Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 2 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์

หน่วยที่ 2 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์

Published by thipparathk008, 2017-03-21 01:42:14

Description: หน่วยที่ 2 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์

Search

Read the Text Version

รู้จักกับส่วนประกอบต่างๆ ของคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้ในการประกอบเครื่องด้วยตนเอง กอ่ นเรม่ิ ทำการประกอบเครอ่ื งคอมพวิ เตอรด์ ว้ ยตนเอง เราควรทำความรจู้ กักบั สว่ นประกอบตา่ งๆ ของคอมพวิ เตอรก์ นั กอ่ น เพอ่ื ใหเ้ ขา้ ใจถงึ หนา้ ทก่ี ารทำงานของอปุ กรณแ์ ตล่ ะสว่ น ซง่ึ จะทำใหก้ ารประกอบเครอ่ื งเปน็ ไปอยา่ งถกู ตอ้ งหลกี เลย่ี งความเสยี หายทจ่ี ะเกดิ จากความไมร่ ไู้ ดอ้ ยา่ งมาก ซพี ยี ู (CPU – Central Processing Unit) ซพี ยี เู ปน็ อปุ กรณท์ ม่ี หี นา้ ทใ่ี นการประมวลผลคำสง่ั ตา่ งๆ ไมว่ า่ จะเปน็ การคดิคำนวณการตดั สนิ ใจ ทกุ อยา่ งจะถกู นำมาประมวลผลทอ่ี ปุ กรณต์ วั นท้ี ง้ั หมด โดยจะมกี ารรบั คำสง่ั เขา้ มาจากอปุ กรณ์Inputเชน่ เมาส์คยี บ์ อรด์ หรอื ไมโครโฟน และนำไปแสดงผลออกทางอปุ กรณ์ Output เชน่ จอภาพ เครอ่ื งพมิ พ์ อปุ กรณส์ ำรองขอ้ มลูเปน็ ตน้ Athlon 64 ซีพยี ูจากค่ายเอเอ็มดี Pentium 4 ซีพยี จู ากค่ายอินเทล สำนกั พมิ พ์ eXP MEDIA

ลกั ษณะของซพี ยี ใู นปจั จบุ นั สว่ นใหญจ่ ะเปน็ รปู แบบ Socket ทม่ี ลี กั ษณะเปน็ สเ่ี หลย่ี มแบนๆ มจี ำนวนขาเลก็ ๆ ทเ่ี ปน็ โลหะไวส้ ำหรบั เชอ่ื มตอ่ กบั สญั ญาณภายในตวั ซพี ยี กู บั อปุ กรณภ์ ายนอกซง่ึ จำนวนขาจะแตกตา่ งกนั ตามยห่ี อ้ และรนุ่ ของซีพียู โดยซีพียูที่นิยมใช้ในตอนนี้มีเพียง 2 ยี่ห้อเท่านั้น คืออินเทลและเอเอ็มดีโดยแต่ละค่ายก็จะมีซีพียูหลากหลายรุ่นให้เลือกใช้ เช่นทาง ฝั่งค่ายอินเทลคือPentium 4 และ Celeronใชอ้ นิ เทอรเ์ ฟซแบบ Socket 478 และ 775 สว่ นเอเอม็ ดีนั้นเป็น Athlon XP, Athlon 64 Bit ใช้อินเทอร์เฟซแบบ Socket A ,754 และ 939โดยแตล่ ะคา่ ยกม็ จี ดุ ดจี ดุ ดอ้ ยแตกตา่ งกนั ไปซพี ยี ขู องอนิ เทลนน้ั มจี ดุ เดน่ ในดา้ นการทำงานทม่ี เี สถยี รภาพ มคี วามทนทานสงู และไมร่ อ้ นงา่ ย แตม่ ขี อ้ เสยี คอื ราคาแพงและทำงานชา้ กวา่ ซพี ยี ขู องเอเอม็ ดใี นระดบั ความเรว็ เดยี วกนั สำหรบั เอเอม็ ดนี น้ัจดุ เดน่ คอื ซพี ยี มู รี าคาถกู กวา่ อนิ เทลในทกุ รนุ่ และมคี วามเรว็ สงู ทง้ั งานดา้ นกราฟกิและงานทั่วไป ส่วนข้อเสียของเอเอ็มดี คือมีความร้อนสูง หากไม่มรี ะบบระบายความรอ้ นทด่ี จี ะทำใหร้ ะบบไมม่ เี สถยี รภาพ และเกดิ ความเสยี หายตอ่ ตวั ซพี ยี ไู ดง้ า่ ย เมนบอรด์ (Mainboard) เมนบอรด์ เปน็ อปุ กรณท์ ม่ี ลี กั ษณะเปน็ แผน่ วงจรหลกั สำหรบั ตดิ ตง้ั อปุ กรณ์คอมพวิ เตอรต์ า่ งๆ เกอื บทง้ั หมด โดยจะมหี นา้ ทใ่ี นการประสานงานและตดิ ตอ่ รบั สง่ขอ้ มลู โดยผา่ นระบบบสั บนเมนบอรด์ กจ็ ะมอี ปุ กรณท์ ส่ี ำคญั ๆรวมอยดู่ ว้ ยเชน่ สลอ็ ต,ซอ็ กเกต็ สำหรบั เชอ่ื มตอ่ กบั อปุ กรณต์ า่ งๆ ชพิ เซต็ ทท่ี ำหนา้ ทเ่ี หมอื นแมบ่ า้ น คอยจดัการและประสานงานใหก้ บั อปุ กรณท์ น่ี ำมาตดิ ตง้ั บนเมนบอรด์ นอกจากนก้ี ย็ งั รวมเอาแผงวงจรและชพิ ควบคมุ อปุ กรณต์ า่ งๆ เชน่ ตวั ควบคมุ ฮารด์ ดสิ ก์ (HarddiskController) พอร์ตเชื่อมต่ออุปกรณ์ภายนอก เช่น พอร์ตขนาน (Parallel Port)พอรต์ อนกุ รม (Serial Port) และพอรต์ ยเู อสบี (USB Port) เปน็ ตน้สำนกั พมิ พ์ eXP MEDIA

เมนบอรด์ แรม (RAM – Random Access Memory) แรมคือหน่วยความจำที่ทำหน้าที่อ่านและเขียนข้อมูลร่วมกับซีพียูอยู่ตลอดเวลา ขอ้ มลู จากฮารด์ ดสิ กส์ ว่ นใหญจ่ ะตอ้ งมาพกั ทแ่ี รมเสมอกอ่ นจะถกู สง่ไปยังซีพียู ดังนั้นยิ่งแรมมีขนาดมากขึ้นเท่าไหร่ก็สามารถพักข้อมูลไว้กับแรมได้มากขน้ึ ทำใหซ้ พี ยี ไู มต่ อ้ งเรยี กขอ้ มลู จากฮารด์ ดสิ กบ์ อ่ ยๆ ซง่ึ ฮารด์ ดสิ กม์ คี วามเรว็ในการอ่านและเขียนข้อมูลน้อยกว่าแรม ส่งผลให้ระบบของเราทำงานได้เร็วขึ้นในปจั จบุ นั แรมมหี ลายชนดิ ดว้ ยกนั คอื SDRAM, DDR SDRAM และ RAMBUS SDRAM จะมลี กั ษณะเปน็ แผงยาวมีขาสัญญาณขนาด 168 pin 64 bitสำหรบั ตดิ ตง้ั กบั ซอ็ กเกต็ แรมแบบ DIMM สว่ นใหญแ่ รมทข่ี ายกนั เดย๋ี วนจ้ี ะเปน็ แบบPC–100 และ PC–133 ในปจั จบุ นั SDRAM ไดร้ บั ความนยิ มนอ้ ยมาก ทม่ี ใี ชง้ านอยู่สว่ นใหญจ่ ะเปน็ เครอ่ื งรนุ่ เกา่ เสยี มากกวา่ เนอ่ื งจากการเขา้ มาแทนทข่ี อง DDRSDRAM ทม่ี คี ณุ ภาพดกี วา่ ในราคาทใ่ี กลเ้ คยี งกนั นน่ั เอง สำนกั พมิ พ์ eXP MEDIA

SD RAM DDR SDRAM มีลักษณะคล้ายกับ SDRAM แต่จะมีขนาด 184 pinและเนอ่ื งจากทำงานทง้ั ขอบขาขน้ึ และขาลงของสญั ญาณนาฬกิ าทำใหม้ คี วามเรว็ เพม่ิขน้ึ เปน็ 2 เทา่ ถา้ เทยี บกบั SDRAM โดย DDR SDRAM จะมบี สั ใหเ้ ลอื กใชง้ านอยู่หลายขนาด เชน่ 266, 333และ 400เปน็ ตน้ ปจั จบุ นั DDR SDRAM เขา้ มาเปน็ หนว่ ยความจำมาตรฐานใหมท่ ม่ี าแทนท่ีSDRAM ไปเรยี บรอ้ ยแลว้ และในอนาคตมไี มน่ านหนว่ ยความจำแบบ DDR 2 กก็ ำลงั เขา้ มาเปน็ ทน่ี ยิ มมากขน้ึ เรอ่ื ยๆ DDR SDRAM RAMBUS เป็นแรมชนิดใหม่ที่อินเทลเคยพยายามผลักดันให้เป็นมาตราฐานใหมข่ องหนว่ ยความจำในอนาคต แตใ่ นปจั จบุ นั ดแู ลว้ สถาการณข์ องRAMBUS นน้ั กไ็ มม่ อี ะไรทห่ี วอื หวามากนกั RAMBUS มลี กั ษณะทแ่ี ตกตา่ งจากSDRAM และ DDR SDRAM อยา่ งเหน็ ไดช้ ดั โดยใชอ้ นิ เทอรเ์ ฟชแบบ RIMM ขนาด299pinนอกจากนย้ี งั มคี วามเรว็ บสั ทส่ี งู ถงึ 400MHzและสามารถสง่ ถา่ ยขอ้ มลู ไดถ้ งึ800 MB ตอ่ วนิ าทซี ง่ึ มากกวา่ SDRAM ถงึ 8 เทา่ เลยทเี ดยี ว แตก่ ลบั มขี อ้ เสยี คอื มคี า่ความหนว่ ง (Latency) ใกลเ้ คยี งกบั SDRAM ทำใหป้ ระสทิ ธภิ าพในการทำงานไมไ่ ด้สำนกั พมิ พ์ eXP MEDIA

แตกตา่ งไปจาก DDR SDRAM หรอื SDRAM มากนกั และยงั มรี าคาแพงกวา่ กนั คอ่ นขา้ งมาก นอกจากนห้ี ากใส่ RAMBUS ไมค่ รบแถว (RIMM) ตอ้ งมกี ารใสแ่ ถวหลอก(RIMM PCB – Printed Circuit Board) ไว้ให้เต็มเพื่อให้ครบวงจรจึงจะสามารถใชง้ านได้ RAMBUS ฮารด์ ดสิ ก์ (Harddisk) ฮาร์ดดิสก์เป็นอุปกรณ์ที่มีหน้าที่สำหรับเก็บข้อมูลที่มีขนาดใหญ่โดยเฉพาะการเก็บข้อมูลสำหรับติดตั้งระบบปฏิบัติการหรือโปรแกรมต่างๆซึ่งไม่สามารถเก็บไว้ในแผ่นฟล็อบปี้ดิสก์ที่มีความจุน้อยได้ ภายในฮาร์ดดิสก์จะประกอบไปดว้ ยแผ่นจานโลหะแข็ง (Platter) วางซอ้ นกันแตจ่ ะไมต่ ดิ กัน โดยจะมแี ขนทเ่ี ปน็ ตวั เคลอ่ื นหวั อา่ นเขา้ ไปอา่ นและเขยี นขอ้ มลู ตามตำแหนง่ ทต่ี อ้ งการและจะไมม่ กี ารสมั ผสั กบั แผน่ โดยตรงแตจ่ ะมชี อ่ งวา่ งหา่ งกนั ประมาณ 10 ไมครอนทำใหก้ ารอา่ นขอ้ มลู จากแผน่ Platter มคี วามเรว็ สงู เนอ่ื งจากไมม่ กี ารเสยี ดสที เ่ี กดิจากการสมั ผสั โดยจะมคี วามเรว็ รอบอยู่ 2 แบบคอื 5400/นาที และ 7200/นาที ฮารด์ ดสิ กแ์ บบ IDE สำนกั พมิ พ์ eXP MEDIA

นอกจากนี้ฮาร์ดดิสก์ยังมีแผ่นวงจรที่อยู่ด้านล่างเป็นตัวควบคุมการหมุนของมอนิเตอร แขนที่เป็นตัวเคลื่อนหัวอ่าน และยังทำหน้าที่ติดต่อสื่อสารโดยสง่ ผา่ นขอ้ มลู ไปยงั เมนบอรด์ อกี ดว้ ย ซง่ึ แผน่ วงจรดา้ นลา่ งนค้ี วรระวงั อยา่ ไปวางไว้กับแผ่นโลหะหรืออุปกรณ์นำไฟฟ้าทุกชนิด เพราะจะทำให้เกิดการลัดวงจรก่อให้เกิดความเสียหายกับตัวฮาร์ดดิสก์ได้ โดยเฉพาะการวางฮาร์ดดิสก์ไว้บนเคสแล้วเปิดการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งหากเกิดปัญหาไฟรั่วขึ้นมาจะทำให้มีไฟฟ้าเข้ามาสู่ตัวเคสและผ่านไปยังฮาร์ดดิสก์ ทำให้แผ่นวงจรของฮารด์ ดสิ กอ์ าจเสยี หายได้ เนอ่ื งจากขอ้ จำกดั ในการพฒั นามาตรฐานการเชอ่ื มตอ่ แบบเดมิ ซง่ึ เปน็ แบบIDE/E-IDE แทบไมม่ กี ารพฒั นาความเรว็ ในการโอนถา่ ยขอ้ มลู ไปไดอ้ กี โดยหยดุ ไวท้ ่ีความเรว็ สงู สดุ เพยี ง 133 MB/s จงึ ทำใหบ้ รรดาผผู้ ลติ ฮารด์ ดสิ กไ์ ดท้ ำการพฒั นามาตรฐานของฮารด์ ดสิ กใ์ หมข่ น้ึ มา ซง่ึ เรยี กวา่ เปน็ ฮารด์ ดสิ กแ์ บบ Serial ATA โดยมีความเรว็ ในการโอนถา่ ยขอ้ มลู ถงึ 150MB/sและมหี นว่ ยความจำแคชถงึ 8MBซง่ึ จะสามารถพฒั นาความเรว็ ไดถ้ งึ 300MB/sและ600MB/sในเวอรช์ น่ั ตอ่ ๆไปนอกจากนฮ้ี ารด์ ดสิ กแ์ บบ Serial ยงั มขี อ้ ดอี กี หลายๆ ดา้ น เชน่ ใชส้ ายเคเบล้ิ ทใ่ี ชใ้ นการเชอ่ื มตอ่ แบบใหมท่ ม่ี ขี นาดเลก็ และบางกวา่ เดมิ ทำใหก้ ารไหลเวยี นของอากาศภายในเคสดีขึ้นดูเป็นระเบียบมากขึ้น และตัวของฮาร์ดดิสก์มีความแข็งแรงมากขึ้นไมบ่ อบบางหรอื เสยี หายงา่ ยเหมอื นฮารด์ ดสิ กแ์ บบ IDE ฮาร์ดดสิ ก์แบบ Serial ATAสำนกั พมิ พ์ eXP MEDIA

จอภาพ (Monitor) จอภาพหรอื จอมอนเิ ตอรเ์ ปน็ อปุ กรณท์ ใ่ี ชใ้ นการแสดงผลจากการทำงานของคอมพวิ เตอร์ ซง่ึ ภายในมวี งจรและระบบการทำงานคลา้ ยกบั เครอ่ื งรบั โทรทศั น์เกือบทุกอย่างแต่จะมีแผงวงจรที่ซับซ้อนน้อยกว่ามาก โดยจะแตกต่างกันตรงทโ่ี ทรทศั นม์ ภี าครบั สญั ญาณทวี ี แตจ่ อมอนเิ ตอรม์ เี พยี งภาครบั สญั ญาณดจิ ติ อลจากการด์ แสดงผลเทา่ นน้ั ปจั จบุ นั แนวโนม้ จอมอนเิ ตอรก์ ำลงั ถกู จอ LCD เขา้ มาเปน็มาตรฐานใหมแ่ ทนดว้ ยขอ้ ดหี ลายๆ อยา่ ง เชน่ มขี นาดบางไมก่ นิ เนอ้ื ทใ่ี นการจดั วางมากนกั ไมม่ รี งั สสี ะทอ้ นรบกวนสายตา และประหยดั ไฟมากกวา่ เปน็ ตน้ จอภาพแบบ LCD การด์ แสดงผล (Display Card) การ์ดแสดงผล หรือการ์ด VGA เป็นอุปกรณ์ที่มีหน้าที่ในการนำข้อมูลแบบดจิ ติ อลมาเปลย่ี นเปน็ สญั ญาณภาพจ ากคอมพวิ เตอรแ์ ลว้ นำไปแสดงผลออกทางจอภาพ โดยใชอ้ นิ เทอรเ์ ฟชแบบสลอ็ ต AGP หรอื PCI Express ทำใหส้ ามารถแสดงผลไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ และการด์ แสดงผลในปจั จบุ นั มกี ารพฒั นาชพิ สรา้ งกราฟกิ 3มติ ไิ ปอยา่ งรวดเรว็ ทำใหส้ ามารถแสดงผลภาพกราฟกิ 3 มติ ไิ ดอ้ ยา่ งสมจรงิ และสวยงามมากขน้ึ กวา่ ในอดตี สำนกั พมิ พ์ eXP MEDIA

การด์ แสดงผล การด์ เสยี ง (SoundCard) การ์ดเสียงหรือซาว์ดการ์ดที่หน้าที่ในการให้กำเนิดเสียงจากเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยต้องทำงานควบคู่ไปกับลำโพงด้วย ในปัจจุบันมักจะมีการนำคอมพิวเตอร์มาใช้งานประเภทมัลติมีเดียที่ให้ความบันเทิงต่าง ๆ เช่นใชด้ หู นงั ฟงั เพลง รอ้ งคาราโอเกะ เลน่ เกม งานเหลา่ นต้ี า่ งกต็ อ้ งพง่ึ พาระบบเสยี งที่ช่วยเพิ่มอรรถรสในการทำงานเหล่านี้ทั้งสิ้น ดังนั้นคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันจงึ มกี ารตดิ ตง้ั ระบบ เสยี งใหก้ บั คอมพวิ เตอรแ์ ทบทกุ เครอ่ื ง มที ง้ั แบบ Sound OnBoard หรอื แบบทเ่ี ปน็ การด์ โดยจะตอ้ งนำมาตดิ ตง้ั ลงบนสลอ็ ตในเมนบอรด์ ปญั หาของการด์ เสยี งบางครง้ั จะสง่ ผลกระทบกบั เครอ่ื งคอมพวิ เตอรอ์ ยา่ งคาดไม่ถึง และส่วนใหญ่จะเกิดจากตัวไดรเวอร์ของการ์ดเอง จนบางครั้งทำให้วนิ โดวสไ์ มส่ ามารถบตู๊ เครอ่ื งหรอื ชตั ดาวนไ์ ด้ วธิ แี กป้ ญั หาคอื ตอ้ งไปดาวนโ์ หลดไดรเวอรเ์ วอรช์ น่ั ใหมม่ าตดิ ตง้ั การ์ดเสียงสำนกั พมิ พ์ eXP MEDIA

ฟลอ็ บปไ้ี ดรฟ์ (Floopy Drive) ฟลอ็ บปไ้ี ดรฟเ์ ปน็ อปุ กรณท์ ม่ี หี นา้ ทใ่ี นการอา่ นและบนั ทกึ ขอ้ มลู จากแผน่ฟล็อบปี้ดิสก์ที่มีขนาด 3.5 นิ้ว ความจุ 1.44 MB โดยจะมีหัวอ่านคอยเลื่อนเข้าไปอ่านข้อมูลจากแผ่นที่เคลือบสารแม่เหล็กของฟล็อบปี้ดิสก์ทั้งสองด้านซง่ึ หวั อา่ นนจ้ี ะมกี ารสมั ผสั กบั แผน่ แมเ่ หลก็ โดยตรง จงึ ทำใหก้ ารอา่ นขอ้ มลู ไมส่ ามารถอา่ นไดร้ วดเรว็ เหมอื นฮารด์ ดสิ กโ์ ดยมคี วามเรว็ ประมาณ 300 รอบตอ่ นาทเี ทา่ นน้ั ฟล็อบปี้ไดรฟ์ ซดี รี อมไดรฟ์ (CD-ROM Drive) ซีดีรอมไดรฟ์เป็นอุปกรณ์ที่มีหน้าที่ในการอ่านข้อมูลจากแผ่นซีดีเพียงอยา่ งเดยี ว สว่ นใหญจ่ ะใชง้ านในดา้ นการตดิ ตง้ั ระบบปฏบิ ตั กิ ารหรอื โปรแกรมตา่ งๆรวมไปถงึ งานทเ่ี กย่ี วกบั ความบนั เทงิ เชน่ ดหู นงั ฟงั เพลง และงานดา้ นมลั ตมิ เี ดยี ดว้ ยโดยมหี นว่ ยความเรว็ ในการอา่ นขอ้ มลู เปน็ X เชน่ 48X หรอื 50X เปน็ ตน้ ในปจั จบุ นัแทบจะเรยี กไดว้ า่ คอมพวิ เตอรท์ กุ เครอ่ื งจะตอ้ งมไี ดรฟซ์ ดี รี อมอยา่ งนอ้ ย หนง่ึ ไดรฟ์เสมอ ซง่ึ ไดก้ ลายเปน็ มาตรฐานสำหรบั เครอ่ื งคอมพวิ เตอรใ์ นตอนนแ้ี ลว้ ซีดีรอมไดรฟ์จะการอ่านข้อมูลด้วยความเร็วในการหมุนแผ่นที่ไม่คงที่โดยทีจ่ ะอา่ นข้อมลู ทอี่ ย่วู งนอกของแผ่นซดี ดี ้วยความเร็วสงู สุด และจะค่อยๆลดความเรว็ ลงมาเมอ่ื มาอา่ นขอ้ มลู ทอ่ี ยวู่ งในสดุ สว่ นใหญซ่ ดี รี อมไดรฟจ์ ะอา่ นขอ้ มลูที่อยู่ตรงกลางแผ่นซะส่วนมาก ทำให้ใช้ความเร็วเพียงแค่ไม่เกินครึ่งหนึ่งของความเรว็ สงู สดุ ทม่ี เี ทา่ นน้ั ดงั นน้ั ซดี รี อมไดรฟส์ ว่ นใหญจ่ งึ ไมค่ อ่ ยทำงานทค่ี วามเรว็สงู สดุ ของไดรฟเ์ ทา่ ไหรน่ กั อยา่ งเชน่ ซดี รี อมไดรฟค์ วามเรว็ 50X จงึ ไมใ่ ชค่ วามเรว็ ในการอ่านข้อมูลอย่างต่อเนื่อง แต่จะเป็นความเร็วในการอ่านข้อมูลจากแผ่นซีดีทอ่ี ยวู่ งนอกสดุ หลงั จากนน้ั จะคอ่ ยลดความเรว็ ลงมาเมอ่ื มาอา่ นขอ้ มลู ทอ่ี ยวู่ งในดว้ ยความเรว็ ทไ่ี มเ่ กนิ ครง่ึ หนง่ึ ของไดรฟก์ จ็ ะประมาณ 20-25X เทา่ นน้ั สำนกั พมิ พ์ eXP MEDIA

เมาส์และคีย์บอร์ด เมาสแ์ ละคยี บ์ อรด์ เปน็ อปุ กรณส์ ำหรบั ทำหนา้ ทใ่ี นการปอ้ นขอ้ มลู จากผใู้ ช้เขา้ สูเ่ ครือ่ งคอมพวิ เตอร์ ซึง่ ส่วนใหญห่ ากเมาส์และคยี บ์ อรด์ เสยี จะไม่นิยมซอ่ มเพราะเดย๋ี วนเ้ี มาสแ์ ละคยี บ์ อรด์ มรี าคาไมแ่ พง ถา้ มวั แตม่ านง่ั ซอ่ มจะไมค่ มุ้ กบั เวลาทเ่ี สยี ไป เคสและเพาเวอร์ซัพพลาย เคสที่ขายในบ้านเรามักมีเพาเวอร์ซัพพลายติดมาด้วยเสมอจนเป็นของคู่กัน โดยเคสจะมีลักษณะเป็นกล่องเหล็กสี่เหลี่ยมผืนฟ้าใช้สำหรับเป็นที่เก็บอุปกรณ์คอมพิวเตอร์เกือบทั้งหมดไม่ว่าจะเป็นเมนบอร์ด ซีพียู แรม ฮาร์ดดิสก์การด์ แสดงผล การด์ เสยี งรวมถงึ สายแพเชอ่ื มตอ่ ตา่ งๆ สว่ นเพาเวอรซ์ พั พลายนน้ั จะมีหนา้ ทใ่ี นการแปลงไฟและจา่ ยกระแสไฟใหก้ บั อปุ กรณท์ อ่ี ยใู่ นเคส ผู้ใช้หลายคนส่วนใหญ่มักไม่ค่อยให้ความสำคัญกับเพาเวอร์ซัพพลายเทา่ ไหร่ แตห่ ารไู้ มว่ า่ ปญั หาทเ่ี กดิ กบั ฮารด์ ดสิ ก์ และอปุ กรณต์ า่ งๆ บางครง้ั มกั มสี าเหตุมาจากเพาเวอร์ซัพพลาย หากเพาเวอร์ซัพพลายเสียส่วนใหญ่จะสามารถซ่อมไดโ้ ดยการเปลย่ี นฟวิ ส์ หมอ้ แปลง หรอื เปลย่ี นอะไหล่ เคสและเพาเวอร์ซัพพลายสำนกั พมิ พ์ eXP MEDIA

ขั้นตอนการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วยตนเอง การประกอบเครอ่ื งคอมพวิ เตอรด์ ว้ ยตนเอง ปจั จบุ นั ไมใ่ ชเ่ รอ่ื งยากอกี ตอ่ ไปซง่ึ เราสามารถหดั ประกอบดว้ ยตนเองได้ โดยมขี น้ั ตอน ดงั น้ี 1. ขน้ั แรกใหเ้ ตรยี มอปุ กรณท์ จ่ี ำเปน็ สำหรบั การประกอบเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์เชน่ ไขควงสแ่ี ฉก กลอ่ งสำหรบั ใสน่ อ็ ต คมู่ อื เมนบอรด์ คมี ปากจง้ิ จก 2. เรม่ิ จากการตดิ ตง้ั ซพี ยี กู อ่ น โดยงา้ งขาลอ็ คของซอ็ กเกต็ ขน้ึ มาจากนน้ันำซพี ยี มู าใสล่ งไปในซอ็ กเกต็ โดยใหว้ างตำแหนง่ ขาท่ี1 ของซพี ยี แู ละซอ็ กเกต็ ใหต้ รงกนั โดยสงั เกตวา่ ทข่ี าท่ี 1 ของซพี ยี จู ะทำเครอ่ื งหมายเปน็ จดุ เลก็ ไวท้ ม่ี มุ ดา้ นบนของซพี ยี ู สำนกั พมิ พ์ eXP MEDIA

3. เมอ่ื วางซพี ยี ตู รงลอ็ คกบั ซอ็ กเกต็ แลว้ จากนน้ั ใหก้ ดขาลอ็ กลงไปเหมอื นเดมิ แลว้ นำซลิ โิ คนมาทาตรงบรเิ วณคอร์ (แกน) ของซพี ยี ู และไมค่ วรทาซลิ โิ คนให้หนา หากเหน็ วา่ หนาเกนิ ไปใหใ้ ชก้ ระดาษหรอื แผน่ พลาสตกิ มาปาดออกเสยี บา้ ง 4. ติดตั้งฮีทซิงค์และพัดลมลงไปบนคอร์ของซีพียู ติดล็อกให้เรียบร้อยในขน้ั ตอนนม้ี จี ดุ ทต่ี อ้ งระวงั อยู่ 2 จดุ คอื การตดิ ตง้ั ฮที ซงิ คข์ องพดั ลมจะตอ้ งแนบสนทิ กบั คอรข์ องซพี ยี ู อยา่ พยายามกดแรงไป บางทคี อรข์ องซพี ยี อู าจบน่ิ ได้ สว่ นขาสปริงที่ยึดพัดลมบางทีมันแข็งเกินไป บางคนใช้ไขควงพยามยามกดขาสปริงใหเ้ ขา้ ลอ็ ก ซง่ึ อาจทำใหพ้ ลาดไปขดู เอาลายปรน้ิ บนเมนบอรด์ ขาดทำใหเ้ มนบอรด์อาจเสยี หายได้สำนกั พมิ พ์ eXP MEDIA

5. เสยี บสายไฟของพดั ลมเขา้ กบั ขว้ั CPU FAN โดยดจู ากคมู่ อื เมนบอรด์ 6. นำแรมมาเสยี บเขา้ กบั ซอ็ กเกต็ แรมโดยใหต้ รงกบั รอ่ งของซอ็ กเกต็ จากนน้ัจึงกดลงไปจนด้านล็อกทั้ง 2 ด้านดีดขึ้นมา (บางเมนบอร์ดตัวล็อกทั้งสองด้านอาจไมจ่ ำเปน็ ตอ้ งดดี ขน้ึ มากไ็ ดใ้ หด้ วู า่ เขา้ ลอ็ กกนั กพ็ อ) 7. ขนั แทน่ รองนอ็ ตเขา้ กบั เคส สำนกั พมิ พ์ eXP MEDIA

8. นำเมนบอรด์ ทไ่ี ดต้ ดิ ตง้ั ซพี ยี แู ละแรมวางลงไปบนเคส จากนน้ั ขนั นอ็ ตยดึเมนบอรด์ เขา้ กบั ตวั เคสใหค้ รบทกุ ตวั 9. เสยี บการด์ แสดงผลลงไปในสลอ็ ต AGP เสรจ็ แลว้ ขนั นอ็ ตยดึ ตดิ กบั เคสสำนกั พมิ พ์ eXP MEDIA

10. เสยี บการด์ เสยี งลงไปในสลอ็ ต PCI เสรจ็ แลว้ ขนั นอ็ ตยดึ ตดิ กบั เคส 11. เสยี บสายเพาเวอรซ์ พั พลายเขา้ กบั ขว้ั ตอ่ บนเมนบอรด์ โดยควรเสยี บให้ปลก๊ั ของสายเพาเวอรซ์ พั พลายตรงลอ็ กกบั ขว้ั ตอ่ บนเมนบอรด์ สำนกั พมิ พ์ eXP MEDIA

12. สอดไดรฟ์ซดี ีรอมเขา้ กับช่องว่างหนา้ เคส แลว้ ขนั น็อตยึดกับตัวเคสใหแ้ นน่ 13. เสียบสาย IDE เข้ากับไดรฟ์ซีดีรอมโดยให้แถบสีแดงตรงกับขาที่ 1หรอื ดา้ นทต่ี ดิ กบั ขว้ั สายไฟ จากนน้ั จงึ เสยี บสายไฟและสายสญั ญาณเสยี งเขา้ ไปดว้ ย 14. เสยี บสาย IDE อีกดา้ นเขา้ กับข้ัวต่อ Secondary IDE บนเมนบอร์ดโดยแถบสแี ดงตรงกบั ขาท่ี 1 ของขว้ั ตอ่ ดว้ ยสำนกั พมิ พ์ eXP MEDIA

15. สอดฮารด์ ดสิ กเ์ ขา้ กบั ชอ่ งตดิ ตง้ั แลว้ ขนั นอ็ ตยดึ กบั ตวั เคสใหแ้ นน่ 16. เสยี บสาย IDE เขา้ กบั ฮารด์ ดสิ กโ์ ดยใหแ้ ถบสแี ดงตรงกบั ขาท่ี1 หรอื ดา้ นทต่ี ดิ กบั ขว้ั สายไฟ จากนน้ั จงึ เสยี บสายไฟเขา้ ไปดว้ ย สำนกั พมิ พ์ eXP MEDIA

17. เสยี บสาย IDE อกี ดา้ นเขา้ กบั ขว้ั ตอ่ Primary IDE บนเมนบอรด์ โดยแถบสแี ดงตรงกบั ขาท่ี 1 ของขว้ั ตอ่ ดว้ ย 18. สอดไดรฟฟ์ ลอ็ บปด้ี สิ กเ์ ขา้ ไปในชอ่ งตดิ ตง้ั แลว้ ขนั นอ็ ตยดึ กบั ตวั เคสใหแ้ นน่สำนกั พมิ พ์ eXP MEDIA

19. เสยี บสายไฟเขา้ กบั ขว้ั ตอ่ สายไฟของฟลอ็ บปด้ี สิ ก์ ใหส้ งั เกตสายไฟของฟลอ็ บปด้ี สิ กจ์ ะมหี วั ขนาดเลก็ กวา่ สายไฟของซดี รี อมและฮารด์ ดสิ ก)์ 20. เสียบสายแพขนาด 34 เส้น (เส้นเล็กกว่าสายแพของฮาร์ดดิสก์และซดี รี อม) ใหด้ า้ นทม่ี กี ารไขวส้ ายเขา้ กบั ขว้ั ตอ่ ไดรฟฟ์ ลอ็ บปด้ี สิ ก์ โดยแถบสแี ดงของสายแพต้องตรงกับขาที่ 1 ของขั้วต่อด้วย หากใส่ผิดด้านไฟของไดรฟ์ฟลอ็ บปด้ี สิ กจ์ ะตดิ ตลอด วธิ แี กไ้ ขคอื ใหห้ นั สายแพกลบั ดา้ นเพราะไดรฟฟ์ ลอ็ บปด้ี สิ ก์บางยห่ี อ้ อาจตอ้ งใสส่ ลบั ดา้ นกนั สำนกั พมิ พ์ eXP MEDIA

21. เสยี บสายแพอกี ดา้ นเขา้ กบั ขว้ั ตอ่ ฟลอ็ บปด้ี สิ กบ์ นเมนบอรด์ โดยใหส้ ายสแี ดงตรงกบั ขาท่ี 1 หรอื pin1 ของขว้ั ตอ่ ดว้ ย 22. เสียบสายสัญญาณต่างๆ จากเคส เช่น สวิตช์เปิดปิดเครื่อง ไฟบอกสถานะเปิดเครื่อง ไฟบอกสถานะฮาร์ดดิสก ปุ่ม Reset ลำโพง ลงบนเมนบอร์ดควรดคู มู่ อื เมนบอรด์ ประกอบดว้ ย โดยตอ้ งเสยี บขว้ั ใหถ้ กู หากผดิ ขว้ั คอมพวิ เตอร์จะไมต่ ดิ หรอื มไี ฟคา้ งตลอดเวลา วธิ แี กไ้ ขคอื ใหเ้ ราลองสลบั ขว้ั และเปดิ เครอ่ื งขน้ึมาใหม่สำนกั พมิ พ์ eXP MEDIA

23. เม่ือเสรจ็ เรยี บรอ้ ยแล้วให้เราลองสำรวจดูวา่ มนี ็อตหรอื อุปกรณ์อืน่ ๆตกคา้ งอยบู่ นเมนบอรด์ หรอื ไม่ เพราะอาจทำใหเ้ กดิ กระแสไฟลดั วงจรจนเกดิ ความเสยี หายตอ่ เมนบอรด์ และอปุ กรณต์ า่ งๆ บนเมนบอรด์ ได้ นอกจากนค้ี วรตรวจสอบการติดตั้งทั้งหมดว่าเรียบร้อยดีแล้ว เช่น การ์ดต่างๆ หรือสายสัญญาณเสียบแนน่ หนาดหี รอื ยงั โดยเฉพาะฮที ซงิ คแ์ ละพดั ลมตอ้ งแนบสนทิ กบั ซพี ยี ู พรอ้ มทง้ั ลอ็ กตดิ กนั อยา่ งแนน่ หนา 24. เมอ่ื เรยี บรอ้ ยดแี ลว้ ปดิ ฝาเคสและขนั นอ็ ตใหเ้ รยี บรอ้ ย กเ็ ปน็ อนั เสรจ็ สน้ิขน้ั ตอนการประกอบเครอ่ื งอยา่ งถกู ตอ้ งและสมบรู ณแ์ บบแลว้ สำนกั พมิ พ์ eXP MEDIA

ประกอบเครื่องเสร็จแล้ว แต่กลับไม่สามารถบู๊ตเครื่องขึ้นมาได้เพราะมองเห็นฮาร์ดดิสก์ จะแก้ไขอย่างไร หลงั จากทป่ี ระกอบเครอ่ื งเสรจ็ แลว้ ตอ้ งมกี ารกำหนดคา่ ไบออสใหร้ จู้ กั กบัฮารด์ ดสิ กท์ ต่ี ดิ ตง้ั ในเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ แตใ่ นปจั จบุ นั เมนบอรด์ รนุ่ ใหมไ่ มจ่ ำเปน็ตอ้ งเขา้ ไปกำหนดคา่ ในไบออสแลว้ เพราะไบออสจะรจู้ กั ฮารด์ ดสิ กเ์ องโดยอตั โนมตั ิแต่หากเปน็ เมนบอรด์ รนุ่ เกา่ ใหเ้ ขา้ ไปกำหนดคา่ ไบออสทห่ี วั ขอ้ IDE HDD AutoDetection เพอ่ื ใหไ้ บออสตรวจสอบคา่ ทเ่ี หมาะสมใหโ้ ดยอตั โนมตั ิ แตห่ ากตอ้ งการกำหนดเองก็สามารถเข้าไปกำหนดค่าได้ที่หัวข้อ Standard CMOS Setupโดยใหเ้ ราใสค่ า่ Head, Cylinder, Sector ของฮารด์ ดสิ กน์ น้ั ลงไปใหถ้ กู ตอ้ ง อกี สาเหตหุ นง่ึ ทท่ี ำใหค้ อมพวิ เตอรม์ องไมเ่ หน็ ฮารด์ ดสิ กเ์ นอ่ื งจากการเซต็จมั เปอรไ์ มถ่ กู ตอ้ ง ซง่ึ เราสามารถดกู ารเซต็ จมั เปอรท์ ถ่ี กู ตอ้ งไดบ้ นตวั ฮารด์ ดสิ ก์ ทส่ี ว่ นใหญท่ างผผู้ ลติ ฮารด์ ดสิ กจ์ ะตดิ สตก๊ิ เกอรบ์ อกตำแหนง่ การเซต็ จมั เปอรท์ ถ่ี กู ตอ้ งมาให้ดว้ ย นอกจากนใ้ี หต้ รวจสอบการเชอ่ื มตอ่ ของสายสญั ญาณตา่ งๆ เชน่ สาย IDE และสายไฟวา่ มกี ารหลดุ หลวมหรอื ไม่ หากพบวา่ มกี ใ็ หท้ ำการเชอ่ื มตอ่ ใหแ้ นน่ และควรตรวจสอบดว้ ยวา่ เสยี บสายสญั ญาณถกู ตอ้ งตรงขว้ั หรอื ไมด่ ว้ ยสำนกั พมิ พ์ eXP MEDIA

ขาล็อกของฮีตซิงค์แข็งมาก ไม่สามารถล็อกเข้ากับซ็อกเก็ตของซีพียูได้ จะแก้ปัญหาอย่างไร ขาลอ็ กของฮตี ซงิ คท์ ม่ี ขี นาดใหญส่ ว่ นมากจะมคี วามแขง็ แรงมาก ทำใหม้ อืใหมท่ เ่ี พง่ิ หดั ประกอบเครอ่ื งอาจไมส่ ามารถตดิ ตง้ั ได้ วธิ กี ารแกป้ ญั หานก้ี ค็ อื การใช้ด้ามพลาสติกที่มีความแข็งแรงหรือปลายไขควงขนาดเล็ก งัดเกี่ยวขาล็อกฮตี ซงิ คใ์ หเ้ ขา้ กบั ซอ็ กเกต็ ของซพี ยี ู อยา่ งไรกต็ ามการใชไ้ ขควรงดั เกย่ี วขาลอ็ กของฮตี ซงิ คจ์ ำเปน็ ตอ้ งทำดว้ ยความระมัดระวัง เพราะหากพลาดพลั้งอาจทำให้ปลายของไขควรไปขูดเข้ากับลายปรนิ ซบ์ นเมนบอรด์ ฉกี ขาด ทำใหเ้ กดิ ความเสยี หายตอ่ ตวั เมนบอรด์ ได้ ทางทด่ี ีแนะนำใหใ้ ชด้ า้ มพลาสตกิ ทม่ี คี วามแขง็ แรงมากๆ หนอ่ ยจะดกี วา่ การใชไ้ ขควงครบัเพราะหากไมช่ ำนาญสว่ นใหญห่ ลายคนจะพลาดในสว่ นนแ้ี ทบทง้ั สน้ิ ครบั หากเมนบอรด์ เกดิ ความเสยี หายจากการทถ่ี กู ไขควรขดู เอาลายปรนิ ซฉ์ กีขาด เราสามารถนำเมนบอรด์ ไปเชอ่ื มตอ่ ลายปรนิ ซใ์ หมไ่ ด้ ซง่ึ อาจตอ้ งเสยี คา่ ใชจ้ า่ ยบา้ ง แตเ่ มอ่ื เทยี บกบั เมนบอรด์ ราคาแพงแลว้ เชอ่ื วา่ ยงั คมุ้ คา่ อยคู่ รบั สำนกั พมิ พ์ eXP MEDIA


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook