Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

9C

Published by Pond King, 2021-10-09 01:42:30

Description: 9C

Search

Read the Text Version

High Alert Drug By KKU nursing students

ยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs) คือกลุ่มยาที่มีโอกาสสูงที่จะเกิด อันตรายแก่ผู้ป่วย เพราะมีดัชนีการรักษาแคบ หรือมีผลข้างเคียงร้ายแรงต่ออวัยวะสำคัญ เช่น สมอง หัวใจ ไต ฯลฯ (โรงพยาบาลมหาราช นครศรีธรรมราช, 2562)

Insulin Injection ใช้ควบคุมระดับน้ำตาลในผู้ป่วย Type 1 diabetes mellitus, Type 2 diabetes mellitus, Gestational diabetes mellitus

Insulin Injection การบริหารยา การเฝ้าระวังอาการข้างเคียง -Novorapid, NovoMix ควรบริหารภายใน 15 นาที -ก่อนการให้ยาควรสังเกตอาการ hypoglycemia ก่อนอาหาร หรือพร้อมรับประทานอาหารคำแรก -ก่อนให้ยาทุกครั้ง ตรวจสอบค่า POCT (Point of -Actrapid HM, Mixtard HM ควรบริหารยาก่อน care testing) glucose 4 เวลา อาหาร 30 นาที -ติดตามผลข้างเคียงหลังการให้ยา ลงบันทึก Total -ใช้ NSS, SWI เป็นสารละลายเจือจาง ความคงตัว daily insulin dose รวมถึงลงบันทึกตำแหน่ งที่ฉีดยา จะยังคงอยู่ 24 ชั่วโมงหลังผสม -แนะนำผู้ป่วยและญาติให้เฝ้าระวังอาการไม่พึง ประสงค์ที่สำคัญหลังให้ยา คือ ระดับน้ำตาลในเลือด ต่ำ แบ่งตามระดับความรุนแรงได้ดังนี้ -Mild to moderate: หิว, คลื่นไส้, ใจสั่น, หัวใจเต้น ข้อควรระวัง เร็ว, มือ/ตัวสั่น, ปวดศีรษะ, ตาพร่า, สมาธิลดลง และ -เก็บยาในตู้เย็น 2-8 องศาเซลเซียส ห้ามเก็บที่ฝาตู้เย็น อาจท้าให้เกิดภาวะ hypokalemia, hypomagnesemia และช่องแช่แข็ง แยกจากยาฉีดอื่นให้ชัดเจน มีป้ายระบุ และ hypophosphatemia ได้ -ควรให้ยาทาง SC เท่านั้ น มีเพียง Regular insulin -Severe: confusion, seizure และ coma, cardiac เท่านั้ นที่ให้ผ่านหลอดเลือดดำได้ dysrhythmias (จาก hypokalemia ) -ตำแหน่ งที่เหมาะสมในการฉีดคือ sc โดยฉีดหน้ า ท้อง>สะโพก>ต้นแขน>ต้นขา ตามลำดับ -ก่อนใช้ยาอินซูลินชนิ ดขุ่น ได้แก่ Insulatard, Novomix, Mixtard ให้คลึงขวดยาในฝ่ามือไปมา ห้ามเขย่า

ตำแหน่งในการฉีด Insulin เมื่อเกิดอาการข้างเคียง หยุดการให้ insulin แจ้งแพทย์ ให้ 50% glucose 20-50 ml IV bolus ดีขึ้น ยังไม่ดีขึ้น Blood sugar หลัง ให้ 50% glucose 20-50 ml IV bolus ให้การรักษาใน กินไม่ได้ให้ 5%/10% dextrose 15-30 นาที infusion rate 100-120 ml/hr ซ้ำทุก 2 ชั่วโมงจน จนกว่าจะกินได้ ระดับน้ำตาลเป็น ปกติ 2 ครั้ง ใน 24 ชั่วโมงแรก

Norepinephrine injection Levophed® ความแรง 4 mg/4 ml

การบริหารยา: ข้อบ่งใช้ -ความเข้มข้นมาตรฐานเมื่อให้ทาง peripheral line ช่วยหดหลอดเลือด ใช้เพิ่มความดันโลหิต คือ <= 4 mg/250 mL (16 mcg/mL) หรือ 1 amp ต่อ ใช้ในผู้ป่วยที่มีอาการ Hypotension/shock ที่ 5DW หรือ 5DS 250 mL กรณีต้องการความเข้มข้น มากกว่านี้ แนะนำให้ทาง central venous line โดย ให้สารน้ำอย่างเพียงพอแล้วยังไม่ได้ผล สามารถให้ความเข้มข้นได้ถึง 64 mcg/mL -ขนาดยาสูงสุดโดยปกติไม่เกิน 30 mcg/min แต่ใน กรณี refractory shock สามารถเพิ่มขนาดยาจนถึง 90 mcg/min

ข้อควรระวัง การติดตามการให้ยาผู้ป่วย -Double check ทุกครั้ง -ผสมใน 5DW เท่านั้ น เก็บยาให้พ้นแสง หากยามี -ลงบันทึกสัญญาณชีพ บันทึกทุก 15 นาที จากนั้ นทุก 1 ชั่วโมง สีชมพู สีเหลือง หรือมีตะกอน ไม่ควรใช้ยา -ลงบันทึกอาการและอาการแสดง extravasation ได้แก่ ผิวซีด เขียว หรือมีการอักเสบที่บริเวณ IV site รวมถึงการดูด blood -ห้ามผสมหรือให้ยาร่วมกับสารละลายที่มีฤทธิ์เป็นด่าง เช่น return แล้วไม่มีเลือด สังเกตอัตราหยด ลงบันทึกทุก 1 ชั่วโมง sodium bicarbonate, whole blood รวมถึง Aminophylline, หากพบอาการดังกล่าว Ampicillin, furosemide, piperacillin-tazobactam, ให้หยุดยาทันที คาเข็มไว้ จากนั้ นต่อ syringe 5 ml กับเข็มที่คาไว้ phenytoin , Vitamin K, digoxin ผ่านทางสายยางที่ให้ยานี้ ดูดยาออกมาให้มากที่สุด ดึงเข็มออก ห้ามกดบริเวณที่ยารั่ว จาก นั้ นรายงานแพทย์เจ้าของไข้ และเปลี่ยนตำแหน่ งสำหรับให้ยา -ควรให้ยาในเส้ นเลือดดำขนาดใหญ่แบบเจือจางผ่าน หลังจากนั้ นติดตามอาการ Tissue necrosis หรือ ulcer อย่าง ทาง infusion pump ห้ามให้ IV push เฝ้าระวังการเกิด น้ อย 48 ชั่วโมง หากพบอาการดังกล่าวให้รายงานแพทย์ extravasation -เก็บรักษายาต่างหาก โดยมีฉลากเตือน

Adrenaline Injection ความเข้มข้น 1 mg/ ml หรือ 1 : 1000 (1 gm/ 1,000 ml) ข้อบ่งใช้ กระตุ้นการทำงานของหัวใจในผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจหยุดเต้น

ข้อควรระวัง 1.ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่มีความดันโลหิตสูง 2.ระมัดระวังในผู้ป่วยที่มีโรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ ผู้ที่มีปัญหาหลอดเลือดส่วนปลาย ยานี้เมื่อผสมในสารละลายใดๆ จะคงตัวได้ 24 ชั่วโมง 3.หลีกเลี่ยงการให้ IM บริเวณสะโพก อาจทำให้หลอดเลือดตีบจนกล้ามเนื้ อตาย ทั้งที่อุณหภูมิห้อง หรือในตู้เย็น และควรเก็บให้พ้นแสง ยาที่สามารถใช้ร่วมกับยานี้ ได้: dopamine, dobutamine 4.สามารถบริหารยาได้ทั้งทาง IM, Sc, IV bolus, IV infusion ดังนี้ ยาที่ไม่สามารถใช้ร่วมกับยานี้ : Aminophylline, sodium IM, Sc สามารถให้ Adrenaline 1 amp bicarbonate, alkali solution (สารละลายด่าง) ที่มีความเข้มข้น 1 mg/ml = 1:1000 = 1 in 1000 เท่านั้ น IV bolus ควรเจือจาง Adrenaline 1 amp ด้วย D5W หรือ NSS 9 ml ให้ได้ความเข้มข้น 1:10,000 และฉีดเข้าหลอดเลือดดำอย่างช้าๆ ประมาณ 5-10 นาที ( การให้ IV push จะใช้ใน การแก้ไข anaphylactic shock ที่รุนแรงเท่านั้ น) IV infusion: ควรใช้ infusion pump ขนาดยา 0.01-2 mcg/kg/min โดยละลายด้วย D5W or NSS ตามตารางการให้ยา (การให้ยาเร็วอาจเกิดเลือดออกในสมอง หรือ หัวใจเต้นเร็ว)

Adrenaline Injection การเฝ้าระวังหลังการให้ยา ( กรณี CPR ทันทีเมื่อผู้ป่วยมีชีพจร, กรณี Anaphylaxis ทุก 10 นาที จนครบ 30 นาที /กรณี Hypotension ที่ให้ IV drip ทุก 1 ชั่วโมงตลอดระยะเวลาที่ให้เวลา) HR (ค่าปกติ 60-120 bpm) BP (ค่าปกติ 90/60-160/100 mmHg) ทุก 1 ชั่วโมง สังเกตอาการผิวซีดเย็นหรือเขียว และการอักเสบที่ IV site หากพบให้เปลี่ยนบริเวณให้ยา อาการไม่พึงประสงค์ ปวดศีรษะ หายใจหอบเหนื่ อย แน่ นหน้ าอก ปลายมือ ปลายเท้าเขียว

Warfarin 1 mg (ขาว), 2 mg (ส้ม), 3 mg (ฟ้าเข้ม), 4 mg (เหลือง), 5 mg (ชมพู) ข้อบ่งใช้: ยาในกลุ่มยาต้านการแข็งตัวของเลือด มีผลทำให้ เลือดแข็งตัวช้า สามารถป้องกันการเกิดลิ่มเลือดอุดตันใน ระบบไหลเวียนเลือดของร่างกาย (โรงพยาบาลกรุงเทพ หาดใหญ่, 2561)

การบริหารยา ข้อควรระวัง : -ควรตรวจสอบความแรงก่อนให้ยาทุกครั้ง -ห้ามใช้ระหว่างตั้งครรภ์ โดยเฉพาะในไตรมาศแรกเพราะผ่านรกได้ -งดการให้ยาผ่าน IM หากยังคงได้รับยานี้อยู่ -ระมัดระวังอันตรกิริยากับยาอื่นๆ โดยตรวจสอบก่อนใช้ร่วมกัน ยาที่มีผลลดฤทธิ์ และเพิ่มโอกาสเกิดภาวะ clotting ได้แก่ Grisiofluvin , Rifampin, Ribavarin, Barbiturate, Carbamazepine ยาที่ลดการดูดซึมยา (หากต้องการให้ ควรให้ห่างกัน 2 ชั่วโมง) ได้แก่ ยาลดกรด ,Sucralfate, Cholestyramin ยาที่มีผลเพิ่มฤทธิ์ และเพิ่มอากส bleed ได้แก่ Paracetamol, Omeprazole , Cimetidine, Diltiazem, Propranolol,Amiodarone, Gemfibrozil , Ketoconazole, Fluconazole,Itraconazole, Clarithromycin, Erythomycin, Metronidazole, Sulperazone, Cotrimoxazole, ยากลุ่ม NSAIDs, ยากลุ่ม quinolones, Aspirin , Phenytoin, Ritonavir, Xeloda, Fluorouracil (SFU), ยารักษาไทรอยด์(PTU, eltroxin, methimazole) ***ยากลุ่ม quinolones เช่น Ciprofloxacin, Levofloxacin, Ofloxacin, Moxifloxacin, Norfloxacin ***ยากลุ่ม NSAIDs เช่น diclofenac, Ibuprofen, piroxicam, Naproxen

การติดตามอาการหลังการให้ยา: - ติดตามอาการไม่พึงประสงค์ตลอดเวลาที่ให้ยา รวมถึงแนะนำผู้ป่วยและญาติDใowหn้lสoัadงtเhกis bตacอkgาroกunาdรand use it in the ได้แก่ เกิดรอยช้ำ/จ้ำเลือด, เoลnืlinอeดcaอll wอithกyoบurรfิrเieวndณs for a complete gaming experience. เหงือก, เลือดกำเดาออก, อาKเinจdีlยy dนeleเtปe็tนhisเnลoืteอaดfte,r editing this page. ปัสสาวะมีสีแดง,อุจจาระมีเลือดปน หรือมีสีดำ, ขาบวม ชา, ตาพร่า, ปวดเมื่อย ไม่มีแรง, หากมี อาการผิดปกติให้ลงบันทึกและรายงานแพทย์ -ติดตามค่า INR (International normalized ratio) หรือการตรวจระยะเวลาในการแข็งตัวของ เลือด ค่าปกติ 2-3 หรือ 2.5-3.5 ตรวจวัดทุกครั้ง ที่มีการปรับขนาดยา หรือการใช้ยาที่มีอันตรกิริยา โดยเริ่มหลังใช้ยาไปแล้ว 3 วัน จากนั้ นทุก 1 wk ต่อไปทุก 1 เดือน

Heparin ความแรง 5000 unit/ml (5 ml) ข้อบ่งใช้: ยาต้านการแข็งตัวของเลือด(anticoagulant) ที่ช่วยป้องกันการก่อตัว ของลิ่มเลือด การบริหารยา -การคำนวณยา Heparin คือ ปริมาตร(ml)= units ที่ต้องการ/ 5000 units/ml *ปรับยาตามขนาดตัวและอาการทางคลินิ ก total dose 48,000 units/da (2,000 units/hour)

การปรับเรทยา -การให้แบ บ bolus IV: ใช้ครั้งแรกโดยผ่านสายให้สารน้ำที่เข้ากันได้ โดยให้ 5,000 units ใช้เวลา 1 นาที; ในเด็กใช้ขนาด 50 units/kg ให้ >1 นาที -การให้แบบ continuous IV infusion: สามารถให้ยาที่ไม่ได้เจือจาง และควรใช้ infusion pump โดยอัตราเร็วขึ้นกับขนาดที่ต้องการ ดังนี้ - การให้แบบ subcutaneous ใช้กับการให้ heparin แบบ fixed low-dose (ขนาดยา 5,000- 7,500 unit ทุก 12 ชั่วโมง) ไม่จำเป็นต้องเจือจางยา การฉีดยาให้ฉีดแบบ intrafat หรือ deep subcutaneous ควรฉีดบริเวณ abdominal fat layer ห่างจากสะดือมากกว่า 2 นิ้ ว หลังฉีดให้กดบริเวณที่ฉีดยาเบาๆ 5-10 วินาที ห้ามนวดบริเวณที่ฉีดและเปลี่ยนที่ฉีดครั้งต่อ ไปเพื่อป้องกันการเกิด hematoma

ข้อควรระวัง หลังเจือจางยาควรใช้ยาภายใน 24 ชั่วโมง -ห้ามใช้ในผู้ที่มีภาวะเลือดออกง่าย หรือมีเกล็ดเลือดต่ำกว่า 100,000 /mm3 หากจำเป็นต้อง ใช้ให้ปรึกษาแพทย์ -ห้ามให้ยาโดยวิธี Intramuscular เนื่องจากทำให้ระคายเคืองและปวดบริเวณที่ฉีด การติดตามการให้ยาผู้ป่วย -ลงบันทึก Dose (unit/hr.) จากนั้นให้ดำเนินการตรววจค่าผลตรวจทางห้องปฏิบัติการตาม วิถีทางที่ให้ ได้แก่ IV ตรวจก่อนให้ยา 30 นาที และต่อไปทุก 4-6 ชั่วโมง จนได้ค่าเป้าหมาย จากนั้น ตรวจทุก 24 ชั่วโมง Sc ตรวจก่อนและหลังให้ยา 6 ชั่วโมง และต่อไปทุก 12-24 ชั่วโมง -

-การตรวจผลตรวจทางห้องปฏิบัติการและสั ญญาณชีพที่สำคัญระหว่างการให้ยา ให้ลงบันทึก base line ของผู้ป่วยไว้ จากนั้ นให้ทำการตรวจ aPTT, HR, BP ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการต่อไปนี้ ให้ตรวจก่อนให้ยา จากนั้ นตรวจทุก 3 วัน Platelet count ค่าปกติ >= 100,000/mm3 Hb ค่าปกติ 12-18gm/dL Bleeding มีอาการแสดงของภาวะเลือดออกผิดปกติ *ค่าผิดปกติ คือ aPTT>2.5 เท่าของปกติ, platelet count <100,000/mm3, Hb ลดลง > 2 gm/dL, พบ Bleeding รวมถึงมี Hr >120/<60, BP <90/60 mmHg แสดงถึงการมีภาวะเลือดออก จึงควรตรวจวัดทุก 2-4 ชั่วโมง



Fentanyl Fentanyl injection 50 mcg/ml (หน่ วยเป็นไมโครกรัม) ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการปวดแบบปานกลางถึงรุนแรง กลุ่ม Opioid การผสมยา Fentanyl 50 mcg/ml —> 10 ml (500mcg / amp) - ความเข้มข้น 5:1 (5 mcg/1 ml) ผสม Fentanyl 1 amp (500 mcg) + NSS/D5W up to 100 ml - ความเข้มข้น 10:1 (10 mcg/ 1 ml) ผสม Fentanyl 2 amp (1000 mcg ) + NSS/D5W up to 100 ml ข้อควรระวัง ห้ามใช้ร่วมกับยากลุ่ม monoamine oxidase inhibitors (MAOIs) ได้แก่ Selegiline และควรหยุดยา MAOIs มากกว่า 2 สัปดาห์ Antidote: Naloxone 0.2 mg (IV, IM, Sc) ซ้ำทุก 2-3 นาที จำนวน 2 ครั้ง จากนั้ น ปรึกษาวิสั ญญี

การเฝ้าระวังหลังการให้ยา ทุก 1 ชั่วโมง x 4 ครั้ง จากนั้ นทุก 4 ชั่วโมง RR, BP ,HR Sedative score (ค่าปกติน้ อยกว่า 2) 0 = ไม่ง่วงซึม ตื่นสดชื่นดี 1 = ง่วงซึมเล็กน้ อย ปลุกตื่นง่าย 2 = ง่วงซึมปานกลาง, ง่วงบ่อย หรือตลอดเวลา แต่ปลุกตื่นง่าย 3 = ง่วงซึมอย่างรุนแรง หลับมาก ปลุกตื่นยาก Pain score (ค่าปกติ <4) Pupils mm O2 saturation (ค่าปกติ 94%) อาการไม่พึงประสงค์ ปวดศีรษะ สับสน เกร็งกระตุก (ให้ยาเร็ว/ขนาดสูง) เจ็บหน้ าอก คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร ท้องผูกติดต่อกันเกิน 3 วัน

Morphine Injection Injection: 10 mg/ml; 1 ml Syrup: 2 mg/ml;60 ml Immediate Release tablet: 10 mg ; Retard Tablet: MST 10,30,60 mg (ห้ามบด เคี้ยว หัก แบ่งเม็ดยา) Capsule: Kapanol 20,50,100 mg ห้ามบดแกรนูล (NG tube) Antidote : Naloxone 0.2 mg (IV, IM, Sc) ซ้ำ 2-3 นาที จำนวน 2 ครั้ง จากนั้ นปรึกษา วิสั ญญี ข้อบ่งชี้ในการใช้ 1.ใช้ระงับปวดระดับปานกลาง (Pain score 4-6) ถึงรุนแรง (Pain score 7-10) เช่น ปวดแผล ผ่าตัด ปวดจากกระดูกหักและการปวดเรื้อรัง เช่น โรคมะเร็ง 2.ใช้ระงับปวดจากกล้ามเนื้ อหัวใจขาดเลือด 3.ใช้ระงับอาการหายใจเหนื่ อย จากหัวใจห้องล่างซ้ายล้มเหลว เกิดภาวะปอดมีเลือดคั่ง

การติดตามอาการให้ยาผู้ป่วย -IV push ทุก 5 นาที x4 ครั้ง -Sc,IM ทุก 15 นาทีx4 ครั้ง และต่อไปทุก 30 นาที x 2 ครั้ง -IV infusion, oral ทุก 1 ชั่วโมง x 4ครั้งและต่อไปทุก 4 ชั่วโมง RR, BP, HR Sedative score (ค่าปกติ <2) 0 = ไม่ง่วงซึม ตื่นสดชื่นดี 1 = ง่วงซึมเล็กน้ อย ปลุกตื่นง่าย 2 = ง่วงซึมปานกลาง, ง่วงบ่อย หรือตลอดเวลา แต่ปลุกตื่นง่าย 3 = ง่วงซึมอย่างรุนแรง หลับมาก ปลุกตื่นยาก อาการไม่พึงประสงค์ Pain score (ค่าปกติ <4) ปวดศีรษะ Pupils (ค่าปกติ mm) เกร็งกระตุก O2 saturation (ค่าปกติ คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร ท้องผูกติดต่อกัน 3 วัน ปัสสาวะลำบาก ตัวเขียว ตัวเย็น


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook