู้เรียนท่องจาประวัติ ความเป็นมาของศาสนาพุทธตามแบบเรียนซึ่งมีเน้ือหาจานวนมาก และกระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีใช้ นวัตกรรมการสอนพุทธประวัติแสนง่ายผ่านTimeline ด้วยเทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด (QR Code) พร้อมขยายผล การนานวตั กรรมไปใชใ้ นกระบวนการจดั การเรยี นการสอนรายวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม เรอื่ งพทุ ธประวัติ ในระดับชัน้ อน่ื ๆ และปรับใช้กบั รายวิชาอ่ืนๆต่อไป

ระยะกำรดำเนินกำร -31- ผลท่ีคำดหวัง ข้นั ตอนกำรดำเนินกำร สร้าง และพัฒนานวัตกรรม 1. ศึกษาความเปน็ มาและสภาพปญั หาของ ทราบถงึ ความเปน็ มาและสภาพปญั หา การจัดการเรียนการสอน กระบวนการจดั การเรียนการสอนในรายวิชา ของกระบวนการจัดการเรียนการสอน “พุทธประวัติแสนง่ายผ่าน สงั คมศกึ ษาเรอ่ื งพทุ ธประวัติ ในรายวิชาสงั คมศึกษาเร่ืองพุทธประวัติ Timeline” 2. คดิ คน้ นวตั กรรม ศึกษาเอกสาร ตารา และได้นวตั กรรม “พุทธประวตั ิแสนงา่ ย เพ่อื ถอดบทเรียนในการนาองคค์ วามรู้ในการ ผา่ นTimeline” สรา้ งสรรคน์ วตั กรรม 3. ออกแบบนวตั กรรม “พุทธประวตั ิแสน งา่ ยผ่านTimeline” จนสาเร็จพรอ้ มทจ่ี ะ นาไปใช้กบั ผูเ้ รยี น นานวัตกรรม“พุทธประวัติ 4. ครูผสู้ อนจึงนาเครอ่ื งมอื หรอื นวตั กรรมทไี่ ดไ้ ป นานวัตกรรมไปใชก้ บั กลุม่ เป้าหมาย แสนง่ายผ่านTimeline”มา ทดลองใช้กบั ผเู้ รียน ในระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี มกี ารดาเนินการวดั และประเมินผล ใช้ในกระบวนการจัดการ 4-6 เพื่อวเิ คราะห์ถึงขอ้ ดีขอ้ เสีย และส่ิงทตี่ อ้ ง ขยายผลการนานวตั กรรมไปใชใ้ น เรยี นการสอน ปรับปรุง กระบวนการจดั การเรียนการสอนใน 5. นานวตั กรรมมาปรับปรงุ แกไ้ ขใหด้ ีข้นึ หลงั จาก ระดบั ชน้ั อ่ืนๆ การทดลองใชเ้ พอ่ื ใหม้ ีความเหมาะสมกับบริบทของ ผูเ้ รยี นในปัจจบุ นั และเหมาะสภาพปัญหา 6. นานวตั กรรมหลงั จากการปรบั ปรุงแก้ไขไปใชก้ ับ กลุ่มเปา้ หมาย คอื นักเรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปีท5่ี 7.ครผู สู้ อนไดด้ าเนินการวัดและประเมินผลเพ่อื เปรียบเทยี บระหว่างผลการทดสอบก่อนเรยี นหรอื กอ่ นใชน้ วัตกรรม และหลงั เรยี นหรือภายหลังการ นานวตั กรรม“พุทธประวัติแสนง่ายผ่านTimeline” 8. ขยายผลการนานวัตกรรมไปใช้ในกระบวนการ จดั การเรียนการสอนในระดับช้นั อืน่ ๆ ตอ่ ไป ภาพประกอบ 5 แสดงระยะการดาเนนิ การ ข้นั ตอนดาเนนิ การ และผลทคี่ าดหวังของนวตั กรรม

-32- 3. งำนวิจัยท่เี กี่ยวข้อง นภดล เหลอื งภิรมย์ (2550) ได้ทาวจิ ัยเรื่อง การจดั การนวัตกรรม : การพฒั นาตวั แบบความสามารถ ในการสร้างสรรค์นวัตกรรมของนักวิจัย เพื่อค้นหาปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อความสามารถในการสร้างสรรค์ นวัตกรรมของนักวิจัย โดยใช้ข้อมูลทุติยภูมิ และปฐมภูมิ เช่น การค้นคว้าวรรณกรรมและเอกสารต่างๆ เพ่ือ กาหนดแนวคิด การสัมภาษณ์ผู้บริหาร องค์การนวัตกรรมการใช้สถิติในการวิเคราะห์และประเมินผลจาก แบบสอบถามที่ตอบกลับจากนักวิจัย เช่น การทดสอบความเชื่อถือได้ (reliability test) ของแบบสอบถาม การทดสอบความเที่ยงตรง (validity test) ของแบบสอบถาม การวิเคราะห์ปัจจัย (factor analysis) การ วิเคราะห์สหสมั พนั ธ์ (correlation) และการวิเคราะหถ์ ดถอยพหุ (multiple regression) ผลที่ได้จากการวิจัยเชิงคุณภาพ พบว่า แนวคิดการจัดการนวัตกรรมมี 5 แนวทาง คือแนวคิดการ จัดการนวัตกรรมเป็นการจัดการประดิษฐ์คิดค้น แนวคิดการจัดการนวัตกรรมเป็นการจัดการเทคโนโลยี แนวคิดการจัดการนวัตกรรมเป็นการจัดการตลาด แนวคิดการจัดการนวตั กรรมเป็นการจัดการความรู้ แนวคิด การจัดการนวัตกรรมเป็นการจัดการห่วงโซ่ความสัมพันธ์ แนวคิดต่างๆเหล่านี้ให้ความสาคัญกับทรัพยากร นวัตกรรม และองค์ประกอบในการจัดการนวัตกรรมที่แตกต่างกันอันแสดงให้เห็นและยืนยันว่า ทรัพยากร นวัตกรรมและองค์ประกอบในการจัดการนวัตกรรมทุกปัจจัยส่งผลกระทบต่อความสามารถในการสร้างสรรค์ นวัตกรรมของนักวิจัยผลการวิจัยทั้งเชิงคุณภาพและปริมาณ แสดงให้เห็นว่า การจัดการนวัตกรรมไม่ควรท่ีจะ พิจารณานวัตกรรมในลักษณะปรากฏการณ์แยกส่วนท่ีเกิดจากปัจเจกบุคคลเท่านั้น แต่ควรท่ีจะพิจารณา นวัตกรรมในลักษณะที่เป็นกระบวนการปฏิสัมพันธ์ ที่เก่ียวข้องไม่เพียงแต่ทุนท่ีจับต้องได้เท่านั้น แต่ยัง เกี่ยวข้องกับทุนที่จับต้องไม่ได้ท่ีเรียกว่า ทุนทางสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ทนทางสังคมเช่ือมโยง (bridging social capital) ที่มีบทบาทสาคัญในการส่งเสริมและกระตุ้นความสามารถของนักวิจัยในการแลกเปลี่ยน ความรูแ้ ฝงเรน้ ท่ีไมส่ ามารถอธบิ ายได้ดว้ ย ทฤษฏนี วัตกรรมกอ่ นหน้านี้ ขัตติยา กนกภากร (2551) ได้ทาการศึกษา เรื่องกระบวนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย อย่างมีคณุ ภาพ ของโรงเรียนวชิรมกุฎ ในชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 มีวตั ถุประสงค์เพ่ือปรับปรงุ กระบวนการจัดการ เรียนรู้วิชาภาษาไทย ผู้วิจัยได้นาแนวคิด ทฤษฎี การปรับปรุงกระบวนการอย่างมีคุณภาพ มาออกแบบใหม่ใน การจัดกระบวนการเรียนรู้ วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ในโรงเรียนวชริ มกุฎ ประชากรที่ใช้ในการวจิ ัย ครั้งนี้ประกอบด้วย 1) ครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย จานวน 2 คน 2) กลุ่มผู้เช่ียวชาญครูต้นแบบท่ี สอนภาษาไทย 2 คน 3) สามเณรชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 ปีการศึกษา 2550 จานวน 40 รูป ผลการวิจัยการ ปรับปรุงกระบวนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้กลุ่มสาระวิชาภาษาไทย ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 ของ โรงเรยี นวชริ มกุฎ สรุปดงั นี้ กระบวนการจัดการเรยี นรู้ท่ีออกแบบใหม่ มี 3 ขน้ั ตอนหลกั ได้แก่ 1) เตรียมความ พร้อม มดี ัชนีวัดคุณภาพ จานวน 2 ดชั นีวัด 2) จดั การเรียนการสอน มีดัชนวี ดั คุณภาพ จานวน 5 ดชั นวี ัด 3) ประเมนิ และปรับปรงุ จานวน 2 ดชั นวี ดั ผลการประเมินความเหมาะสมของกระบวนการเรียนรู้ที่ออกแบบใหม่ พบวา่ ผูเ้ ชีย่ วชาญร่วมกนั พิจารณา และมมี ตเิ อกฉนั ท์ให้นาไปใช้ในการจัดการเรยี นรู้ได้โดยให้พฒั นาแบบฟอร์ม ท่ีเก่ยี วขอ้ งทงั้ 3 กระบวนการยอ่ ย

-33- กนกวรรณ คันธากร, กัลยารัตน์ เศวตนันทน์ (2552) เร่ือง การพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้น ผู้เรียนเป็นสาคัญโดยใช้ภาระงานเป็นฐาน เพ่ือพัฒนาทักษะการฟัง-พูด ในรายวิชาภาษาอังกฤษ 2 พบว่า ความสามารถในการฟัง-พูดภาษาอังกฤษของผู้เรยี นสูงข้ึน หลังการใช้นวตั กรรมการจัดการเรยี นรทู้ ี่เน้นผู้เรียนเป็น สาคญั โดยใชภ้ าระงานเป็นฐาน ช่วงโชติ พันธุเวช (2555) ได้ทาการวิจัยเร่ืองการพัฒนานวัตกรรมและรูปแบบการจัดการศึกษาด้วย การจัดการคุณภาพของสถานศึกษาข้ันพื้นฐานในเขตพ้ืนท่ีการศึกษาสมุทรสงครามผลการวิจัยพบว่า กระบวนการท่ีออกแบบใหม่ประกอบด้วยข้ันตอนการปฏบิ ัติงานหลัก 4 ขั้นตอน ได้แก่ 1) ข้ันวางแผน มีงานท่ี ต้องปฏิบัติ ได้แก่ การวิเคราะห์ความต้องการที่จาเป็นของผู้เรียน การวิเคราะห์สาเหตุแท้จริงของปัญหาที่ จาเป็นเร่งด่วน การกาหนดนิยามศัพท์เฉพาะ วัตถุประสงค์การวิจัยและการเตรียมนวัตกรรมและเครื่องมือวัด ประเมินผล 2) ข้ันปฏิบัติการตามแผน มีงานท่ีต้องปฏิบัติ คือ การใช้นวัตกรรมตามแบบแผนการวิจัยที่กาหนด ไว้ การวเิ คราะห์และนาเสนอผลตาม วรนิษฐา เลขนอก (2560) ได้ทาการศึกษา โปรแกรมการพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้สาหรับ สถานศึกษา สังกัดสานักงานการศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 6 ผู้วิจัยมีมีความมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษา สภาพ ปัจจุบันและสภาพท่ีพึงประสงค์ในการพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้สาหรับสถานศึกษา สังกัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 6 2) เพื่อพัฒนาโปรแกรมการพัฒนาครูด้านการ จัดการเรียนรู้สาหรับสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 6 ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพปัจจุบันและสภาพท่ีพึงประสงค์ในการพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้สาหรับ สถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 6 พบว่า 1.1) สภาพปัจจุบัน การพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้สาหรับสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา นครราชสีมาเขต 6 โดยรวมมีการปฏิบัติอยู่ในระดับมากและหลายด้านมีการปฏิบัติอยู่ในระดับมากทุกด้าน เรียงตามค่าเฉลยี่ มากไปหานอ้ ย 3 อนั ดบั แรก ได้แก่ ดา้ นการวัดและประเมินผลผเู้ รยี นตามสภาพจรงิ รองลงมา คือด้านการใช้รูปแบบและเทคนิควิธีการสอนอย่างหลากหลาย และด้านการพัฒนาส่ือและนวัตกรรม 1.2) สภาพท่ีพึงประสงค์การพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้สาหรับสถานศึกษา โดยรวมอยู่ในระดับมากท่ีสุดและ รายด้านอยู่ในระดับมากที่สุดทุกด้าน เรียงตามค่าเฉล่ียมากไปหาน้อย 3 อันดับแรก ได้แก่ ด้านการวัดและ ประเมินผลผู้เรียนตามสภาพจริงรองลงมา คือด้านการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับวัยผู้เรียน และด้านหลักสูตรและการบูรณาการเนื้อหาในกลุ่มสาระการเรียนรู้และด้านการใช้รูปแบบและเทคนิควิธีการ สอนอย่างหลากหลาย 2) โปรแกรมการพัฒนาครูด้านการจดั การเรียนรสู้ าหรบั สถานศกึ ษา สังกดั สานกั งานเขต พ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 6 พบว่า ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบหลักมีความเหมาะสม และความเปน็ ไปได้โดยรวมอยูใ่ นระดบั มากที่สุดทุกดา้ น และมคี วามเปน็ ไปไดอ้ ยูใ่ นระดับมากท่ีสดุ ทุกด้าน

-34- กรอบแนวคดิ ในกำรวจิ ัย จากการทบทวนแนวคิดและทฤษฎีข้างต้น แนวทางการจดั การเรยี นรู้ โดยใช้นวัตกรรมการสอนพุทธ ประวัติแสนงา่ ยผ่านTimeline ดว้ ยเทคโนโลยีควิ อาร์โค้ด (QR Code) เร่ืองพุทธประวตั ิ สาหรับนักเรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 5 โรงเรียนหนองอเิ ฒ่าวิทยา ปีการศึกษา 2564 แสดงดังภาพประกอบ 6 กำรจดั กำรเรียนรู้ นวตั กรรมการสอน 1. กาหนดวัตถปุ ระสงคห์ รอื จดุ มงุ่ หมาย 2. กาหนดเน้อื หาหรอื หลักสตู ร นวัตกรรมการสอนพุทธประวัตแิ สนง่ายผา่ นTimeline 3. การศึกษาผเู้ รียน ดว้ ยเทคโนโลยีควิ อาร์โคด้ (QR Code) เรือ่ งพุทธประวตั ิ 4. กาหนดยทุ ธวิธีในการสอน 5. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 6. การวัดและการประเมินผล การจัดการเรียนรู้ โดยใชน้ วัตกรรมการสอนพทุ ธประวตั ิแสนง่ายผา่ นTimeline ดว้ ย เทคโนโลยคี ิวอารโ์ ค้ด (QR Code) เรื่องพุทธประวัติ นกั เรียนช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 5 โรงเรยี นหนองอเิ ฒ่าวทิ ยา สังกัดสานักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศึกษากาฬสินธ์เุ ขต 2 ภาพประกอบ 6 กรอบแนวคิดทีใ่ ช้ในการวิจัย

-35- บทท่ี 3 วธิ ดี ำเนินกำรวิจัย การวจิ ยั เรือ่ ง การพัฒนาแนวทางการจัดการเรยี นรู้โดยใช้นวัตกรรมการสอนพทุ ธประวตั แิ สนง่ายผ่าน Timeline ดว้ ยเทคโนโลยคี วิ อารโ์ ค้ด (QR Code) เร่ืองพุทธประวตั ิ สาหรับนกั เรยี นช้นั ประถมศกึ ษาปีท่5ี โรงเรยี น หนองอิเฒา่ วทิ ยา ปีการศึกษา 2564 ครัง้ น้ี เป็นการวิจัยเชิงทดลองโดยดาเนินการวิจัย ดงั น้ี 1. ตัวแปร/สิง่ ทตี่ ้องกำรศกึ ษำ 1. การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้โดยใช้นวัตกรรมการสอนพทุ ธประวตั แิ สนง่ายผา่ นTimeline ด้วยเทคโนโลยี ควิ อาร์โค้ด (QR Code) เร่ืองพุทธประวตั ิ 2. ผลการจดั กระบวนการเรียนรโู้ ดยใช้นวตั กรรมการสอนพุทธประวตั แิ สนงา่ ยผ่านTimeline ด้วย เทคโนโลยีควิ อาร์โค้ด (QR Code) 2. กลมุ่ เปำ้ หมำย นกั เรียนชนั้ ประถมศึกษาปีที่5 จานวน 10 คน ปกี ารศกึ ษา 2564 โรงเรียนหนองอเิ ฒ่าวทิ ยา 3. เนอ้ื หำท่ใี ชใ้ นกำรวิจัย เน้ือหาทใี่ ชใ้ นการวิจัยเป็นส่วนหนง่ึ ของกลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สาระ ท่ี1 ศาสนา ศลี ธรรมจริยธรรม ระดบั ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี5 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุงพทุ ธศักราช 2560) เรื่องพทุ ธประวัติ 4. เครื่องมือท่ีใช้ในกำรวจิ ยั 1. เคร่อื งมือทใ่ี ช้ในกำรเรียนกำรสอน 1.1 แผนการจัดการเรียนรู้จานวน 3 แผน 3 ชั่วโมง เพ่ือใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดย ใช้นวัตกรรมการสอนพุทธประวัติแสนง่ายผ่านTimeline ด้วยเทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด (QR Code) เรื่องพุทธ ประวตั ิ

-36- ข้ันตอนกำรพัฒนำเครือ่ งมือ (แผนกำรจดั กำรเรียนรู้) การวางแผนการจดั การเรียนรู้ หมายถงึ การตีความหมายของหลักสตู ร และการ กาหนดรายละเอยี ดของหลักสตู รทีจ่ ะต้องนามาจดั กาเรียนการสอนให้แกผ่ ้เู รยี น ผลจากการวางแผนจะไดเ้ ป็น คู่มอื ทใ่ี ช้เปน็ แนวทาง เรยี กว่ากาหนดการสอน ประกอบด้วยกจิ กรรม ดังน้ี 1. ศึกษาวิเคราะห์หลักสูตร ได้แก่ หลักการ จุดหมาย โครงสร้าง เวลาเรียน แนว ทางการดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ตอบสนองจุดประสงค์การเรียนรู้ และจุดมุ่งหมายของ หลกั สตู ร การวดั และการประเมินการเรียน คาอธิบายในแต่ละกลุ่มประสบการณ์ ซึง่ ระบเุ น้ือหาทต่ี ้องให้ผู้เรียน ได้เรียน ตามลาดบั ขนั้ ตอนกระบวนการทตี่ ้องให้ผู้เรียนได้ฝึกปฏบิ ัติ และจดุ ประสงค์การเรียนรู้ทตี่ ้องการให้เกิด การเรียนรู้ 2. ศกึ ษาความสอดคลอ้ งสัมพนั ธก์ นั กบั องคป์ ระกอบแต่ละสว่ นของหลกั สตู ร 3. ลาดับความคิดรวบยอดที่จัดให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ก่อนหลัง โดยพิจารณาขอบข่าย เนื้อหา และกจิ กรรมท่ีกาหนดไวใ้ นคาอธบิ ายรายวิชา 4. กาหนดผลท่ีต้องการ เครื่องมือท่ีใช้ในการเรียนการสอนให้เกิดกับผู้เรียน เม่ือได้ เรียนรคู้ วามคิดรวบยอดแต่ละเรื่องแล้ว 5. กาหนดกิจกรรมการเรียนการสอนตามลาดับขั้นตอนที่กาหนดไว้ในคาอธิบาย รายวชิ า หรืออาจพจิ ารณาจากกจิ กรรมทเ่ี หมาะสมกับเนื้อหาสาระ 6. กาหนดเวลาเรียนให้เหมาะสมกับขอบข่ายเน้ือหาสาระหรือความคิดรวบยอด จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรแู้ ละกจิ กรรมทีก่ าหนดไว้ 1.2 นวตั กรรมการสอนพทุ ธประวตั ิแสนง่ายผ่านTimeline ด้วยเทคโนโลยีคิวอารโ์ ค้ด (QR Code) เรอื่ งพทุ ธประวตั ิ ข้นั ตอนกำรพัฒนำเครอ่ื งมอื (นวตั กรรม) 1. ศึกษาความเป็นมาและสภาพปัญหา : ครูผู้สอนได้ดาเนินการศึกษาความเป็นมา และสภาพปัญหาของกระบวนการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม โดยเฉพาะสาระที่1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม เรื่องพุทธประวัติ จนทาให้ทราบถึงความเป็นมาและสภาพ ปญั หาทสี่ ง่ ผลให้ครูผ้สู อนไดค้ ดิ ค้นนวัตกรรมเพื่อใช้ในการแกป้ ัญหา จนนามาสกู่ ารดาเนนิ การในคร้ังนี้ 2. คิดค้นนวัตกรรม : ครูผู้สอนได้ศึกษาเอกสาร ตารา เก่ียวกับการสร้างนวัตกรรม เพื่อถอดบทเรียนในการนาองค์ความรู้ในการสร้างสรรค์นวัตกรรมมาใช้ในการออกแบบนวัตกรรมการจัดการ เรียนการสอนให้มีความเหมาะสม และสอดคล้องกับสภาพปัญหาท่ีพบจึงนาไปสู่การคิดค้นนวัตกรรมการสอน พทุ ธประวตั ิแสนง่ายผา่ นTimeline ดว้ ยเทคโนโลยคี วิ อารโ์ ค้ด (QR Code) 3. การออกแบบนวัตกรรมและจัดทานวัตกรรม : หลังจากครูผู้สอนได้ศึกษาความ เป็นมาและสภาพปัญหา จนทาให้ทราบถึงต้นตอของปัญหา และได้ศึกษาเอกสาร ตารา เกี่ยวกับการสร้าง

-37- นวัตกรรม เพื่อถอดบทเรียนในการนาองค์ความรู้ในการสร้างสรรค์นวัตกรรมมาใช้ในการออกแบบนวัตกรรม การจดั การเรียนการสอนให้มีความเหมาะสม และสอดคล้องกับสภาพปัญหาท่ีขึ้น จงึ ได้ออกแบบนวตั กรรมการ สอนพุทธประวัติแสนง่ายผ่านTimeline ด้วยเทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด (QR Code) เม่ือออกแบบนวัตกรรม เรียบร้อย ครูผู้สอนจึงได้ลงมือจัดทานวัตกรรมการสอนพุทธประวัติแสนง่ายผ่านTimeline ด้วยเทคโนโลยีคิว อารโ์ ค้ด (QR Code) ขนึ้ จนสาเร็จพร้อมท่ีจะนาไปใชก้ ับผ้เู รียน 4. นานวัตกรรมไปทดลองใช้ : เมื่อออกแบบและจัดทานวัตกรรมเสร็จเรียบร้อย ครูผู้สอนจึงนาเคร่ืองมือ หรือนวัตกรรมท่ีได้ไปทดลองใช้กับผู้เรียน ในระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี4-6 เพื่อ วิเคราะหถ์ งึ ขอ้ ดี-ข้อเสีย และสง่ิ ท่ีตอ้ งปรับปรุงเม่ือนานวตั กรรมท่สี ร้างข้ึนไปใช้จรงิ หลังจากทดลองใช้ครผู ู้สอน จงึ นาผลจากการทดลองใชน้ วตั กรรมไปปรับปรุงแก้ไขให้ดีขึน้ ในลาดบั ต่อไป 5. ปรับปรุงแก้ไขหลังทดลองใช้นวัตกรรม : ครูผู้สอนนานวัตกรรมมาปรับปรุงแก้ไข ใหด้ ีข้นึ หลงั จากการทดลองใช้เพอื่ ให้มคี วามเหมาะสมกับบริบทของผู้เรียนในปัจจุบันและเหมาะสภาพปัญหา 6. นานวัตกรรมไปสู่ห้องเรียน : นานวัตกรรมหลังจากการปรับปรุงแก้ไขไปใช้กับ กลมุ่ เปา้ หมาย คอื นักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี5 พรอ้ มวเิ คราะห์การใช้นวัตกรรมของผู้เรยี นเป็นรายบุคคลว่ามี ความสอดคล้อง ตรงตามความตอ้ งการของกลุ่มเปา้ หมายมากน้อยเพยี งใด 7. ประเมนิ /สรุปผล : หลงั จากการนานวตั กรรมไปใช้จริงในกระบวนการจัดการเรียน การสอนรายวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สาระที่1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม เร่ืองพุทธประวัติ ครูผู้สอนได้ดาเนินการวัดและประเมินผลเพ่ือเปรียบเทียบระหว่างผลการทดสอบก่อนเรียนหรือก่อนใช้ นวัตกรรม และหลังเรียนหรือภายหลังการนานวัตกรรมการสอนพุทธประวัติแสนง่ายผ่านTimeline ด้วย เทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด (QR Code) ไปใช้ในกระบวนการจัดการเรียนการสอน ทาให้ทราบถึงข้อแต่งต่างและ ความเป็นไปได้ในการนานวัตกรรมการสอนพุทธประวัติแสนง่ายผ่านTimeline ด้วยเทคโนโลยีคิวอารโ์ คด้ (QR Code) มาใช้ในกระบวนการจัดการเรียนการสอนเพ่ือเพ่ิมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สาระที1่ ศาสนา ศลี ธรรม จริยธรรม เร่อื งพทุ ธประวตั ิ ให้ดขี นึ้ และมีคณุ ภาพมากยิ่งขึ้น 8. รายงานผลการดาเนินการ : หลังจากประเมินผลการใช้นวัตกรรมในกระบวนการ จัดการเรียนการสอนเพื่อหาคุณภาพของนวัตกรรม ทาให้ทราบถึงข้อแตกต่างในการจัดกระบวนการเรียนการ สอนแบบเดิมคือผู้เรียนท่องจาประวัติความเป็นมาของศาสนาพุทธตามแบบเรียนซึ่งมีเน้ือหาจานวนมาก และ กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีใชน้ วตั กรรมการสอนพุทธประวัติแสนง่ายผา่ นTimeline ดว้ ยเทคโนโลยีคิว อาร์โค้ด (QR Code) พร้อมขยายผลการนานวัตกรรมไปใช้ในกระบวนการจัดการเรียนการสอนรายวิชาสังคม ศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สาระที่1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม เร่ืองพุทธประวัติ ในระดับชั้นอ่ืนๆ และ ปรบั ใช้กบั รายวิชาอื่นๆต่อไป

-38- 2. เครื่องมือท่ใี ช้ในกำรเกบ็ รวบรวมข้อมูล 2.1 แบบทดสอบกอ่ นเรียน เรื่องพุทธประวัติ เพ่ือวเิ คราะห์ผ้เู รยี น 2.2 ใบกจิ กรรมท่ี 1 เร่ืองการวิเคราะห์พุทธประวัติ 2.3 ใบกจิ กรรมท่ี 2 เรือ่ งการเรียงลาดับเหตกุ ารณ์ในพุทธประวัติ 2.4 ใบกิจกรรมที่ 3 เร่ืองพทุ ธประวตั ิแสนง่ายผ่าน Timeline 2.5 แบบทดสอบหลังเรียน เร่ืองพุทธประวัติ เพ่ือวดั และประเมนิ ผลการจัดการเรียนรู้ 5. กำรวิเครำะหข์ ้อมูล วเิ คราะห์เชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) สาหรบั บนั ทึกหลงั แผนการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ วเิ คราะหเ์ นื้อหา (Content Analysis) รวบรวม และแยกแยะข้อมลู รวมทง้ั ตีความหมาย จากการทา แบบทดสอบกอ่ นเรยี น ใบกจิ กรรมที่1-3 และแบบทดสอบหลังเรยี น 6. สถติ ิทใี่ ชใ้ นกำรวิเครำะห์ขอ้ มูล 6.1 สถติ พิ ้ืนฐาน 6.1.1 คา่ ร้อยละ (Percentage) ใช้สตู รดังน้ี (บญุ ชม ศรีสะอาด, 2545) สตู ร P == N ×100 f เมอ่ื P แทน รอ้ ยละ f แทน ความถ่ีทีต่ ้องการแปลงใหเ้ ปน็ ร้อยละ N แทน จานวนความถ่ที ้ังหมด 6.1.2 คา่ เฉลย่ี (Arithmetic Mean) ใชส้ ูตรดังน้ี (บญุ ชม ศรีสะอาด,2545) สูตร X = ∑N N เมื่อ X แทน ค่าเฉล่ีย ∑N แทน ผลรวมของคะแนนทัง้ หมด N แทน จานวนนักเรียนทีเ่ ปน็ กล่มุ ตัวอย่าง

7. แผนกำรดำเนินกำรวิจยั -39- ผลทค่ี าดหวงั คาถามการวิจัย ขัน้ ตอนการดาเนนิ การ ไดแ้ นวทางการจัดการเรียนรู้ที่มี ความเหมาะสมกับสถานการณ์ การใช้นวัตกรรมการสอนพุทธ 1. ศกึ ษาเอกสาร ตารา งานวิจัยทีเ่ กีย่ วขอ้ งกบั การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ใน ประวตั แิ สนง่ายผ่านTimeline การจดั การเรียนรู้ และนวัตกรรมการสอน ปัจจุบัน และตอบสนองความ ด้วยเทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด 2. นาองคป์ ระกอบและตวั ชี้วดั ทไ่ี ด้จาก ตอ้ งการของผเู้ รียน (QR Code) เรื่องพุทธประวัติ การศึกษามาออกแบบจดั ทาแผนการจัด ชั้นประถมศึกษาปีท่ี5 มาเป็น กิจกรรมการเรียนรู้ 3 ชว่ั โมง แนวทางการจัดการเรียนรู้ 3. ให้นักเรยี นทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี นเพอ่ื ทา เปน็ อย่างไร การวเิ คราะห์นกั เรียนเปน็ รายบุคคลก่อนจัด กจิ กรรมการจดั การเรยี นรู้ 4. ดาเนินการจดั กจิ กรรมการจดั การเรียนร้ตู าม แผนการจัดการเรยี นรู้ ผลการจัดกระบวนการเรียนรู้ 1. ให้นักเรียนทาใบกิจกรรมท่ี1 เร่ืองการ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่5 โดยใช้นวัตกรรมการสอนพุทธ วเิ คราะหพ์ ุทธประวัติ โรงเรียนหนองอิเฒ่าวิทยาร้อย ประวัติแสนง่ายผ่านTimeline 2. ให้นักเรียนทาใบกิจกรรมท่ี2 เรื่องการ ละ 90 มีความรู้ความเข้าใจ ด้วยเทคโนโลยีคิวอารโ์ คด้ (QR เรยี งลาดบั เหตุการณใ์ นพทุ ธประวัติ และมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน Code) สามารถพัฒนาความรู้ 3. ให้นักเรียนทาใบกิจกรรมที่3 ฝึกเขียนพุทธ เรอ่ื งพทุ ธประวัติ ท่ีสูงข้ึน ความเข้าใจเร่ืองพุทธประวัติ ประวตั ผิ ่านTimeline เพือ่ ทบทวนองคค์ วามรู้ ชั้นประถมศึกษาปีที่5 ไ ด้ 4. ให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน เร่ือง หรอื ไม่ อยา่ งไร พุทธประวัติ เพ่ือวัดและประเมินผลการจัดการ เรยี นรู้ 5. บันทกึ หลงั แผนจากการจดั กิจกรรมการ เรยี นรเู้ พอื่ วเิ คราะหผ์ ้เู รียนรายบคุ คล ภาพประกอบ 7 แสดงคาถามการวจิ ัย ข้ันตอนดาเนนิ การ และผลที่คาดหวงั

-4 คำถำมวจิ ยั ตวั แปรทศ่ี กึ ษำ แหลง่ ข้อมูล ผสู้ อน/ผ้วู จิ ยั 1. การใช้นวัตกรรมการสอนพุทธ การจดั กระบวนการเรยี นรู้ ประวัติแสนง่ายผ่านTimeline ด้วย โดยใช้นวตั กรรมการสอน เทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด (QR Code) พทุ ธประวัติแสนง่ายผา่ น เรื่องพุทธประวัติ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี Timeline ดว้ ยเทคโนโลยี 5 มาเป็นแนวทางการจัดการเรียนรู้ คิวอาร์โค้ด (QR Code) เป็นอย่างไร 2. ผลการจัดกระบวนการเรียนรู้โดย ผลของการจดั กระบวนการ ผเู้ รยี น ใช้นวัตกรรมการสอนพุทธประวัติแสน เรยี นรโู้ ดยใชน้ วตั กรรมการ ง่ายผ่านTimeline ด้วยเทคโนโลยีคิว สอนพุทธประวตั แิ สนงา่ ย อาร์โค้ด (QR Code) สามารถพัฒนา ผ่านTimeline ดว้ ย ความรู้ความเข้าใจเรื่องพุทธประวัติ เทคโนโลยคี วิ อาร์โค้ด ช้ันประถมศึกษาปีที่5 ได้หรือไม่ (QR Code) อย่างไร

40- วิธีกำร/เคร่อื งมือ กำรเกบ็ รวบรวมข้อมลู วธิ วี ิเครำะหข์ ้อมูล -บันทกึ หลงั แผนการ บันทึกหลังแผนการจัด ผู้เรียนรอ้ ยละ 90 มีส่วนรว่ ม จัดการเรียนรู้ กิจกรรมการเรยี นรู้ ในกระบวนการจดั การเรียนรู้ -แบบทดสอบกอ่ นเรยี น เกิดความสนใจ ตงั้ ใจ และใฝ่ -นวตั กรรมการสอนพทุ ธ -ผลการประเมินใบ เรยี นรู้ ประวัตแิ สนงา่ ยผ่าน กิจกรรม Timeline ด้วย -การวดั และประเมินผล -แบบประเมนิ ใบกจิ กรรม 5 เทคโนโลยีคิวอารโ์ ค้ด การทดสอบหลงั เรยี น ระดบั (QR Code) -ผูเ้ รียนมผี ลการทดสอบหลงั -ใบกิจกรรมท1่ี เรอ่ื งการ เรียน ผ่านรอ้ ยละ 90 วเิ คราะห์พุทธประวัติ -ใบกิจกรรมท่2ี เรือ่ งการ เรียงลาดับเหตุการณ์ใน พทุ ธประวตั ิ -ใบกิจกรรมที่3 ฝกึ เขียน พทุ ธประวตั ิผา่ น Timeline -แบบทดสอบหลงั เรียน เรอ่ื งพุทธประวัติ

-41- บทที่ 4 ผลกำรวจิ ัย การวิจัยเรื่อง การพัฒนาแนวทางการจัดการเรียนรู้โดยใช้นวัตกรรมการสอนพุทธประวัติแสนง่ายผ่าน Timeline ด้วยเทคโนโลยีควิ อารโ์ คด้ (QR Code) เรอ่ื งพทุ ธประวตั ิ สาหรบั นักเรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาปีท5ี่ โรงเรียน หนองอเิ ฒ่าวิทยา ปกี ารศกึ ษา 2564 ผู้วจิ ัยได้เสนอผลการวเิ คราะห์ข้อมลู ตามลาดับ ดงั นี้ 1. ลำดบั ข้ันตอนในกำรเสนอผลกำรวเิ ครำะหข์ ้อมลู 1. การวิเคราะห์ผลการทาแบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องพุทธประวตั ิ 2. การวเิ คราะหผ์ ลการทาใบกิจกรรมที่1 – 3 เรื่องพทุ ธประวัติ 3. การวิเคราะห์ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนจากแบบทดสอบหลังเรยี น เรื่องพุทธประวตั ิ 4. การวเิ คราะหห์ าความเหมาะสมของการจดั การเรียนรโู้ ดยใช้นวตั กรรมการสอนพุทธ ประวัติแสนง่ายผา่ นTimeline ด้วยเทคโนโลยคี ิวอารโ์ ค้ด (QR Code) จากบนั ทึกหลัง แผนการจดั การเรยี นรู้ 2. ผลกำรวิเครำะห์ข้อมลู 2.1 กำรวเิ ครำะหผ์ ลกำรทำแบบทดสอบก่อนเรยี น ก่อนเริ่มจัดกระบวนการเรยี นรู้โดยใช้นวตั กรรมการสอนพุทธประวตั แิ สนงา่ ยผา่ นTimeline ดว้ ยเทคโนโลยคี ิวอาร์โคด้ (QR Code) เร่ืองพุทธประวัติ ตามแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ได้ให้นักเรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่5 จานวน10 คน ทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี น ผลการประเมินระดบั คุณภาพแสดงดงั ตารางท1่ี ตำรำงท่ี 1 แสดงการวเิ คราะหร์ ะดบั คณุ ภาพในการทาแบบทดสอบก่อนเรียน ผลการประเมินระดับคุณภาพ จานวนนักเรียนที่ได้ (คน) คดิ เป็นรอ้ ยละ ดีมาก 2 20 ดี 3 30 พอใช้ 5 50 จากตารางท่ี 1 พบวา่ การทาแบบทดสอบก่อนเรยี นของนักเรียนรายบคุ คล กอ่ นการจดั การเรียนรู้โดย ใช้นวัตกรรมการสอนพุทธประวัติแสนง่ายผ่านTimeline ด้วยเทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด (QR Code) นักเรียนที่มี ผลการประเมินในระดับคุณภาพดีมาก คิดเป็นร้อยละ20 ระดับคุณภาพดี คิดเป็นร้อยละ30 และ ระดับ คณุ ภาพพอใช้ คดิ เปน็ รอ้ ยละ50

-42- 2.2 กำรวิเครำะห์ผลกำรทำใบกจิ กรรม ในระหว่างการจัดกระบวนการเรียนรู้โดยใชน้ วตั กรรมการสอนพุทธประวัตแิ สนง่ายผา่ น Timeline ด้วยเทคโนโลยีควิ อารโ์ คด้ (QR Code) เรื่องพุทธประวัติ ตามแผนการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ได้ให้ นักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี5 จานวน10 คน ทาใบกิจกรรมท1ี่ – 3 และสงั เกตการทากจิ กรรม โดยมีผลการ ประเมินระดับคุณภาพแสดงดัง ตารางท2่ี ตำรำงที่ 2 แสดงการวเิ คราะห์ระดับคณุ ภาพในการทาใบกิจกรรม ผลการประเมินระดับคุณภาพ จานวนนักเรียนทไ่ี ด้ คิดเปน็ รอ้ ยละ 80 ดีมาก 80 20 0 ดี 2 พอใช้ 0 จากตารางท่ี 2 พบวา่ ผลการวิเคราะห์ระดบั คณุ ภาพในการทาใบกิจกรรม ระหวา่ งการจดั การเรียนรู้ โดยใชน้ วตั กรรมการสอนพทุ ธประวัตแิ สนง่ายผ่านTimeline ด้วยเทคโนโลยีคิวอารโ์ ค้ด (QR Code) นักเรียนท่ี มีผลการประเมินในระดับคุณภาพดมี าก คดิ เปน็ ร้อยละ80 ระดับคุณภาพดี คดิ เป็นรอ้ ยละ20 และ ระดับ คณุ ภาพพอใช้ คิดเป็นรอ้ ยละ0 2.3 กำรวิเครำะหผ์ ลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรยี นจำกแบบทดสอบหลังเรียน หลังการจัดกระบวนการเรียนรู้โดยใช้นวัตกรรมการสอนพุทธประวัติแสนง่ายผ่าน Timeline ด้วยเทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด (QR Code) เรื่องพุทธประวัติ ตามแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ผู้วิจัยได้ทาการ ทดสอบความรู้ความเข้าใจของนักเรียน โดยการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากแบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง พุทธประวัติ โดยแบบทดสอบผู้วิจัยสร้างขึ้นให้ครอบคลุมเน้ือหาท้ังหมดในเร่ืองพุทธประวัติ โดยมีผลการ ประเมนิ ระดับคุณภาพแสดงดงั ตารางท3ี่ ตำรำงที่ 3 แสดงผลการทดสอบวัดผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนจากแบบทดสอบหลังเรยี น ผลการประเมนิ ระดับคุณภาพ จานวนนกั เรียนทผ่ี า่ น (คน) คิดเป็นรอ้ ยละ ผ่าน 90 90 ไมผ่ า่ น 1 10 จากตารางที่ 3 พบวา่ แสดงผลการทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นจากแบบทดสอบหลงั เรียน เรือ่ ง พุทธประวัติ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที ่ี5 จานวน10 คน มผี ลการประเมินผา่ นเกณฑ์ คิดเปน็ ร้อยละ 90 ไม่ ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ คิดเป็นร้อยละ 10

-43- 2.4 กำรวิเครำะห์หำควำมเหมำะสมของกำรจัดกำรเรยี นรโู้ ดยใช้นวัตกรรมกำรสอนพุทธประวัติ แสนง่ำยผ่ำนTimeline ด้วยเทคโนโลยคี วิ อำร์โคด้ (QR Code) จำกบันทึกหลังแผนกำรจัดกำรเรยี นรู้ หลังการจัดกระบวนการจัดการเรียนรู้โดยใช้นวัตกรรมการสอนพุทธประวตั แิ สนงา่ ยผ่าน Timeline ดว้ ยเทคโนโลยคี ิวอารโ์ คด้ (QR Code) ผ้วู จิ ัยได้ทาการบนั ทึกหลงั แผนการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ โดยผลจากการจัดกระบวนการเรยี นรู้แสดงดังต่อไปนี้ ผลกำรสอน นกั เรียนมคี วามรู้ความเข้าใจ เกยี่ วกบั พุทธประวัติ สามารถอธบิ าย ลาดับเหตกุ ารสาคญั ได้ ตลอดจนสามารถเขียน Timeline ตัง้ แต่ประสูตจิ นถึงปรนิ ิพพานได้ คิดเป็นร้อยละ 90 และส่งผลให้นกั เรียน เกิดทักษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 ดังน้ี 1. การคดิ อย่างมีวจิ ารณญาณ 2. การแกป้ ญั หา 3. การส่อื สาร 4. ความรว่ มมือ 5. การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร ปญั หำและอปุ สรรค นักเรยี นช้ันประถมศึกษาปีท่ี5 จานวน 1 คน (อจั ฉริยาพร) ยงั ขาดสมาธิในการเรียน จงึ ขาด ความเข้าใจในการในการลาดับเหตุการณ์สาคัญตา่ งๆท่เี กดิ ข้นึ ตงั้ แต่ประสูติจนถึงปรนิ ิพพานได้ สง่ ผลให้ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนยังไม่ผา่ นเกณฑ์การประเมินคดิ เป็นร้อยละ 10 ของนักเรยี นทัง้ หมด ข้อเสนอแนะ/แนวทำงแกไ้ ข ครผู สู้ อนตอ้ งให้คาแนะนาในการทากิจกรรม และสอนซอ่ มเสริมใหก้ บั นกั เรียนทยี่ งั ไมผ่ า่ น เกณฑ์การประเมนิ เพ่ือใหผ้ ู้เรียนมผี ลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นทส่ี งู ขึ้นต่อไป 3. กำรตอบคำถำมกำรวจิ ัย การวิจยั ครง้ั น้มี คี าถามการวิจัย 2 ข้อ ข้อที่1 การใช้นวัตกรรมการสอนพุทธประวัติแสนง่ายผ่านTimeline ด้วยเทคโนโลยีคิวอาร์ โคด้ (QR Code) เรอ่ื งพุทธประวตั ิ ชั้นประถมศึกษาปีท5ี่ มาเป็นแนวทางการจัดการเรียนรู้ เป็นอย่างไร ผู้วิจัยพบว่า หลังการจัดการเรียนรู้ใช้นวัตกรรมการสอนพุทธประวัติแสนง่ายผ่านTimeline ด้วยเทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด (QR Code) เรื่องพุทธประวัติ มีความเหมาะสมอยู่ในระดับดีมาก เนื่องจากการจัด กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้นวัตกรรมการสอนพุทธประวัติแสนง่ายผ่านTimeline ด้วยเทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด (QR Code) เรื่องพทุ ธประวัติ ส่งผลใหผ้ ลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรยี นสูงขน้ึ

-44- ข้อที่2 ผลการจัดกระบวนการเรียนรู้โดยใช้นวัตกรรมการสอนพุทธประวัติแสนง่ายผ่าน Timeline ด้วยเทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด (QR Code) สามารถพัฒนาความรู้ความเข้าใจเร่ืองพุทธประวัติ ช้ัน ประถมศกึ ษาปที ี่5 ได้หรือไม่ อยา่ งไร ผู้วิจัยพบว่า หลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และวัด ประเมินผลจากการทาแบบทดสอบก่อน เรียน ใบกิจกรรมท่ี1 - 3 และแบบทดสอบหลังเรียนเพ่ือวัดผลสัมฤทธ์ิ ผู้เรียนมีทักษะการลาดับเหตุการณ์ สาคญั มคี วามรู้ความเข้าใจ และมีเจตคติท่ีดี ต่อการจัดกระบวนการเรยี นรู้เรื่องพุทธประวัติ เพ่ิมขึน้ อยูใ่ นระดับ ที่ดมี าก