Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือหลักสูตรต้านทุจริตศึกษาภาคเหนือ พ.ศ.2565

คู่มือหลักสูตรต้านทุจริตศึกษาภาคเหนือ พ.ศ.2565

Description: คู่มือหลักสูตรต้านทุจริตศึกษาภาคเหนือ พ.ศ.2565

Search

Read the Text Version

คมู อื หลกั สูตรตานทจุ ริตศกึ ษาภาคเหนือ พ.ศ. ๒๕๖๕ สําหรับสถานศึกษาในสงั กดั สาํ นักงานสงเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั กลมุ บรหิ ารงานบุคคล สาํ นักงานศึกษาธกิ ารภาคเหนือ

ค่มู อื หลกั สตู รต้านทจุ ริตศกึ ษาภาคเหนอื พ.ศ. ๒๕๖๕ สาหรับสถานศึกษาในสังกัดสานักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศยั โครงการสง่ เสรมิ คณุ ธรรมและความโปรง่ ใส (ITA) “สรา้ งสังคมทไ่ี มท่ นต่อการทจุ รติ ” เพอ่ื ปอ้ งกนั และปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบของหนว่ ยงานการศกึ ษา ในพืน้ ท่สี านักงานศกึ ษาธิการภาคเหนอื ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กลมุ่ บรหิ ารงานบุคคล สำนกั งานศกึ ษาธกิ ารภาคเหนอื

คำนำ ด้วยสานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) ได้กาหนด แนวทางการจัดทาแผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ เพื่อให้ส่วนราชการ และหน่วยงานภาครัฐแปลงไปสู่การปฏิบัติ โดยคานึงถึงความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 – 2580) แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 – 2580) แผนปฏิรูปประเทศ (พ.ศ. 2561 – 2565) ดา้ นการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ และแผนแม่บทบูรณาการป้องกันและ ปราบปรามการทจุ ริตและประพฤติมิชอบ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560- 2579) จึงนาไปสู่การจัดทาแผนปฏิบัติ การป้องกันและปราบปรามการทุจรติ และประพฤติมชิ อบ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 สานักงานศึกษาธิการภาคเหนือ ในฐานะภาคภูมิศาสตร์ได้ จัดทาโครงการส่งเสริมคุณธรรม และความโปร่งใส (ITA) “สร้างสังคมท่ีไม่ทนต่อการทุจริต” เพ่ือป้องกันและปราบปรามการทุจริตและ ประพฤติมิชอบของหน่วยงานการศึกษาในพื้นที่ สานักงานศึกษาธิการภาคเหนือ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ตามกรอบตัวชี้วัด ในการดาเนินงาน ดังนี้ 1) ร้อยละ 65 ของบุคลากรในสถานศึกษา สานักงาน คณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน หรือ สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศัย และบคุ ลากรในพน้ื ทีส่ านักงานศกึ ษาธิการภาคเหนือ มีความรู้ความเข้าใจในหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา 2) รอ้ ยละ 70 ของสถานศึกษาสังกัดสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน และสานักงานส่งเสริม การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ในพน้ื ท่สี านักงานศกึ ษาธิการภาคเหนือ นาหลักสูตรต้านทุจริต ศึกษาไปบูรณาการในการจัดการเรียนการสอน 3) จานวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมต่อต้านการทุจริตและส่งเสริม คุณธรรม ในพ้ืนที่สานักงานศึกษาธิการภาคเหนือ จานวน 750 คน เพ่ือขับเคล่ือนโครงการ กิจกรรมแบบมี สว่ นรว่ มในพนื้ ที่สานักงานศกึ ษาธิการภาคเหนือ ในการนี้ ได้ศึกษา วิเคราะห์ หลักสูตรต้านทุจริตศึกษา (Anti-Corruption Education) ของ สานกั งานคณะกรรมการป้องกนั และปราบปรามการทุจรติ แห่งชาติ หลักสูตรรายวิชาเพม่ิ เติม “การป้องกันการ ทุจริต” ชุดหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา (Anti-Corruption Education) และคู่มือหลักสูตรรายวิชาเพ่ิมเติมการ ป้องกันการทุจริต ชุดหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา (Anti-Corruption Education) ของสานักงานคณะกรรมการ ป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ร่วมกับสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2561 หนังสือเรียนรายวิชา “การป้องกันการทุจริต” ของสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอธั ยาศัย พ.ศ. ๒๕๖๒ และเอกสารที่เก่ียวข้อง และนามาเป็นแนวทางในการจัดทาคู่มือหลักสูตร ต้านทุจริตศึกษาภาคเหนือ พ.ศ. ๒๕๖๕ สาหรับสถานศึกษาในสังกัดสานักงานสานักงานส่งเสริมการจัด การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพ่ือให้บุคลากรในสังกัดสานักงานสานักงานส่งเสริมการจัด การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั และบุคลากรในพื้นท่ีสานักงานศึกษาธิการภาคเหนือ มีความรู้ ความเข้าใจในหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา และสถานศึกษาในสังกัดสานักงานสานักงานส่งเสริมการจัดการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ในพ้ืนท่ีสานักงานศึกษาธิการภาคเหนือ นาหลักสูตรต้านทุจริตศึกษาไป บูรณาการในการจัดการเรยี นการสอนตามบรบิ ท

สานักงานศึกษาธิการภาคเหนือ หวังเป็นอย่างย่ิงว่า คู่มือหลักสูตรต้านทุจริตศึกษาภาคเหนือ พ.ศ. ๒๕๖๕ สาหรับสานักงานส่งเสรมิ การจดั การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย จะเป็นประโยชน์ ต่อสถานศึกษา และผู้ท่ีเก่ียวข้องทุกฝ่าย และขอขอบคุณ หน่วยงาน สถาบันการศึกษา หน่วยงานการศึกษา และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดทาคู่มือหลักสูตรต้านทุจริตศึกษาภาคเหนือ พ.ศ. ๒๕๖๕ สาหรับสถานศึกษา ในสังกัดสานกั งานคณะกรรมการสง่ เสรมิ การศึกษาเอกชน ทุกท่านไว้ ณ โอกาสนี้ สานักงานศึกษาธิการภาคเหนอื

สารบัญ หนา้ ส่วนที่ ๑ บทนา 1 ๑. ความเปน็ มาของหลักสูตรตา้ นทจุ ริตศกึ ษา 6 ๒. วตั ถปุ ระสงคใ์ นการจดั ทาค่มู ือการใช้หลักสตู รตา้ นทจุ ริตศึกษา 6 ๓. เปา้ หมายในการจัดทาคูม่ อื การใชห้ ลกั สตู รตา้ นทุจริตศกึ ษา สว่ นท่ี ๒ การนาหลักสูตรไปใช้ 7 ๔. หลักสูตรตา้ นทุจรติ ศึกษา รายวิชาเลือก วิชาการปอ้ งกนั การทุจรติ สาระการพฒั นาสงั คม 7 ๕. หน่วยการเรยี นรู้ในหลกั สตู รตา้ นทจุ รติ ศึกษา 9 ๖. ตารางชัว่ โมงการจดั การเรียนการสอนรายวิชาเลอื ก รายวชิ าการปอ้ งกันการทจุ ริต ๑0 สาระการพัฒนาสังคม ๑0 ๗. มแี นวทางในการดาเนินการจัดการเรียนรู้ ๑0 ๑1 ๑. การลงทะเบยี นรายวิชาเลือกวิชาการปอ้ งกันการทุจรติ ๑2 ๒. การบูรณาการการเรียนการสอนกบั สาระการพัฒนาสังคม ๑5 ๓. การบรู ณาการการเรยี นการสอนกับสาระการเรยี นรู้อนื่ ๆ 17 ๔. การจดั ในกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น 17 ๕. การจัดเป็นกิจกรรมเสริมหลกั สูตร หรือบรู ณาการกับวถิ ชี ีวติ ในสถานศกึ ษา 17 ๘. การกากับ ติดตาม และประเมนิ ผลหลกั สูตรตา้ นทจุ รติ ศกึ ษา ๙. วัตถุประสงคข์ องการกากบั ติดตาม 19 ๑๐. การดาเนนิ การกากับ ติดตาม 23 สว่ นท่ี ๓ แบบกากับ ติดตาม การใชห้ ลกั สูตรต้านทุจรติ ศึกษา 27 ภาคผนวก ก แบบกากบั ติดตาม 30 35 แบบท่ี ๑ แบบกากบั ติดตามการใช้หลกั สตู รต้านทุจริตศกึ ษา ๕๔ แบบที่ ๒ แบบกากบั ตดิ ตามการใชห้ ลกั สตู รตา้ นทุจรติ ศึกษา ๕๕ แบบท่ี 3 แบบสรุปรายงานผลการกากบั ติดตามการใชห้ ลกั สตู รตา้ นทุจรติ ศกึ ษา ภาคผนวก ข อภิธานศัพท์ ภาคผนวก ค สือ่ การเรียนรู้ บรรณานกุ รม รายชือ่ คณะกรรมการจดั ทาค่มู ือหลกั สูตรต้านทจุ ริตศึกษาภาคเหนอื พ.ศ. ๒๕๖๕ สาหรับสถานศกึ ษาในสังกัดสานักงานส่งเสริมการจัดการศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอัธยาศยั

๑ คูม่ ือ หลกั สูตรตา้ นทจุ ริตศึกษา ส่วนท่ี ๑ บทนา ๑. ความเป็นมาของหลักสตู รตา้ นทจุ ริตศึกษา ปัจจุบัน ปัญหาการทุจริตคอร์รัปชั่น ถือได้ว่าเป็นปัญหาใหญ่ที่เกิดข้ึนในประเทศต่าง ๆ ท่ัวโลก รวมท้ังประเทศไทย ซึ่งปัญหาน้ียังไม่มีทีท่าว่าจะหมดไป อีกท้ังยังทวีความรุนแรงและซับซ้อนมากขึ้น อย่างต่อเนื่อง แม้ว่าประเทศไทยจะก้าวเข้าสู่ความทันสมัย มีระบบการบริหารราชการสมัยใหม่ มีการรณรงค์ จากองค์กรของรัฐ หรือองค์กรอิสระต่าง ๆ ท่ีเห็นพ้องกันว่า การทุจริตคอร์รัปช่ัน เป็นปัญหาท่ีนาไปสู่ ความยากจน และเป็นอุปสรรคท่ีขัดขวางการพัฒนาประเทศอย่างแท้จริง สาหรับประเทศไทยนั้น เป็นที่ทราบ กันท่ัวไปว่า ปัญหาเร่ืองการทุจริตคอร์รัปชั่น เป็นปัญหาสาคัญลาดับต้น ๆ ที่ส่งผลกระทบต่อการพัฒนา ประเทศเป็นอย่างมาก ปัญหาดังกล่าวเกิดขึ้นมาช้านานจนฝังรากลึก และพบเกือบทุกกลุ่มอาชีพในสังคมไทย เก่ียวพนั กับวถิ ีชีวติ ของคนไทยมาอยา่ งยาวนาน หรอื กลา่ วได้วา่ เป็นสว่ นหนงึ่ ของวฒั นธรรมไทยไปแลว้ สาเหตุของปัญหาท่ีพบ คือ การทุจริตคอร์รัปชั่น เป็นประเพณีนิยมปฏิบัติที่มีมาตั้งแต่ สมัยด้ังเดิม ยังคงมีอิทธิพลต่อความคิดของคนในปัจจุบันอยู่ค่อนข้างมาก ฉะน้ัน พฤติกรรมการปฏิบัติ ของข้าราชการ จึงไม่สอดคล้องกับแนวความคิดของการเป็นข้าราชการสมัยใหม่ การฉ้อราษฎร์บังหลวง ของข้าราชการด้วยความไม่รู้หรือด้วยความบริสุทธ์ิใจ จึงยังคงปรากฏอยู่ค่อนข้างมาก นอกจากน้ี การทุจริต คอร์รัปชั่นของข้าราชการอยู่ท่ีตัวข้าราชการ ปัญหาที่เกิดจากความคิด ความไม่มีประสิทธิภาพ ของตัวระบบ และปญั หาของตัวขา้ ราชการไม่ว่าจะเปน็ เร่อื งของรายได้ สวัสดิการ จริยธรรมในการทางาน ความคาดหวังหรือ โอกาสในชีวิตของตัวข้าราชการ การบริหารราชการแผ่นดินเป็นสาเหตุที่สาคัญที่สุด ประการหนึ่งของการเกิด ทุจริตคอร์รัปช่ันในวงราชการ อันนาไปสู่การสูญเสียเงินรายได้ของรัฐบาล ความไม่เสมอภาคในการให้บริการ ของข้าราชการแก่ผ้มู าตดิ ต่อ ประชาชนผู้เสียภาษไี มไ่ ด้รบั บริการท่ีมีคุณภาพ จากการวัดดัชนีการรับรู้การทุจริต (Corruption Perceptions Index : CPI) ปี ๒๕๕๗ และ ปี ๒๕๕๘ ประเทศไทยได้คะแนนการประเมิน ๓๘ คะแนน ในปี ๒๕๕๙ ประเทศไทยได้คะแนน การประเมิน ๓๕ คะแนน และในปี ๒๕๖๐ ประเทศไทยได้คะแนนการประเมิน ๓๗ คะแนน ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเทศไทยยังมีการทุจริตคอร์รัปชั่นอยู่ในระดับสูง ซ่ึงสมควรได้รับการแก้ไขอย่างเร่งด่วน ดังนั้น คณะกรรมการปอู งกนั และปราบปรามการทจุ ริตแห่งชาติ (คณะกรรมการ ป.ป.ช.) จึงได้หาแนวทางในการแก้ไข ปญั หาดงั กล่าวมาโดยตลอด เริม่ ต้ังแตก่ ารกาหนดยทุ ธศาสตร์ชาตวิ ่าด้วย การปูองกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ ๑ (พ.ศ. ๒๕๕๑ – ๒๕๕๕) และได้รับการถา่ ยทอด สูย่ ุทธศาสตรช์ าตวิ ่าดว้ ยการปูองกันและปราบปราม การทุจริตภาครัฐ (พ.ศ. ๒๕๕๒ – ๒๕๕๕) และเม่ือวันท่ี ๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๑ นายกรัฐมนตรีได้ส่ังการให้ หน่วยงานภาครัฐจัดทาแผนยุทธศาสตร์ และแผนปฏิบัติราชการประจาปี ให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ว่าด้วย การปูองกันและปราบปรามการทุจริตภาครัฐ (พ.ศ. ๒๕๕๒ – ๒๕๕๕) นอกจากน้ัน ยังมีกลไกท่ีคณะกรรมการ ป.ป.ช. แตง่ ตั้งในรปู คณะอนุกรรมการ เพื่อนายุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการปูองกันและปราบปรามการทุจริตไปสู่ การปฏบิ ตั ิในภาคส่วนตา่ ง ๆ อาทิ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม เป็นต้น เนื่องจากตระหนักถึงความสาคัญของ การบูรณาการความร่วมมือและสนับสนุนจากภาคีทุกภาคส่วน จากน้ัน คณะกรรมการ ป.ป.ช. ได้จัดทา ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการปูองกันและปราบปรามการทุจริตระยะที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๕๖ – ๒๕๖๐) ต่อเนื่อง เพื่อเป็นกรอบให้ทุกภาคส่วนท่ีเก่ียวข้องแปลงยุทธศาสตร์ แนวทาง และมาตรการปูองกันและปราบปรามการ ทุจริตไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม และส่งเสริมให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม ในการปูองกันและ ปราบปรามการทุจริตอย่างจริงจัง โดยในส่วนของภาครัฐนั้น คณะรัฐมนตรีมีมติ เม่ือวันท่ี ๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ เห็นชอบให้แปลงแนวทางและมาตรการตามยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วย การปูองกันและปราบปรามการ

๒ ทุจริต ระยะที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๕๖ – ๒๕๖๐) ไปสู่การปฏิบัติ โดยให้กาหนดไว้ในแผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี และ แผนปฏิบตั ิราชการประจาปี รวมถึงการสนับสนุนของกระทรวงมหาดไทย โดยส่ังการให้มีการตั้งคณะกรรมการ ร่วมเพ่ือปูองกันและปราบปรามการทุจริตระดับจังหวัดท่ีมีผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธานขึ้นในทุกจังหวัด ซง่ึ ถอื เป็นกลไกสาคัญที่มีบทบาทในการนายุทธศาสตร์ชาติว่าด้วย การปูองกันและปราบปรามการทุจริต ระยะ ท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๕๖ – ๒๕๖๐) ไปสู่การปฏิบัติระดับจังหวัด ในลักษณะบูรณาการในช่วงระยะเวลาของการใช้ ยทุ ธศาสตรช์ าตวิ า่ ด้วย การปูองกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๕๖ – ๒๕๖๐) ทุกภาคส่วน ของสังคมไทย และได้ตระหนักถึงภัยคุกคามของปัญหาการทุจริตที่ฝังรากลึกอย่างยาวนาน มีการเปลี่ยนแปลง ทางการเมืองท่ีสาคัญ ส่งผลให้รัฐบาลท่ีเข้ามาบริหารประเทศ ต้องดาเนินการแก้ไขปัญหาการทุจริตอย่าง เรง่ ดว่ น ตง้ั แต่ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ เป็นตน้ มา นอกจากน้ี สานกั งาน ป.ป.ช. ไดร้ บั มอบหมายจากรัฐบาลให้เป็นหนว่ ยงานเจ้าภาพหลักในการ จัดทาแผนงบประมาณลักษณะบูรณาการ เร่ืองการปูองกัน ปราบปรามการทุจริต และประพฤติมิชอบ แผนงบประมาณดังกล่าว จึงเป็นหนึ่งในกลไกสาคัญของการบูรณาการการปูองกัน ปราบปรามการทุจริต และประพฤติมิชอบของประเทศไทย กระท่ัง เม่ือวันที่ ๒๘ มิถุนายน ๒๕๕๙ คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีมติ เห็นชอบให้ยกเลิกยทุ ธศาสตร์ชาตวิ ่าด้วยการปูองกนั และปราบปรามการทุจริต ระยะที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๖๐ และให้ ปรับระยะเวลาของ ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วย การปูองกันและปราบปรามการทุจริต ระยะท่ี ๓ เป็นปี พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔ โดยยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วย การปูองกันและปราบปรามการทุจริต มีความสอดคล้องกับ เปูาหมายของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ และเชื่อมโยงไปสู่ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี ที่ สาคญั จะตอบสนองกบั สภาพปญั หาและสถานการณ์การดาเนนิ งานด้านการปูองกันและปราบปรามการทุจริตท่ี เปล่ียนแปลงไปในปัจจุบัน และความเปล่ียนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคตด้วยองค์ความรู้ และนวัตกรรมการ ต่อต้านการทจุ รติ ทที่ ันสมัย แผนงบประมาณในลกั ษณะบรู ณาการ เรื่องการปูองกัน ปราบปรามการทุจริต และ ประพฤตมิ ิชอบ จึงไดร้ ับการทบทวนเปูาหมายแผนงานบูรณาการ แนวทาง และตัวชี้วัดของแผนงานบูรณาการ ให้สอดคล้องและเช่ือมโยงกับร่างกรอบยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙) แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วย การปูองกันและปราบปราม การทจุ รติ ระยะที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ความพยายามบูรณาการการปูองกัน ปราบปรามการทุจริตและ ประพฤติมิชอบให้ต่อเนื่องและ เป็นทิศทางเดียวกันท้ังประเทศ เพื่อนาไปสู่การบรรลุเปูาหมายของการเป็น ประเทศท่ีมีมาตรฐาน ความโปร่งใส เทียบเท่าระดับสากล จาเป็นต้องดาเนินการจัดทาแผนแม่บทบูรณาการ การปูองกัน ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ ระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙) ให้กระทรวงและ ทุกหน่วยงานร่วมกันกาหนดอนาคต และแก้ปัญหาการทุจริตของประเทศไทย ในลักษณะประสาน เช่ือมโยง แบบเครอื ขา่ ยท่นี าไปสกู่ ารบรรลจุ ุดมุ่งหมายในแตล่ ะชว่ งเวลาอย่างบูรณาการ วิสัยทัศน์ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี ของประเทศไทยว่าด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง หรือเป็นคติพจน์ประจาชาติว่า “มั่นคง มั่งค่ัง ยั่งยืน” และแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และ สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ ยุทธศาสตร์ท่ี ๖ การบริหารจัดการในภาครัฐ การปูองกันการทุจริต ประพฤติ มิชอบ และธรรมาภบิ าลในสงั คมไทยวา่ ดว้ ยการขาดธรรมาภิบาลในสังคมไทยทาให้มีการทุจริต ประพฤติมิชอบ ยังเป็นปัญหาสาคัญของประเทศ ในช่วง ๕ ปี จึงจาเป็นที่ต้องเร่งปฏิรูปการบริหารจัดการภาครัฐ ให้เกิด ผลสัมฤทธิ์อย่างจริงจังในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ ทั้งการบริหารจัดการภาครัฐ ให้โปร่งใส มีประสิทธิภาพ รับผิดชอบ ตรวจสอบได้อย่างเป็นธรรม และประชาชนมีส่วนร่วม มีการกระจาย อานาจ และแบ่งภารกิจรับผิดชอบที่เหมาะสมระหว่างส่วนกลาง ภูมิภาค และท้องถ่ินและวางพ้ืนฐาน เพ่ือให้ บรรลุตามกรอบเปูาหมายอนาคตในปี ๒๕๗๙ ดังนี้ ๑) เพ่ือให้ภาครัฐมีขนาดเล็ก มีการบริหารจัดการที่ดี และ

๓ ไดม้ าตรฐาน ๒) เพอื่ ใหอ้ งคก์ รปกครอง ส่วนทอ้ งถน่ิ มีการบริหารจดั การและใหบ้ รกิ ารแกป่ ระชาชนในท้องถิ่นได้ อย่างมีประสิทธภิ าพ ประสทิ ธิผล และโปรง่ ใส ตรวจสอบได้ ๓) เพอื่ ลดปัญหาการทจุ รติ และประพฤติมิชอบของ ประเทศ ๔) เพ่ือพัฒนาระบบและกระบวนการทางกฎหมาย ให้สามารถอานวยความสะดวกด้วยความรวดเร็ว และเปน็ ธรรมแกป่ ระชาชน ตามแนวทางการพัฒนาการปูองกันปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ เพื่อให้ สังคมไทยมีวินัย โปร่งใส ยึดม่ันในความซื่อสัตย์สุจริต และยุติธรรม รวมทั้งสร้างความเข้มแข็ง เป็นภูมิคุ้มกันของสังคมไทย ให้ครอบคลุมภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรพัฒนาเอกชนและภาคประชาชน พรอ้ มทัง้ สรา้ งพลังการขับเคลอ่ื นคา่ นยิ ม ต่อต้านการทุจรติ ใหด้ าเนนิ การโดย ๑. ปลูกฝังให้คนไทยไม่โกง ภาครัฐดาเนินการส่งเสริม สนับสนุนให้ทุกภาคส่วน มุ่งสร้าง จิตสานึกในการรักษาประโยชน์สาธารณะ ทัศนคติเชิงบวก รวมทั้งคุณธรรม จริยธรรม และ หลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงให้กับทุกกลุ่มในสังคม ผ่านกลไกครอบครัว สถาบันการศึกษา สถาบันศาสนา สื่อมวลชน และเครอื ขา่ ยทางสงั คม ควบคกู่ ับการปลูกจิตสานึกความซ่อื สัตย์สุจริต ค่านิยมท่ีถูกต้อง สร้างความตระหนักถึง ภัยร้ายแรงของการทุจริตและการรู้เท่าทันการทุจริต ของสังคมไทย โดยอาศัยกลไกทางสังคมเป็นมาตรการใน การลงโทษผกู้ ระทาผดิ หรือผูก้ ระทาการทจุ รติ และประพฤตมิ ิชอบ ๒. การปูองกันการทุจริต ภาครฐั ไดด้ าเนินการ ดังนี้ ๑) ปฏริ ูปกฎหมายทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั การบรหิ ารพัสดุและการจดั ซ้อื จัดจ้างภาครัฐ ให้มีระบบที่ โปร่งใสตรวจสอบได้ และมปี ระสิทธภิ าพตอ่ การจดั หาวสั ดุ ครุภณั ฑ์ ที่ดินและสง่ิ กอ่ สร้าง การจัดซื้อ จัดจ้างและ การทาสัญญาอื่น ๆ ที่ภาคเอกชนทาสัญญากับรัฐ ให้มีกฎหมายห้ามมิให้ นางบประมาณแผ่นดินไปใช้ ประชาสัมพันธ์ตนเองในเชิงหาเสียง ไม่ให้มีการขัดกันระหว่าง ผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม ในขณะดารงตาแหน่งท่ีสามารถใช้อานาจรัฐได้ และปรับปรุงกฎหมายเก่ียวกับข้อมูลข่าวสารสาธารณะ รวมท้ัง การลดการใช้ดุลพินิจในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าท่ีรัฐ โดยให้มีการกาหนดขั้นตอนการดาเนินงาน กระบวนการ และแนวทางการตัดสนิ ใจ ระยะเวลาแล้วเสร็จ และเอกสารที่ใช้ในการขออนุญาต หรืออนุมัติจาก ทางราชการให้ระบบงานท้ังระบบโปร่งใสตรวจสอบได้โดยเฉพาะโครงการที่มีความเสี่ยงต่อการทุจริตให้มี การจัดทาสัญญาคุณธรรม และเพ่มิ บทลงโทษภาคเอกชนดว้ ย ๒) จัดต้ังกองทุนสนับสนุนการต่อต้านการทุจริต การคุ้มครองพยานในคดีทุจริตและ ประพฤติมิชอบ และเสริมสร้างความรู้เก่ียวกับรูปแบบกลไกการทุจริตและวิธีการเฝูาระวังการทุจริต รวมถึง แนวทางการสนับสนุนการสร้างกิจกรรมการปูองกันการทุจริตของภาคประชาชนอย่างต่อเนื่อง ตลอดจน พิจารณารูปแบบการจัดสรรงบประมาณด้านการปูองกันและปราบปรามการทุจริตประพฤติมิชอบ ให้มีความ เหมาะสมและเพยี งพอกบั การปฏบิ ตั งิ านและสถานการณ์การคลงั ของประเทศ ๓) เร่งรัดหน่วยงานภาครัฐให้มีการดาเนินงานในการกาหนดมาตรการปูองกันและ แก้ไข ปัญหาการทุจริตและประพฤติมิชอบอย่างเคร่งครัด โดยติดตามผลการดาเนินงานตามมาตรการ ปูองกันและ แกไ้ ขปญั หาการทุจริตและประพฤติมชิ อบของหน่วยงานของรัฐอย่างต่อเน่ือง ๔) เสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแข็งให้แก่ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต ให้สามารถเป็นหน่วยงานหลักของภาครัฐในการเฝูาระวัง ปูองกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติ มิชอบทบ่ี รู ณาการการทางานร่วมกนั อย่างมีกลยทุ ธ์ ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วย การปูองกันและปราบปรามการทุจริต ระยะท่ี ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) เป็นห้วงเวลาเดียวกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) และเมอื่ วนั ที่ ๓๐ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ คณะกรรมการ ป.ป.ช. ได้มีมตเิ ห็นชอบยทุ ธศาสตร์ว่าด้วย การปูองกัน

๔ และปราบปรามการทุจริต ระยะที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ฉบับสมบูรณ์ ที่กาหนด วิสัยทัศน์ “ประเทศไทย ใสสะอาด ไทยทั้งชาติต้านทุจริต” (Zero Tolerance and Clean Thailand) กาหนดพันธกิจหลักเพื่อสร้าง วัฒนธรรมการต่อต้านการทุจริต ยกระดับธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการทุกภาคส่วน และปฏิรูปกระบวน การ ปูองกันและปราบปรามการทุจริตทั้งระบบ ให้มีมาตรฐาน เทียบเท่าสากลผ่านยุทธศาสตร์ ๖ ด้าน ได้แก่ ๑) สร้าง สงั คมที่ไมท่ นตอ่ การทจุ ริต ๒) ยกระดับ เจตจานงทางการเมืองในการต่อต้านการทุจริต ๓) สกัดก้ัน การทุจริตเชิง นโยบาย ๔) พัฒนาระบบปูองกันการทุจริตเชิงรุก ๕) ปฏิรูปกลไกและกระบวนการการปราบปรามการทุจริต และ ๖) ยกระดับ ดัชนีการรับรู้การทุจริตของประเทศไทย โดยเปูาประสงค์ของยุทธศาสตร์ชาติ ฯ ระยะท่ี ๓ คือ ประเทศไทยมีคา่ ดชั นกี ารรับรู้การทจุ ริต (CPI) สูงกวา่ ร้อยละ ๕๐ เพอ่ื ให้เป็นมาตรฐานเป็นท่ียอมรับ จากท้ังภายใน และต่างประเทศ รวมท้ังมีการกาหนดแนวทางและกลไกในการดาเนินงานที่ชัดเจนมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และตอบสนองต่อการแก้ไขปัญหาการทุจริตได้อย่างทันท่วงที สาหรับ หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชา สังคม รวมถึงภาคส่วนอ่ืนๆ ในประเทศไทยสามารถนาไป ปรับใช้ในงานการปูองกันและปราบปรามการทุจริต เพ่ือให้ประเทศไทยของเราสามารถยืนหยัดอยู่ได้ อย่างสง่างามท่ามกลางกระแสโลกในปัจจุบัน ท้ังนี้ คณะรัฐมนตรี มีมติเห็นชอบยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วย การปูองกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ในการประชุมเมื่อวันท่ี ๑๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ และเห็นชอบให้หน่วยงานภาครัฐแปลงแนวทางและมาตรการ ตามยทุ ธศาสตรช์ าตวิ ่าด้วย การปูองกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) สู่การปฏิบัติ โดยกาหนดไว้ในแผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี และแผนปฏิบัติราชการประจาปี รวมทั้ง สนับสนุน งบประมาณตาม แผนงานบูรณาการการปอู งกัน ปราบปรามการทจุ ริตและประพฤติมิชอบ ต้ังแตป่ ีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ เป็นต้นไป โดยให้หนว่ ยงานภาครฐั ดาเนนิ การสอดคลอ้ งกับยทุ ธศาสตรช์ าติ ๒๐ ปี และแผนการปฏริ ปู ประเทศด้านต่าง ๆ ด้วย ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการปูองกันและปราบปรามการทุจริต ระยะท่ี ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ยุทธศาสตร์ที่ ๑ “สร้างสังคมที่ไม่ทนต่อการทุจริต” ได้มุ่งเน้นให้ความสาคัญกระบวนการปรับสภาพ สังคมให้เกิดภาวะท่ี “ไม่ทนต่อการทุจริต” โดยเร่ิมตั้งแต่ กระบวนการกล่อมเกลาทางสังคมในทุกระดับช่วงวัย (ตั้งแต่ปฐมวัย ถึงระดับอุดมศึกษา) เพื่อสร้างวัฒนธรรมต่อต้านการทุจริตและปลูกฝังความพอเพียง มีวินัย ซ่ือสัตย์สุจริต และมีจิตสาธารณะ ซ่ึงเป็นคุณธรรมจริยธรรมปูองกันการทุจริต ยึดประโยชน์ส่วนรวมมากกว่า ประโยชน์ส่วนตน เป็นการดาเนินการผ่านสถาบัน หรือกลุ่มตัวแทน ท่ีทาหน้าที่ในการกล่อมเกลาสังคมให้มี ความเป็นพลเมืองที่ดี มีจิตสาธารณะ เสียสละเพื่อส่วนรวม และเสริมสร้างให้ ทุกภาคส่วนมีพฤติกรรมที่ไม่ ยอมรับและต่อต้านการทุจริตในทุกรูปแบบ และได้กาหนดกลยุทธ์ ๔ กลยุทธ์ กล่าวคือ กลยุทธ์ท่ี ๑ ปรับฐาน ความคิดทุกช่วงวัย ต้ังแต่ปฐมวัยให้สามารถแยกแยะระหว่าง ผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม กลยุทธ์ท่ี ๒ สง่ เสริมให้มรี ะบบและกระบวนการกล่อมเกลาทางสังคมเพื่อต้านทุจริต กลยุทธ์ที่ ๓ ประยุกต์หลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นเคร่ืองมือ ต้านทุจริต และกลยุทธ์ท่ี ๔ เสริมพลังการมีส่วนร่วมของชุมชน (Community) และบูรณาการทกุ ภาคส่วน เพอื่ ต่อต้านการทจุ ริต คณะกรรมการ ป.ป.ช. จึงได้มีคาสั่ง ที่ ๖๔๖/๒๕๖๐ ส่ัง ณ วันที่ ๒๖ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๐ แต่งต้งั คณะอนกุ รรมการจัดทาหลกั สตู รหรอื ชุดการเรียนรู้และสอื่ ประกอบการเรยี นรู้ ดา้ นการปูองกันการทุจริต ซ่ึงประกอบด้วย ผู้ทรงคุณวุฒิหรือผู้เช่ียวชาญจากหน่วยงานด้านการศึกษา และหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องในการ จัดทาหลักสูตรการเรียนการสอน จากท้ังภายในและภายนอกหน่วยงาน รวมท้ัง ผู้ทรงคุณวุฒิจากองค์กร ภาคเอกชน เพื่อดาเนินการจัดทาหลักสูตร หรือชุดการเรียนรู้ และส่ือประกอบการเรียนรู้ ด้านการปูองกัน การทุจริต นาไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนให้กับผู้เรียน นักศึกษาในทุกระดับช้ัน ทั้งในส่วนของการศึกษา ระดับปฐมวัย ประถมศึกษา มัธยมศึกษา และ อุดมศึกษา ท้ังภาครัฐและเอกชน รวมทั้งอาชีวศึกษา การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย โดยแต่ละระดับการศึกษา จัดทาหลักสูตร ดังน้ี ๑. หลักสูตรการศึกษา

๕ ขั้นพื้นฐาน (รายวิชาเพ่ิมเติม การปูองกันการทุจริต) ๒. หลักสูตรอุดมศึกษา (วัยใส ใจสะอาด “Youngster with good heart”) ๓. หลักสูตรตามแนวทางรับราชการ กลุ่มทหารและตารวจ ๔. หลักสูตรสร้างวิทยากร ผู้นาการเปล่ยี นแปลงสสู่ งั คมทไี่ มท่ นตอ่ การทุจรติ และ ๕. หลักสตู รโคช้ เพอื่ การรู้คิดตา้ นทุจริต สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในฐานะองค์กรรับผิดชอบการจัดการศึกษา ให้แก่ผู้เรียนต้ังแต่ระดับปฐมวัยจนถึงชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๖ จึงได้จัดทารายวิชาเพิ่มเติม “การปูองกัน การทุจริต” ประกอบด้วยเนื้อหา ๔ หน่วยการเรียนรู้ ได้แก่ ๑) การคิดแยกแยะระหว่าง ผลประโยชน์ ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม ๒) ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต ๓) STRONG : จิตพอเพียง ตา้ นทุจรติ และ ๔) พลเมอื งกับความรับผิดชอบต่อสังคม ซ่ึงท้ัง ๔ หน่วยน้ี จะจัดทาเป็นแผนการจัดการเรียนรู้ ตั้งแต่ระดับชั้นปฐมวัยจนถึงช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๖ เพ่ือให้สถานศึกษาทุกแห่งนาไปใช้ในการจัดการเรียนการ สอน เพือ่ ปลกู ฝงั คณุ ธรรมจริยธรรมและปูองกันการทุจรติ ใหแ้ ก่ผ้เู รียนทุกระดับ ทั้งน้ี เพื่อเป็นการสร้างพลเมือง ที่ซื่อสัตย์สุจริตให้แก่ประเทศชาติ ปัญหาการทุจริตคอร์รัปช่ันลดลง และดัชนีการรับรู้การทุจริตของประเทศ ไทย มคี า่ คะแนนสูงขึน้ บรรลตุ ามเปาู ประสงค์ของยทุ ธศาสตร์ชาติว่าด้วยการปูองกันและปราบปรามการทุจริต ระยะท่ี ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) และนาหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา รายวิชาเพิ่มเติมการปูองกันการทุจริต เสนอต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. เพื่อนาเสนอต่อคณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบ เม่ือวันที่ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๖๑ คณะรฐั มนตรีมีมติเหน็ ชอบตามทีค่ ณะกรรมการ ป.ป.ช. เสนอ ดงั น้ี ๑. เห็นชอบหลักการเก่ียวกับหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา (Anti – Corruption Education) และให้หน่วยงานที่เก่ียวข้องนาหลักสูตรดังกล่าวไปพิจารณาปรับใช้กับกลุ่มเปูาหมาย ท้ังนี้ ให้หน่วยงาน ทตี่ อ้ งนาหลกั สูตรไปดาเนินการรับความเห็นของกระทรวงศกึ ษาธิการ สานักงาน ก.พ. สานักงานคณะกรรมการ พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และฝุายเลขานุการ คณะกรรมการนโยบายและพัฒนาการศึกษาไป พิจารณาดาเนินการต่อไป โดยให้ประสานงานกับ สานักงาน ป.ป.ช. อย่างใกล้ชิด เพ่ือให้การดาเนินการ ดังกล่าว บรรลุวัตถุประสงค์ตามที่กาหนดไว้ สาหรับภาระงบประมาณท่ีอาจจะเกิดข้ึนซึ่งไม่ได้ต้ังงบประมาณ รายจ่ายประจาปีรองรับไว้ ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องพิจารณาปรับแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่าย งบประมาณรายจ่าย ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ ไปดาเนินการในโอกาสแรกก่อน สาหรับปีงบประมาณ ตอ่ ๆ ไป ใหจ้ ดั ทาแผนการปฏบิ ตั งิ านและแผนการใช้จา่ ยงบประมาณ เพอื่ เสนอขอต้ังงบประมาณรายจ่าย ตาม ความจาเป็นและเหมาะสมต่อไป ตามความเหน็ ของสานกั งบประมาณ ๒. ให้กระทรวงกลาโหม กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึกษาธกิ าร สานักงาน ก.พ. สานักงาน ตารวจแห่งชาติ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหารือร่วมกับสานักงาน ป.ป.ช. เพ่ือพิจารณานาหลักสูตรน้ีไปปรับใช้ ในโครงการฝึกอบรมหลักสูตรข้าราชการ บุคลากรภาครัฐ หรือพนักงาน รัฐวิสาหกิจท่ีบรรจุใหม่ รวมทั้งให้ พิจารณากาหนดกลุ่มเปูาหมายของหลักสูตรโค้ชให้มีความชัดเจน โดยให้หมายความรวมถึงบุคลากรทาง การศึกษา เช่น ครู อาจารย์ หรือผู้ที่ทาหน้าท่ีเป็นผู้ถ่ายทอด ความรู้ท้ังในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ หลักสูตรอุดมศึกษาด้วย ทั้งน้ี เพื่อให้บุคลากรทางการศึกษาท่ีเข้ารับการอบรมหลักสูตรดังกล่าว สามารถ นาไปใช้ในการถ่ายทอดความรู้หรือ ช่วยในการจัดการเรียนการสอน ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากย่ิงข้ึน นอกจากน้ี ให้กระทรวงศึกษาธิการ เร่งดาเนินการและรายงานผลสัมฤทธ์ิของการดาเนินโครงการดังกล่าว ให้คณะกรรมการนโยบายและพฒั นาการศกึ ษาทราบเปน็ ระยะ ๆ ด้วย ๓. ให้กระทรวงศึกษาธิการเตรียมความพร้อมในด้านต่าง ๆ เช่น ตาราเรียน ครูอาจารย์ รายละเอียดหลักสูตร เพื่อนาหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา (Anti – Corruption Education หลักสูตรการศึกษา ขัน้ พื้นฐานและหลักสูตรอุดมศึกษา) ไปปรับใช้ในการจัดการเรียนการสอนของสถานศึกษา ทั้งน้ี ในการจัดการ เรียนการสอนหลักสูตรดังกล่าว ให้มุ่งเน้นการสร้างความรู้ความเข้าใจท่ีถูกต้อง เก่ียวกับความหมายและ

๖ ขอบเขตของการกระทาทุจริตในลักษณะต่าง ๆ ท้ังทางตรงและทางอ้อม ความเสียหาย ที่เกิดจากการทุจริต ความสาคญั ของการตอ่ ตา้ นการทจุ รติ รวมท้งั จัดใหม้ กี ารประเมินผลสัมฤทธ์ิของการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตร ในแต่ละ ช่วงวยั ของผู้เรยี นดว้ ย สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ได้จัดทาหนังสือเรียน รายวิชาเลอื ก วชิ าการปอู งกนั การทจุ รติ หลกั สูตรการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พุทธศักราช ๒๕๕๑ สอดคล้องกับหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา (Anti-Corruption Education) หลักสูตรท่ี ๑ หลักสูตร การศึกษาข้ันพื้นฐาน (รายวิชาเพ่ิมเติม การปูองกันการทุจริต) สานักงานงานคณะกรรมการปูองกันและ ปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (สานักงาน ป.ป.ช.) ร่วมกับ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ดาเนินการจัดทาเป็นส่ือหนังสือเรียน โดยแยกเป็น ๓ ระดับช้ัน ได้แก่ ระดับประถมศึกษา จานวน ๔๐ ชั่วโมง ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จานวน ๘๐ ชั่วโมง และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จานวน ๑๒๐ ชั่วโมง จัดทาเนื้อหาและกิจกรรมการเรียนการสอนให้แตกต่างกันตามความเหมาะสมและการเรียนรู้ในแต่ละช่วงวัย ซ่ึงในหนังสือเรยี นแต่ละระดับชั้น จะประกอบด้วย โครงสร้างของรายวิชา โครงสร้างของบทเรียน เนื้อหา และ กิจกรรมเรียงลาดับตามบทเรียน แบบทดสอบก่อนเรียน กิจกรรมการเรียนรู้ แบบทดสอบหลังเรียน เฉลย แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน เฉลย/แนวคาตอบกิจกรรมเรียงตามบทเรียน เพ่ือให้ครูและผู้เรียน การศึกษานอกระบบ นาไปปรับใช้ในการเรียนการสอน ซ่ึงมีเนื้อหาที่สาคัญตามโครงสร้างหลักสูตร ๔ เรื่อง ได้แก่ ๑) การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม ๒) ความละอายและความ ไมท่ นตอ่ การทุจริต ๓) STRONG : จิตพอเพียงตอ่ ตา้ นการทุจริต และ ๔) พลเมืองและความรับผิดชอบต่อสังคม เพื่อให้สถานศึกษาทุกแห่งนาไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน เพื่อปลูกฝังและปูองกันการทุจริตให้แก่นักเรียน นักศึกษาการศึกษานอกระบบทุกระดับ โดยใช้เป็นสื่อการเรียนรู้ในการจัดการเรียนการสอนท่ีตอบสนอง นโยบายและกลยุทธเ์ พอ่ื ให้การพัฒนาประเทศบรรลตุ ามวสิ ยั ทศั น์ “ประเทศไทยมีความม่นั คง ม่ังค่ัง ยั่งยืน เป็น ประเทศท่ีพัฒนาแล้วด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” และเป็นการสร้างพลเมืองที่ ซ่ือสัตย์สุจริตให้แก่ประเทศชาติ ปัญหาคอร์รัปชั่นลดลง และดัชนีภาพลักษณ์คอร์รัปชั่นของประเทศไทย มีค่า คะแนนสูงขึ้น บรรลุตามเปูาประสงค์ของยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วย การปูองกันและปราบปรามการทุจริตระยะท่ี ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) ๒. วัตถุประสงคใ์ นการจดั ทาค่มู ือการใชห้ ลักสตู รตา้ นทุจรติ ศึกษา ๒.๑ เพ่ือให้ผู้บริหารสถานศึกษาและครู มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ เกี่ยวกบั หลกั สตู ร ตา้ นทุจริต ศึกษา (Anti – Corruption Education) ๒.๒ เพื่อให้ผู้บริหารสถานศึกษาสามารถบริหารจัดการหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา (Anti – Corruption Education) ในสถานศกึ ษาไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ ๒.๓ เพื่อให้ครูสามารถนาหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา (Anti – Corruption Education) ไปใช้ ในการจัดการเรียนรู้ให้กับผู้เรียนต้ังแต่ระดับช้ันปฐมวัยจนถึงชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ซ่ึงเป็นการปลูกฝัง คุณธรรมจรยิ ธรรมเพือ่ ปูองกนั การทจุ ริตให้แก่ผ้เู รยี น ๓. เปา้ หมายในการจัดทาคมู่ ือการใช้หลกั สูตรตา้ นทจุ รติ ศึกษา ๓.๑ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูทุกคน มีความรู้ ความเข้าใจ เก่ียวกับหลักสูตร ต้านทุจริต ศึกษา (Anti – Corruption Education) ๓.๒ ผู้บริหารทุกคนสามารถนาความรู้ไปใช้ในการบริหารจัดการหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา (Anti – Corruption Education) ในสถานศึกษาได้อยา่ งจริงจงั และต่อเนอื่ ง

๗ ๓.๓ ครูผู้สอนทุกคนต้ังแต่ระดับปฐมวัยในศูนย์การเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟูาหลวง” (ศศช.) ระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย นาหลักสูตร ต้านทุจริตศึกษา (Anti – Corruption Education) ไปใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้ เพื่อปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม ปอู งกนั การทุจริตและสรา้ งวัฒนธรรมต่อตา้ นการทุจรติ ให้แกผ่ ้เู รยี น ส่วนที่ ๒ การนาหลักสูตรไปใช้ ๔. หลักสูตรตา้ นทุจรติ ศึกษา รายวิชาเลือก วิชาการปอ้ งกนั การทุจรติ สาระการพฒั นาสังคม การนาหลักสูตรไปใช้ และการบูรณาการหลักสูตรต้านทุจริตศึกษาในการจัดการเรียนการสอน ระดับ การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ของสถานศึกษาในสังกัดสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย ให้ใช้หนังสือเรียน รายวิชาการปูองกันการทุจริต รายวิชาเลือก เป็นสื่อหนังสือเรียน โดยแยกเป็น ๓ ระดับชั้น ได้แก่ ระดับประถมศึกษา จานวน ๘๐ ช่ัวโมง ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จานวน ๘๐ ช่ัวโมง และ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จานวน ๑๒๐ ชั่วโมง มีเน้ือหาและกิจกรรมการเรียนการสอน ในแต่ละระดับ แตกตา่ งกันตามความเหมาะสมและการเรียนรู้ในแต่ละช่วงวัย ซึ่งในหนังสือเรียนแต่ละระดับชั้น ประกอบด้วย โครงสร้างของรายวิชา โครงสร้างของบทเรียน เนื้อหา และกิจกรรมเรียงลาดับตามบทเรียน แบบทดสอบก่อน เรียน กิจกรรมการเรยี นรู้ แบบทดสอบหลังเรียน เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน เฉลย/แนวคาตอบ กิจกรรมเรียงตามบทเรียน เพ่ือให้ครูและผู้เรียนการศึกษานอกระบบ นาไปปรับใช้ในการเรียนการสอน ซึ่งมี เน้ือหาที่สาคัญตามโครงสร้างหลักสูตร ๔ เรื่อง ได้แก่ ๑) การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและ ผลประโยชน์ส่วนรวม ๒) ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต ๓) STRONG : จิตพอเพียงต่อต้าน การทุจรติ และ ๔) พลเมอื งและความรับผดิ ชอบตอ่ สงั คม เพือ่ ใหส้ ถานศึกษาทกุ แห่งนาไปใช้ในการจัดการเรียน การสอน เพื่อปลูกฝังและปูองกันการทุจริตให้แก่นักเรียนนักศึกษาการศึกษานอกระบบทุกระดับ ให้มีความรู้ ความเขา้ ใจ มีทักษะ กระบวนการ มีสมรรถนะท่ีสาคัญ และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ โดยใช้เป็นส่ือการเรียนรู้ ในการจัดการเรียนการสอนท่ีตอบสนองนโยบายและกลยุทธ์เพ่ือให้การพัฒนาประเทศบรรลุตามวิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความม่ันคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศท่ีพัฒนาแล้วด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี ง” และเปน็ การสรา้ งพลเมอื งทซี่ อ่ื สัตย์สจุ ริตให้แกป่ ระเทศชาติ ๕. หนว่ ยการเรยี นรูใ้ นหลกั สูตรตา้ นทจุ รติ ศกึ ษา หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๑ การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม ผู้เรียนเรียนรู้เกี่ยวกับระบบคิดฐานสิบ ระบบคิดฐานสอง ผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม การคดิ แยกแยะ การขดั กนั ระหว่างผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชน์ ส่วนรวมในชุมชน สงั คม ประเทศชาติ และโลก ความแตกตา่ งระหว่างจรยิ ธรรมและการทจุ รติ ผลประโยชนท์ ับซ้อน รปู แบบของผลประโยชนท์ บั ซอ้ น หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๒ ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต ผู้เรียนเรียนรู้เกี่ยวกับ ความหมาย ของความละอาย ความไม่ทนต่อการทุจริต และพฤติกรรมที่แสดงออกถึงความละอายและความไม่ทนต่อการ ทุจรติ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓ STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจริต ผู้เรียนเรียนรู้เก่ียวกับ STRONG : จิต พอเพยี งต้านทุจริต ซ่ึงประกอบดว้ ย

๘ S (Sufficient) : ความพอเพียง หมายถึง ผู้เรียนน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาประยุกต์เป็นหลักในการทางาน การดารงชีวิต การพัฒนาตนเองและส่วนรวม รวมถึงการปูองกันการทุจริต อย่างย่ังยืน ความพอเพียงต่อส่ิงใดสิ่งหนึ่งของมนุษย์ แม้ว่าจะแตกต่างกัน ตามพื้นฐาน แต่การตัดสินใจว่า ความพอเพียงของตนเองต้องต้ังอยู่บนความมีเหตุมีผล รวมท้ัง ต้องไม่เบียดเบียนตนเอง ผู้อ่ืน และส่วนรวม ความพอเพยี งจึงเปน็ ภมู คิ ุ้มกันใหบ้ คุ คลนนั้ ไมก่ ระทาการทุจริต ซง่ึ ตอ้ งใหค้ วามร้คู วามเขา้ ใจและปลุกใหต้ ่ืนรู้ T (Transparent) : ความโปรง่ ใส หมายถึง ผูเ้ รียนตอ้ งปฏบิ ตั งิ านบนฐานของ ความโปร่งใส ตรวจสอบได้ จึงต้องมีและปฏิบัติตามหลักปฏิบัติ ระเบียบ ข้อปฏิบัติกฎหมาย ความโปร่งใส ซ่ึงต้องให้ความรู้ ความเข้าใจและปลุกใหต้ ื่นรู้ R (Realize) : ความต่ืนรู้ หมายถึง ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักรู้ ถึงรากเหง้า ของปญั หา และภยั ร้ายแรงของการทจุ ริตประพฤติมิชอบภายในชุมชน และประเทศ ความตื่นรู้จะบังเกิดเม่ือได้ พบเหน็ สถานการณท์ ่ีเสี่ยงตอ่ การทุจรติ ยอ่ มจะมีปฏกิ ริ ยิ าเฝูาระวังและ ไม่ยินยอมต่อการทุจริตในท่ีสุด ซึ่งต้อง ให้ความรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกับสถานการณ์การทุจริต ท่ีเกิดข้ึน ความร้ายแรงและผลกระทบต่อระดับบุคคลและ ส่วนรวม O (Onward) : มุ่งไปข้างหน้า หมายถึง ผู้เรียนมุ่งพัฒนาและปรับเปล่ียนตนเองและ สว่ นรวมใหม้ ีความเจรญิ กา้ วหน้าอยา่ งยง่ั ยนื บนฐานความโปรง่ ใส ความพอเพยี งและรว่ มสร้าง วัฒนธรรมสุจริต ใหเ้ กดิ ขน้ึ อยา่ งไม่ยอ่ ทอ้ ซ่ึงตอ้ งมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจในประเด็นดงั กล่าว N (Knowledge) : ความรู้ หมายถึง ผู้เรียนต้องมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถ นาความรู้ ไปใชว้ ิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินได้อย่างถ่องแท้ ในเรื่องสถานการณ์การทุจริต ผลกระทบ ที่มีต่อตนเองและ ส่วนรวม ความพอเพียงตา้ นทุจรติ การแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตนและ ผลประโยชนส์ ่วนรวม ที่มีความสาคัญ ย่ิงต่อการลดการทุจริตในระยะยาว รวมทั้งความละอาย ไม่กล้าทาทุจริต และความไม่ทนเมื่อพบเห็นว่า มีการทุจริตเกิดขึ้น เพื่อสรา้ งสงั คมไม่ทนต่อการทุจริต G (Generosity) : ความเอ้ืออาทร หมายถึง ผู้เรียนมีความเอื้ออาทร มีเมตตา มีน้าใจ ต่อ กัน บนฐานของจติ พอเพยี งต้านทุจริต ไมเ่ อ้ือตอ่ การรบั หรอื การใหผ้ ลประโยชน์หรอื ตอ่ พวกพ้อง หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๔ พลเมืองกับความรับผิดชอบต่อสังคม ผู้เรียนเรียนรู้เก่ียวกับ หน้าท่ีของพลเมือง ความรับผิดชอบของพลเมือง ต่อตนเอง ชุมชน สังคม ประเทศชาติ และโลก การเคารพสิทธิหน้าท่ีของตนเอง และผอู้ น่ื การปฏิบตั ติ นตามระเบยี บ กฎ กตกิ า กฎหมาย และการปฏิบัติตนเป็นพลเมือง ท่ีดีในการปูองกันการ ทุจรติ

๙ ๖. ตารางชั่วโมงการจัดการเรยี นการสอน รายวชิ าเลือก วชิ าการปอ้ งกนั การทุจริต สาระการพัฒนาสงั คม ประกอบด้วย ๔ หน่วยการเรียนรู้ คือ ๑) การคิดแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ ส่วนรวม ๒) ความไมท่ นและความอายต่อการทจุ ริต ๓) STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจริต และ ๔) พลเมืองกับ ความรับผดิ ชอบตอ่ สงั คม โดยกาหนดชวั่ โมงการจดั การเรยี นการสอน ดังน้ี ระดบั การศกึ ษา ที่ หนว่ ยการเรยี นรู้ ประถมศกึ ษา มัธยมศึกษาตอนต้น มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ๒ หน่วยกติ ๑ การคดิ แยกแยะระหว่าง ๒๐ ช่วั โมง ๒ หน่วยกิต ๓ หน่วยกิต ผลประโยชนส์ ว่ นตน และ ประโยชน์สว่ นรวม ๑๒ ชวั่ โมง ๒๔ ชั่วโมง ๓๐ ชั่วโมง ๑๘ ช่วั โมง ๒ ความละอายและการไม่ทนต่อ ๓๐ ชว่ั โมง ๑๖ ชั่วโมง ๒๕ ชว่ั โมง การทุจรติ ๒๐ ชัว่ โมง ๒๕ ช่วั โมง ๘๐ ๒๐ ชวั่ โมง ๔๐ ชว่ั โมง ๓ STRONG : จติ พอเพียง ตอ่ ต้าน การทจุ ริต ๘๐ ๑๒๐ ๔ พลเมืองกบั ความ รับผดิ ชอบตอ่ สงั คม รวม ๑. ผลการเรยี นร้แู ละสาระการเรยี นรู้ ระดบั ช้ันประถมศึกษา จานวน ๒ หน่วยกิต (๘0 ช่วั โมง) หนว่ ยที่ ๑ การคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวม จานวน ๒๐ ชั่วโมง หนว่ ยท่ี ๒ ความละอายและความไม่ทนตอ่ การทจุ ริต จานวน ๑๒ ชั่วโมง หน่วยที่ ๓ STRONG : จติ พอเพียงตา้ นทุจรติ จานวน ๑๘ ชว่ั โมง หนว่ ยท่ี ๔ พลเมืองกบั ความรบั ผิดชอบตอ่ สงั คม จานวน ๓๐ ชั่วโมง ๒. ผลการเรียนรู้และสาระการเรียนรู้ ระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนต้น จานวน ๒ หน่วยกิต (๘๐ ชั่วโมง) หน่วยที่ ๑ การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์สว่ นตนและผลประโยชน์ส่วนรวม จานวน ๒๔ ช่วั โมง หนว่ ยที่ ๒ ความละอายและความไมท่ นตอ่ การทจุ ริต จานวน ๑๖ ช่วั โมง หน่วยที่ ๓ STRONG : จติ พอเพียงตา้ นทจุ ริต จานวน ๒๐ ชว่ั โมง หนว่ ยที่ ๔ พลเมอื งกบั ความรบั ผิดชอบตอ่ สงั คม จานวน ๒๐ ชั่วโมง ๓. ผลการเรียนรู้และสาระการเรียนรู้ ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาตอนปลาย จานวน ๓ หน่วยกติ (๑๒๐ ช่ัวโมง) หนว่ ยท่ี ๑ การคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชน์สว่ นรวม จานวน ๓๐ ช่ัวโมง

๑๐ จานวน ๒๕ ชัว่ โมง จานวน ๒๕ ชัว่ โมง หนว่ ยท่ี ๒ ความละอายและความไม่ทนตอ่ การทุจริต จานวน ๔๐ ชั่วโมง หน่วยท่ี ๓ STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจริต หน่วยท่ี ๔ พลเมอื งกับความรับผิดชอบตอ่ สังคม ๗. แนวทางในการดาเนนิ การจัดการเรียนรู้ ๑. การลงทะเบียนวชิ าเลอื ก รายวิชาการปอ้ งกันการทุจรติ สถานศึกษานา รายวิชาเลือก วิชาการปูองกันการทุจริต สู่การปฏิบัติโดยเปิดให้ผู้เรียนได้ ลงทะเบยี นเรียนตามขัน้ ตอน ดงั น้ี ๑.๑ ศกึ ษาหลกั สูตรต้านทจุ รติ ศกึ ษา รายวิชาปูองกันการทุจริต ๑.๒ ศึกษาคู่มอื การใช้หลกั สูตรตา้ นทจุ ริตศกึ ษา รายวิชาปอู งกนั การทจุ ริต ๑.๓ วิเคราะห์เน้ือหา ความยากง่าย กาหนดกิจกรรมการเรียนการสอน ครูจัดทาแผนการ จดั การเรยี นรู้ ๑.๔ ครนู าแผนการจดั การเรียนรู้ สู่การจดั การเรียนการสอนในการพบกล่มุ แตล่ ะระดับ ๑.๕ สถานศึกษาดาเนินการวัดและประเมนิ ผลผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น ๑.๖ ตดั สนิ ผลการเรียนแล้วรายงานผลต่อผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษา ๑.๗ สถานศึกษาสรุปผลการประเมินเป็นภาพรวมของสถานศึกษาและรายงานผลต่อ หนว่ ยงานต้นสงั กดั ๒. การบรู ณาการการเรียนการสอนกับสาระการพัฒนาสังคม สถานศึกษาสามารถนาหลกั สูตรตา้ นทุจริตศึกษา รายวิชาปูองกันการทุจริต สู่การปฏิบัติโดยนา เนื้อหาบูรณาการกบั สาระการพัฒนาสังคม ดังนี้ ๒.๑ ศึกษาหลักสตู รตา้ นทุจริตศกึ ษา ๒.๒ ศกึ ษาคูม่ อื การนาไปใชห้ ลกั สตู รตา้ นทจุ ริตศึกษา รายวชิ าปอู งกันการทุจริต ๒.๓ ประชุม วางแผนการบูรณาการร่วมกับครูผู้สอน สาระการพัฒนาสังคม โดยครูผู้สอน วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวช้ีวัด และเนื้อหา ในกลุ่มสาระการพัฒนาสังคม ท่ีสอดคล้องกับหลักสูตรต้าน ทุจรติ ศึกษาในแต่ละหนว่ ยการเรียนรูใ้ นแตล่ ะระดับ ๒.๔ กาหนดสาระการเรยี นรู้และตวั ช้ีวัด ทีจ่ ะบูรณาการกบั หลักสูตรต้านทุจริตศึกษา รายวิชา ปูองกนั การทจุ ริต ๒.๕ ครูผู้สอนศกึ ษาแผนการจดั การเรยี นรู้ ตามหลกั สูตรตา้ นทุจริตศึกษา รายวิชาปูองกันการ ทจุ ริต ในแตล่ ะระดับชนั้ ทจี่ ะนาไปบรู ณาการในการจัดการเรียนการสอน กบั กลุม่ สาระการพัฒนาสังคม ๒.๖ นาแผนการจัดการเรียนรู้ในหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา รายวิชาปูองกันการทุจริต สู่การ บูรณาการเข้ากับเน้ือหาทจ่ี ะสอนในสาระการพัฒนาสังคม ๒.๖ ครบู ูรณาการแผนการจดั การเรยี นรู้ ส่กู ารสอนในการพบกลมุ่ ๒.๗ ครวู ัดและประเมนิ ผลผเู้ รยี นเป็นรายบุคคล ๒.๘ สรุปผลการวัดและประเมินผลผู้เรียนเป็นรายระดับ และรายงานผลต่อผู้บริหาร สถานศึกษา

๑๑ ตัวอย่าง การวิเคราะห์การบูรณาการการเรียนการสอน หลักสูตรต้านทุจริตศึกษา กับสาระพัฒนา สังคม กลุ่มสาระ หลักสูตรต้านทุจรติ ศกึ ษา เนือ้ หาท่บี ูรณาการ รายวชิ า ป้องกนั การทจุ รติ ประถมศึกษา สาระการพัฒนาสงั คม ชั้นประถมศึกษา มาตรฐานที่ ๕.๒ มีความรู้ ความเข้าใจ เห็นคุณค่า และ หนว่ ยที่ ๔ พลเมืองกับความรับผิดชอบ แนวปฏบิ ตั ิในการเคารพสทิ ธิ สบื ทอดศาสนาและวฒั นธรรม ประเพณี เพื่อการอยู่รว่ มกนั ต่อสังคม หนา้ ทตี่ ่อตนเองและผูอ้ ่ืนทีม่ ีต่อ อยา่ งสันติสุข ผลการเรียนรู้ ปฏบิ ตั ติ นตามหนา้ ที่ ประเทศชาติ พลเมือง และมีความรับผดิ ชอบต่อสังคม สาระการเรียนรูท้ ่ี ๓ เรอื่ ง กฎ กตกิ า ระเบียบ ในสถานศึกษา ชัน้ ประถมศึกษา มาตรฐานที่ ๕.๓ มคี วามรู้ หนว่ ยที่ ๒ ความละอายและความไม่ทน การคิดแยกแยะผลประโยชน์ ความเขา้ ใจปฏิบตั ติ นเป็น พลเมอื งดี ตามวถิ ี ต่อการทุจรติ ส่วนตน ประชาธิปไตย มจี ติ สาธารณะ เพือ่ ความสงบสขุ ของสงั คม ผลการเรยี นรู้ ปฏบิ ตั ิตนเป็นผู้ละอาย การคดิ แยกแยะผลประโยชน์ และความไมท่ นตอ่ การทจุ ริตทุกรูปแบบ ส่วนรวม สาระการเรียนรู้ที่ ๓ การคิดแยกแยะ การละเมิด ระหว่างผลประโยชน์สว่ นตนและ การปฏิบัติตนอย่างมีมารยาท ผลประโยชน์สว่ นรวม สงั คม ๓. การบรู ณาการการเรยี นการสอนกับสาระการเรยี นรู้อนื่ ๆ สถานศึกษาสามารถนาหลักสูตรต้านทจุ ริตศกึ ษา สกู่ ารปฏิบตั ใิ นการบูรณาการกับสาระการเรียนรู้ อนื่ ๆ ดังนี้ ๓.๑ ศกึ ษาหลักสูตรตา้ นทุจริตศกึ ษา ๓.๒ ศกึ ษาคู่มอื การใชห้ ลักสูตรต้านทุจริตศึกษา ๓.๓ วเิ คราะห์เนอื้ หา ความยากง่าย กาหนดกจิ กรรมการเรียนการสอน ครูทาแผนการจัดการ เรียนรู้ ๓.๔ ประชุม วางแผนการบูรณาการกับสาระการเรียนรู้อ่ืน ๆ โดยครูผู้สอนแต่ละสาระ การเรียนรู้ วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวช้ีวัด และเน้ือหา ในสาระทักษะการเรียนรู้ สาระความรู้พ้ืนฐาน

๑๒ สาระการประกอบอาชพี สาระทักษะการดาเนนิ ชวี ติ สาระการพัฒนาสังคม ท่ีสอดคล้องกับหลักสูตรต้านทุจริต ศกึ ษาในแต่ละหน่วยการเรยี นรใู้ นแต่ละระดบั ๓.๕ กาหนดสาระการเรยี นรู้ ตัวช้ีวัด และสาระการเรียนรู้แกนกลางและมาตรฐานการเรียนรู้ ที่จะนาไปบูรณาการกับหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา อาทิ สาระทักษะการเรียนรู้ สาระความรู้พ้ืนฐาน สาระการ ประกอบอาชพี สาระทกั ษะการดาเนินชวี ติ สาระการพัฒนาสังคม ๓.๖ ครูผู้สอนศึกษาแผนการจัดการเรียนรู้ ตามหลักสูตรต้านทุจริตศึกษาในแต่ละระดับชั้น ทจี่ ะนาไปบูรณาการในการจัดการเรยี นการสอน ๓.๗ นาแผนการจัดการเรียนรู้ในหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา บูรณาการเข้ากับเน้ือหาท่ีจะสอน ในสาระการเรยี นรู้ ๓.๘ ครนู าแผนการจดั การเรยี นรู้ สู่การจดั การเรยี นการสอนในการพบกลุม่ ๓.๙ ครูวัดและประเมนิ ผลผู้เรียนเป็นรายบุคคล ๓.๑๐ สรุปผลการวัดและประเมินผลผู้เรียนเป็นรายละดับช้ัน และรายงานผลต่อผู้บริหาร สถานศกึ ษา ๔. การจดั ในกิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น สถานศึกษาสามารถนาหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา สู่การปฏิบัติในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน สามารถ ดาเนินการตามขนั้ ตอน ดงั น้ี ๔.๑ ศึกษาคู่มอื หลักสูตรต้านทุจรติ ศึกษา ใหม้ ีความรคู้ วามเขา้ ใจ ๔.๒ สถานศึกษาจัดประชมุ ครู เพ่ือช้ีแจง สร้างความเข้าใจเก่ียวกับวัตถุประสงค์ของหลักสูตร ต้านทจุ ริตศึกษา ๔.๓ วางแผนการนาหลักสูตรต้านทุจริตศึกษาไปจัดในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ซึ่งสามารถ ออกแบบกิจกรรมท่ีสามารถนาหลักสูตรต้านทุจริตศึกษาไปจดั ให้สอดคล้องและเกิดผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์ ของหลกั สูตร ๔.๓.๑ กิจกรรมท่ีแสดงออกถึงความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ หน่วย การเรยี นรู้ทค่ี วรนาไปจดั กจิ กรรมการเรียน ไดแ้ ก่ หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ๑ การคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์ส่วนตนและ ผลประโยชน์สว่ นรวม หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี ๒ ความละอายและความไมท่ นต่อการทจุ ริต หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๓ STRONG : จติ พอเพยี งต้านทุจริต หน่วยการเรียนรทู้ ี่ ๔ พลเมอื งกับความรบั ผดิ ชอบต่อสงั คม ๔.๓.๒ กจิ กรรมการเรยี นร้ตู ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง หน่วยการเรียนรู้ที่ควร นาไปจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน ได้แก่ หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี ๑ การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและ ผลประโยชน์ส่วนรวม หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๒ ความละอายและความไม่ทนตอ่ การทุจรติ หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ ๓ STRONG : จติ พอเพียงตา้ นทุจรติ หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๔ พลเมืองกับความรบั ผิดชอบตอ่ สงั คม

๑๓ ๔.๓.๓ กิจกรรมลูกเสือ และกิจกรรมอาสายุวกาชาด หน่วยการเรียนรู้ที่ควรนาไปจัด กิจกรรมการเรียนการสอน ได้แก่ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๑ การคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์ส่วนตนและ ผลประโยชน์สว่ นรวม หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๒ ความละอายและความไม่ทนต่อการทจุ ริต หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๓ STRONG : จติ พอเพยี งตา้ นทจุ รติ หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๔ พลเมืองกบั ความรับผดิ ชอบตอ่ สังคม ๔.๓.๔ กิจกรรมจิตอาสา “เราทาความดีด้วยหัวใจ” หน่วยการเรียนรู้ที่ควรนาไปจัด กิจกรรมการเรยี นการสอน ไดแ้ ก่ หน่วยการเรียนรทู้ ่ี ๑ การคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตนและ ผลประโยชนส์ ่วนรวม หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๒ ความละอายและความไม่ทนต่อการทจุ รติ หน่วยการเรยี นรู้ที่ ๓ STRONG : จิตพอเพียงตา้ นทจุ ริต หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ ๔ พลเมอื งกบั ความรับผิดชอบต่อสังคม ๔.๓.๕ กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาอาชีพ หน่วยการเรียนรู้ที่ควรนาไปจัด กิจกรรมการเรยี นการสอน ไดแ้ ก่ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๑ การคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์ส่วนตนและ ผลประโยชนส์ ว่ นรวม หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๒ ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจรติ หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๓ STRONG : จิตพอเพียงตา้ นทจุ ริต หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ พลเมอื งกบั ความรับผิดชอบต่อสงั คม ๔.๓.๖ กิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม หน่วยการเรียนรู้ที่ควรนาไปจัด กิจกรรม การเรียนการสอน ได้แก่ หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๑ การคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ่วนตนและ ผลประโยชน์ส่วนรวม หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ ๒ ความละอายและความไม่ทนตอ่ การทจุ รติ หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ ๓ STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจริต หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๔ พลเมืองกบั ความรับผดิ ชอบต่อสังคม ๔.๓.๗ กิจกรรมการเรียนรู้ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขและ กฎหมายทเ่ี ก่ยี วข้องในชวี ติ ประจาวนั หนว่ ยการเรียนรทู้ ีค่ วรนาไปจัด กจิ กรรมการเรียน ได้แก่ หน่วยการเรยี นรู้ที่ ๑ การคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและ ผลประโยชนส์ ว่ นรวม หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๒ ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจรติ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๓ STRONG : จติ พอเพียงตา้ นทจุ รติ หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๔ พลเมืองกับความรับผิดชอบตอ่ สังคม

๑๔ ตวั อย่าง การนาหลกั สตู รตา้ นทุจริตศกึ ษาไปจดั ในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน หลักสูตรตา้ นทุจรติ ศกึ ษา ๑. กจิ กรรมทแ่ี สดงออกถงึ ความจงรกั ภักดตี ่อชาติ หนว่ ยที่ ๔ พลเมืองกบั ความรบั ผดิ ชอบตอ่ สังคม ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์ เน้อื หา - ระเบยี บ กฎ กติกา กฎหมาย - แนวทางการปฏบิ ตั ิตนเป็นพลเมืองทด่ี ี ๒. กจิ กรรมการเรยี นรู้ตามหลักปรชั ญาของ หนว่ ยท่ี ๓ STRONG : จิตพอเพยี งตา้ นทุจรติ เศรษฐกิจพอเพยี ง เนือ้ หา - ความพอเพียง - ความตืน่ รแู้ ละความรู้ - ความเอือ้ อาทร ๓. กจิ กรรมลูกเสอื และกิจกรรมอาสายวุ กาชาด หนว่ ยท่ี ๔ พลเมืองกบั ความรบั ผิดชอบตอ่ สังคม เน้ือหา - ระเบียบ กฎ กติกา กฎหมาย - แนวทางการปฏิบตั ติ นเป็นพลเมอื งที่ดี ๔. กจิ กรรมจิตอาสา “เราทาความดีดว้ ยหวั ใจ” หน่วยท่ี ๔ พลเมืองกับความรบั ผิดชอบต่อสังคม เนือ้ หา - ระเบียบ กฎ กติกา กฎหมาย - แนวทางการปฏิบตั ิตนเป็นพลเมืองทด่ี ี ๕. กจิ กรรมส่งเสรมิ การเรยี นรู้เพ่อื พฒั นาอาชพี หนว่ ยที่ ๓ STRONG : จิตพอเพยี งต้านทจุ ริต เนื้อหา - ความพอเพยี ง - ความตน่ื รู้และความรู้ - ความเอ้ืออาทร - มงุ่ ไปขา้ งหน้า - ตอ่ ต้านทจุ ริต

กิจกรรมพฒั นาผ้เู รยี น ๑๕ ๖. กิจกรรมสง่ เสริมคณุ ธรรม จริยธรรม หลักสตู รต้านทุจรติ ศกึ ษา หน่วยที่ ๒ ความละอายและไม่ทนตอ่ การทุจริต เนื้อหา - การทาการบ้าน/การทาเวร/การทาความสะอาด - การสอบ - การเลือกตั้ง - การแตง่ กาย - การเขา้ แถว - กจิ กรรมนกั เรียน (ชมุ ชน) ๗. กิจกรรมการเรียนรู้ประชาธปิ ไตยอันมี หนว่ ยท่ี ๔ พลเมอื งกบั ความรับผิดชอบตอ่ สงั คม พระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมุขและกฎหมาย เน้ือหา ท่ีเกย่ี วข้องในชวี ิตประจาวัน - ระเบยี บ กฎ กติกา กฎหมาย - แนวทางการปฏิบตั ิตนเป็นพลเมืองที่ดี - พลเมอื งกับความรบั ผดิ ชอบต่อสงั คม ๕. การจดั เป็นกิจกรรมเสริมหลกั สตู ร หรือบูรณาการกับวิถชี วี ติ ในสถานศึกษา สถานศกึ ษาสามารถนาหลักสตู รต้านทจุ ริตศึกษา จัดเปน็ กจิ กรรมเสรมิ หลกั สูตร หรือ บูรณาการ กับ จัดการศึกษาต่อเนื่อง หรือ จัดกิจกรรมตามนโยบายและจุดเน้นของสานักงาน กศน. /สานักงาน กศน. จังหวัด หรือนาไปบูรณาการกับวิถีชีวิตในสถานศึกษา เช่น กิจกรรม TO BE NUMBER ONE กิจกรรมองค์กร นักศึกษา ซ่ึงสามารถจัดกิจกรรมให้สอดคล้องกับหน่วยท่ี ๓ STRONG : จิตพอเพียงด้านทุจริต และหน่วยที่ ๔ พลเมืองกับความรับผิดชอบต่อสังคม หรือ บูรณาการกับวิถีชีวิตในสถานศึกษา กรณีของการจัดการเรียนรู้ ให้กับผู้เรียนในศูนย์การเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟูาหลวง” (ศศช.) เช่น กิจกรรมหน้าเสาธง การเข้าแถว การแต่งกาย การรับประทานอาหาร การจัดเวรในการดูแลแปลงเกษตร การจัดเวรดูแลทาความสะอาดอาคาร เรียน ห้องน้า ห้องครัว ซึ่งสามารถจัดกิจกรรมให้สอดคล้องกับหน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ การคิดแยกแยะระหว่าง ผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม และหน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ ความละอายและความไม่ทนต่อการ ทุจรติ

๑๖ ตัวอย่าง การนาหลักสูตรต้านทุจริตศึกษาไปจัดทาเป็นกิจกรรมเสริมหลักสูตรหรือบูรณาการกับวิถีชีวิต ในสถานศกึ ษา กจิ กรรมเสรมิ หลกั สูตรหรือ หลักสตู รต้านทจุ ริตศกึ ษา บูรณาการกบั วถิ ีชีวติ ในสถานศกึ ษา หน่วยการเรียนรู้ 1 การคดิ แยกแยะระหว่าง กิจกรรมเสริมหลักสูตร ผลประโยชน์สว่ นตนและผลประโยชน์สว่ นรวม - กจิ กรรม TO BE NUMBER ONE (เน้นจดั กิจกรรมสรา้ งสรรคต์ ่อสงั คม) - กจิ กรรมองคก์ รนักศึกษา (เนน้ ความเป็น หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 2 ความละอายและความไม่ทน ประชาธิปไตย) ตอ่ การทุจริต (การเลือกต้ังประธานหรือ คณะกรรมการองคก์ รนักศึกษา) - กจิ กรรมจดั ทาบัญชคี รัวเรอื น (เน้นความ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 3 STRONG : จติ พอเพยี งดา้ น พอประมาณ มีเหตผุ ล และมีภมู คิ ้มุ กนั ) ทุจรติ - กิจกรรมโครงการพัฒนาคุณภาพชวี ติ ทเ่ี ปน็ หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 4 พลเมืองกับความรบั ผิดชอบ มิตรกับสงิ่ แวดลอ้ ม ต่อสงั คม บูรณาการกบั วิถชี ีวติ ในสถานศึกษา - กิจกรรมหนา้ เสาธง (เน้นปลูกฝงั ความรักชาติ หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 การคิดแยกแยะระหว่าง ศาสนา และพระมหากษัตรยิ ์) ผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวม - การเข้าแถว (เน้นการไมแ่ ซงควิ ) หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 2 ความละอายและความไม่ทน ต่อการทจุ ริต - การรับประทานอาหารใหห้ มดจาน หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 3 STRONG : จิตพอเพยี งดา้ น ทุจรติ - การแต่งกาย (เน้นการแตง่ กายใหถ้ กู ต้องและ หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 4 พลเมอื งกบั ความรับผดิ ชอบ เหมาะสมตามกฎระเบยี บของสถานศึกษา) ตอ่ สังคม - การจัดเวรในการดูแลแปลงเกษตร หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 4 พลเมอื งกบั ความรบั ผดิ ชอบ ต่อสงั คม - การจัดเวรดูแลทาความสะอาดอาคารเรียน หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 4 พลเมอื งกับความรับผิดชอบ ห้องน้า ห้องครวั ต่อสังคม

๑๗ ๘. การกากบั ติดตาม และประเมนิ ผลหลักสูตรต้านทจุ ริตศึกษา สานักงานคณะกรรมการปูองกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) ร่วมกับ (Anti – Corruption Education) สานกั งานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ได้จัดทาหลักสูตร ต้านทุจริตศึกษา รายวิชาเลือก วิชาปูองกันการทุจริต ในสาระการพัฒนาสังคม เพ่ือให้สถานศึกษาทุกแห่ง นาไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนและบูรณาการจัดการศึกษา ระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น และ มัธยมศึกษาตอนปลาย และใหม้ กี ารกากบั ตดิ ตาม และประเมินผลหลกั สูตร ๙. วตั ถปุ ระสงค์ของการกากบั ติดตาม เพื่อกากับ ติดตาม สถานศึกษาในสังกัดสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศยั ในพ้นื ทีส่ านักงานศึกษาธิการภาคเหนือ นาหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา ไปบูรณาการในการจัดการเรียน การสอน ๑๐. การดาเนินการกากับ ตดิ ตาม  ระดับสานักงานศึกษาธิการภาค กากับ ติดตาม การใช้หลักสูตรต้านทุจริตศึกษา สังกัดสานักงาน ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัด หรือสุ่มตรวจสถานศึกษาในสังกัด ด้านการนา หลักสูตรต้านทุจรติ ศกึ ษา ไปบูรณาการในการจัดการเรยี นการสอน  ระดับสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัด กากับ ติดตาม การใช้หลักสตู รตา้ นทจุ รติ ศกึ ษา โดย กากบั ตดิ ตาม สถานศึกษาในสังกัด ด้านการนาหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา ไปบูรณาการในการจัดการเรียนการสอน  ระดับสถานศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา กากับ ติดตาม การบริหารจัดการหลักสูตรต้านทุจริต ศึกษา การนาหลักสูตรต้านทุจริตศึกษาไปใช้ภายในสถานศึกษา ติดตามครูผู้สอนในด้านการนาหลักสูตรต้าน ทุจรติ ศกึ ษาไปบรู ณาการในการจดั การเรียนการสอน สว่ นที่ ๓ แบบการกากบั ติดตามการใชห้ ลกั สตู รต้านทุจรติ ศกึ ษา แบบที่ ๑. แบบกากบั ตดิ ตาม การใชห้ ลกั สตู รตา้ นทจุ ริตศกึ ษา สาหรับให้ สานักงานส่งเสริมการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัด ใช้ติดตามสถานศึกษาในสังกัด และสรุปผลการกากับติดตาม ลงในแบบสรุปรายงานผลการกากับติดตาม ตามแบบท่ี 3 แบบท่ี ๒. แบบกากับ ติดตาม การใช้หลักสูตรต้านทุจริตศึกษา สาหรับให้ สานักงานศึกษาธิการภาค ใช้ติดตามสานักงานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจงั หวัด แบบที่ 3. แบบสรปุ รายงานผลการกากบั ติดตามการใช้หลกั สูตรต้านทุจริตศกึ ษา

๑๘ ภาคผนวก ก แบบกากบั ติดตาม แบบที่ ๑. แบบกากับ ตดิ ตาม การใช้หลักสูตรต้านทุจริตศึกษา แบบที่ ๒. แบบกากบั ตดิ ตาม การใช้หลักสูตรต้านทจุ รติ ศึกษา แบบที่ ๓. แบบสรุปรายงานผลการกากับติดตามการใชห้ ลกั สูตรตา้ นทจุ รติ ศกึ ษา

๑๙

๒๐

๒๑

๒๒ จดุ เด่นของสถานศึกษา ………………………………………………………….…………………………..………………………………………………………………… ………………………………………………………….…………………………..………………………………………………………………… ………………………………………………………….…………………………..………………………………………………………………… ………………………………………………………….…………………………..………………………………………………………………… ………………………………………………………….…………………………..………………………………………………………………… ………………………………………………………….…………………………..………………………………………………………………… ………………………………………………………….…………………………..………………………………………………………………… ………………………………………………………….…………………………..………………………………………………………………… ปญั หา/อุปสรรคในการดาเนินงาน ………………………………………………………….…………………………..………………………………………………………………… ………………………………………………………….…………………………..………………………………………………………………… ………………………………………………………….…………………………..………………………………………………………………… ………………………………………………………….…………………………..………………………………………………………………… ………………………………………………………….…………………………..………………………………………………………………… ………………………………………………………….…………………………..………………………………………………………………… ………………………………………………………….…………………………..………………………………………………………………… ………………………………………………………….…………………………..………………………………………………………………… ขอ้ เสนอแนะ ………………………………………………………….…………………………..………………………………………………………………… ………………………………………………………….…………………………..………………………………………………………………… ………………………………………………………….…………………………..………………………………………………………………… ………………………………………………………….…………………………..………………………………………………………………… ………………………………………………………….…………………………..………………………………………………………………… ………………………………………………………….…………………………..………………………………………………………………… ………………………………………………………….…………………………..………………………………………………………………… ………………………………………………………….…………………………..………………………………………………………………… ลงช่ือ...........................................ผ้กู ากบั ติดตาม (............................................) ตาแหนง่ ............................................. ………./…………………/………..

๒๓

๒๔

๒๕

๒๖

๒๗ แบบที่ 3 แบบสรุปรายงานผลการกากับ ติดตามการใช้หลกั สตู รต้านทจุ รติ ศึกษา สานักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จังหวัด...................................................... ๑. สถานศึกษาในสงั กดั จานวน.......................แหง่ ผ้เู รยี นจานวน.......................คน ๒. สถานศึกษามกี ารบรหิ ารจัดการหลักสูตรตา้ นทจุ รติ ศกึ ษา ดังนี้ ๒.๑ สถานศกึ ษามกี ารวางแผนการนาหลกั สตู รไปบูรณาการในการจัดการเรยี นการสอน จานวน................แหง่ คิดเป็นรอ้ ยละ.................. ๒.๒ มีการแต่งต้ังคณะกรรมการดาเนินงาน จานวน .............แหง่ คดิ เปน็ รอ้ ยละ................... ๒.๓ มกี ารประชุมชีแ้ จงแนวทางการดาเนนิ งาน จานวน.........แห่ง คดิ เป็นร้อยละ................... ๒.๔ มีการดาเนนิ การนาหลกั สตู รต้านทจุ ริตศกึ ษาไปบูรณาการในการจดั การเรียนการสอน จานวน................แห่ง คดิ เป็นรอ้ ยละ.................. ๒.๕ มีการนเิ ทศตดิ ตามผลภายในสถานศกึ ษา จานวน...............แหง่ คิดเป็นรอ้ ยละ.................. ๒.๖ มีการรายงานผลการดาเนินงานตอ่ ต้นสังกัดอยา่ งตอ่ เน่ือง จานวน................แห่ง คิดเปน็ รอ้ ยละ.................. ๓. สถานศึกษามีแนวทางการนาหลักสูตรต้านทจุ ริตศกึ ษาไปใช้ดังน้ี ๓.๑ จัดเป็นรายวิชาเพม่ิ เติม จานวน................แห่ง คิดเป็นร้อยละ.................. ๓.๒ บูรณาการกบั สาระการพฒั นาสังคม จานวน................แห่ง คิดเปน็ รอ้ ยละ.................. ๓.๓ บรู ณาการกับสาระการเรยี นรูอ้ นื่ ๆ จานวน................แหง่ คิดเปน็ ร้อยละ.................. กลมุ่ สาระการเรยี นรทู้ ่บี รู ณาการ ได้แก่................................................................................... ๓.๔ จัดในกิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น โดย ๓.๔.๑) จดั กิจกรรมที่แสดงออกถงึ ความจงรกั ภักดตี ่อชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์ จานวน.............แห่ง คดิ เป็นรอ้ ยละ.................. ๓.๔.๒) จดั กิจกรรมการเรยี นรู้ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง จานวน.............แหง่ คดิ เป็นรอ้ ยละ.................. ๓.๔.๓) จัดกจิ กรรมลกู เสอื และกจิ กรรมอาสายุวกาชาด จานวน.............แห่ง คิดเปน็ ร้อยละ.................. ๓.๔.๔) จดั กิจกรรมจิตอาสา “เราทาความดีดว้ ยหวั ใจ” จานวน.............แห่ง คิดเป็นรอ้ ยละ.................. ๓.๔.๕) จัดกิจกรรมสง่ เสรมิ การเรยี นรเู้ พ่อื พัฒนาอาชีพ จานวน.............แห่ง คิดเป็นรอ้ ยละ.................. ๓.๔.๖) จดั กิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม จานวน.............แห่ง คดิ เป็นรอ้ ยละ.................. ๓.๔.๗) จดั กจิ กรรมการเรียนรปู้ ระชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมุขและกฎหมายที่ เกยี่ วข้องในชวี ิตประจาวัน จานวน.............แห่ง คดิ เป็นร้อยละ..................

๒๘ ๓.๕ จัดเปน็ กิจกรรมเสรมิ หลักสูตรหรอื บูรณาการกับวิถีชีวติ ในสถานศึกษา จานวน................แหง่ คิดเปน็ ร้อยละ.................. ๔. สถานศึกษาจดั กจิ กรรมการเรียนรู้หลักสูตรตา้ นทจุ รติ ศึกษา โดยดาเนนิ การ ดังน้ี ๔.๑ ให้ครูศกึ ษาหลกั สูตรตา้ นทุจรติ ศกึ ษาและแผนการจัดการเรียนร้กู อ่ นสอน จานวน................แหง่ คดิ เป็นร้อยละ.................. ๔.๒ ให้ครเู ตรยี มสื่อประกอบการสอนและเคร่อื งมอื วัดและประเมินผลการเรียนรู้ จานวน................แห่ง คิดเปน็ รอ้ ยละ.................. ๔.๓ ใหค้ รูบรู ณาการหลกั สตู รต้านทจุ รติ ศึกษากบั สาระการพฒั นาสังคม จานวน................แหง่ คิดเปน็ รอ้ ยละ.................. ๔.๔ ใหค้ รูบูรณาการหลักสตู รต้านทจุ ริตศึกษากบั สาระการเรยี นรู้อื่นๆ จานวน................แหง่ คิดเป็นรอ้ ยละ.................. ๔.๕ ใหค้ รนู าหลกั สูตรต้านทจุ ริตศกึ ษาไปจดั ในกจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน จานวน................แหง่ คดิ เปน็ รอ้ ยละ.................. ๔.๖ ใหค้ รูนาหลกั สตู รตา้ นทจุ ริตศกึ ษาไปจดั เป็นกจิ กรรมเสริมหลกั สตู รหรือบูรณาการกบั วถิ ชี วี ติ ในสถานศึกษา จานวน................แหง่ คดิ เปน็ รอ้ ยละ.................. ๔.๗ ใหค้ รวู ดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ตามทก่ี าหนดในแผนการจดั การเรยี นรู้ จานวน................แหง่ คิดเป็นร้อยละ.................. ๔.๘ ใหค้ รนู าผลการประเมนิ มาใชใ้ นการสอนซ่อมเสริมหรอื พฒั นาผเู้ รยี น จานวน................แหง่ คิดเป็นรอ้ ยละ.................. ๔.๙ ให้ครลู งบันทกึ ผลหลงั สอนในแต่ละแผนการจดั การเรยี นรู้ จานวน................แห่ง คิดเปน็ ร้อยละ.................. ๔.๑๐ ใหค้ รรู ายงานผลการประเมินผเู้ รียนเป็นรายบุคคลและสรุปเปน็ ระดับช้ัน จานวน................แหง่ คดิ เปน็ ร้อยละ.................. ๕. คุณภาพผ้เู รียน ๕.๑ ผูเ้ รียนทกุ สถานศกึ ษาผา่ นการประเมินผลการเรียนรู้ตามเกณฑท์ ่กี าหนดเปน็ รายชัน้ ดังน้ี ๑) ระดับช้นั ประถมศกึ ษา จานวน...............คน คิดเป็นร้อยละ............................ ๒) ระดับช้นั มัธยมศกึ ษาตอนต้น จานวน...............คน คิดเป็นรอ้ ยละ............................ ๓) ระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย จานวน...............คน คิดเป็นรอ้ ยละ............................ ๖. จุดเด่นของสถานศกึ ษา …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๒๙ ๗. ปญั หา/อุปสรรค ในการดาเนนิ งาน ๗.๑ ระดับสถานศึกษา …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๗.๒ ระดบั สานักงาน กศน. จังหวัด …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๘. ขอ้ เสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงช่ือ...........................................ผ้รู ายงาน (............................................) ตาแหน่ง............................................. ………./…………………/………..

๓๐ ภาคผนวก ข อภธิ านศัพท์ การคิดแยกแยะ หมายถึง การคิดจาแนกองค์รวมของสิ่งต่าง ๆ ออกเป็นองค์ย่อย ๆ ทาให้ มองเห็นความสัมพันธ์ขององค์ประกอบย่อยว่ามีความเก่ียวเน่ืองกัน สอดคล้องกัน เป็นเหตุเป็นผล และพึ่งพา อาศยั กนั อย่างไร ประโยชน์ส่วนตน (Private interests) หมายถึง การที่บุคคลท่ัวไปในสถานะเอกชนหรือ เจ้าหน้าท่ีของรัฐได้ทากิจกรรมหรือได้กระทาการต่าง ๆ เพื่อประโยชน์ส่วนตนครอบครัว เครือญาติ พวกพ้อง หรือของกลุ่มในสังคมที่มีความสัมพันธ์กันในรูปแบบต่าง ๆ เช่น การประกอบอาชีพ การทาธุรกิจการค้า การ ลงทุน เพ่อื หาประโยชน์ในทางการเงนิ หรือในทางธรุ กจิ เปน็ ต้น ประโยชน์ส่วนรวมหรือประโยชน์สาธารณะ (Public interests) หมายถึง การท่ีบุคคลที่ เป็นเจ้าหน้าท่ีของรัฐ (ผู้ดารงตาแหน่งทางการเมือง ข้าราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ หรือเจ้าหน้าท่ีของรัฐใน หน่วยงานของรัฐ) ได้กระทาการใด ๆ ตามหน้าที่ หรือได้ปฏิบัติหน้าท่ีอันเป็นการดาเนินการในอีกส่วนหนึ่งท่ี แยกออกมาจากการดาเนินการตามหน้าที่ ในสถานะของเอกชนกระทาการใด ๆ ตามหน้าท่ีของเจ้าหน้าที่ของ รัฐ ซ่ึงมีวัตถุประสงค์หรือมีเปูาหมายเพื่อประโยชน์ส่วนรวม หรือการรักษาประโยชน์ส่วนรวมที่เป็นประโยชน์ ของรัฐ การทาหน้าทข่ี องเจ้าหน้าทข่ี องรฐั จึงมีความเกีย่ วเนื่องเชอื่ มโยงกบั อานาจหน้าที่ตามกฎหมาย และจะมี รปู แบบของความสัมพันธห์ รอื มีการกระทาในลักษณะต่าง ๆ กนั ท่ีเหมอื นหรอื คล้ายกับการกระทาของบุคคลใน สถานะเอกชน เพียงแต่การกระทาในสถานะท่ีเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐกับการกระทาในสถานะเอกชน จะมีความ แตกต่างกนั ทว่ี ตั ถุประสงค์ เปาู หมาย หรือประโยชน์สดุ ทา้ ยที่แตกตา่ งกัน การขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวมหรือผลประโยชน์ทับซ้อน หมายถึง การท่ีเจ้าหน้าท่ีของรัฐกระทาการใด ๆ หรือดาเนินการในกิจการสาธารณะท่ีเป็นการดาเนินการตาม อานาจหน้าท่ีหรือความรับผิดชอบในกิจการของรัฐหรือองค์กรของรัฐ เพ่ือประโยชน์ของรัฐหรือประโยชน์ ส่วนตนหรือความสัมพันธ์ส่วนตน เข้ามามีอิทธิพลหรือเก่ียวข้องในการใช้อานาจหน้าที่หรือดุลยพินิจในการ พิจารณาตัดสินใจในการกระทาการใด ๆ หรือดาเนินการดงั กลา่ วนั้น เพื่อแสวงหาประโยชน์ในทางการเงิน หรือ ประโยชนอ์ ่นื ๆ สาหรบั ตนเองหรือบุคคลใดบุคคลหนึ่ง คุณธรรม หมายถึง หลักของความดี ความงาม ความถูกต้อง ซ่ึงจะแสดงออกมาโดยการ กระทาทางกาย วาจา และจิตใจของแต่ละบุคคล ซึ่งเป็นหลักประจาใจในการประพฤติปฏิบัติจนเกิดเป็นนิสัย เป็นส่งิ ทม่ี ีประโยชน์ต่อตนเอง ผู้อื่น และสงั คม คุณธรรมในการป้องกันการทุจริต หมายถึง คุณธรรมท่ีกาหนดในโครงการ ในโรงเรียนสุจริต เพ่ือปลูกฝังให้แกน่ ักเรยี นมีพฤติกรรมสจุ รติ ได้แก่ อยูอ่ ย่างพอเพียง มีวินัย ซื่อสัตย์สุจริต และ จิตสาธารณะ ซ่ึง คณุ ธรรมเหลา่ น้จี ะสอดคล้องกบั คณุ ธรรมอตั ลักษณข์ องโรงเรยี นท่ีเข้าโครงการโรงเรยี นคุณธรรม จริยธรรม หมายถึง หลักสาคัญในการควบคุมพฤติกรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ เปรียบเสมือน โครงสรา้ งพนื้ ฐานท่เี จ้าหน้าท่ขี องรัฐตอ้ งยดึ ถอื ปฏบิ ัติ

๓๑ ความไม่ทน หมายถึง การแสดงออกต่อการกระทาทเ่ี กดิ ข้นึ กับตนเอง บคุ คลที่เกี่ยวข้อง หรือ สังคมในลักษณะท่ีไม่ยินยอม ไม่ยอมรับในส่ิงที่เกิดข้ึน ความไม่ทนสามารถแสดงออกได้หลายลักษณะท้ังใน รปู แบบของกริ ิยาทา่ ทางหรือคาพดู ความละอาย หมายถึง ความเกรงกลัวต่อส่ิงที่ไม่ดี ไม่ถูกต้อง ไม่เหมาะสม เพราะเห็นถึงโทษ หรือผลกระทบที่จะได้รับจากการกระทานั้น จึงไม่กล้าท่ีจะกระทา ทาให้ตนเองไม่หลงทาในส่ิงท่ีผิด นั่นคือ มี ความละอายใจ ละอายต่อการกระทาผดิ ความไม่ทนต่อการทุจริต หมายถึง ความเกรงกลัวต่อส่ิงท่ีไม่ดี ไม่ถูกต้อง ไม่เหมาะสม และ การไม่ยินยอม ไม่ยอมรับในการกระทาที่เกิดขึ้นกับตนเอง บุคคลท่ีเกี่ยวข้องหรือสังคมในลักษณะท่ีเป็น พฤติกรรมท่ีฝุาฝืนกฎหมาย เป็นความผิดอย่างชัดเจน ซ่ึงความผิดมีบทลงโทษที่รุนแรง เจ้าหน้าที่ของรัฐห้าม ปฏิบัติ การทจุ รติ หมายถึง ประพฤตชิ ั่ว คดโกง ไม่ซือ่ ตรง การทุจรติ ต่อหนา้ ที่ หมายถงึ การปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติอย่างใดในพฤติการณ์ท่ีอาจทา ให้ผู้อ่ืนเชื่อว่า มีตาแหน่งหน้าท่ีท้ังที่ตนมิได้มีตาแหน่งหรือหน้าที่นั้น หรือใช้อานาจในตาแหน่งหรือหน้าท่ี ทั้งน้ี เพือ่ แสวงหาประโยชนท์ ม่ี ิควรได้โดยชอบสาหรบั ตนเองหรือผู้อ่นื กิจกรรมส่งเสริมความถนัดและความสนใจ หมายถึง กิจกรรมที่จัดอย่างเป็นกระบวนการ ด้านรูปแบบ วิธีการที่หลากหลาย ในการพัฒนาผู้เรียน ด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ และสังคม มุ่ง ส่งเสริมเจตคติ คุณค่าชีวิต ปลูกฝังคุณธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ ส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จักและเข้าใจตนเอง สรา้ งจิตสานึกในธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ปรับตัวและปฏิบัติตนให้เป็นประโยชน์ต่อสังคม ประเทศชาติ และ ดารงชวี ิตไดอ้ ยา่ งมีความสขุ ได้แก่ กจิ กรรมแนะแนว กิจกรรมนกั เรียน ประกอบด้วย กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ผู้บาเพ็ญประโยชน์ และนักศึกษาวชิ าทหาร กจิ กรรมชุมนมุ หรือชมรม พลเมือง หมายถงึ คนทีม่ ีสทิ ธิ และหนา้ ทใี่ นฐานะประชาชนของประเทศใดประเทศหน่ึง หรือ ประชาชนท่ีอยูภ่ ายใตผ้ ู้ปกครองเดียวกนั มีวฒั นธรรมเดียวกนั พลเมืองศึกษา หมายถึง การจัดการศึกษาและประสบการณ์เรียนรู้เพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้เป็น พลเมอื งดขี องประเทศ มคี วามภาคภูมิใจในความเป็นพลเมอื ง มสี ิทธิ สนใจตอ่ ส่วนรวม และมีส่วนร่วมในกิจการ บ้านเมืองตามระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย หรือการเรียนรู้เกี่ยวกับรัฐบาล รัฐธรรมนูญ กฎหมาย ระบบการเมืองการปกครอง สิทธิและความรับผิดชอบของพลเมือง ระบบการบริหารจัดการสาธารณะและ ระบบตุลาการ พลโลก หมายถึง คนทุกคน ทุกบ้าน ทุกตาบล ทุกอาเภอ ทุกจังหวัด และทุกประเทศชาติ ทกุ ชนเผา่ ทกุ สีผิว ทกุ ช้ันวรรณะ ไม่มแี บ่งแยก ระบบคิดฐานสิบ หมายถึง ระบบการคิดวิเคราะห์ข้อมูลที่มีตัวเลขหลายตัวและต่อเนื่อง อาจ หมายถึง โอกาสท่ีจะเลือกได้หลายทาง เกิดความคิดที่หลากหลาย ซับซ้อน หากนามาเปรียบเทียบกับการ ปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ของรัฐ จะทาให้เจ้าหน้าท่ีของรัฐต้องคิด และใช้ดุลยพินิจค่อนข้างมาก อาจจะนา ประโยชน์สว่ นตนและประโยชน์ส่วนรวมมาปะปนกันได้ แยกประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวมออกจาก กันไม่ได้

๓๒ ระบบคิดฐานสอง หมายถึง ระบบการคิดวิเคราะห์ข้อมูลที่สามารถเลือกได้เพียง ๒ ทาง เท่านั้น คือ ๐ (ศนู ย์) กบั ๑ (หน่งึ ) และอาจหมายถงึ ดอกาสทจี่ ะเลือกได้เพยี ง ๒ ทาง เชน่ ใช่ กับ ไม่ใช่ เท็จ กับ จริง ทาได้ กับ ทาไม่ได้ ผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม เป็นต้น จึงเหมาะกับการนา มา เปรยี บเทียบกับการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ของรัฐท่ีต้องสามารถแยกเร่ืองตาแหน่งหน้าที่กับเร่ืองส่วนตนออก จากกันได้อย่างเด็ดขาด และไม่กระทาการที่เป็นการขัดกัน ระเหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ สว่ นรวม วัฒนธรรมสุจริต หมายถงึ รูปแบบการประพฤติมิชอบ ประพฤติในทางท่ีถูกต้องของกิจกรรม มนษุ ย์ รวมท้ังโครงสร้างเชิงสัญลักษณ์ทาให้กิจกรรมทีความเด่นชัด มีความสาคัญในวิถีการดาเนินชีวิต ซ่ึงเป็น พฤตกิ รรม เป็นสิ่งที่ร่วมกันผลิต สร้างขึ้น ร่วมใช้ด้ายการเรียนรู้จากกันและกัน ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตาม ยุคสมยั ความเหมาะสมเพื่อความเจริญงอกงาม และสืบต่อกนั มา ระบบคิดฐานสิบ (Analog) หมายถึง ระบบการคิดวิเคราะห์ข้อมูลที่มีตัวเลขหลายตัวและ ต่อเนื่อง อาจหมายถงึ โอกาสที่จะเลือกได้หลายทาง เกิดความคิดท่ีหลากหลาย ซับซ้อน หากนามาเปรียบเทียบ กับการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ของรัฐ จะทาให้เจ้าหน้าที่ของรัฐต้องคิดเยอะ ต้องใช้ดุลยพินิจเยอะ อาจจะนา ประโยชน์สว่ นตนและประโยชนส์ ่วนรวมมาปะปนกนั ได้ แยกประโยชน์ส่วนตน และประโยชน์ส่วนรวมออกจาก กนั ไมไ่ ด้ ระบบคดิ ฐานสอง (Digital) หมายถงึ ระบบการคิดวิเคราะห์ข้อมูลที่สามารถเลือกได้เพียง ๒ ทางเท่าน้ัน คือ ๐ (ศูนย์) กับ ๑ (หน่ึง) และอาจหมายถึงโอกาสที่จะเลือกได้เพียง ๒ ทาง เช่น ใช่ กับ ไม่ไช่ เท็จ กับ จริง ทาได้ กับ ทาไม่ได้ ผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม เป็นต้น จึงเหมาะกับการนามา เปรยี บเทียบกับการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าท่ีของรัฐท่ีต้องสามารถแยกเร่ืองตาแหน่งหน้าที่กับเรื่องส่วนตนออก จากกันได้อย่างเด็ดขาด และไม่กระทาการที่เป็นการขัดกัน ระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ ส่วนรวม วัฒนธรรมสุจริต หมายถึง รูปแบบการประพฤติชอบ ประพฤติในทางที่ถูกต้อง ของกิจกรรม มนุษย์ รวมท้ังโครงสร้างเชิงสัญลักษณ์ที่ทาให้กิจกรรมมีความเด่นชัด มีความสาคัญในวิถี การดาเนินชีวิต ซ่ึง เป็นพฤติกรรมเป็นส่ิงที่ร่วมกันผลิต สร้างขึ้น ร่วมใช้ด้านการเรียนรู้จากกันและกัน ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงได้ ตามยคุ สมัย ความเหมาะสมเพ่ือความเจริญงอกงาม และสบื ต่อกนั มา STRONG : จติ พอเพียงตา้ นทจุ ริต ประกอบด้วย ๑) S (sufficient) : ความพอเพยี ง หมายถงึ ผู้นา ผู้บริหาร บุคคลทุกระดับ องค์กรและชุมชน นอ้ มนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับประยุกต์เป็นหลักความพอเพียงในการทางาน การดารงชีวิต การพัฒนาตนเองและส่วนรวม รวมถึงการปูองกันการทุจริตอย่างยั่งยืน ซ่ึงความพอเพียงต่อส่ิงใดส่ิงหน่ึงของ มนุษยแ์ มว้ ่าจะแตกตา่ งกนั ตามพนื้ ฐาน แต่การตัดสินใจวา่ ความพอเพียงของตนเองน้ัน ต้องตั้งอยู่บนความมีเหตุ มีผล รวมทงั้ ต้องไมเ่ บียดเบยี นตนเอง ผูอ้ นื่ และส่วนรวม ความพอเพียงดังกล่าวจึงเป็นภูมิคุ้มกันให้บุคคลน้ันไม่ กระทาการทจุ รติ ซึ่งต้องให้ความรู้ความเขา้ ใจ (knowledge) และปลกุ ใหต้ ืน่ รู้ (realize)

๓๓ ๒) T (transparent) : ความโปร่งใส หมายถึง ผู้นา ผู้บริหาร บุคคลทุกระดับ องค์กรและ ชุมชนต้องปฏิบัติงานบนฐานของความโปร่งใส ตรวจสอบได้ ดังน้ัน จึงต้องมีและปฏิบัติตาม หลักปฏิบัติ ระเบียบ ข้อปฏิบัติ กฎหมาย ด้านความโปร่งใส ซึ่งต้องให้ความรู้ความเข้าใจ (knowledge) และปลุกให้ต่ืนรู้ (realize) ๓) R (realize) : ความต่ืนรู้ หมายถึง ผู้นา ผู้บริหาร บุคคลทุกระดับ องค์กรและชุมชน มีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนกั รู้ถึงรากเหง้าของปัญหาและภัยร้ายแรงของการทุจริตประพฤติมิชอบภายใน ชุมชนและประเทศ ความต่ืนรู้จะบังเกิดเมื่อได้พบเห็นสถานการณ์ท่ีเส่ียงต่อการทุจริต ย่อมจะมีปฏิกิริยา เฝูาระวังและไม่ยินยอมต่อการทุจริตในที่สุด ซึ่งต้องให้ความรู้ความเข้าใจ (knowledge) เกี่ยวกับสถานการณ์ การทุจรติ ทเ่ี กิดขนึ้ ความรา้ ยแรงและผลกระทบต่อระดับบุคคลและส่วนรวม ๔) O (onward) : มุ่งไปข้างหน้า หมายถึง ผู้นา ผู้บริหาร บุคคลทุกระดับ องค์กรและชุมชน มุ่งพัฒนาและปรับเปลี่ยนตนเองและส่วนรวมให้มีความเจริญก้าวหน้าอย่างยั่งยืน บนฐานความโปร่งใส ความพอเพียงและรว่ มสร้างวฒั นธรรมสุจรติ ใหเ้ กิดขึ้นอย่างไม่ย่อท้อ ซ่ึงต้องมีความรู้ความเข้าใจ (knowledge) ในประเดน็ ดังกล่าว ๕) N (knowledge) : ความรู้ หมายถึง ผู้นา ผู้บริหาร บุคคลทุกระดับ องค์กรและชุมชน ตอ้ งมีความรู้ความเขา้ ใจสามารถนาความรู้ไปใช้ สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินได้อย่างถ่องแท้ ในเร่ือง สถานการณ์การทุจริต ผลกระทบท่ีมีตอ่ ตนเองและสว่ นรวม ความพอเพียงตา้ นทจุ รติ การแยกแยะผลประโยชน์ ส่วนตนและผลประโยชนส์ ่วนรวมทม่ี คี วามสาคญั ยง่ิ ตอ่ การลดการทจุ รติ ในระยะยาว รวมทั้ง ความอาย ไม่กล้า กระทาการทุจรติ และเกดิ ความไมท่ นเมือ่ พบเห็นวา่ มกี ารทจุ ริต เกดิ ขน้ึ เพ่ือสรา้ งสงั คมไมท่ นตอ่ การทจุ รติ ๖) G (generosity) : ความเอ้ืออาทร หมายถึง คนไทยมีความเอ้ืออาทร มีเมตตา มีน้าใจต่อ กนั บนฐานของจติ พอเพียงต้านทจุ ริต ไม่เอือ้ ตอ่ การรับหรือการใหผ้ ลประโยชน์ต่อพวกพ้อง คณุ ลกั ษณะ ๕ ประการของสถานศึกษาสจุ ริต ประกอบดว้ ย ๑) ทักษะกระบวนการคิด หมายถึง ความสามารถในการคิดในลักษณะต่าง ๆ ซึ่งเป็น องค์ประกอบของกระบวนการคิดที่สลับซับซ้อน เป็นแนวคิดในการสร้างคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาล ให้บังเกิดแก่บุคคล โดยการที่มีระบบการคิดที่สามารถแยกเรื่องตาแหน่งหน้าที่กับเร่ืองส่วนบุคคลออกจากกัน ได้แก่ การคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนออกจากผลประโยชน์ส่วนรวม การเห็นประโยชน์สาธารณะ มากอ่ นประโยชน์ส่วนบุคคล และการไมย่ อมรบั การทุจรติ ๒) มีวินัย หมายถึง การแสดงออกถึงการยึดมั่น และปฏิบัติตนตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบยี บ ข้อบังคับของครอบครวั สถานศึกษา และสังคม เป็นปกตวิ ิสัย ไม่ละเมิดสิทธิของผู้อ่ืน ๓) ซอ่ื สตั ย์สจุ ริต หมายถึง การยึดมั่นในความถูกต้อง ประพฤติตนตรงตามความเป็นจริง ทั้ง ทางกาย วาจา ใจ และยึดหลักความจริง ความถูกต้องในการดาเนินชีวิต มีความละอายและเกรงกลัว ต่อการ กระทาผดิ ๔) อยู่อย่างพอเพียง หมายถึง การดาเนินชีวิตอย่างพอประมาณ มีเหตุผล รอบคอบ มี คณุ ธรรม มภี มู ิคุ้มกันในตัวท่ีดีและปรับตัวเพ่ืออยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข ไม่เบียดเบียนผู้อื่น เห็นคุณค่าของ ทรัพยากรต่าง ๆ มีการวางแผนปอู งกันความเสี่ยงและพร้อมรับการเปลีย่ นแปลง

๓๔ ๕) จิตสาธารณะ หมายถึง การเป็นผู้ให้และช่วยเหลือผู้อื่น แบ่งปันความสุขส่วนตน ทา ประโยชน์แก่สว่ นรวม เข้าใจ เหน็ ใจผ้ทู ีม่ ีความเดือดรอ้ น อาสาช่วยเหลอื สงั คม อนุรักษส์ งิ่ แวดล้อม ด้วยแรงกาย สติปญั ญา ลงมือปฏิบัตเิ พือ่ แกป้ ัญหา หรอื รว่ มสรา้ งสรรคส์ ง่ิ ที่ดีงามใหเ้ กิดในชุมชน โดยไม่หวังสงิ่ ตอบแทน

๓๕ ภาคผนวก ค สือ่ การเรยี นรู้

๓๖

๓๗

๓๘

๓๙

๔๐

๔๑

๔๒

๔๓

๔๔

๔๕