Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Pocket Book Send

Pocket Book Send

Published by tartzalomo, 2017-05-01 02:04:57

Description: Pocket Book Send

Search

Read the Text Version

CaravaggioCaravaggio

สารบัญ 3 4Biography 7น ชวี ิตเบือ้ งตน (ค.ศ. 1571–ค.ศ. 1592) 9 ชีวิต ณ กรงุ โรม (ค.ศ.1592-1600) 12Artwork in Early Life 16 Boy Peeling a Fruit 23 Boy with a Basket of Fruit 25 The Cardsharps 27 28Most Famous Painter in Rome 47 “จิตรกรผูม ีชอื่ เสียงท่ีสดุ ในโรม” (ค.ศ. 1600–1606) 51ArtwDeoartkh ionf tMheoVsitrgFinamous Life The Entombment Amor VictoriousMasterpieces of CaravaggioExile and Death “ลี้ภัยและความตาย” (ค.ศ. 1606–ค.ศ. 1610)บรรณานุกรม

บทนำ ผูเขียนตั้งใจและเรียบเรียงหนังสือเลมนี้มาเพื่อใหทราบถึงประวัติของศิลปนMichelangelo Merisi da Caravaggio หรอื ท่รี จู ักกันในนาม “Caravaggio” อีกทง้ั ผเู ขยี นยังไดรวบรวมผลงานเดนๆบางสวนของตัวศิลปนที่มีอิทธิพลตอศิลปะในยุคนั้นอยางมาก ในวัยหนุมของคาราวัจโจจัดไดวาเปนนักเลงผูมีอารมณรุนแรงเพราะมีเรื่องทะเลาะววิ าทกบั คนอน่ื ตลอดเวลา เมอ่ื อายุ 21 เขาไดฆาคนตายจากการดวลดาบทำใหต อ งยา ยถนิ่ ทีอ่ ยใู หม แตเมอื่ อายุ 25 คาราวจั โจไดว าดภาพ “Bacchus” เมือ่ ภาพน้ีถกู เผยแพรอ อกไปคาราวจั โจก็ไดม ชี ื่อเสียงโดง ดงั ภาพวาดสว นใหญข องคาราวจั โจมโี ทนสที ่รี ุนแรง ทารุณ เชนเดียวกบั นสิ ัยเลือดรอนของตัวศิลปนคาราวัจโจมักวาดภาพคนถือดาบเนื่องจากดาบแสดงถึงความมีสกุลที่คาราวัจโจวาดภาพคนถือดาบเปนสวนใหญอาจเพราะตองการลบปมดอยของตนเองที่ในสมัยเดก็ เตบิ โตในตระกูลยากจน เมื่อคาราวัจโจเสียชีวิตอยางนาเวทนาผลงานของเขาก็ถูกพบวาเปนศิลปะท่ียงิ่ ใหญ ในภาพมกี ารเลนแสง ใชแ สงในการเพิ่มอารมณใ นภาพ นอกจากนค้ี าราวจั โจยังวาดพ้ืนหลงั ใหม ืดเพือ่ เนนความรุนแรงอกี ทั้งภาพยังดสู มจรงิ มากกวาภาพวาดอีกดว ย พรรณนารายณ สบื เพ็ง พฤษภาคม 2560

Michelangelo Merisi da Caravaggio

Biographyชีวติ เบ้ืองตน (ค.ศ. 1571–ค.ศ. 1592) คาราวจั โจเกดิ ทีม่ ิลาน ท่ีพอแฟรโ ม เมรีชีเปน ผูบริหารกิจการภายในและสถาปนกินักตกแตงแกมารควิสแหงคาราวัจโจลูเชียอาราตอรีแมของการาวัจโจมาจากครอบครัวผูมีอนั จะกินในบริเวณเดยี วกันในปค.ศ.1576 ครอบครวั กย็ า ยไปคาราวจั โจในลอมบารด เี พื่อหนโี รคระบาดในมลิ าน พอของคาราวัจโจเสียชวี ิตท่นี น่ั ในปค.ศ.1577 และแมใ นปค.ศ.1584จึงสันนิษฐานวาการาวัจโจเติบโตที่หมูบานการาวัจโจแตครอบครัวยังรักษาความสัมพันธกับตระกลู สฟอรซ า (Sforza) และตระกลู โคโลนา (Colona) ท่ีเปน ครอบครัวท่มี อี ทิ ธพิ ลและเปนพันธมิตรกับตระกูลสฟอรซาจากการแตงงานครอบครัวนี้ตอมามีความสำคัญตอในชีวิตของการาวจั โจ ใน ค.ศ. 1584 การาวจั โจฝกงานเปน เวลาส่ีปก ับจิตรกรชาวลอมบารดช่อื ซโี มเนเปแตรซ าโน (Simone Peterzano) ผูท่บี รรยายตัวเองในสญั ญาการฝกงานวา เปนลูกศษิ ยของทเิ ชียน ดเู หมือนวา การาวจั โจจะพำนกั อยทู บ่ี ริเวณมลิ าน คาราวจั โจหลังจากฝก งานเสรจ็ แตก เ็ ปน ไปไดวาไดไ ปเวนิสและไดไปเห็นงานของ จอรโ จเนผูท เ่ี ฟเดอรโิ ค ซคู คารกิ ลาวหาวา เลยี นแบบ และของทิเชยี น นอกจากนั้นคาราวจั โจกย็ ังมคี วามคนุ เคยกับงานมคี า ตางๆของมลิ าน รวมทั้งงาน “พระกระยาหารคำ่ ม้ือสุดทา ย” โดยเลโอนารโด ดา วินชี และงานของลอมบารดีซึ่งมีจะไปทางที่เรียบงายและเปนธรรมชาติที่ใกลกับลักษณะธรรมชาตินิยมของเยอรมนั กวาลกั ษณะอนั หรูหราใหญโ ตแบบแมนเนอรสิ มข องโรม 3

ชวี ติ ณ กรุงโรม (ค.ศ.1592-1600) ในกลางป ค.ศ.1592 การาวจั โจหนีจากมลิ านหลังจากเหตกุ ารณบ างอยางทกี่ ารา วัจโจไปทำรายตำรวจ คาราวัจโจมาถงึ กรุงโรมอยาง“ตัวเปลาเลาเปลอื ยและมแี ตต อ งพึ่งพา อาศยั ผูอ ่ืน โดยไมม ที อ่ี ยูท ่ีถาวรและอาหารการกนิ ไมม ีเงินตดิ ตวั ” สองสามเดอื นตอมา คาราวัจโจก็ไดทำงาน “เขยี นดอกไมและผลไม” ใหกับจยุ เซป็ ปเซซารชิ างเขยี นคนโปรดของ สมเด็จพระสนั ตะปาปาคลีเมนตที่ 8 ผเู ปนชา งเขียนที่มีความสำเร็จดีในเวิรค ช็อพทค่ี ลายโรง งานงานเขียนจากชวงนี้ก็ไดแกงานเขียนชิ้นเล็ก“เด็กชายปอกผลไม”ซึ่งเปนงานเขียนเทาที่ ทราบวา เปน งานเขียนชนิ้ แรกเชน่ี เดยี วกบั “เด็กชายกับตะกรา ผลไม” และ “บาคคสั ไม สบาย”ซึ่งวากันวาเปนภาพเหมือนตนเองระหวางที่นอนปวยหนักอยูจนในที่สุดตองหยุดทำ งานใหกับเซซาริงานทั้งสามแสดงใหเห็นลักษณะการเขียนรางกายอยางหนึ่งที่เปนลักษณะ เหมือนจริงซึ่งกลายมาเปนลักษณะที่มีเดนของการเขียนภาพของคาราวัจโจศาสตราจารย ทางพืชสวนคนหนึ่งวิจัยตะกราผลไมในภาพพบวาสามารถบอกทุกสิ่งทุกอยางในภาพไดถูก ตอ งจนแมแ ต “... ใบฟกใหญท ีม่ ีรอยรา (cingulataanthracnose)ไหมอยบู นใบ” “หมอด”ู เปนภาพแรกท่เี ขยี นท่ีมตี วั แบบมากกวา หนึง่ ตวั ในภาพ เปน ภาพของมา ริโอถกู หลอกโดยหญงิ ยิปซี ซ่งึ เปนหวั เรื่องการเขยี นท่ยี งั ใหมสำหรบั โรมและเปน ภาพทีต่ อ มามอี ิทธิพลตอ มาตอนักเขียนผูอน่ื อีกกวารอยป แตในขณะนัน้ ยงั ไมเ ปนทร่ี จู กั และคาราวัจ โจขายไดเพยี งไมก่สี ตางค “คนโกงไพ” เปน ภาพเด็กทไ่ี มใ ชเดก็ จากครอบครัวชนชัน้ สูงท่ีตก เปนเหยือ่ ของการโกงไพ ซึ่งเปน ภาพที่เพ่ิมความซับซอ นทางจิตวทิ ยามากข้นึ และอาจจะถอื ไดว า เปนงานเขียนชิ้นเอกชิน้ แรกของคาราวจั โจทแี่ ทจริงกไ็ ด เชน เดียวกับภาพ “หมอดู” “คนโกงไพ” เปน ภาพท่เี ปน ท่ีนยิ มกนั มากและยังมีอีกกวา 50 ภาพท่ียงั คงอยู แตส งิ่ ทส่ี ำคัญ ย่ิงกวา น้ันคอื การท่ที ำใหคาราวัจโจเปน ทีส่ นใจของคารด ินัลฟรานเชสโค มาเรีย เดล มอนเต ผูเปนนักสะสมศิลปะคนสำคัญคนหนึ่งของโรมคาราวัจโจเขียนภาพชีวิตประจำวันแบบนี้ให กับเดล มอนเตและคนในวงการท่ีร่ำรวยหลายภาพเชน “นกั ดนตรี” “คนเลน ลูท” “บาคคัส”เมา และอปุ มานทิ ัศนแ ตเหมอื นจริงในภาพ “เด็กถกู จงิ้ เหลนกัด” ทใ่ี ชม นิ นิตแิ ละ เด็กผูชายคนอื่นๆเปนแบบบรรยากาศที่ดูเหมือนจะสื่อความสัมพันธระหวางเพศชายในภา พเหลานี้เปนหัวขอของการถกเถียงกันมากในหมูนักวิชาการและนักเขียนชีวประวัติตั้งแตมี ผูเ สนอความคดิ เมอ่ื หลงั คร่งึ ครสิ ตศตวรรษที่ 204

Artwork in Early Life



Boy Peeling a Fruitc. 1593Oil on canvas, 76 x 64 cmFondazione di Studi di Storia dell'Arte Roberto Longhi, Florence 7

งาน “เด็กชายปอกผลไม” เปนงานทีเ่ ขยี นสำหรับขายนอกเวิรค ชอ็ พแตเ ปน งานที่ยึดจากดารพ โิ นโดยคารด ินัลสคิปโอเน บอรเกเซ (Scipione Borghese) ในป ค.ศ. 1607พรอมกบั งานเขียนระยะแรกๆ ของคาราวัจโจอกี สองชนิ้ “บาคคัสไมสบาย” และ “เดก็ ชายกับตะกราผลไม”แตก็ไมเปนที่ทราบวามาอยูในความเปนเจาของโดยเซซาริไดอยางไรผลไมที่ปอกยังเปนปริศนาวากันวาอาจจะเปนลูกแพรหรืออาจจะเปนลูกเน็คตารีนหรือพลัมซึ่งกลิ้งอยูหลายลูกบนโตะแตผลไมพวกนี้ไมใชผลไมที่ตองปอกบางก็สันนิษฐานวาเปน สม เบอรกามอ็ ท ซึง่ เปนสมทมี่ รี ปู รา งเหมอื นลูกแพรทีป่ ลูกกนั ในอิตาลแี ตก ็ถูกคานวา สมเบอรกามอ็ ทเปร้ียวเกนิ กวาท่ีกนิ ไดภาพ “เด็กชายปอกผลไม” เปน ภาพเขยี นแบบทีเ่ รียกวาภาพชีวิตประจำวันงา ยๆ แตต า งจากภาพชนิดเดยี วกันภาพอนื่ ๆ ตรงท่ีเดก็ ผชู ายในภาพดไู มเปนเด็กพ้นื บา นแตแ ตง ตวั เรยี บรอยสะอาดและแทนที่จะเปน เดก็ ซนมอมแมมนารกั ภาพอาจจะเปนอุปมานิทัศนตรงการใชผลไมเปนสัญลักษณของภาพเขียนในสมัยเรอเนสซองซนกั วิชาการจอหน ที. สไปคตั้งขอเสนอเมื่อไมน านมาน้ีวาเดก็ ชายในภาพแสดงความยบั ย้ังตวั เองโดยไมเลอื กผลไมอ ื่นทหี่ วาน (ผลไมแหงความบาป) บนโตะแตเ ลือกสมเบอรกาม็อทแทนท่ี แตความคิดนไี้ มเ ปน ทีย่ อมรบั กันผูเ ปนแบบหนาตาคลา ยกบั เทวดาในภาพ“นกั บุญฟรานซสิ ปล้ืม”และเดก็ ผชู ายท่แี ตง ตัวเปน คิวปด ทางดา นซา ยสุดในภาพ “นักดนตร”ี ทัง้สองภาพเขียนราวระหวางป ค.ศ. 1595 ถึงป ค.ศ. 1597 ภาพนม้ี หี ลายกอ็ ปปในป ค.ศ.1996 จอหน ท.ี สไปคเปนผบู ง วาเปน งานตนฉบบั ของคาราวัจโจในการประมลู ภาพเขียนในปนน้ั8

Boy with a Basket of Fruitc. 1593Oil on canvas, 70 x 67 cmGalleria Borghese, Rome 9

“เด็กชายกบั ตะกรา ผลไม” เขยี นเสรจ็ ราวป ค.ศ. 1593 เปน ภาพทเี่ ขียนเมื่อคาราวัจโจเพิ่งมาถึงโรมจากมิลานและพยายามสรางชื่อเสียงในวงการศิลปะในกรุงโรมนายแบบเปนเพือ่ นศิลปนดวยกันจากซิซิลีมารโิ อมินนติ ิผขู ณะนัน้ มอี ายุราว 16 ปภ าพนี้เปน สว นหน่ึงของงานสะสมของจยุ เซป็ ป เซซาริ ทถ่ี ูกยกึ โดยคารด นิ ลั สคิปโ อเน บอรเ กเซ (ScipioneBorghese) ในป ค.ศ. 1607 ซึง่ อาจจะทำใหวนั วาดอาจจะเปน เวลาทีค่ าราวจั โจยงั ทำงานใหกับหองเขียนภาพของเซซาริที่คาราวัจโจไดเขียนแต“ผักและผลไม”แตอาจเปนไดวาเขียนหลังจากที่คาราวัจโจและมินนิติออกจากการเขียนภาพใหกับเซซาริในเดือนมกราคมค.ศ. 1594 แลวก็ไดก ารทีอ่ อกมาก็เพ่ือท่ีจะไปต้ังตวั และทำงานใหตนเองโดยการขายงานเขยี นผานนกั คาศลิ ปะคอนแสตนติโนแตไ มน า จะเปนไปไดว า เขียนกอ นป ค.ศ. 1593 ปท ่ีมินนิติถึงกรุงโรมนอกจากนั้นก็ยังเชื่อกันวาเปนภาพที่เขียนกอนภาพที่ซับซอนกวาภาพนี้ที่เขยี นในชวงระยะเวลาเดียวกนั ท่คี าราวัจโจใชมนิ นิติเปนแบบในภาพเชนภาพ “หมอดู” และภาพ “คนโกงไพ” ท้ังสองภาพเขยี นในป ค.ศ. 1594 ภาพหลงั เปนภาพทีท่ ำใหคาราวัจโจไดรับความสนใจจากคารดนิ ลั ฟรานเชสโค มาเรยี เดลมอนเต ผทู ี่กลายมาเปน ผูอปุ ถัมภคนสำคัญของคาราวัจโจตอ มา สิ่งแรกที่ควรพิจารณาคือเปนภาพชีวิตประจำวันที่แสดงใหเห็นความสามารถของจติ รกรในการเขยี นรายละเอยี ดตางๆ ทร่ี วมทงั้ ผิวตวั แบบไปจนถึงผิวของลูกพชี หรือต้ังแตรอบพบั ของเส้อื คลุมไปจนถงึ รายละเอยี ดการสานของตะกรา นอกจากน้ันก็ยังมีเงาทีท่ อดลงไปบนผนังหลงั คาราวัจโจอาจจะวาดเงาของตัวเองและขาหย่ังผาใบท่เี ขียนสง่ิ ที่เขยี นอยางมีฝม ือทส่ี ดุ ในภาพคือผลไมในตะกรา ศาสตราจารยจ ลู ส แจนิคจากแผนกสถาปต ยกรรมพืชพรรณและภูมิทัศนทมี่ หาวิทยาลยั เพอรดู ท่ีรัฐอินเดียนาวจิ ัยจากมุมมองของผเู ชยี่ วชาญทางพชื สวนบรรยายวา ตะกรา มผี ลไมห ลายชนดิ ทุก อยา งอยูใ นสภาพทเี่ กอื บสมบรู ณทสี่ ุดไดแ กผลพีชสองสีทอี่ อกสีแดงกำ่ องนุ มดี วยกันส่พี วง ดำสอง, แดงหนง่ึ , และ “ขาว” หนง่ึ ;ทับทิมสกุ ที่ปรจิ นเห็นเมลด็ แดงขางใน ผลฟก สผ่ี ล, สองผลสุกงอมสดี ำ, ทัง้ สองผลปรแิ ละอกี สองผลสีออนกวา ผลเม็ดลารสองผล แอปเปล สามผล สองผลสีแดง อกี ผลหนึ่งสีชมพูและอีกสองผลเปนลาย,และผลสีเหลืองที่มีสีแดงที่ฐานและตำหนิ;กิ่งสองกิ่งที่มีแพรผลเล็กๆก่งิ หนึง่ มหี า ผลสีเหลอื งเล็กๆ ทม่ี ีแตมสแี ดงและอกี ผลหนง่ึ ที่ซอ นอยูค รึง่ หนง่ึ เปนผลไมสี10

เหลอื งนอกจากนั้นก็มใี บไมท ีแ่ สดงวา มีเช้ือโรคบางอยา ง ใบองนุ ท่มี จี ุดรา และอีกใบหนึ่งมีไขแ มลงสขี าวเปนแผง และใบพีชทเี่ ปน จดุ การวิจัยแสดงใหเห็นความสามารถของคาราวัจโจในการเขียนภาพที่เหมือนจริงจนสามารถบอกไดวาอะไรเปนอะไรไดคาราวัจโจวาดสิ่งที่เปนจริงในตะกราและมิไดวาดอยางอุดมคติไมวาจะเปนความสุกของผลไมหรือการจัดแตงแตกระนั้นภาพที่ออกมาก็เปนภาพที่ชวนเชญิ ผูด ูใหเหน็ ความงามของสง่ิ ท่วี าด สิ่งที่สองในการพิจารณาภาพนี้คือความเห็นของผูออกความเห็นถึงความมีเสนหของมนิ นิตจิ ากการเขียนของคาราวัจโจ ทเ่ี ปลือยไหล คอยาวและสายตาท่ลี ะหอย เปนภาพที่สวยจนผูชมภาพบางคนใหความเห็นวาเปนสตรีเปนเวลาหลายรอยปแตถามีนัยถงึ ความรสู กึ ของคาราวัจโจตอ มินนิติในภาพ แตจากมนิ นติ ติ อ คาราวจั โจเปน เพียงแตการวางทา ใหเพอ่ื นเขียนภาพ ภาพน้ีเปนภาพแรกที่คาราวจั โจแสดงความซบั ซอนทางจติ วทิ ยาและทางกายท่ีกลายมาเปน ส่ิงสำคญั ในงานเขยี นของคาราวจั โจตอมา 11

The Cardsharps c. 1596 Oil on canvas, 92 x 129 cm Kimbell Art Museum, Fort Worth คนโกงไพ (ภาษาอังกฤษ: Cardsharps) เปน ภาพเขยี นสนี ำ้ มนั ท่ีปจจุบันต้งั แสดงอยูที่พพิ ธิ ภณั ฑศ ิลปะคมิ เบลล ฟอรทเวริ ธ ในสหรฐั อเมรกิ าภาพ “คนโกงไพ” เขยี นราวป ค.ศ. 1594 เปน ภาพทเ่ี ปน กา วสำคญั ของคาราวจั โจท่เี ขยี นเม่อื พยายามตง้ั ตวั ไปเปนชา งเขียนอสิ ระหลังจากท่ีทำงานอยกู บั จยุ เซป็ ป เซซาริทไ่ี ดเ ขียนแต “ผกั กับผลไม” อยรู ะยะหนึง่ คาราวัจโจออกจากหองเขียนภาพของจุยเซป็ ป เซซารใิ นเดอื นมกราคม ค.ศ. 1594และเริ่มขายงานเขียนผานนักคาศิลปะคอนแสตนติโนโดยมีโพรสเปโรออรซิจิตรกรแมนเนอรสิ มเ ปน ผชู วย ออรซิแนะนำคาราวัจโจในแวดวงคนทรี่ จู กั ทง้ั ผสู ะสมศิลปะและผอู ปุ ถัมภ12

ภาพเขียนแสดงเด็กหนุมทแ่ี ตงตัวอยางหรหู ราแตเ ปนเพยี งเด็กหนมุ ที่ยงั ไมป ระสีประสากบั โลกทกี่ ำลงั เลนไพกบั เดก็ ชายอกี คนหนึ่ง เดก็ คนที่สองคนทีโ่ กงไพมีไพอีกใบหนึ่งเหน็บไวทเ่ี ขม็ ขัดขางหลังเอว ซอนจากเดก็ ชายอกี คนหนึง่ แตไมไดซอ นจากผชู มภาพ และชายหนมุ ใหญท่ีแอบมองจากหลังผทู ่โี ดนโกงและสง สญั ญาณใหครู วมมือ นอกจากนัน้ เด็กคนทสี่ องก็ยงั มีมีดเหนบ็ อยูท ีเ่ อวสำหรับใชในโอกาสที่สถานะการณอ าจจะเปลยี่ นแปลง ภาพนเ้ี ปน ภาพทีส่ องในหวั ขอท่ีคลายคลึงกันทีค่ าราวจั โจเขยี น ภาพแรก “หมอดู” เปนภาพท่ีทำใหเ รม่ิ มีผูสนใจและเริ่มเปนที่รูจ กั ทงั้ “หมอด”ู และ “การโกงไพ” เปนหวั ขอ การเขยี นภาพท่ีใหมใ นขณะน้นั ท่ีใชฉากความเปน จริงของชีวติ ตามถนนในการเขยี นภาพ โดยเฉพาะการเขียนรายละเอียดเลก็ ๆ นอ ยๆ เชน ปลายนว้ิ ถงุ มือทีเ่ ปนรูของชายทมี่ ีอายมุ ากกวา หรอื สายตาของเดก็ คนท่ีสองทีม่ องไปยงั หนุม ใหญอยา งพะวกั พะวน รายละเอียดเลก็ ๆ นอยๆ เชน นท้ี เี่ ปนการแสดงความเขาใจอยางลกึ ซงึ้ ทางจิตวทิ ยา บคุ คลสามคนที่อยูในเหตุการณเดียวกันแตแตละคนตางก็มีบทบาทของตนเองภาพในเหตุการณที่รวมกัน เดก็ หนุมท่ียงั ไมม ีประสบการณที่ถูกหลอก, เดก็ อกี คนหนึ่งทอี่ ายุไลๆ กันทเี่ ปน เดก็ ท่ีถูกทำใหเ สยี คนโดยหนมุ ใหญ “คนโกงไพ” เปน ภาพทีว่ าดแบบที่แสดงความเปนจริงของความทารณุ ของชีวติคนช้นั ตำ่ แตข ณะเดยี วกนั กใ็ ชส เี รืองอยางการวาดภาพของเวนสิ “คนโกงไพ” กลายมาเปน ภาพที่เปน ทีน่ ิยมกนั มาก ออรซถิ ึงกับ“ไปเท่ยี วเปาประกาศถึงการวาดแบบใหมของคาราวจั โจและทำใหเพมิ่ ชอื่ เสยี งในการเปน จิตรกรมากขึ้น” ภาพน้ีมดี วยกันถึง 50 ก็อปปและจากจิตรกรคนอนื่ ๆ เชน ภาพ “คนโกงไพก ับเอโพดำ” โดยชอรช เดอ ลา ตูรที่ใชหัวขอ เดียวกัน ไมวา จะโดยคอนแสตนตโิ นหรอื ออรซิ คาราวัจโจก็ไดรับความสนใจจากคารด นิ ัลฟรานเชสโค มาเรีย เดล มอนเตผูซื้อภาพและกลายมาเปน ผอู ุปถมั ภคนสำคัญคนแรก โดยใหที่พำนักในวังมาดามาหลังจตุรัสนาวารโรจากนั้นภาพก็ตกไปเปนของคารดินัลอันโตนิโอบารแบรนิ ผิ เู ปน หลานของสมเด็จพระสันตะปาปาเออรบนั ที่ 8 ที่ตอ มาคาราวจั โจเขียนภาพเหมอื นให “ภาพเหมือนของมาฟเฟโอ บารเบอรนิ ”ิ ในป ค.ศ. 1598 ตอ มาเปล่ยี นมอื ไปเปนของตระกูลโคโลนนา สเคียรรา ละในทสี่ ดุ ก็หายไปในครสิ ตท ศวรร 1890 และ 13

มาพบอกี ครง้ั ในป ค.ศ. 1987 ในงานสะสมสวนบคุ คลในยุโรป นักสะสมและนกั ประวัติศาสตรช าวองั กฤษเซอรเ ด็นนสิ แมน (Denis Mahon)พบภาพ “คนโกงไพ” ภาพหน่งึ ในเดอื นธันวาคม ค.ศ. 2007 ที่เดิมเช่ือกนั วาเปนงานของจติ รกรคนอื่นแตอ ันทีจ่ รงิ แลวเปน งานของคาราวจั โจเอง เพราะการทรี่ ายละเอยี ดของใบหนาของผูที่โกงคนหนึ่งถูกรางแมวาจากถูกเขียนทับซึ่งทำใหเปนไปไดยากที่จะเปนงานก็อปป14

Most Famous Painter in Rome

“จติ รกรผูมชี ่อื เสียงท่สี ุดในโรม” (ค.ศ. 1600–1606) อาจจะดว ยอิทธิพลของคารด นิ ลั เดล มอนเตกเ็ ปน ไดท ่กี าราวจั โจไดรับสัญญาจางใหตกแตงชาเปลคอนทราเรลลใิ นซันลุยจเี ดยฟ รนั เชซี ในป ค.ศ. 1599 ที่เปน งานเขยี นภาพสองภาพ “การพลีชีพของนักบญุ แมท็ ธวิ ” และ “พระเยซเู รยี กนกั บุญแม็ทธิว”ท่ีเขยี นเสรจ็ ในป ค.ศ. 1600 ทเี่ ปนงานทเี่ ปนทต่ี อนรับเปนอยา งดี คาราวัจโจใชล กั ษณะการเขยี นทเ่ี รยี กวา ภาพสวา งในความมดื (tenebrism) (ลักษณะที่หนกั กวา การใช คา ตา งแสง(chiaroscuro) ทีช่ วยเพ่มิ ความเปน นาฏกรรมของภาพย่ิงขึ้น ขณะเดยี วกบั ท่ียังรกั ษารายละเอียดของความเปนจริงที่ทำใหการสื่อความหมายทางความรูสึกยิ่งรุนแรงหนักขึ้นแตค วามเหน็ ในบรรดาเพอ่ื นศิลปนดว ยกันแตกตา งกนั ไป บา งก็วิจารณจ ดุ ออนตา ง ๆ ท่เี ห็นเชนติการเนนการเขียนจากชีวิตจริงโดยไมไดรางแตสวนใหญแลวคาราวัจโจก็ไดรับการสรรเสริญวาเปนผมู าชว ยชบุ ชีวติ ศลิ ปะ “จิตรกรที่โรมตางก็ประทับใจในแนวการเขยี นใหมของจิตรกรหนุมและรุนเด็กลงไปตางก็มาลอมรอบตัวคาราวัจโจและสรรเสริญวาเปนมีเอกลักษณในการเขียนเลียนแบบธรรมชาติและมองงานของคาราวัจโจวาเปนงานปาฏหิ ารยิ ” หลังจากนั้นการาวัจโจก็ไดรับสัญญาจางเขียนภาพศาสนาอีกมากมายที่เปนภาพเก่ียวกบั การขดั แยง ทางใจ การทรมานทนี่ า สยดสยอง และการตายการทรมาน สว นใหญแลว งานทเี่ ขยี นก็เพม่ิ ความมีชือ่ เสียงของคาราวัจโจย่ิงขึ้น มีเพียงไมก ี่ภาพเทา นนั้ ทถ่ี กู ปฏเิ สธโดยผูจ า งทค่ี าราวจั โจตอ งนำกลบั มาเขียนใหมและขายใหล กู คาคนใหม หัวใจของปญ หาอยทู ี่ความรนุ แรงของความเปนนาฏกรรมของภาพและความเปนจริงของภาพท่ยี ังยากท่จี ะเปน ที่ยอมรบั ของผูจ า ง ผูท่ีบางคนทย่ี ังเหน็ วาเปนลักษณะการเขยี นภาพศาสนาทข่ี าดความเคารพเชนภาพฉบับแรกของ “นกั บุญแมท็ ธวิ และเทวดา” ท่เี ปน ภาพนักบุญแมท็ ธิวในลกั ษณะท่ีเปนชาวบานหวั ลา นแขงขาสกปรกกับผูน ่ังชืน่ ชมรอบๆ ขา งที่เปน ชายทีแ่ ตงกายหลวมๆหนาตาราวเทวดาท่ีคาราวัจโจชอบวาด แตภาพถูกผจู างไมยอมรบั งาน คาราวจั โจตองนำกลับไปเขยี นแตง ใหมเปน “แรงบนั ดาลใจของนักบญุ แม็ทธิว”หรืออีกภาพหนง่ึ “มโนทศั นของนักบญุ พอล” ทถ่ี ูกปฏเิ สธและขณะท่ีฉบับอื่นของหัวขอเดยี วกนั “มโนทัศนของนักบุญพอลบนถนนสูด ามาสคัส” ไดรับการยอมรบั ทเ่ี ปนภาพของมาทกี่ ม ลงมาดูนกั บุญพอลท่ีมาดูจะมี16

ความสำคัญในภาพมากกวาตัวนักบุญพอลเองความขัดแยงในการยอมรับหรือไมยอมรับทำใหคาราวัจโจหมดแรงกับเจาหนาที่ของซันตามาเรียเดลโปโปโล“ทำไมถึงเอามาไวกลางรปู และใหนกั บุญพอลนอนบนพนื้ ?” “เพราะ!” “มาเปนมาของพระเจาหรือ?” “เปลาแตมันยนื ขวางแสงของพระเจา !” งานอ่ืนๆ ก็ไดแ ก “ชะลอรา งจากกางเขน” “พระแมม ารโี ลเรต็ โต” (หรือทรี่ ูจกักนั ในชอื่ “พระแมม ารีแหง นักแสวงบุญ”) “พระแมม ารีและพระบตุ รกบั นักบุญอนั นา” และ“มรณกรรมของพระแมม ารี” ประวตั ิของสองภาพหลงั แสดงใหเหน็ ถงึ ปฏิกิรยิ าการรบั หรอืไมย อมรับงานบางช้นิ ของคาราวัจโจจากนายจางในชว งเวลาท่ยี ังมชี ีวิตอยู เชน ภาพ “พระแมมารแี ละพระบตุ รกบั นักบุญอันนา” หรอื ที่รจู ักกนั ในชื่อ พระแมม ารีพาลาเฟรนิเอริ เขียนสำหรับแทนบูชาขนาดยอมที่มหาวิหารเซนตปเตอรในกรุงโรมที่ตั้งแสดงอยูไดเพียงสองวันกถ็ กู นำลง คารดนิ ัลเขียนวา “ภาพเขยี นนีไ้ มมีอะไรนอกไปจากความหยายคาย ความลบหลูศาสนา ความขาดความเคารพ และความนาขยะแขยง...เรานาจะกลาวไดวาเปน งานทเี่ ขยี นโดยจติ รกรทเ่ี ขยี นไดด ี แตม ีจิตวญิ ญาณท่ีมดื และเปน ผูทหี่ า งเหนิ จากความนับถอื ในพระเจาจากความชืน่ ชมในตวั ของพระองค และจากความคิดอันดี...” “มรณกรรมของพระแมม าร”ี เปน ภาพทีค่ าราวจั โจไดร บั จางจากเลรซ ิโอ อัลเบรต ิ(Laerzio Alberti) ทนายความของพระสันตะปาปาในป ค.ศ. 1601 สำหรบั ชาเปลสวนตัวภายในซนั ตามาเรยี เดลลาสกาลาซงึ่ เปน อารามคณะคารเมไลทท ี่ ทรสั เตเวเร (Traste-vere) ในกรงุ โรมซ่ึงเปน อารามใหมของคณะคารเมไลทแ ตถกู ปฏิเสธโดยนักบวชในป ค.ศ.1606 จุยเลียโน มนั ชนิ ิ (Giulio Mancini) ผูร วมสมยั ของคาราวจั โจ บันทกึ วาสาเหตุที่ถูกปฏิเสธเปนเพราะการาวัจโจใชโสเภณีผูมีชื่อเสียงเปนแบบสำหรับพระแมมารียแตจ โิ อวานนิ บากลิโอเนจติ รกรรว มสมยั อกี คนหนงึ่ กลาววาเปนเพราะชว งขาท่อี อกจะเปดเผยของพระแมม ารี ท้งั สองกรณีอางมาตรฐานของสงั คมขณะน้นั แตนกั วิชาการการาวจั โจจอหน แกชตงั้ ขอเสนอวาปญ หาของนกั บวชคารเมไลทอาจจะไมใชความพอใจหรือไมพอใจในความสวยงามของภาพ แตข อขดั แยง มรี ากฐานมาจากความแตกตางทางมุมมองของปรชั -ญาทางศาสนา ทน่ี กั บวชคารเมไลทม คี วามเหน็ วาภาพของการาวัจโจละเลยความเชอ่ื ในเร่ืองแมพระรับเกียรติยกข้ึนสวรรค ภาพเขียนท่ีนำมาแทนเปนงานเขียนของผูติดตามของการาวจั โจเอง คารโล ซาราเชนิ (Carlo Saraceni) แสดงภาพพระแมม ารีทีม่ ไิ ดน อน 17

เสียชีวติ เชนในภาพของการาวัจโจ แตเปน ภาพท่ีทรงนง่ั เสยี ชีวิตกย็ งั ถูกปฏิเสธและแทนดว ยภาพที่พระแมมารีที่มิไดมรณะและขึ้นสวรรคพรอมกับหมูทูตสวรรคแตจะอยางไรก็ตามการปฏิเสธกไ็ มไ ดหมายความวางานของการาวจั โจไมเปน ทนี่ ิยมไมนานหลังจากที่ถกู ปฏิเสธดยุกแหงมานทวั กซ็ ้อื ภาพ “มรณกรรมของพระแมม ารี” ตามคำแนะนำของปเตอร พอล รเู บนสและตอ มาโดยพระเจา ชารล สท่ี 1 แหงอังกฤษ กอ นทจี่ ะตกไปเปน ของงานสะสมของหลวงในฝรงั่ เศสในป ค.ศ. 1671 งานชิ้นหนงึ่ ในชวงนีท้ ่มี ิใชง านศาสนาคอื “ชยั ชนะของความรัก” ที่เขยี นในปค.ศ. 1602 ใหวินเชน็ โซ จสุ ติเนียนิบคุ คลในวงเดล มอนเตตัวแบบบง ไวในบนั ทกึ ในตนคริสตศตวรรที่ 17 วา ช่ือ “เช็คโค” ซ่งึ เปนชื่อเลน สำหรับฟรานเชสโค ผอู าจจะเปน ฟรานเชสโคโบเนริทม่ี ชี ่ือเก่ียวพันกบั จิตรกรทท่ี ำงานระหวา ง ค.ศ. 1610 - ค.ศ. 1625 ท่รี จู กั กันในชื่อเช็คโค เดล คาราวจั โจ (Cecco del Caravaggio) คิวปด ถือคนั ธนูและศรยนื คร่งึ นงั่ คร่ึงยืนเปลอื ยเปลา อยูบนสญั ลกั ษณของศิลปะ วิทยาศาสตรของการสงคราม และความสงบแตเปน การยากที่จะยอมรับใบหนา ท่ยี ิม้ เยาะวาเปนใบหนา ของควิ ปด เทพโรมนั และยากทีจ่ ะยอมรับวาเปนใบหนาของชายหนุมตางๆที่แทบจะไมสวมอะไรบนรางกายของที่การาวัจโจเขียนเปนเทวดาที่สวมปกปลอมภาพอื่นๆการวาดลักษณะนี้แสดงความหมายของความกำกวมของงานของการาวัจโจที่ภาพเปนคิวปดหรือเทพโรมันแตในขณะเดียวกันก็เปนเช็คโคดวยหรือภาพพระแมมารีที่ขณะเดียวกับที่เปนพระมารดาของพระเยซูก็เปนสตรีในราชสำนกั ดวย18

Artwork in Most Famous Life

c. 1559-1600Oil on canvas, 340 x 322Contarelli Chapel, Church of San Luigi dei Francesi, Rome The Calling of Saint Matthew ภาพ “พระเยซูเรียกนกั บุญแมท็ ธิว” เขียนเสร็จระหวางป ค.ศ. 1599 ถงึ ป ค.ศ.1600 สำหรบั ชาเปลคอนทราเรลลิ (Contarelli Chapel) ภายในวดั ซานลยุ จิเดอิฟรานเชซิในกรุงโรม ในทศวรรษกอนหนา นั้น หลงั จากเสียชวี ิตไปแลว คารดนิ ัลชาวฝรัง่ เศสข่ือแม็ทธิวควงแทรล (Matthieu Cointrel) หรือ “มตั เตโอ คอนทราเรลลิ” ในภาษาอติ าลีก็ทงิ้ มรดกไวโดยระบวุ า ใหใชใ นการตกแตงชาเปลในหัวเร่ืองของชือ่ ของทาน (มัตเตโอแมท็ ธวิ )การตกแตง โดมเรม่ิ ดว ยจิตรกรรมฝาผนงั โดยคาวาลิเยร ดารปโน จติ รกรแมนเนอรสิ ตผ ูเปนทนี่ ิยมท่ีสดุ คนหนึ่งในกรงุ โรมและเดิมเปนนายจางของคาราวจั โจ แตค าวาลเิ ยรม ัวแตย งุ20

อยูกับงานของพระสันตะปาปาจนไมมีเวลาทำงานตกแตงชาเปลคารดินัลฟรานเชสโคมาเรียเดล มอนเต ผูอปุ ถัมภของคาราวจั โจและมีหนา ท่ีเปน เจา หนา ท่ีอาวโุ สของสำนกั งานทรพั ยสินของนครรัฐวาติกันจึงเขาชวยหาสัญญางานจางชิ้นใหญชิ้นแรกใหคาราวัจโจที่เปนภาพเขียนภาพแรกที่มีคนในภาพมากกวาสองสามคนท่ีคาราวจั โจเคยเขยี นมา งานเขียนสามชิ้นของคาราวัจโจภายในชาเปลคอนทาเรลลิเปนงานเขียนที่แสดงใหเห็นการแยกตัวอยางเด็ดขาดจากการเขียนแบบแมนเนอริสตที่คาวาลิเยรเปนศิลปนผูมีช่อื เสยี งคนสุดทายของลักษณะน้นั ใช และมาแทนดวยงานทเี่ ปนธรรมชาติเพ่มิ ขน้ึ และเปนงานหวั เรือ่ งมากกวา ของคาราวัจโจและอนั นบิ าเล คารคั ชี ทง้ั สองคนเปน ผูมอี ทิ ธพิ ลมากในสมยั นัน้ ภาพ “พระเยซูเรยี กนักบุญแม็ทธวิ ” แขวนตรงกันขามกับ “การพลชี พี ของนักบุญแม็ทธิว” ระหวางสองภาพนท้ี ี่แทนบูชาเปนภาพ “แรงบันดาลใจของนักบญุ แม็ทธิว”(ค.ศ. 1602) “การพลชี พี ” อาจจะเปนภาพแรกทเ่ี รม่ิ เขียนแตภาพ “พระเยซูเรียก”เปน ภาพแรกทีเ่ ขียนเสรจ็ คา จา งเขียนสำสองภาพน้ีลงวันทีใ่ นเดอื นกรกฎาคม ค.ศ. 1599และเงินคา จา งงวดสุดทายจายเมอ่ื เดอื นกรกฎาคม ค.ศ. 1600 บุคคลในภาพท่นี งั่ อยูรอบโตะ ในดา นภาษที าทางเปนคนช้นั ตำ่ ท่ีนาจะเคยเปน แบบในภาพเขียนอื่นๆของคาราวัจโจมากอนรวมทั้งภาพเขียนที่เปนภาพเขียนชีวิตประจำวันเชนภาพ “คนโกงไพ” ท่ีเขยี นในป ค.ศ. 1595 ในภาพนี้บรรยากาศที่ทึมและหนาตางทำใหเขาใจวาโตะตั้งอยูภายในที่อยูอาศัยเปนนัยยะวาพระเยซูทรงเปนผูนำแสงสวางมาสูความมืดของผูเก็บภาษีที่นั่งอยูในเงาซงึ่ เปนการแสดงความขดั แยงระหวา งโลกสองโลก อำนาจของความศรัทธาและอำนาจของโลก พระเยซูทรงชี้ไปยงั แมท็ ธิวดวยลำแสงเหมอื นไมท รงตอ งใชก ำลงั แตอยางใด การไมทรงรองพระบาทเปนการแสดงความสมถะที่ตรงกันขามกับบรรดาผูเก็บภาษีที่แตงตัวกันเตม็ ยศ การทไี่ มท รงรองพระบาทอาจจะเปน สญั ลักษณของการทที่ รงยนื บนผืนดินทศ่ี ักดิ์สทิ ธิ์ ซงึ่ คลา ยกับภาพ“มโนทัศนข องนักบญุ พอลบนถนนสูด ามาสคสั ภาพของคาราวัจโจเปนภาพที่แสดงวินาทีที่เหตุการณปกติถูกขัดจังหวะดวยปาฏิหาริยสวนผูนั่งรอบขางของแม็ทธิวดเู หมอื นจะไมรซู ึง้ ถงึ สิ่งทเี่ กดิ ขึน้ เทา ใดนักหรือเปน เพียงแตผ ูเห็นเหตุการณท่ีไมมีความสนใจตอสงิ่ ทีเ่ กดิ ขนึ้ รอบตวั 21

1602-06 Oil on canvas, 369 x 245 cm Musée du Louvre, Paris22

Death of the Virgin ภาพ “มรณกรรมของพระนางพรหมจารี” เขยี นราวระหวา งป ค.ศ. 1604 ถงึ ปค.ศ. 1606 เปนภาพที่การาวจั โจไดร บั จางใหเขียนโดยเลรซิโอ อัลเบรต ิ (Laerzio Alberti)ทนายความของพระสันตะปาปาสำหรับชาเปลสวนตัวภายในซันตามาเรียเดลลาสกาลาซึ่งเปนโบสถค ณะคารเมไลทใหมท ่ี ทรัสเตเวเร (Trastevere) ในกรงุ โรม “Renaissance”เปนภาพที่กอใหเกิดการตอตานอยางรุนแรงเมื่อเขียนเสร็จและถูกปฏิเสธจากนักบวชไมใหตั้งในชาเปลทตี่ ้ังใจไว เมอื่ เขียนเสร็จภาพเขียนถูกปฏิเสธไมใหต้งั ในวดั โดยนกั บวชผูกลา วหาวา เปน ภาพท่ีไมเหมาะกับการตง้ั ในชาเปล จลู ีโอ มันชีนี (Giulio Mancini) ผรู วมสมยั ของการาวัจโจบันทึกวาสาเหตุที่ถูกปฏิเสธเปนเพราะการาวัจโจใชโสเภณีมีชื่อเปนแบบสำหรับพระแมมารีแตโจวนั นี บากลโี อเน (Giovanni Baglione) ผรู ว มสมยั อีกคนหนึ่งกลา ววาเปนเพราะการาวจั โจแสดงชวงขาทีอ่ อกจะเปด เผยของพระแมมารยี  ทง้ั สองกรณตี า งกอ็ า งมาตรฐานของสงั คมในขณะนั้น แตน กั วชิ าการคาราวจั โจ จอหน แกช ตง้ั ขอ เสนอวา ปญหาของนกั บวชคารเมไลทอ าจจะไมใชค วามพอใจหรือไมพอใจในความสวยงามของภาพ แตข อ ขดั แยงมรี ากฐานมาจากความแตกตา งทางมมุ มองของปรัชญาศาสนา ทนี่ ักบวชคารเ มไลทมคี วามเหน็ วาภาพของการาวัจโจละเลยความเช่อื ในเรือ่ งแมพ ระรบั เกยี รติยกขึ้นสวรรค ทีว่ าพระแมม ารยี มิไดถึงแกม รณกรรมอยา งธรรมดาแตถ กู ภาพเขียนท่ีนำมาแทนเปนงานเขียนของผตู ิดตามของการาวจั โจเอง คารโ ล ซาราเชนิ (Carlo Saraceni) ซ่ึงเปน ภาพพระแมม ารยี ท ่ีมิไดนอนเสียชีวิตเชนในภาพของการาวัจโจแตนั่งอยูแตภาพนี้ก็ยังถูกปฏิเสธและในที่สุดก็แทนดวยภาพที่พระแมมารียที่มิไดนอนหรือนั่งเสียชีวิตแตขึ้นสวรรคพรอมกับหมูทูตสวรรคแตจะอยางไรก็ตามการปฏิเสธก็ไมไดหมายความวางานของการาวัจโจไมเปนที่นิยมไมนานหลังจากที่ถูกปฏิเสธ ดยุกแหง มานทัวก็ซ้ือภาพตามคำแนะนำของปเ ตอร พอล รูเบนส และตอ มาพระเจาชารล สท่ี 1 แหง อังกฤษก็ทรงซ้อื ตอ กอนท่จี ะตกไปเปนของงานสะสมของหลวงในฝร่ังเศสในป ค.ศ. 1671 หลังจากท่ีถกู ปลงพระชนม 23

1602-1606 Oil on canvas, 369 x 245 cm Musée du Louvre, Paris24

The Entombment The Entombment “ชะลอรางจากกางเขน” เปน ภาพวาดทีไ่ ดรบั การยกยองอยางเปนเอกฉนั ทแ ละถูกคัดลอกไปไมน อ ยกวา 40 ภาพอีกทง้ั ยังแกะสลักอีกดวย TheEntombment เปน ภาพโศกนาฎกรรมเชน เดยี วกับ Pieta of Michelangelo ซ่งึ การาวจั โจตอ งมภี าพน้ันอยูในหวั ขณะทีเ่ ขาวาด กลุมที่แสดงทาทางเศราโศกสองกลุมกำลังอุมรางของพระเยซูเขาไปในหลุมศพที่ไมสามารถมองเห็นไดเพราะเกิดความไมชัดเจนขึ้นของพื้นหลังทางซายของภาพความเศราโศกไดส ง ผา นทา ทางทง้ั หมด Nicodemus กำลังกอดขาทง้ั สองขา งของรา งพระเยซูSt.John กำลังจับไปทีบ่ าดแผลของรา งสาวบรสิ ุทธิ์ทม่ี ีอายุกำลงั อวยพรและกางแขนออกทัง้สองขา งเพอื่ โอบกอดทกุ คนไวเธอเปนคนทีเ่ จ็บปวดมากท่สี ดุ Mary Cleophas ยกแขนระลึกถงึ ทาทางแสดงการยอมรบั ของ St.Pual ใบหนาของเธอยกโดนแสงสองผา นอยา งเหน็ไดชัดยกเวนใบหนาของพระเยซูเธอเงยหนาขึ้นไปมองแสงที่สองเขามาราวกับวากำลังขอพรวเิ ศษ การจดั กลมุ รวมกนั เปนเหมอื นประตมิ ากรรม คอื มนั ไมมีการเคลือ่ นไหว ขณะทีผ่ ทู ่รี ว มไวอ าลัยหยดุ พอดกี อนท่ีจะนำรางเขาหองเกบ็ ศพ การลดถอยของเสน ทแยงทางซายแสดงใหเห็นทิศทางการเคลื่อนไหวของพวกเขาและปองกันไมใหมันเปนภาพนิ่งเชน เดียวกับจดุ ฝงศพท่ีเลอื นรางไมช ัดเจนนนั้ แผนหนิ นห้ี มายถงึ ศาสนาครสิ ตวา เปนรากฐานของโบสถ จุดทฉ่ี ายไปยังระนาบภาพพรอมกับสายตาทีเ่ หลือบไปมองโบสถของ Nico-demus เพื่อส่อื สารกบั ผทู ีเ่ คารพคริสต 25

1602-03 Oil on canvas, 156 x 113 cm Staatliche Museen, Berlin26

Amor Victorious ภาพวาดน้ีถือไดว าเปน งานช้ินเอกชิ้นหนึ่งของการาวัจโจ เขาวาดให MarcheseGiustiniani ภาพน้สี รา งความสมั พันธกับผูชมโดยภาพมีความนาสนใจในทนั ทที มี่ องและเปนภาพที่เหนือธรรมชาติอยางมากภาพนี้จัดไดวาเปนภาพที่เยาะเยยโลกดวยการไดรับการเวน โทษและความแนนอนในตวั เองทำใหเ กดิ ความประหลาดใจและอิจฉา ภาพวาดนี้อาจแสดงใหเห็นถึงชัยชนะของความรักที่มีตอโลกอยูเหนือคุณธรรมและวทิ ยาศาสตรซง่ึ สงเกตไดจ ากเครื่องดนตรี สมดุ ปากกา เขม็ ทิศ กรอบสเี่ หล่ียม คทาเกยี รตยิ ศ ชดุ เกราะ ทีอ่ ยูต รงเทาของกามเทพ ในภาพนกี้ ามเทพเปนเด็กที่มรี อยย้ิมท่ีละโมบ กามเทพวางเขา ไวบนสงิ่ ของทเ่ี คยกลาวมาในขณะทเ่ี ขาถอื ลกู ธนูไวกำหนึ่งอยูท่ีมือขวา เนื่องจากสิ่งท่แี สดงถงึ สงคราม ทหารวิทยาศาสตรท รี่ ุงเรืองและศลิ ปะถกู จดั วางใหก ระจดั กระจายทเี่ ทา ของกามเทพ เพ่ือเตอื นใจผูชมของ Vanitas ทย่ี ังมชี วี ติ อยู ดงั นั้นในภาพวาดนีเ้ ครอ่ื งดนตรีเปนตัวแทนของ Venus มากวา จะเปน ศลิ ปะโดยท่วั ไปหรอื ผา นทวงทำนองดนตรี เพราะความไมย ่งั ยนื ของมนุษย แนนอนวา ผชู มในศตวรรษที่สิบหกและสิบเจ็ดอาจเคยคิดถึงนัยยะกอนหนาทั้งหมดเชนกันเนื่องจากเขาใชความหมายหลายอยา งของสัญลักษณ 27

Masterpieces

of Caravaggio

Penitent Mary Magdalene 1596-1597 Oil on canvas, 123 x 99 cm Galleria Doria Pamphilj, Rome30

St John the Baptist c. 1604 Oil on canvas, 172.5 x 104.5 cm Nelson-Atkins Museum of Art, Kansas City 31

St John the Baptist (Youth with Ram) 1602 Oil on canvas, 129 x 94 cm Pinacoteca Capitolina, Rome32

Madonna dei Palafrenieri 1606 Oil on canvas, 292 x 211 cm Galleria Borghese, Rome 33

The Cruci xion of St Andrewc. 1607 Oil on canvas, 203 x 153 cm Museum of Art, Cleveland34

Flagellation c. 1607 Oil on canvas, 286 x 213 cm Museo Nazionale di Capodimonte, Naples 35

The Conversion of St. Paul c. 1600 Oil on cypress wood, 237 x 189 cm Odescalchi Balbi Collection, Rome36

David with the Head of Goliath 1609-1610 Oil on canvas, 125 x 101 cm Galleria Borghese, Rome 37

Rest on Flight to Egypt 1596-1597Oil on canvas, 133.5 x 166.5 cm Galleria Doria Pamphilj, Rome38

Taking of Christc. 1602 Oil on canvas, 134 x 170 cm National Gallery of Ireland, Dublin 39

The Martyrdom of St.Matthew 1599-1600 , 323 x 343 cm Contarelli Chapel, San Luigi dei Francesi, Rome40

The Sacri ce of Isaac 1601-1602 Oil on canvas, 104 x 135 cm Galleria degli U zi, Florence 41

Salome with the Head of St John the Baptist1609-1610 Oil on canvas, 91 x 167 cm National Gallery, London42

Judith Beheading Holofernes c. 1598 Oil on canvas, 145 x 195 cm Galleria Nazionale d'Arte Antica, Rome 43

The Incredulity of Saint Thomas 1601-02 Oil on canvas, 107 x 146 cm Schloss Sanssouci, Potsdam44

The Fortune Teller 1596-1597 Oil on canvas, 99 x 131 cm Musée du Louvre, Paris 40

Exile and Death


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook