Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Fulltext

Fulltext

Published by Tanapat Issarangkul Na Ayutthaya, 2021-03-26 00:22:30

Description: Fulltext

Search

Read the Text Version

นายธนพัฒนน อิศรางกูร ณ อยุธยา ตาแหนง่ ครู โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห 31 จังหวดั เชียงใหม่ สงั กัดสานกั บรหิ ารงานการศกึ ษาพิเศษ สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

การศกึ ษาผลการเรียนร้รู ายวชิ าฟิสกิ ส์ ของนักเรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 โดยใชก้ ารสอนแบบสบื เสาะหาความรู้รว่ มกับชดุ กิจกรรม การเคลื่อนท่แี บบโพรเจคไทล์ ธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่ สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ปี พ.ศ.2563

ช่อื เรือ่ ง : การศกึ ษาผลการเรียนร้รู ายวิชาฟสิ กิ ส์ ของนักเรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 โดยใช้ การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับชดุ กจิ กรรมการเคลื่อนทแี่ บบโพรเจคไทล์ ผวู้ ิจัย : ธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา สังกัด : โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่ ปีการศึกษา : 2563 บทคดั ยอ่ การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับชุด กิจกรรมการเคลื่อนที่แบบโพรเจคไทล์ รายวิชาฟิสิกส์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ให้มี ประสิทธภิ าพ 80/80 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิท์ างการเรียนก่อนเรียนและหลังเรยี นรายวชิ าฟิสกิ ส์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับชุดกิจกรรมการ เคลื่อนที่แบบโพรเจคไทล์ และ3) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนรู้รายวิชาฟิสิกส์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับชุดกิจกรรมการ เคลื่อนที่แบบโพรเจคไทล์ กล่มุ ตวั อยา่ งทีน่ ำมาใชใ้ นการวจิ ยั คร้งั นเี้ ป็นนกั เรียนชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 ปี การศึกษา 2563 ของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งได้มาจากการเลือกแบบ เจาะจง (Purposive Sampling) จำนวน 29 คน จากนั้นวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรม การเรียนรู้การเคลื่อนที่แบบโพรเจคไทล์ (E1/E2) แล้วนำเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ นักเรียน โดยใช้การทดสอบค่าที (t-test dependent) แบบกลุ่มเดียวสอบก่อนและหลัง และ วเิ คราะหค์ วามพงึ พอใจของนักเรยี นกลุ่มตัวอย่าง หาค่าเฉลีย่ (x) และสว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (S.D.) เปรยี บเทยี บกับเกณฑท์ ่ีกำหนดไว้ ผลการวิจยั พบว่า 1. ชุดกิจกรรมการเคล่ือนท่ีแบบโพรเจคไทล์ ระดบั ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 4 มีค่าประสิทธิภาพ โดยรวม 84.80 / 81.73 ซึง่ สงู กว่าเกณฑท์ ตี่ ้งั ไว้ 80 / 80 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นรายวิชาฟิสิกส์ ของนักเรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้การสอน แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับชุดกิจกรรมการเคลื่อนที่แบบโพรเจคไทล์ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่รี ะดบั .05 3. ความพึงพอใจของนักเรียนท่มี ตี อ่ การเรยี นรู้รายวิชาฟสิ ิกส์ ของนักเรยี นช้นั มัธยมศึกษาปี ที่ 4 โดยใช้การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับชุดกิจกรรมการเคลื่อนที่แบบโพรเจคไทล์ อยู่ใน ระดับมาก

กติ ตกิ รรมประกาศ การศกึ ษาผลการเรียนรู้รายวชิ าฟิสิกส์ ของนักเรียนชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้การสอนแบบ สืบเสาะหาความรู้ร่วมกับชุดกิจกรรมการเคลื่อนที่แบบโพรเจคไทล์ เล่มนี้สำเร็จลงได้ด้วยการ สนับสนุนให้ความรู้ คำแนะนำ และเป็นที่ปรึกษาในการทำทุกขั้นตอนของผู้ทรงคุณวุฒิซึ่ง ประกอบดว้ ย นายอดิศร แดงเรอื น ผู้อำนวยการโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่ นายวิเศษ ฟองตา รองผู้อำนวยการโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ และผู้ช่วย ศาสตราจารยส์ นุ ทรพจน์ ดำรงพานชิ อาจารย์สาขาประเมินผลและวิจยั การศกึ ษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ ขอขอบพระคณุ นางกมลชนก เทพบุ หวั หนา้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่ได้ช่วยเหลือ ให้คำแนะนำในการด้านการตรวจสอบความถูกต้องทางวิชาการของแผนการจัดการ เรียนรู้รายวิชาฟิสิกส์ และขอขอบพระคุณ ครู อาจารย์ นักเรียน โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่ ในการให้ความรว่ มมือนำชุดกิจกรรมการเคลอ่ื นท่ีแบบโพรเจคไทล์ทดลองใช้เพ่ือทำ การวิจัยในครง้ั น้ี ผู้วิจัยหวังเป็นอย่างยิ่งว่าการวจิ ัย เรื่อง การศึกษาผลการเรียนรู้รายวิชาฟิสิกส์ ของนักเรยี น ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้การสอนแบบสบื เสาะหาความรรู้ ่วมกับชุดกิจกรรมการเคล่ือนที่แบบโพร เจคไทล์ จะช่วยพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียน และคงเอ้ือ ประโยชนต์ อ่ การเรียนรู้ตอ่ ผู้สนใจได้ตามสมควร หากพบข้อผิดพลาดประการใด ผวู้ จิ ัยกราบขออภัยมา ณ ทนี่ ด้ี ้วย ธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา

สารบัญ หนา้ ก บทคัดยอ่ ข กิตติกรรมประกาศ ค สารบญั 1 บทที่ 1 บทนำ 3 1.1 ความเป็นมาและความสำคญั ของปญั หา 4 1.2 วัตถปุ ระสงค์ของการศกึ ษา 4 1.3 สมมติฐานของการศึกษา 5 1.4 ขอบเขตของการศึกษา 6 1.5 นยิ ามศัพทเ์ ฉพาะ 6 1.6 ประโยชนท์ ่คี าดวา่ จะไดร้ ับ 1.7 กรอบแนวคิดของการวิจยั 7 8 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจยั ท่ีเกี่ยวข้อง 11 2.1 การจัดการเรยี นการสอนวิชาฟสิ กิ ส์ 19 2.2 การจดั การเรียนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 25 2.3 ชุดกิจกรรม 27 2.4 แผนการจดั กาเรียนรู้ 29 2.5 ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น 2.6 ความพงึ พอใจ 33 2.7 งานวจิ ยั ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง 33 34 บทที่ 3 วิธีดำเนนิ การวิจัย 34 3.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 39 3.2 แบบแผนการวิจัย 39 3.3 เครอื่ งมอื ที่ใช้ในการวิจัย 40 3.4 การสร้างเครอื่ งมือท่ใี ช้ในการวิจยั 3.5 ขน้ั ตอนดำเนนิ การทดลองและเก็บรวบรวมขอ้ มลู 3.6 การวเิ คราะห์ขอ้ มลู 3.7 สถติ ิทีใ่ ช้ในการวเิ คราะหข์ ้อมลู

สารบญั (ต่อ) หนา้ บทท่ี 4 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล 41 4.1 สญั ลกั ษณ์ที่ใช้ในการเสนอผลการวิเคราะหข์ ้อมูล 41 4.2 ลำดบั ขั้นตอนในการเสนอผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูล 42 4.3 ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู 48 บทที่ 5 สรปุ อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ 48 5.1 วตั ถปุ ระสงค์ของการวิจัย 49 5.2 สรปุ ผลการวิจยั 50 5.3 การอภิปรายผล 5.4 ข้อเสนอแนะ 52 55 บรรณานกุ รม 56 ภาคผนวก ประวตั ิผวู้ จิ ัย

1 บทที่ 1 บทนำ 1.1 ความเป็นมาและความสำคัญของปญั หา วทิ ยาศาสตร์มบี ทบาทสำคัญย่งิ ในสังคมโลกปัจจุบันและอนาคต เพราะวทิ ยาศาสตร์เกย่ี วข้อง กับทุกคนทั้งในชีวิตประจำวันและการงานอาชีพต่างๆ ตลอดจนเทคโนโลยี เครื่องมือเครื่องใช้และ ผลผลิตต่างๆ ที่มนุษย์ได้ใช้เพื่ออํานวยความสะดวกในชีวิตและการทำงาน เหล่านี้ล้วนเป็นผลของ ความรู้วิทยาศาสตร์ ผสมผสานกับความคิดสร้างสรรค์และศาสตร์อื่นๆ วิทยาศาสตร์ช่วยใหม้ นุษยไ์ ด้ พัฒนาวิธีคิด ทั้งความคิดเป็นเหตุเป็นผล คิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์ วิจารณ์ มีทักษะสำคัญในการ ค้นคว้าหาความรู้ มีความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ สามารถตัดสินใจโดยใช้ข้อมูล ที่ หลากหลายและมีประจักษ์พยานที่ตรวจสอบได้ วิทยาศาสตร์เป็นวัฒนธรรมของโลกสมัยใหม่ซ่งึ เป็น สังคมแห่งการเรียนรู้ (Knowledge-based society) ดังนั้นทุกคนจึงจำเป็นตอ้ งได้รับการพัฒนาให้รู้ วิทยาศาสตร์ เพือ่ ทจ่ี ะมคี วามรู้ความเข้าใจในธรรมชาติและเทคโนโลยีทีม่ นุษย์สร้างสรรค์ข้ึนสามารถ นําความรูไ้ ปใชอ้ ย่างมีเหตุผล สร้างสรรค์ และมีคุณธรรม (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551, น.1) ความรู้ วิทยาศาสตร์ไม่เพียงแต่นำมาใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีแตย่ ังช่วยให้คนมีความรู้ความเข้าใจท่ี ถกู ต้องเก่ยี วกับการใชป้ ระโยชนก์ ารดแู ลรักษาตลอดจนการพัฒนาสิง่ แวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ อย่างสมดุลและยั่งยืนและที่สำคัญยิ่งคือความรูว้ ิทยาศาสตร์ช่วยเพิ่มขีดความสามารถในการพัฒนา เศรษฐกิจ สามารถแข่งกับนานาประเทศและดำเนินการชีวิตร่วมกันในสังคมโลกได้อย่างมีความสุข (กระทรวงศกึ ษาธิการ, 2551, น.92) วิชาฟิสิกส์เปน็ วชิ าที่อยู่ในแขนงหนึ่งของวิชาวิทยาศาสตร์ที่ใช้หลักการและทฤษฎีต่าง ๆ มา อธบิ ายปรากฏการณธ์ รรมชาติที่เกดิ ขึ้นในชวี ิตประจำวนั และพบว่าการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน ที่ได้ผลดีนัน้ จะต้องใช้สื่อการสอนท่ีเปน็ รปู ธรรม และเน้นทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรเ์ พื่อให้ นักเรียนได้ฝึกประสบการณ์จริงด้วยตนเองและครูเป็นผู้คอยช่วยชี้แนะแนวทางและส่งเสริม และ กระตุ้นให้นักเรียนดำเนินกิจกรรมการเรียนการสอนให้สำเร็จตามความมุ่งหมาย (อาทิตย์ จันทร์ส่อง แสง, 2550, น.2) การเรียนรู้แบบผู้เรียน เป็นศูนย์กลาง (Student - Center) โดยมีเป้าหมายสำคญั คอื การทำใหผ้ เู้ รียนเกิดการเรียนรู้สูงสุด ท้ังดา้ นการคิดและการปฏิบัติ ส่วนผสู้ อนเป็นบุคคลสำคัญที่ จะคอยแนะนาํ และชว่ ยส่งเสริมให้ผู้เรยี นเกิดการเรียนรไู้ ด้มากทส่ี ุด ดังน้นั ผสู้ อนต้องทุ่มเทอย่างมาก ในการออกแบบแนวทางในการดำเนินกจิ กรรมการสอนทส่ี ามารถกระตุน้ ความสนใจของผ้เู รยี นและให้ ผ้เู รยี นไดเ้ กดิ ทกั ษะการคดิ การเรียนรู้ ไดด้ ว้ ยตัวเอง (สุวทิ ย์ มูลคาํ และอรทัย มลู คํา, 2552, น.8) การ สอนปฏิบตั ิการฟิสกิ สเ์ ปน็ การชว่ ยให้ ผู้เรียนเชอ่ื มต่อระหว่างทฤษฎีกบั การปฏิบัติซง่ึ พวกเขาจะพัฒนา

2 สมมติฐานและการวางแผนการทดลอง ของพวกเขา ทำให้พัฒนาแนวความคิดเหตุการณ์ที่คล้ายกนั มากกว่าแนวคดิ ทีเ่ กดิ จากทฤษฎี ซึ่งหมายถึงไดผ้ ลจากการปฏิบัตกิ ารโดยผู้เรียนสามารถใช้สือ่ ที่มอี ยู่ นั้นทำการทดลอง เพื่อหา ผลเปรียบเทียบกับขอ้ มูลต่าง ๆ ทไี่ ดจ้ ากการเรียนภาคทฤษฎี ซง่ึ ในบางคร้ัง ก็จไที่ผู้สอนตอ้ งสร้างขึ้นมา ใช้เอง โดยเฉพาะสื่อในการจัดการเรียนรู้วิชาทดลองปฏิบตั ิการ เช่น ชุด กิจกรรม การมสี ่ือการสอนท่ีดี เหมาะสมกับหลกั สตู ร และผู้สอนสามารถนาํ ไปใช้ได้อย่างถกู วธิ ีนั้น ซึ่ง จะเป็นผลทำให้การพัฒนา กระบวนการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น (ชัยสิทธิ์ ลัดดาหอม, 2548, น.9) จากกิจกรรมการเรียนการสอนของผ้วู จิ ัย พบวา่ นกั เรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 4 โรงเรียนราช ประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ ปีการศึกษา 2562 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการ เรียนรู้วิทยาศาสตร์มคี ะแนนเฉลี่ยอยใู่ นระดบั พอใช้ ซึ่งต่ำกวา่ เกณฑ์ท่ีโรงเรียน ตงั้ ไว้คือรอ้ ยละ 80 ผล การทดสอบดังกล่าวสะท้อนให้เห็นว่ายังไม่บรรลุเป้าหมายของโรงเรียน (แบบรายงานผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนรายวิชาฟิสิกส์, 2563, น.5) ซึ่งเป็นปัญหาสําคัญที่จะต้องปรับปรุงกิจกรรมการเรียน เพือ่ ใหผ้ ลสัมฤทธิ์ ทางการเรยี นสูงขนึ้ และบรรลุเป้าหมายที่ตง้ั ไว้เนื่องจากสภาพปัจจุบันการสอนกลุ่ม สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ เรื่องวัสดุรอบตัวเรา โดยปกตินักเรียนเรียนรู้ตามเน้ือหาที่ครูบอกหรือ อธิบายใหฟ้ ังโดยมี ครูเปน็ ผบู้ รรยาย ไม่มกี จิ กรรมการเรียนรู้ท่ไี ด้ลงมือปฏิบตั ิ ขาดการใช้สื่อการสอน ทาํ ให้นกั เรยี นเกิด ความรสู้ ึกเบ่อื หน่าย ไมต่ ง้ั ใจเรียนและพบว่านักเรียนขาดทักษะการสังเกต การวัด การจาํ แนกประเภท และการมีส่วนร่วมในการทํากจิ กรรมการเรยี นการสอน การจดั การเรียนรูด้ ว้ ยชดุ กิจกรรมจงึ เปน็ สอ่ื การเรียนหลายอย่างประกอบกันจัดเข้าไว้ด้วยกัน เปน็ ชดุ ซง่ึ ชดุ กจิ กรรมเป็นการพฒั นามาจากวิธกี ารเรียนการสอนหลายๆ ระบบเข้ามาผสมผสานให้การ เรียนการสอนวิธีนี้เหมาะสมกับการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนสําคัญที่สุด (สุนันทา สุนทรประเสริฐ 2543 น. 107) ในส่วนของชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์คือการประยุกต์ ชุดการเรียนการสอนเข้ากับ กระบวนการทางวิทยาศาสตรห์ รือระเบยี บวิธีการทางวทิ ยาศาสตร์ ขึ้นเพื่อใชเ้ ป็นนวัตกรรมการสอน ทางวิทยาศาสตร์ศึกษาจะทําให้ผู้เรียนเรียนรู้หรือสร้างองค์ความรู้ได้อย่างมรี ะบบส่งผลใหเ้ กิดทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จิตวิทยาศาสตร์และสามารถพัฒนาทักษะปฏิบัติทางวิทยาศาสตร์ ไดม้ ากข้ึน (ธานินทร์ ปัญญาวฒั นากลุ , 2546 น. 78) แนวทางในการพัฒนาการเรียนการสอนสามารถ ทาํ ได้โดยการสรา้ งนวัตกรรมการสอนโดยจดั ในรูปของชุดกิจกรรมเพราะชดุ กิจกรรมจัดเป็นนวัตกรรม ทเ่ี ปน็ รปู ธรรม สามารถถา่ ยทอดเนื้อหาและประสบการณ์ทสี่ ลบั ซับซอ้ น ซ่ึงมลี ักษณะเป็นนามธรรมให้ เห็นได้ชดั เจน เร้าความสนใจของผเู้ รียนเปิดโอกาสให้ผเู้ รียนได้มสี ่วนรว่ มในการเรียน แสวงหาความรู้ ด้วยตนเอง (ชัยยงค์ พรหมวงศ์, 2523, น. 120 : อ้างถึงใน กนกวลี แสงวิจิตรประชา,2550,น. 3) ครูผู้สอนเป็นผู้ทําหน้าที่รับผิดชอบการสอนเพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ไปตามวัตถุประสงค์และความมุง่ หมายของหลักสูตรโดยอาศัยแนวทางหรือวิธีการหนึ่ง เรียกว่า สื่อการสอน เป็นตัวนําความรู้ไปสู่

3 ผู้เรียน ดังนั้นการนําชุดกิจกรรมการเรียนมาช่วยในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการเรียนรู้ให้เป็นไป อย่างมีประสิทธิภาพจะส่งผลให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเองมากขึ้น (ภพ เลาหไพบูลย์, 2542,น. 277) ชุดกิจกรรมจะช่วยให้ผู้สอนถ่ายทอดเนื้อหาและประสบการณ์ที่เหมาะสมที่เป็นรูปธรรมเร้า ความสนใจของนกั เรียนตอ่ สง่ิ ทก่ี ําลงั ศกึ ษา ช่วยในการแก้ปญั หาความแตกต่างระหวา่ งบุคคลและช่วย แก้ปัญหาการขาดครูผูส้ อนวิทยาศาสตรแ์ ละนักเรียนยังได้ฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (ชัย ยงค์ พรหมวงศ์, 2551, น. 123) การจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ เป็น กระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญเพื่อให้ผู้เรียนได้ฝึกคิด ฝึกปฏิบัติ เน้นให้ผู้เรียนแสวงหา ความรดู้ ้วยตนเอง ลงมือปฏิบตั ิ ค้นพบและสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองจนเกิดทกั ษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ โดยมีกระบวนการในการสืบเสาะหาความรู้ที่สําคัญ 5 ขั้นตอน คือ 1) ขั้นสร้างความ สนใจ (Engagement) 2) ขั้นสํารวจและค้นหา (Exploration) 3) ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) 4) ข้ันขยายความรู้ (Elaboration) 5) ข้นั ประเมนิ (Evaluation) (สถาบันสง่ เสริมการ สอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2553, น.219-220) จากทีก่ ลา่ วมาแลว้ ขา้ งตน้ ผู้วจิ ยั จึงศกึ ษาการจัดการเรียนรู้ดว้ ยกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ร่วมกับชุดกิจกรรมการเคลื่อนที่แบบโพรเจคไทล์ในรายวิชาฟิสิกส์ของชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จะ สามารถพัฒนาให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาวิชา ส่งเสริมและพัฒนาผลการเรียนรู้และ สามารถนํา ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ไปใช้ให้เกิดประโยชนแ์ ละสามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตตลอดจน สังคมและ สง่ิ แวดลอ้ มตอ่ ไป 1.2 วตั ถุประสงคก์ ารวจิ ัย การวจิ ัยในครง้ั นี้มีวัตถุประสงคก์ ารวิจยั 3 ข้อ ดงั นี้ 1. เพื่อพัฒนาการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับชุดกิจกรรมการเคลื่อนที่แบบโพรเจค ไทล์ รายวิชาฟิสกิ ส์ ของนักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 ให้มปี ระสทิ ธภิ าพ 80/80 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนรายวิชาฟิสิกส์ ของ นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้การสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ร่วมกบั ชุดกิจกรรมการเคล่อื นท่ี แบบโพรเจคไทล์ 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนรู้รายวิชาฟิสิกส์ ของนักเรียนชั้น มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 โดยใช้การสอนแบบสบื เสาะหาความรูร้ ว่ มกบั ชุดกิจกรรมการเคลื่อนที่แบบโพรเจค ไทล์

4 1.3 สมมตฐิ านของการวิจยั การวิจัยในคร้ังน้มี ีสมมตฐิ านของการวิจยั 2 ขอ้ ดังนี้ 1. ผลการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับชุดกิจกรรมการเคลื่อนที่แบบโพรเจคไทล์ รายวชิ าฟิสกิ ส์ ของนกั เรียนชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 เป็นไปตามเกณฑป์ ระสิทธิภาพ 80/80 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวชิ าฟิสิกส์ ของนักเรียนชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้การสอน แบบสบื เสาะหาความร้รู ่วมกับชุดกิจกรรมการเคล่ือนทแี่ บบโพรเจคไทล์หลงั เรียนสงู กว่าก่อนเรียน 3. ผลความพงึ พอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรยี นรรู้ ายวชิ าฟิสิกส์ ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษา ปีที่ 4 โดยใช้การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับชดุ กิจกรรมการเคลื่อนท่ีแบบโพรเจคไทล์ อยู่ใน ระดบั ดขี นึ้ ไป 1.4 ขอบเขตของการวจิ ัย 1.4.1 ขอบเขตด้านประชากร ประชากรท่ีใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนราชประชานุ เคราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่ จำนวน 120 คน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/1 โรงเรียนราช ประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่ จำนวน 1 ห้องเรยี น จำนวน 29 คน ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563 โดยการเลอื กเจาะจงจากนกั เรียนหอ้ งสายวิทยาศาสตร์-คณติ ศาสตร์ท่ีไดเ้ รยี นรายวิชาฟสิ กิ ส์ 1.4.2 ขอบเขตด้านเนือ้ หา การวิจยั คร้งั นเี้ ปน็ การศกึ ษาผลการเรียนรู้รายวิชาฟสิ ิกส์ ของนักเรยี นชนั้ มธั ยมศึกษา ปีที่ 4 โดยใช้การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับชุดกิจกรรมการเคลื่อนที่แบบโพรเจคไทล์ ประกอบดว้ ย 2 หวั ข้อ ได้แก่ 1) ทฤษฎีการเคลอื่ นท่ีแบบโพรเจคไทล์ จำนวน 4 ชวั่ โมง 2) การทดลองการเคลอ่ื นทีแ่ บบโพรเจคไทล์ จำนวน 4 ช่วั โมง 1.4.3 ขอบเขตดา้ นตวั แปรท่ีศกึ ษา ตวั แปรตน้ คอื การสอนแบบสบื เสาะหาความร้รู ว่ มกับชุดกิจกรรมการเคล่ือนท่ีแบบ โพรเจคไทล์ ตัวแปรตาม คือ ผลการเรียนรู้รายวิชาฟิสกิ ส์ ของนกั เรยี นชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 โดย ใชก้ ารสอนแบบสืบเสาะหาความร้รู ่วมกบั ชดุ กจิ กรรมการเคล่อื นทแี่ บบโพรเจคไทล์ และความพึงพอใจ ในการเรียน

5 1.4.4 ขอบเขตด้านเวลา การวิจัยครั้งนี้ดำเนินการในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 โดยดำเนินการจัด กิจกรรมการเรยี นการสอน ระหวา่ งวันที่ 1 - 14 กมุ ภาพันธ์ 2564 จำนวน 4 คาบต่อสัปดาห์ คาบละ 60 นาที เปน็ เวลา 8 ชวั่ โมง 1.5 นยิ ามศัพท์เฉพาะ 1. ชดุ กจิ กรรม หมายถงึ ส่อื การเรยี นการสอนทม่ี ีความหลากหลายทค่ี รผู ู้สอนได้สรา้ งให้ สอดคล้องกับเนือ้ หาสาระตามจุดประสงค์การเรียนร้รู ายวิชาฟสิ กิ ส์ เร่อื งการเคลือ่ นทแ่ี บบโพรเจคไทล์ โดยแต่ละชุดกิจกรรมประกอบดว้ ย ชอ่ื กจิ กรรม คำชีแ้ จงสำหรบั นักเรียน จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ประจำชดุ กิจกรรม แบบทดสอบกอ่ นเรียน ใบความรู้ ใบงาน ใบกจิ กรรม แบบบนั ทกึ กจิ กรรม แบบทดสอบหลังเรยี น 2. ผลการเรียนรู้ หมายถึง ผลที่เกิดจากการจัดการเรียนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ ร่วมกับชุดกิจกรรมการเคลื่อนทีแ่ บบโพรเจคไทล์ รายวิชาฟิสิกส์ เรื่องการเคลื่อนที่แบบโพรเจคไทล์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 ในองค์ประกอบ 2 ส่วน ได้แก่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น และความพงึ พอใจในการเรียน 2.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง คะแนนที่ได้จากการทำแบบทดสอบรายวิชา ฟิสิกส์ เร่ืองการเคล่อื นท่แี บบโพรเจคไทล์ ของนกั เรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 ท่ีเรียนแบบสืบเสาะหา ความรู้ร่วมกับชุดกจิ กรรมการเคลอื่ นท่แี บบโพรเจคไทล์ 2.2 ความพึงพอใจในการเรียน หมายถึง คะแนนที่ได้จากการประเมินความรู้สึก ในทางที่ดีต่อการเรียนของนกั เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับชุด กิจกรรมการเคลื่อนทีแ่ บบโพรเจคไทล์ ซึ่งสามารถวัดได้จากแบบสอบถามความพึงพอใจด้านเนื้อหา กิจกรรมการเรียนการสอน ส่อื การเรียนการสอน และประโยชนท์ ไี่ ดจ้ ากการเรียนการสอน 3. การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ หมายถึง รูปแบบของการเรียนรู้ที่เน้นให้นักเรียนมี ประสบการณ์ตรงในการเรียนรู้ โดยการแสวงหาและศึกษาค้นคว้า เพื่อสร้างองค์ความรู้ของตนเอง โดยใช้กระบวนการทางวิทยศาสตร์ ซึ่งมีครผู ้สู อนคอยอำนวยการและสนับสนุน ทำให้ผู้เรียนสามารถ ค้นพบความรู้หรือแนวทางแก้ปัญหาไดต้ วั เอง และสามารถนำมาใช้ในชวี ิตประจำวนั การสอนแบบสืบ เสาะหาความรู้ประกอบด้วย 5 ข้นั ตอน ดงั นี้ 3.1 ขั้นที่ 1 ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement) เป็นการนําเข้าสู่บทเรียนซึ่งอาจ เกิดความ สนใจ ความสงสัยจากเหตุการณ์ที่กําลังเกิดขึ้น เป็นการกระตุ้นให้เกิดความสนใจใคร่รู้ นําไปส่ปู ระเด็น ท่จี ะศึกษาคน้ ควา้ ใหช้ ัดเจนย่งิ ขน้ึ

6 3.2 ขั้นที่ 2 สํารวจและค้นหา (Exploration) เป็นการทำความเข้าใจในประเด็นที่ ศึกษาวิธี การศึกษาอาจเป็นการตรวจสอบ การทดลอง การปฏิบัติ การสืบค้นความรู้ร่วมกับชุด กิจกรรม เพอ่ื ให้ ไดม้ าซงึ่ ขอ้ มลู อย่างพอเพียงในการทจ่ี ะใชใ้ นขั้นตอ่ ไป 3.3 ขั้นที่ 3 อธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) เป็นการนําข้อมูลข้อสนเทศที่ ไดม้ าวเิ คราะห์ แปลผล สรปุ ผลและนําเสนอในรปู ของภาพวาด ตาราง แผนภูมิ การคน้ พบในข้นั น้อี าจ เป็น การ สนับสนุนหรือโตแ้ ยง้ สมมตฐิ านก็ได้ ผลทีไ่ ดส้ ามารถสรา้ งความรแู้ ละช่วยใหเ้ กดิ การเรยี นรู้ได้ 3.4 ข้ันที่ 4 ขยายความรู้ (Elaboration) เปน็ การนําความร้ทู ่สี รา้ งข้ึนไปเชือ่ มโยงกับ ความรูเ้ ดิม หรอื แนวคดิ ท่ีได้ค้นคว้าเพิ่มเติมหรือนําขอ้ สรุปไปอธิบายสถานการณ์เหตกุ ารณ์ต่าง ๆ ทำ ใหเ้ กดิ ความรู้ ทีก่ ว้างขึน้ 3.5 ขัน้ ที่ 5 ประเมิน (Evaluation) เป็นการประเมนิ การเรยี นร้ดู ้วยกระบวนการตา่ ง ๆ วา่ มี ความร้อู ะไรบา้ ง ร้มู ากนอ้ ยเพยี งใดและนาํ ไปประยกุ ตค์ วามรสู้ เู่ รอื่ งอ่ืนๆ ทั้งนี้ผู้วิจัยจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมแบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) ร่วมกับชุด กิจกรรมซึ่งใช้ชุดกิจกรรมบูรณาการในขั้นที่ 2 สํารวจและค้นหา (Exploration) สำหรับเรื่อง วัสดุ รอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 จำนวน 2 แผนการจัดการเรียนรู้ แผนละ 4 ชั่วโมง และชุด กจิ กรรมจำนวน 1 ชุด 1.6 ประโยชนท์ ่คี าดวา่ จะไดร้ ับ ได้วิธีการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับชุดกจิ กรรมการเคลื่อนที่แบบโพรเจคไทล์ ที่จะ สามารถใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาฟิสิกส์ เรื่องการเคลื่อนที่แบบโพรเจค ไทล์ สำหรับนักเรยี นชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 4 1.7 กรอบแนวคดิ ของการวจิ ยั ตัวแปรตน้ ตัวแปรตาม การจดั การเรยี นวิธีการสอนแบบ ผลการเรยี นรู้แบบสบื เสาะหาความรู้ สืบเสาะหาความรู้ร่วมกับชุดกิจกรรมการ รว่ มกบั ชดุ กิจกรรมการเคล่อื นทแ่ี บบโพร เคล่อื นที่แบบโพรเจคไทล์ เจคไทล์ 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2) ความพงึ พอใจในการเรียน ภาพที่ 1.1 กรอบแนวคดิ ของการวิจยั

7 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยท่เี กี่ยวขอ้ ง การวิจยั เร่อื ง การศกึ ษาผลการเรยี นรู้รายวิชาฟสิ ิกส์ ของนกั เรยี นชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้ การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับชุดกิจกรรมการเคลื่อนที่แบบโพรเจคไทล์ ผู้วิจัยได้ดำเนินการ ศกึ ษาค้นควา้ เอกสารและงานวิจยั ทีเ่ ก่ียวขอ้ ง ดังนี้ 1. การจัดการเรียนการสอนวชิ าฟิสิกส์ 2. การจดั การเรียนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 3. ชุดกิจกรรม 4. แผนการจดั กาเรียนรู้ 5. ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน 6. ความพงึ พอใจ 7. งานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้อง 2.1 การจัดการเรยี นการสอนวชิ าฟิสิกส์ 2.1.1 ความหมายและธรรมชาติของวชิ าฟิสกิ ส์ ฟสิ กิ ส์ มีรากศพั ทม์ าจากภาษากรีก แปลว่า ธรรมชาติ เป็นวทิ ยาศาสตร์แขนงหนึ่งท่ี ศึกษา ธรรมชาติของสิง่ ไม่มชี ีวิต ได้แก่ การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพและปรากฎการต่าง ๆ ท่ีเกิดข้ึน รอบ ตัวเรา ศึกษาองค์ประกอบความสัมพันธ์ของสสารกับพลังงานทีเ่ กี่ยวข้องกับสิ่งไมม่ ีชีวิตจะตอ้ ง เกี่ยวข้อง กับวิชาอื่น รวมทั้งเป็นความรู้พื้นฐานที่นําไปใช้ในการพัฒนาเทคโนโลยีเกี่ยวกับการผลิต และการใช้สง่ิ ตา่ ง ๆ เพ่ืออํานวยความสะดวกแก่มนุษย์ (มนต์ชยั สิทธจิ นั ทร์ 2547: 9) ศิลปชัย บูรณพานิช (2544: 17) ได้ให้ความหมายของฟิสิกส์ไว้วา่ ฟิสิกส์ หมายถึง ธรรมชาติ ซึ่งฟิสกิ ส์เป็นวชิ าแขนงหนงึ่ ทศี่ กึ ษาองคป์ ระกอบและความสมั พนั ธข์ องสสารกับพลงั งาน ใน ส่วนที่เกี่ยวข้องกับลักษณะสิ่งไม่มีชีวิต ได้แก่ การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพและปรากฏการณ์ท่ี เกดิ ขน้ึ ความร้ทู างฟิสิกส์ไดม้ าจาก 2 แนวทาง คอื 1) ความรู้ทางฟสิ กิ ส์ได้จากการสังเกต ทดลองและ เก็บรวบรวมข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อสรุปเป็นทฤษฎีและกฏ 2) ความรู้ทางฟิสิกส์ได้มาจากการสร้าง แบบจาํ ลองทางความคิดโดยหลักการทางฟิสิกส์นําไปส่กู ารสร้างทฤษฎี ขอบเขตของวิชาฟิสิกส์ข้ึนกับ ขีดจํากัดการสังเกตและประสิทธิภาพของเครื่องมือนั้น ถ้าเทคโนโลยีของเครื่องมือวัดพัฒนามากขึน้ ข้อมูลที่ได้จะมีความละเอียดมากและถูกต้องมากขึ้นทําให้ขอบเขตของวิชาฟิสิกส์ยิ่งขยายออกไป ข้อมูล ทไ่ี ดใ้ หมอ่ าจเปลี่ยนแปลงทฤษฎแี ละกฎทมี่ ีอย่เู ดมิ

8 จากความหมายและธรรมชาติของวิชาฟิสิกส์ดังกล่าว สรุปได้ว่า วิชาฟิสิกส์เป็น วิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งศึกษาธรรมชาติของสิ่งไม่มชี ีวติ ได้แก่ ปริมาณทางกายภาพและปรากฏการณ์ ต่าง ๆ ทีเ่ กดิ ข้ึนรอบตวั เรา การค้นคว้าหาความรู้ทางฟิสิกส์ทําได้โดยการสังเกต การทดลองตลอดจน การเก็บรวบรวมข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อสรุปเป็นทฤษฎีหลักการ หรือ กฎ ความรู้เหล่านี้นั้นสามารถ นําไปใชอ้ ธบิ ายปรากฏการณ์ทางธรรมชาติหรอื ทํานายสิง่ ท่อี าจจะเกดิ ข้ึนในอนาคต และความรู้น้ีเอง นําไปใชเ้ ปน็ พน้ื ฐานในการศึกษาและพฒั นาวิทยาศาสตร์ประยกุ ต์สาขาอื่น ๆ ตอ่ ไป 2.1.2 หลกั การและโครงสรา้ งวิชาฟสิ ิกส์ หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กําหนดโครงสร้างหลักสูตรของ การศึกษา ข้นั พืน้ ฐานเปน็ 4 ช่วงชนั้ ตามระดบั พฒั นาการของนักเรียนคือ ช่วงชั้นท่ี ช้ันประถมศกษา ปีที่ 1 - 3 ช่วงชนั้ ท่ี 2 ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 4 - 6 ชว่ งชนั้ ที่ 3 ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 - 3 และช่วงชั้นท่ี 4 คือ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 - 6 จัดสาระการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ทัง้ หมด 8 กลุ่มโดยวิชา ฟสิ กิ ส์นั้น จดั อยูใ่ นกลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ มเี นื้อหาที่เก่ียวขอ้ งกบั วชิ าฟิสกิ ส์ ดังน้ี สาระท่ี 4 แรงและการเคลือ่ นท่ี ซึง่ กําหนดมาตรฐานการเรียนรู้ไว้ดังนี้ มาตรฐาน ว 4.1 เข้าใจธรรมชาติของแรงแม่เหล็กไฟฟ้า แรงโน้มถ่วงและแรง นิวเคลียร์ มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนําความรู้ไปใช้ประโยชน์อย่าง ถูกตอ้ งและ มคี ุณธรรม มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจลักษณะการเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ ของวัตถุในธรรมชาติมี กระบวนการสืบเสาะหาความรแู้ ละจติ วิทยาศาสตรส์ ่อื สารสิ่งทเี่ รยี นรู้และนําความร้ไู ปใช้ประโยชน์ สาระท่ี 5 พลังงาน ซง่ึ กําหนดมาตรฐานการเรยี นรู้ไวด้ งั นี้ มาตรฐาน ว 5.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดํารงชีวิต การเปลี่ยน รูป พลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม มี กระบวนการสบื เสาะหาความรสู้ ือ่ สารสิง่ ทีเ่ รยี นรู้และน้ำ ความรู้ไปใช้ประโยชน์ 2.2 การจัดการเรียนการสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ การจัดการเรียนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) (Inquiry method) รูปแบบการสอน นั้นมีรูปแบบ มากมายให้ผู้สอนได้เลือกใช้ซึ่งการเลือกใช้จะต้องให้สอดคล้องกับพื้นฐานของวิชานั้น ผู้วจิ ัยได้เลือก รปู แบบการสอนแบบ 5E เป็นรปู แบบน้เี นน้ ผ้เู รียนไดค้ ้นหาทดลอง สํารวจ ด้วยตนเอง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) (2557, น.219-221) ได้ กล่าวถงึ กระบวนการสบื เสาะหาความรู้ประกอบดว้ ยข้นั ตอนทีส่ ำคัญดังน้ี 1. ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement) เป็นการนําเข้าสู่บทเรียนหรือเรื่องที่สนใจ ซึ่ง อาจ เกิดขึ้นเองจากความสงสัยหรืออาจเริ่มด้วยความสนใจของตัวนักเรียนเองหรือเกิดจากการ อภิปราย

9 ภายในกลุ่ม เรื่องที่น่าสนใจ อาจมาจากเหตุการณ์ที่กําลังเกิดอยู่ในช่วงเวลานั้นหรือเป็นเรื่อง ท่ี เชื่อมโยงกับความรเู้ ดมิ ทีเ่ พงิ่ เรยี นรมู้ าแล้วเปน็ ตัวกระตนุ้ ให้นักเรยี นสร้างคําถาม กาํ หนดประเดน็ ท่ี จะ ศึกษาในกรณีที่ยังไม่มีประเด็นโตน่าสนใจ ครูอาจให้ศึกษาจากสื่อต่างๆ หรือเป็นผู้กระตุ้นด้วยการ เสนอประเด็นขนึ้ มาก่อน แตไ่ มค่ วรบงั คบั นกั เรียนยอมรับประเดน็ หรอื คาํ ถามที่ครูกาํ ลังสนใจ เปน็ เรอ่ื ง ที่จะใช้ศึกษาเมือ่ มีคําถามที่น่าสนใจและนักเรียนส่วนใหญ่ยอมรับประเด็นท่ีตอ้ งการศึกษาจงึ รว่ มกัน กาํ หนดขอบเขต และแจกแจงรายละเอียดของ เรือ่ งทจี่ ะศึกษาใหม้ คี วามชดั เจนย่งิ ขน้ึ อาจรวม ทั้งการ รวบรวมความรู้ประสบการณ์เติมหรือ ความรจู้ ากแหลง่ ต่าง ๆ ท่จี ะช่วยให้นําสู่ความเข้าใจ เรื่องหรือ ประเดน็ ที่จะศกึ ษามากขน้ึ และมแี นวทางที่ใชใ้ นการสาํ รวจตรวจสอบอย่างหลากหลาย 2. ข้ันสํารวจและคน้ หา (Exploration) เมือ่ ทาํ ความเข้าใจในประเดน็ หรอื คําถามที่ สนใจจะ ศึกษาอย่างถ่องแท้แล้วก็มีการวางแผนกําหนดแนวทางการสํารวจตรวจสอบตั้งสมมติฐาน กําหนด ทางเลือกที่เป็นไปได้ลงมือปฏิบัติเพ่ือเก็บรวบรวมข้อมูลข้อสนเทศหรือปรากฏการณ์ต่างๆ วิธีการ ตรวจสอบอาจทาํ ได้หลายวธิ ี เช่น ทําการทดลอง ทาํ กิจกรรมภาคสนาม การใชค้ อมพิวเตอร์ เพื่อช่วย สร้างสถานการณ์จําลอง (Simulation) การศึกษาหาข้อมูลจากเอกสารอ้างอิงหรือจาก แหล่งข้อมูล ตา่ งๆ เพื่อให้ไดม้ าซง่ึ ขอ้ มลู อย่างเพียงพอที่จะใชใ้ นข้นั ตอนตอ่ ไป 3. ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) เมื่อได้ข้อมูลอย่างเพียงพอจากการสํารวจ ตรวจสอบแล้ว จึงนําข้อมูลข้อสนเทศที่ได้มาวิเคราะห์แปลผลสรุปผลและนํ้าเสนอผลที่ได้ในรูปต่างๆ เช่น บรรยายสรุป สร้างแบบจําลองทางคณิตศาสตร์หรือรูปวาตสร้างตาราง การค้นพบในขั้นนี้อาจ เป็นไปได้หลายทาง เช่น สนับสนุนสมมติฐานที่ตั้งไว้โต้แย้งกับสมมติฐานที่ตั้งไว้หรือไม่เกี่ยวข้องกบั ประเด็นทไี่ ด้กาํ หนดไว้แต่ผลทไี่ ดจ้ ะอยู่ในรูปใดก็สามารถสรา้ งความรู้และชว่ ยใหเ้ กิดการเรยี นรู้ได้ 4. ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) เป็นการนําความรู้ที่สร้างขึ้นไปเชื่อมโยงกับความรู้ เดิม หรือแนวคิดที่ได้ค้นคว้าเพิ่มเติมหรือน้ําแบบจําลองหรือข้อสรุปที่ได้ไปใช้อธิบายสถานการณ์หรือ เหตุการณอ์ ่ืนๆ ถา้ ใช้อธิบายเรื่องต่างๆ ได้มากก็แสดงว่าขอ้ จํากัดน้อยซ่ึงก็จะชว่ ยให้เช่ือมโยงกับเร่ือง ต่างๆ และทาํ ใหเ้ กิดความรู้กวา้ งขวางข้นึ 5. ขน้ั ประเมนิ (Evaluation) เป็นการประเมินการเรียนรู้ด้วยกระบวนการต่างๆ ว่า นักเรียน มคี วามรู้อะไรบ้างอยา่ งไรและมากนอ้ ยเพียงใดจากข้นั นจี้ ะนําไปสกู่ ารนําความร้ไู ปประยกุ ต์ใช้ ในเรื่อง อื่น ๆ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้จะช่วยให้นักเรียนเกิดการเรยี นรู้ทั้งเนือ้ หาหลักและหลักการ ทฤษฎีตลอดจนการลงมือปฏิบัติเพื่อให้ได้ความรู้ซึ่งจะเป็นพื้นฐานในการเรียนรู้การนําความรู้หรือ แบบจําลองไปใชอ้ ธิบายหรอื ประยุกต์ใช้เหตกุ ารณห์ รือเร่ืองอื่นๆ จะนําไปสู่ข้อมลู โต้แย้งหรือข้อจํากัด ซึ่งจะก่อให้เป็นประเด็น หรือคําถามหรือปัญหาที่จะต้องสํารวจตรวจสอบต่อไปทําให้เกิดเป็น กระบวนการที่ตอ่ เนอื่ งกนั ไปเรือ่ ยๆ จงึ เรยี กว่า Inquiry Cycle

10 กุณฑรี เพชรทวีพรเดช และคณะ (2551, น.36-38) ได้สรปุ รปู แบบการสอนไว้ 5 ขั้นตอน ขั้นที่ 1 ขั้นสรา้ งความสนใจ (Engagement) เป็นการนําเข้าสู่บทเรยี นซ่งึ อาจเกิดความ สนใจ ความสงสยั จากเหตุการณ์ท่ีกําลงั เกิดขึน้ เป็นการกระต้นุ ใหเ้ กดิ ความสนใจใคร่รู้ นําไปสปู่ ระเด็น ที่จะ ศึกษาค้นควา้ ให้ชดั เจนยง่ิ ขึ้น ขั้นที่ 2 สํารวจและค้นหา (Exploration) เป็นการทําความเข้าใจในประเด็นที่ศึกษาวิธี การศกึ ษาอาจเปน็ การตรวจสอบ การทดลอง การปฏิบัติ การสืบค้นความรู้ เพ่อื ใหไ้ ด้มาซง่ึ ขอ้ มูลอย่าง พอเพยี งในการท่จี ะใชใ้ นข้ันต่อไป ขั้นที่ 3 อธิบายและลงข้อสรปุ (Explanation) เป็นการนําข้อมูลขอ้ สนเทศทีไ่ ด้มา วิเคราะห์ แปลผล สรุปผลและนําเสนอในรูปของภาพวาด ตาราง แผนภูมิ การค้นพบในขั้นนี้อาจเป็น การ สนบั สนุนหรอื โต้แยง้ สมมติฐานก็ได้ ผลท่ีไดส้ ามารถสรา้ งความรู้และช่วยให้เกิดการเรียนรูไ้ ด้ ขน้ั ท่ี 4 ขยายความรู้ (Elaboration) เป็นการนาํ ความรู้ท่ีสร้างขนึ้ ไปเชอ่ื มโยงกับความรู้ เดิม หรือแนวคิดที่ใต้ต้นคว้าเพิ่มเติมหรือนําข้อสรุปไปอธิบายสถานการณ์เหตุการณ์ต่าง ๆ ทําให้เกิด ความร้ทู ่กี ว้างขึ้น ขั้นที่ 5 ประเมิน (Evaluation) เป็นการประเมินการเรียนรู้ด้วยกระบวนการต่าง ๆ ว่ามี ความรู้อะไรบา้ ง รู้มากนอ้ ยเพียงใดและนาํ ไปประยกุ ต์ความร้สู เู่ ร่อื งอืน่ ๆ รูปแบบการสอนแบบกิจกรรมแบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) เป็นการเน้นที่การปฏิบัติของ ผู้เรยี นมากกว่าการสอนในเรื่องหนว่ ยของวัสดรุ อบตวั เรานน้ั ส่วนใหญ่เปน็ การเรียนโดยผูเ้ รียนเป็นผู้ลง มอื ปฏบิ ตั จิ ริง จึงทาํ ให้ผู้วจิ ัยสนใจนาํ รูปแบบการสอนแบบกิจกรรมแบบสบื เสาะหาความรู้ (5E) มาใช้ ในการสอนครง้ั นี้ มขี ้ันตอนดงั น้ี ขน้ั ที่ 1 ขัน้ สร้างความสนใจ (Engagement) เป็นการนาํ เขา้ ส่บู ทเรยี นซง่ึ อาจเกิดความ สนใจ ความสงสยั จากเหตกุ ารณ์ทก่ี ําลังเกิดขึ้น เป็นการกระต้นุ ใหเ้ กติ ิศวามสนใจใครรู้ นําไปสู่ประเด็น ที่จะ ศกึ ษาคน้ ควา้ ใหช้ ัดเจนยิ่งขึ้น ขั้นที่ 2 สํารวจและค้นหา (Exploration) เป็นการทําความเข้าใจในประเด็นที่ศึกษาวิธี การศกึ ษาอาจเปน็ การตรวจสอบ การทดลอง การปฏิบัติ การสืบค้นความรรู้ ว่ มกบั ชดุ กิจกรรม เพ่ือให้ ได้มาซึ่งขอ้ มูลอยา่ งพอเพยี งในการที่จะใช้ในขน้ั ต่อไป ขั้นที่ 3 อธิบายและลงขอ้ สรุป (Explanation) เป็นการนําข้อมูลข้อสนเทศทีไ่ ด้มา วิเคราะห์ แปลผล สรุปผลและนำเสนอในรูปของภาพวาด ตาราง แผนภูมิ การค้นพบในขั้นนี้อาจเป็น การ สนบั สนุนหรือโตแ้ ย้งสมมตฐิ านก็ได้ ผลที่ได้สามารถสร้างความรแู้ ละชว่ ยใหเ้ กิดการเรียนรไู้ ด้ ขนั้ ที่ 4 ขยายความรู้ (Elaboration) เป็นการนาํ ความรู้ที่สร้างขน้ึ ไปเช่ือมโยงกับความรู้ เดิม หรือแนวคิดที่ได้ค้นคว้าเพิ่มเติมหรือนําข้อสรุปไปอธิบายสถานการณ์เหตุการณ์ต่าง ๆ ทําให้เกิด ความร้ทู กี่ ว้างขึ้น

11 ขั้นที่ 5 ประเมิน (Evaluation) เป็นการประเมินการเรียนรู้ด้วยกระบวนการต่าง ๆ ว่ามี ความร้อู ะไรบ้าง รมู้ ากน้อยเพยี งใดและนาํ ไปประยกุ ต์ความรสู้ เู่ รอื่ งอนื่ ๆ ทั้งนี้ผู้วิจัยจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมแบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) ร่วมกับชุด กิจกรรมซึ่งใช้ชุดกิจกรรมบูรณาการในขั้นที่ 2 สํารวจและค้นหา (Exploration) สำหรับเรื่อง วัสดุ รอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 จำนวน 2 แผนการจัดการเรียนรู้ แผนละ 4 ชั่วโมง และชุด กิจกรรมจำนวน 1 ชุด 2.3 ชดุ กิจกรรม ชุดกิจกรรมหรือชุดการสอน ใช้ชื่อเรียกต่างกันแต่มคี วามหมายเหมือนกัน เช่น ชุดการสอน ชุด การเรียนสําเร็จรูป ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ซึ่งเป็นชุดทางสื่อประสม ใช้สื่อต่างๆ หลายชนิดเป็น องคป์ ระกอบ เพื่อก่อใหเ้ กิดความสมบูรณ์ในตัวเองท่ีจัดข้นึ ประกอบสําหรับหน่วยการเรียน การวิจัย ครง้ั นี้ ผู้วจิ ยั ใช้คําว่า ชดุ กจิ กรรม 2.3.1 ความหมายชดุ กิจกรรม ขุดการเรียน (Learning Packages) หรือชุดการสอน (Instructional Packages) เดิมมักใช้คํา ว่าชุด การสอน ชุดการเรียนการสอน บทเรียนสําเร็จรูป บทเรียนโปรแกรม ชุดกิจกรรม เพราะเป็นสื่อท่ี ผู้สอนนํามาใช้ประกอบการสอนดังนั้นผู้ทํากิจกรรมคือ ครู นักเรียนเป็นฝ่ายสงั เกตการณ์และฟัง แต่ ต่อมามีแนวคิดในการจัดการเรียนการสอนที่เน้น ผู้เรียนเป็นสําคัญได้เข้ามามีบทบาทมากขึ้นนัก การศกึ ษาจึงเปลีย่ นมาใช้คําว่าชุดการเรยี น (learning packages) เพราะการเรียนรู้เป็นกิจกรรมของ ผู้เรียนและการสอนเป็นกิจกรรมของครู กิจกรรมของครูและนักเรียนจะต้องเกิดขึ้นคู่กัน (กาญจนา เกียรติประวัติ, 2554) ในการวิจัย ครั้งนี้ผู้วิจัยจึงใช้คําว่าชุดกิจกรรมการเรียนรู้และได้มีผู้ให้ ความหมาย ของชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ ดงั นี้ บุญชม ศรีสะอาด (2551, น.91) กล่าวว่าชุดการสอนเป็นสื่อการเรียนหลายอย่าง ประกอบ กนั เข้าไว้เป็นชุด (Packages) เรียกว่าส่ือประสม (Multi media) เพ่อื มงุ่ ใหผ้ ูเ้ รยี นเกดิ การ เรยี นร้อู ยา่ ง มปี ระสิทธิภาพ สุวิทย์ มูลคํา และอรทัย มูลคํา (2550, น.51) กล่าวว่า ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เป็น กระบวนการเรียนรู้จากขุดกิจกรรมการเรยี นรู้ เป็นสอ่ื การสอนที่เป็นลกั ษณะของสื่อประสม (Multi - media) เปน็ การใชส้ อื่ ตั้งแตส่ องขนดิ ข้ึนไปรว่ มกนั เพื่อให้นักเรยี นได้รบั ความร้ตู ามทต่ี อ้ งการ โดยอาจ จัดข้นึ สาํ หรับหนว่ ยการเรยี น ตามหวั ขอ้ และประสบการณ์ของ แต่ละหน่วยทตี่ อ้ งการที่จะให้นักเรียน ได้เรียนรู้ อาจจัตเอาไว้เป็นชุด ที่อยู่ในกล่อง ซอง หรือกระเป๋า ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แต่ละชุด ประกอบด้วยเนื้อหาสาระ บัตรคําสั่ง ใบงาน วัสดุอุปกรณ์ เอกสาร ใบความรู้ เครื่องมือหรือสื่อท่ี จําเป็นสําหรับจัดกิจกรรมต่างๆ รวมทั้ง แบบประเมินผลการเรียนรู้

12 ไกรฤกษ์ พลพา (2551, น.11 ให้ความหมายของชดุ การเรยี นการเรยี นร้วู ่า หมายถงึ สอ่ื การ เรียนการสอนที่ครูผู้สอนสร้างขึ้นเพื่อนํามาใช้ในกิจกรรมการเรียนการสอนให้ สอดคล้องกับ เนื้อหาวิชาตามจุดประสงค์การเรียนรู้ของหลักสูตร ซึ่งประกอบไปด้วย ชื่อกิจกรรม คู่มือการปฏิบัติ กิจกรรม เน้ือหาสาระ กจิ กรรมการเรยี นรูแ้ ละแบบประเมนิ ผล เพอ่ื เป็นเครือ่ งมือให้นักเรียนได้ศึกษา และปฏิบัติกิจกรรมด้วยตนเอง เพื่อช่วยนักเรียน เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการเรียนรู้ สามารถทํา กิจกรรมรายบุคคลหรือทาํ กจิ กรรมแบบกลุ่มโดยครูเป็นผู้คอยให้คําแนะนํา ช่วยเหลือ ทําให้นักเรยี น เกดิ การเรียนรทู้ ี่มปี ระสิทธิภาพมากทสี่ ุด วรวิทย์ นิเทศศิลป์ (2551 น.269) กล่าวว่า ชุดกิจกรรมการเรียนรู้หรอื ชุดการสอน หมายถึง ระบบการผลิตและนาํ สื่อประสมที่สอดคล้องมาใช้กบั วิชาหรือหน่วยหรือหัวเรื่อง เพือ่ ช่วยให้ เกิดการ เปลย่ี นแปลงพฤตกิ รรมการเรยี นรเู้ ป็นไปอย่างมปี ระสิทธภิ าพยิง่ ขนึ้ Good (1973,0.306, อา้ งถึงใน ไกรฤกษ์ พลพา, 2551 น. 9) กลา่ วว่า ชุดกิจกรรมการ เรยี นรู้ หมายถงึ โปรแกรมการสอนท่ีทกุ อย่างจัดไว้โดยเฉพาะ โดยแตล่ ะ หนว่ ยประกอบดว้ ยวัสดุ อุปกรณ์ท่ี ใช้ในการเรยี นการสอน คมู่ อื เนื้อหา แบบทดสอบ และ มกี ารกําหนดจดุ มุ่งหมายการเรยี น การสอนไว้ ครบถ้วน Kapfer (1972, pp.3-10) ได้ให้ความหมายของชุดการเรียนหรอื ชุดกิจกรรมว่าเปน็ รูปแบบ สื่อสารระหวา่ งครูและนกั เรียน ซึ่งประกอบดว้ ยคาํ แนะนําท่นี ักเรียนได้ทาํ กิจกรรมการเรยี นจน บรรลุ พฤตกิ รรมทีท่ ี่เป็นผลการเรยี นและเนือ้ หาท่จี ะนาํ มาสร้างเป็นชุดกิจกรรมน้นั ไดข้ อบข่ายของ ความรู้ที่ หลักสูตรต้องการให้นักเรียนเรียนรู้เนื้อหาจะต้องตรงและชัดเจนท่ีจะส่ือความหมายให้ผู้เรยี น ได้เกิด พฤตกิ รรมตามเป้าหมายของการเรียน จากความหมายข้างต้นสรุปได้ว่าชุดกิจกรรมการเรียนรู้หมายถึง สื่อการเรียนการสอนท่ี ครูผู้สอนได้ สร้างให้สอดคล้องกับเนื้อหาสาระตามจุดประสงค์การเรียนรู้ของแต่ละกลุ่มสาระการ เรียนรู้ โดยแต่ละชุดซึ่งประกอบด้วย ชื่อกิจกรรม คําชี้แจงการใช้ชุดกิจกรรม บทบาทนักเรียน จุดประสงค์การเรียนรู้ แบบทดสอบก่อนเรียน เนื้อหากิจกรรม กิจกรรม แบบทดสอบหลังเรียน สําหรับจัดการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์เรื่องวัสดุรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เพื่อให้ นักเรียนได้ศึกษาและปฏิบัติกิจกรรมด้วยตนเองตามความสามารถของนักเรียนทั้งด้านความรู้ด้าน ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 2.3.2 ประเภทของชดุ กิจกรรม สาโรจน์ โศภริ ักข์ (2550, น. 137 -138) ประเภทของชดุ กิจกรรมมี 4 รปู แบบ ดงั น้ี 1. ชุดการสอนรายบุคคล เป็นชุดสื่อประสมที่พัฒนาขึ้นเพื่อให้ผู้เรียนศึกษาด้วย ตนเองจาก แหล่งความรูใ้ นรูปของสือ่ ตา่ ง ๆ ในสถานการณ์ และสภาพแวดล้อมที่จดั ไวเ้ ป็นระบบ โดย เรียนเปน็

13 ขั้นตอน และแต่ละขั้นก็ต้องมี Interaction ระหว่างผู้สอนกับสื่อ และผู้เรียนก็จะทราบผล การเรียน ของตนเองทันที 2. ชุดการสอนประกอบคําบรรยาย เป็นชุดการสอนที่ออกแบบไว้อย่างเป็นระบบ เพื่อให้ ผู้สอนได้ใช้ประกอบการสอน โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการสอนให้ดีข้ึน เพราะชุด การสอนประกอบคําบรรยายจะมีรายละเอียดขั้นตอน มีวัสดุอุปกรณ์ และแบบวัดประเมิน ไว้ เรียบรอ้ ยแลว้ ผูส้ อนเพยี งดาํ เนนิ การตามขัน้ ตอนท่ีกาํ หนดไวเ้ ทา่ น้นั 3. ชุดการสอนสําหรับกิจกรรมกลุ่ม ชุดการสอนแบบนี้มุ่งที่จะให้ผู้เรียนเรียนรู้ โดย ทํา กจิ กรรมโดยจัดเปน็ รปู แบบศนู ย์การเรยี น ซ่ึงในชดุ การสอนกจ็ ะระบุวตั ถปุ ระสงค์ แนวศิต เนื้อหา ส่ือ แบบวัดและประเมินที่แบ่งเปน็ จุดย่อย ๆ ตามลักษณะของศนู ย์การเรยี น ซึ่งจะแบ่งตาม วัตถุประสงค์ ของบทเรียนหรือแบง่ ตามกจิ กรรมการเรยี นจากชดุ การสอนแบบกลุ่มหรือศูนย์การเรยี น นั้น จะเป็น การดําเนินกิจกรรมของผู้เรียนเอง ผู้สอนเป็นเพียงผู้คอยดูแลและประเมินภายหลัง จาก การเรียน ท้ังหมดแล้วเท่านน้ั 4. ชุดการสอนทางไกล เป็นขุดการสอนรายบุคคลหรือสื่อประสมที่ให้ผู้เรียนได้ เรียนรู้ด้วย ตนเองในระบบการจัดการเรียนการสอนทางไกล ทั้งนี้ผู้เรียนต้องศึกษาเรียนรู้จากสื่ออื่น ๆ ประกอบด้วย เช่น วทิ ยุ โทรทัศน์ ฯลฯ สุวิทย์ มูลค่า และอรทัย มูลค่า (2550 น. 52-53) ชุดการสอนที่ใช้กันอยู่แบ่งออกได้ เป็น 3 ประเภทใหญ่ คอื 1. ชุดการสอนประกอบคําบรรยายของครูเป็นชุดการสอนสําหรับผู้เรียนกลุ่มใหญ่ หรือเป็น การสอนท่ีมงุ่ เนน้ การปูพน้ื ฐานใหท้ กุ คนรับรูแ้ ละเขา้ ใจในเวลาเดียวกัน มงุ่ ในการขยาย เน้ือหาสาระให้ ชัดเจนยิ่งขึ้น ขุดการสอนแบบนี้ลดเวลาในการอธิบายของผูส้ อนให้พูดนอ้ ยลง เพิ่ม เวลาให้ผู้เรียนได้ ปฏิบัติมากขึ้น โดยใช้ สื่อที่มีอยู่พร้อมในชุดการสอนในการนําเสนอเนื้อหาต่างๆ สิ่ง สําคัญคือสื่อที่ นาํ มาใช้จะต้องให้ผเู้ รียนไดเ้ หน็ ชดั เจนทุกคนและมโี อกาสไดใ้ ชค้ รบทกุ คนหรอื ทกุ กลุม่ 2. ชุดการสอนแบบกลุ่มกิจกรรม หรอื ขดุ การสอนสําหรบั การเรียน เป็นกลุ่มย่อย เปน็ ชุดการ สอนสําหรบั ให้ผู้เรยี นเรียนร่วมกันเปน็ กลุม่ ย่อย ประมาณกลมุ่ ละ 4-8 คน โดยใช้สื่อการ สอนตา่ งๆ ที่ บรรจุไว้ในชุดการสอนแต่ละชุด มุ่งที่จะฝึกทักษะในเน้ือหาวิชาที่เรียนโดยให้ผู้เรยี นมี โอกาสทํางาน ร่วมกัน ชดุ การสอนชนดิ นี้มักจะใชใ้ นการสอนแบบกจิ กรรมกลมุ่ เช่น การสอนแบบศูนย์ การเรยี นการ สอนแบบกลมุ่ สมั พนั ธ์ เปน็ ตน้ 3. ชุดการสอนรายบุคคลหรือชุดการสอนตามเอกัตภาพ เป็นการสอนสําหรับเรียน ด้วย ตนเองเปน็ รายบุคคล คอื ผเู้ รยี นจะต้องศกึ ษาหาความร้ตู ามความตอ้ งการและความสนใจของ ตนเอง อาจจะเรียนที่โรงเรียนหรือที่บ้านก็ได้ จุดประสงค์หลัก คือมุ่งให้ทําความเข้าใจกับเนื้อหา เพิ่มเติม

14 ผู้เรียนสามารถประเมินผลการเรียนด้วยตนเอง ชุดการสอนชนิดนี้ส่วนใหญ่จัดในลักษณะของ หน่วย การสอนย่อยหรอื โมดลู ตัวอยา่ ง เชน่ ชดุ วชิ าตา่ งๆ ของมหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช สุคนธ์ สินธพานนท์ (2551 น. 16-17) ชดุ การเรียนการสอนสามารถจัดทําใต้ 4 รูปแบบ 1. ชุดการเรียนการสอนสําหรับครูผู้สอน เป็นชุดการสอนที่ครูใช้ประกอบการสอน ประกอบด้วยคู่มือครู สื่อการสอนที่หลากหลาย มีการจัดกิจกรรมและสื่อการสอนประกอบ การ บรรยายของครผู ู้สอน ชุดการเรียนการสอนนีม้ เี นือ้ หาสาระวชิ าเพยี งหนว่ ยเดียวและใช้กับ ผู้เรียนทั้ง ขน้ั แบ่งเป็นหวั ข้อที่จะบรรยาย มกี ารกําหนดกจิ กรรมตามลาดบั ข้ัน 2. ชุดการเรียนการสอนสําหรับกิจกรรมกลุ่มเป็นชุดการเรยี นการสอนทีใ่ ห้ผู้เรียน ได้ ศึกษา ความรู้รว่ มกนั โดยปฏบิ ตั ิกิจกรรมตามขน้ั ตอนตา่ งๆ ที่กําหนดไว้ในชดุ การเรียนการสอน หรอื อาจจะ เรียนรู้ชุดการเรียนการสอนในศูนย์การเรียน กล่าวคือในแต่ละศนู ย์การเรียนรู้ จะมีชุดการเรียน การ สอนในแต่ละหวั ข้อยอ่ ยของหน่วยการเรียนรู้ท่ีให้ผู้เรียนศึกษา ผูเ้ รยี นแตล่ ะกลุม่ จะหมุนเวียน ศึกษา ความรู้และทํากจิ กรรมของชดุ การสอนจนครบทุกศูนยก์ ารเรียนรู้ 3. ชุดการเรียนการสอนรายบุคคล เป็นชุดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ให้ผู้เรียน ศึกษา ความร้ดู ้วยตนเอง ผู้เรียนจะเรยี นรตู้ ามข้ันตอนท่กี าํ หนดไว้ในชุดการเรยี นการสอนซ่ึงสามารถศึกษาได้ ทัง้ ในหอ้ งเรียนและนอกห้องเรียน และเมอื่ ศึกษาจนครบตามลาํ ดับขัน้ แล้วผ้เู รียนสามารถประเมินผล การเรียนร้ขู องตนเองไดด้ ว้ ยตนเอง 4. ชุดการเรียนการสอนแบบผสม เป็นชุดการเรียนการสอนที่มกี ารจัดกิจกรรม หลากหลาย บางขั้นตอนผู้สอนอาจใช้วิธีการบรรยายประกอบการใช้สื่อ บางขั้นตอนผู้สอนอาจให้ ผู้เรียนศึกษา ความรดู้ ้วยตนเองเปน็ รายบคุ คล และบางขั้นตอนอาจใหผ้ เู้ รยี นศึกษาความรจู้ ากขุดการ เรยี นการสอน โดยใช้กิจกรรมกลุ่ม เปน็ ต้น จากท่ศี กึ ษาเอกสารเก่ยี วกับประเภทของชดุ กจิ กรรม สรุปไดว้ ่า ชดุ กจิ กรรมแบ่งตามลักษณะ การใช้งาน เช่น ชุดการสอนรายบุคคล ชดุ การสอนประกอบคาํ บรรยาย ขดุ การสอนกจิ กรรมกลุม่ และ ชุดการสอนทางไกล ซึ่งผู้วจิ ัยไดเ้ ลอื กสร้างขุดกิจกรรมประเภทประกอบคาํ บรรยายท่มี งุ่ เน้นลดเวลาใน การอธิบายของผู้สอนให้พูดน้อยลง เพิ่มเวลาให้ผู้เรียนได้ปฏบิ ตั ิมากขึน้ โดยใช้ สื่อที่มอี ยู่พรอ้ มในชุด การสอนในการนําเสนอเนือ้ หาต่างๆ สิ่งสําคัญคือสื่อที่นํามาใช้จะต้องให้ผู้เรียนได้เห็นชัดเจนทุกคน และมีโอกาสไดใ้ ช้ครบทุกคนหรอื ทกุ กลุ่ม 2.3.3 องคป์ ระกอบของชดุ กจิ กรรม ชุดกิจกรรมมีองค์ประกอบที่แตกต่างกันตามที่มีนักการศึกษาหลายท่านได้กล่าวถึง องค์ประกอบของชุดกิจกรรมไวด้ ังน้ี วาสนา ชาวหา (2551, น.34 - 34) กล่าวถึงองคป์ ระกอบของชุดกิจกรรมไว้ ดังน้ี

15 1. คําชี้แจง (Prospectus) อธิบายถึงความสําคัญของจุดมุ่งหมาย ขอบข่ายในส่วนชุด กิจกรรมสง่ิ ท่ผี ู้เรียนจะตอ้ งรูก้ อ่ นและขอบขา่ ยของกระบวนการเรียนทัง้ หมดในชุด กจิ กรรม 2. จุดมุ่งหมาย (Objectives) คือข้อความที่แจ่มชัดและไม่กํากวมที่ กําหนดว่า ผู้เรียนจะ ประสบความสําเรจ็ อะไรหลงั จากเรียนแลว้ 3. การประเมินผลเบื้องตน้ (Pre- Assessmentมีวัตถุประสงค์ 2 ประการ คือ เพื่อให้ทราบ ว่าผเู้ รียนอย่ใู นระดบั ใดในการเรยี นการสอนน้ันและเพ่อื ดูว่าสมั ฤทธิ์ผลตาม ความมงุ่ หมายเพยี งใดการ ประเมินผลเบื้องต้นนี้อาจอยู่ในรูปของการทดสอบแบบข้อเขียนปาก เปล่า การทํางานปฏิกิริยา ตอบสนองหรือคําถามงา่ ยๆเพื่อใหร้ ้ถู งึ ความต้องการและความสนใจ 4. การกําหนดกิจกรรม (Enabling Activities) คือการกําหนด แนวทางและวิธีเพื่อไปสู่ จดุ หมายที่ต้งั ไว้โดยใหผ้ ู้เรียนได้มสี ่วนร่วมในกิจกรรมน้ันด้วย 5. การประเมินผลขน้ั สดุ ท้าย (Post- Assessment) เป็นข้อสอบเพอ่ื วัตผล หลงั การเรียน ทิศนา แขมมณี (2550, น.10 - 12) กลา่ ววา่ ขุดกิจกรรมประกอบดว้ ยสว่ น ตา่ งๆ ดังน้ี 1. ชื่อกิจกรรมประกอบดว้ ยหมายเลขกจิ กรรมช่อื ของกจิ กรรมและเน้ือหา 2. คําชี้แจงเป็นส่วนที่อธิบายความมุ่งหมายหลักของกิจกรรมและลักษณะของการ จัด กจิ กรรมเพอ่ื ให้บรรลจุ ดุ มุง่ หมาย 3. จุดมุ่งหมายเป็นส่วนที่ระบุจุดมุ่งหมายที่สําคัญของกิจกรรมนั้นแนวคิด เป็นส่วนที่ ระบุ เนื้อหาหรือมโนทศั น์ของกจิ กรรมน้นั ส่วนนี้ควรไดร้ ับการย้ำและเนน้ เปน็ พเิ ศษ 4. สื่อเป็นส่วนที่ระบุถึงวัสดุอุปกรณ์ที่จําเป็นในการดําเนินกิจกรรมเพ่ือช่วยให้ครู ทราบว่า ตอ้ งเตรยี มอะไรบ้าง 5. เวลาท่ใี ชเ้ ป็นการระบจุ ํานวนเวลาโดยประมาณวา่ กจิ กรรมนัน้ ควรใช้เวลา เทา่ ใด 6. ขั้นตอนในการดําเนินกิจกรรมเปน็ ส่วนที่ระบุวิธีการดําเนินกิจกรรม เป็น ขั้นตอนเพื่อให้ บรรลุตามวตั ถปุ ระสงคท์ ต่ี งั้ ไว้ 7. ภาคผนวกในส่วนนี้คือตัวอย่างวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการจัดกิจกรรมและ ข้อมูล อื่น ๆ ท่ี จาํ เป็นสําหรบั ครูรวมท้งั เฉลยแบบทดสอบ กรรณิกา ไผทฉนั ท์ (2550 น. 83 - 84) ได้จัดทําชุดกจิ กรรมส่ิงแวดล้อม มี ส่วนประกอบ ดงั นี้ 1. ชอ่ื กิจกรรมเป็นสว่ นทีร่ ะบชุ ่ือเนือ้ หาการเรยี น 2. คาํ ช้แี จงเปน็ สว่ นทีอ่ ธิบายการใชช้ ุดกจิ กรรมเพือ่ ใหบ้ รรลุจดุ มงุ่ หมายทว่ี างไว้ 3. จดุ ประสงคเ์ ป็นส่วนทร่ี ะบเุ ป้าหมายท่ีนกั เรียนตอ้ งบรรลผุ ลหลงั การปฏิบตั ิ กิจกรรม 4. เวลาที่ใชเ้ ปน็ สว่ นท่รี ะบเุ วลาในการเรยี นชุดกจิ กรรมนั้นๆ 5. สื่อเป็นส่วนทร่ี ะบุถึงวัสดอุ ปุ กรณท์ ใี่ ชใ้ นการดาํ เนนิ การกบั ชดุ กิจกรรม 6. เนอ้ื หาเป็นรายละเอียดทีต่ ้องการใหผ้ ู้เรยี นทราบ

16 7. กจิ กรรมเป็นส่วนท่นี ักเรยี นปฏบิ ัตติ ามขนั้ ตอนที่กาํ หนดไวใ้ นชุดกิจกรรม จากองค์ประกอบของชุดกิจกรรมขา้ งตน้ สรปุ ไดว้ า่ ชดุ กจิ กรรมมอี งคป์ ระกอบทค่ี ลา้ ยคลึงกัน คือ มีคู่มือการใช้ชุดกิจกรรม คําชี้แจง จุดมุ่งหมาย เนื้อหากิจกรรมการเรียน สื่อกรสอนและ ประเมินผล ชื่อหน่วย ชื่อกิจกรรม จุดประสงค์ การทดสอบก่อนเรียน การทอสอบย่อยหรือใบงาน กิจกรรม การทดสอบหลังเรียน สําหรับการวิจัยครั้งนี้ได้ปรับปรุงองค์ประกอบของชุดกิจกรรมเพ่ือ ความเหมาะสมในการนาํ ไปใช้ ประกอบด้วย คู่มือการใช้ชุดกิจกรรม ชื่อชุดกิจกรรม คําชี้แจงการใช้ ชุดกิจกรรม บทบาทนักเรียน จุดประสงค์การเรียนรู้ แบบทดสอบก่อนเรียน เนื้อหา กิจกรรม แบบทดสอบหลังเรยี น 2.3.4 หลักในการสรา้ งชุดกิจกรรม การสร้างชุดกจิ กรรมผู้สร้างต้องรู้ถึงหลักการสรา้ งชุดกิจกรรมวา่ จะต้องมีวิธีการ ดําเนินการ อยา่ งไรซงึ่ ไดม้ นี กั การศึกษาหลายท่านได้เสนอหลักการสรา้ งชุดกจิ กรรมไว้ดงั น้ี ชยั ยงค์ พรหมวงศ์ (2551, น.123) ได้กลา่ วถึงหลกั ในการสร้างชดุ กจิ กรรม ไวด้ งั นี้ 1. กําหนดหมวดหมู่เนือ้ หาและประสบการณ์ โดยกําหนดเปน็ หมวดหมู่ วิชาหรือ บรู ณาการ 2. กาํ หนดหนว่ ยการเรยี น แบง่ เนื้อหาวชิ าออกเปน็ หนว่ ยการเรียน 3. กาํ หนดหวั เรอ่ื งในการสอน แต่ละหนว่ ยควรแบ่งประสบการณ์ ออกเปน็ 4-6 หัวเรอ่ื ง 4. กาํ หนดความคดิ รวบยอดและหลกั การ สรปุ แนวคิด สาระ และ หลักเกณฑ์สาํ คัญไว้ 5. กาํ หนดวัตถปุ ระสงคใ์ หส้ อดคล้องหัวเรือ่ ง โดยเขยี นวตั ถปุ ระสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม 6. กาํ หนดกจิ กรรมการเรยี นใหส้ อดคลอ้ งกับวตั ถุประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม 7. กาํ หนดแบบประเมนิ ผล ตอ้ งประเมนิ ตรงกบั วตั ถุประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม 8. เลอื กและผลติ ส่อื การเรยี น วิชัย วงศ์ใหญ่ (2551, น.189 192) ได้เสนอขั้นตอนในการสร้างชุดกิจกรรมไว้ 10 ขั้นตอน ดังน้ี 1. ศึกษาเนอื้ หาสาระของวชิ าทัง้ หมดอย่างละเอียตวา่ ส่ิงท่ีเรานํามาทาํ เปน็ ชดุ กิจกรรมนั้นจะ มุ่งเน้นให้เกิตหลักการของการเรยี นรู้อะไรบ้างให้กับผูเ้ รียนนวิชาที่ไดท้ ําการศึกษา วิเคราะห์แล้วมา แบ่งเปน็ หน่วยของการเรยี นการสอนในแตล่ ะหนว่ ยน้ันจะมหี วั เรอื่ งย่อยๆรวมอยู่อีกที่ เราจะตอ้ งศกึ ษา พิจารณาให้ละเอียดชัดเจนเพื่อไม่ให้เกิดการซ้ำซ้อนใน หน่วยอื่นๆ และควรคํานึงถึง การแบ่งหน่วย ของการเรียนการสอนของแต่ละวิชานน้ั ควรจะ เรียงลําดบั ขน้ั ตอนของเนอ้ื หา สาระสําคญั ให้ถกู ตอ้ งว่า อะไรเป็นสิ่งจําเป็นที่ผู้เรียนจะต้องเรียนรู้ก่อนอันเป็นพื้นฐานตามขั้นตอนของ ความรู้และลักษณะ ธรรมชาติในวิชานัน้

17 2. เมื่อศึกษาเน้ือหาสาระและแบ่งหน่วยการเรียนการสอนได้แล้วจะต้อง พิจารณา ตัดสินใจ อีกครั้งว่าจะทําชุดการสอนแบบใด โดยคํานึงถงึ ข้อกําหนดว่าผู้เรียนคือใคร จะให้อะไรกับ ผู้เรียนจะ ทํากิจกรรมอย่างไรและจะทาํ ไดด้ ีอยา่ งไรสิง่ เหล่านี้จะเปน็ เกณฑใ์ นการกําหนดการเรียน 3. กําหนดหน่วยการเรยี นการสอนโดยประมาณเนือ้ หาสาระทเ่ี ราจะสามารถ ถ่ายทอดความรู้ แก่นักเรียนหาสื่อการเรียนได้ง่าย พยายามศึกษาวิเคราะห์ให้ละเอียดอีกครัง้ หนึ่งว่า หน่วยการเรยี น การสอนน้ีมหี ลักการหรือความคิดรวบยอตอะไรและมหี ัวข้อเรื่องย่อยๆ อะไรอกี ที่ รวมกนั อยู่ในหน่วย นี้ 4. กําหนดความคิดรวบยอดต้องกําหนดให้สอดคล้องกับหน่วยและหัวเรื่องโดยสรุป แนวความคิดสาระและหลักเกณฑ์ที่สําคัญเพื่อเป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียน การสอนให้ สอดคล้องกัน 5. จุดประสงค์การเรียนต้องกําหนดให้สอดคล้องกับความคิดรวบยอด โดยกําหนด เป็น จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม 6. การวเิ คราะหง์ านคือการนําจดุ ประสงค์การเรียนแต่ละข้อมาทําการ วิเคราะห์งาน เพ่ือหา กิจกรรมการเรียนการสอนแล้วจัดลําดับกิจกรรมการเรียนให้เหมาะสม ถูกต้องสอดคล้องกับ จุดประสงคท์ ก่ี าํ หนดไว้ในแตล่ ะข้อ 7. เรียงลําดับกิจกรรมการเรียนเพื่อให้เกิดการประสานกลมกลืนของการเรียนการ สอน จะต้องนํากิจกรรมการเรียนของแต่ละข้อที่ทําการวิเคราะห์งานและเรียงลําดับ กิจกรรมไว้ทั้งหมด นํามาหลอมรวมกิจกรรมการเรียนขัน้ ทสี่ มบรู ณท์ ี่สดุ เพื่อไมใ่ ห้เกิดการ ซ้ำซ้อนในการเรยี น โดยคาํ นึงถงึ พฤตกิ รรมพนื้ ฐานของผู้เรียนวธิ ีดําเนินการสอนตลอดจนการ ติดตามผลและการประเมินพฤติกรรมที่ ผ้เู รียนแสดงออกมาเมื่อมกี ารเรียนการสอนแลว้ 8. สอื่ การเรียนคือวสั ดอุ ุปกรณ์และกจิ กรรมการเรยี นท่ีผสู้ อนและผูเ้ รียน จะต้อง กระทําเพื่อ เป็นแนวทางในการเรียนรซู้ ่ึงผ้สู อนจะต้องจัดทาํ ขึ้นและจัดหาไวใ้ ห้เรยี บรอ้ ย ถา้ สอ่ื การ เรียนเปน็ ของท่ี ใหญ่โตหรือมคี ณุ ค่าทตี่ ้องจัดเตรยี มมาก่อนจะตอ้ งเขยี นบอกไวใ้ ห้ ขดั เจนในคมู่ อื ผูส้ อน เกี่ยวกับการใช้ ชุดการสอนวา่ จะตอ้ งจดั หาใต้ ณ ทีใ่ ด 9. การประเมนิ ผลคอื การตรวจสอบดูว่าหลังจากการเรียนการสอนแลว้ ไดม้ กี าร เปลย่ี นแปลง พฤติกรรมตามที่จุดประสงค์การเรียนกําหนดไว้หรือไม่การประเมินผลนี้จะใช้ วิธีการใดก็ ตามแต่ จะต้องสอดคล้องกบั จดุ ประสงค์การเรียนทเ่ี ราตั้งไว้ 10. การทดลองใช้ชดุ กิจกรรมเพอ่ื หาประสิทธิภาพการหาประสิทธิภาพของชุด กิจกรรมเพ่ือ ปรับปรุงให้เหมาะสมควรนําไปใช้กับกลุ่มเล็กๆ ดูก่อนเพื่อตรวจสอบหา ข้อบกพร่องและ แก้ไข ปรับปรงุ อย่างดีแลว้ จึงไปทดลองใช้กับกลมุ่ ใหญ่หรือทัง้ ช้ัน

18 จาการศกึ ษาข้างต้นสรปุ ได้วา่ หลักในการสรา้ งชดุ กิจกรรมควรมกี ารวางแผนกําหนด ข้ันตอน การสร้างชุดกิจกรรมไว้อย่างเป็นระบบโดยมีการทดสอบก่อนเรียน จุดประสงค์ กําหนดเนื้อหา กิจกรรม การทดสอบหลงั เรยี น 2.3.5 การใช้ชดุ กจิ กรรม เพ่ือใหก้ ารใชช้ ดุ กิจกรรมการเรียนรู้ในการเรยี นการสอนประสบความสําเรจ็ ตาม ความมุ่งหวัง วัฒนาพร ระงบั ทุกข์ (2550, น.91 - 92] ไดก้ ล่าวถงึ ขัน้ ตอนการนําชดุ กิจกรรม การเรียนรู้ไป ใช้ในการเรียนการสอน ดงั น้ี 1. การทดสอบก่อนเรียนเพอื่ ดูพฤตกิ รรมเบ้อื งต้น อันเปน็ พน้ื ฐานการเรยี นรู้ของนกั เรียน 2. ขั้นนําเข้าสู่บทเรียน เนื่องจากการนําเข้าสู่บทเรียนเป็นการสร้างแรงจูงใจให้ นักเรียน กระตือรือร้น มีความต้องการที่จะเรียน ซึ่งขึ้นอยู่กับเทคนิคของผู้สอนด้วยในการที่ จะนําเข้าสู่ บทเรียนให้เข้าใจ 3. ชั้นประกอบกจิ กรรม ครตู อ้ งอธิบายใหน้ กั เรียนเข้าใจการทํากิจกรรม กอ่ นลงมือ อน 4. สรุปบทเรียน ครูจะเป็นคนนําในการสรุปบทเรียน ซึ่งอาจทําได้โดยการถามหรือ ให้ นักเรียนเล่าสรุปความเขา้ ใจ หรือทํากิจกรรมอืน่ ที่ทาํ ใหแ้ น่ใจว่า นักเรียนรู้มโนมติ หรือความคิดรวบ ยอดหรอื หลกั การตามทกี่ าํ หนด 5. ประเมนิ การเรยี น โดยการทําขอ้ สอบอีกคร้งั เพื่อประเมนิ วา่ นักเรยี นบรรลุตาม จุดประสงค์ ท่ีกาํ หนดไวห้ รือไม่ เพอ่ื จะไดป้ รบั ปรงุ แก้ไขข้อบกพรอ่ งของนกั เรยี นใน สุวิทย์ มูลคํา และอรทัย มูลคํา (2550, น.56) กล่าวว่า การใช้ชุดกิจกรรม การเรียนรูจ้ ะ ใช้ ตามประเภทและจุดประสงคท์ ่ีทาํ ข้ึน มีข้นั ตอนโดยสรุป ดงั นี้ 1. ขั้นทดสอบก่อนเรยี นให้นักเรยี นทดสอบก่อนเรียนเพื่อพิจารณาพื้น ฐานความรู้ เดิมของ นักเรียนอาจใช้เวลา 10 - 15 นาที่และควรเฉลยผลการทดสอบให้นักเรียน แต่ละคนทราบพื้น ฐานความรู้ของตน 2. ขั้นนําเข้าสู่บทเรียน เพื่อเป็นการสร้างแรงจูงใจให้นักเรียนเกิดความกระตือรือร้น ที่จะ เรียน 3. ขันประกอบกิจกรรมการเรียน ผู้สอนจะต้องชี้แจงหรืออธิบายให้ นักเรียนเข้าใจ อย่าง ละเอยี ดทกุ ขั้นตอนก่อนลงมอื ทํากิจกรรม 4. ขั้นสรปุ บทเรยี น ผสู้ อนนสรปุ บทเรียนซึ่งอาจทําไดโ้ ดยการถามหรือใหน้ กั เรียน สรุปความ เขา้ ใจของสาระที่ได้จากการเรียนร้เู พอื่ ใหแ้ น่ใจว่านกั เรียนมคี วามคดิ รวบยอดตามหลักการท่ี กาํ หนด 5. การประเมินผลการเรยี น โดยการทาํ ขอ้ สอบหลังเรยี นเป็นการประเมินดูวา่ นักเรียนบรรลุ ตามจุดประสงค์หรอื ไม่ เพ่อื ปรบั ปรงุ แกไ้ ขขอ้ บกพรอ่ ง

19 จากการศึกษาข้างต้นสรุปได้ว่า ขุดกิจกรรมมีขั้นตอนการใช้ชุดกิจกรรมตามล้าดับ ขั้นตอน ดงั นี้ ข้ันทดสอบก่อนเรยี น ชนั้ นาํ เขา้ บทเรยี น ชนั้ ประกอบกจิ กรรมการเรียน ขน้ั สรปุ บทเรียน และข้ัน ประเมินผลการเรยี น ทั้งนี้ผู้วิจัยได้จัดทําชุดกิจกรรมเป็นสื่อการเรียนการสอนที่มีความหลากหลายที่ครูผู้สอนได้ สร้างใหส้ อดคลอ้ งกบั เนอื้ หาสาระตามจุดประสงค์การเรยี นรขู้ องแตล่ ะกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ โดยแต่ละ ขุดซึ่งประกอบด้วย ชื่อกิจกรรม คำชี้แจงสำหรับนักเรียน จุดประสงค์การเรียนรู้ประจำชุดกิจกรรม แบบทดสอบก่อนเรยี น ใบความรู้ ใบงาน ใบกิจกรรม แบบบันทึกกิจกรรม แบบทดสอบหลงั เรยี น 2.4 แผนการจดั กาเรียนรู้ 2.4.1 ความหมายแผนการจัดการเรยี นรู้ วิมลรัตน์ สุนทรโรจน์ (2550, น.106-107) ความหมายของแผนการสอน หรือแผนการ จัดการเรียนรู้ไว้ว่า แผนการจัดการเรียนรู้ คือ แผนการจัดกิจกรรมการเรียน การจัดการการวัดผล ประเมินผลให้สอดคล้องกับเนื้อหาและจุดประสงค์ที่กําหนดไว้ใน หลักสูตร หรือกล่าวอีกนัยหน่งึ ว่า แผนการจัดการเรียนรู้เป็นแผนที่ผู้จัดการเรียนรู้จัดทําขึ้น จากคู่มือ หรือแนวการจัดการเรียนรู้ของ กรมวิชาการทําให้ผู้จัดการเรียนรู้ทราบวา่ จะจัดการเรียนรู้เน้ือหาใด เพื่อจุดประสงคใ์ ดจัดการเรยี นรู้ อยา่ งไร ใชส้ ่ืออะไรและวดั ผลประเมินผล โดยวธิ ีใด พรพิมล พรรชนม์ (2550, น.220) การวางแผนการจัดการเรียนรู้ เป็นการเตรียม กิจกรรม และขอ้ มูลท่จี ะต้องใช้ในการสอนของผู้สอนลว่ งหนา้ อย่างเปน็ ลาย ลกั ษณ์อกั ษรจาก การศึกษาค้นคว้า ความหมายแผนการเรยี นร้จู ากเอกสารตา่ ง ๆ อาภรณ์ ใจเที่ยง (2553, น.213) แผนการจัดการเรียนรู้คือแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การใช้สื่อการเรียนรู้ และการวัดการประเมินผลที่สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้และจุดประสงค์การ เรียนรู้หรอื ผลการเรยี นร้ทู ค่ี าดหวงั ที่กําหนดไว้ในหลักสูตร ไสว ประภาศรี (2553, น. 223) กล่าวว่า แผนการจัดการเรียนรู้ หมายถึง การวางแผน ออกแบบการเรียนรู้ไว้ล่วงหน้าว่าจะสอนอะไร สอนอย่างไร ใช้อะไรเป็นสื่อ มีขั้นตอนอย่างไร ใช้ ทักษะ กระบวนการใด เวลาเท่าไหร่ สอนแล้วเกิดอะไรกับนักเรียนและวัดประเมินอย่างไร ซ่ึง ผ้อู อกแบบตอ้ ง ใชศ้ าสตรก์ ารสอน หลักจติ วิทยาให้เหมาะสมกับวยั และลกั ษณะของเนอ้ื หา ธนาธปิ พรกุล (2557 น. 355) กล่าวว่า แผนการจดั การเรยี นรู้ หมายถงึ เอกสารทาง วชิ าการ ทค่ี รจู ัดทาํ ลว่ งหนา้ อย่างเปน็ ระบบ เพอ่ื ใชใ้ นการจัดการเรียนการสอน ประกอบด้วยรายการ กจิ กรรม ทผ่ี ้เู รยี นและครูร่วมกนั ทําตามลําดับในชว่ งเวลาหน่ึง มีจุดมงุ่ หมายให้ผู้เรยี นเรียนรดู้ ้วยความ สะดวก และสนกุ กับการเรยี น

20 จากความหมายข้างต้นสรุปได้ว่า แผนการจัดการเรียนรู้ คือ การวางแผนการเรียนการสอน ไว้ล่วงหนา้ เป็นการ กําหนดรปู แบบของบทเรียน เพื่อเปน็ แนวทางในการดําเนนิ กิจกรรมการเรียนรู้ใน แผนการจัดการเรยี นรู้จะแสดงสาระสําคัญ สมรรถนะสาํ คัญของผู้เรียน จุดประสงค์ สาระการเรียนรู้ ทกั ษะกระบวนการ คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ ชน้ิ งาน กระบวนการเรยี นรู้ สื่อ/แหลง่ การเรียนรู้ การ วัดผลประเมินผล เพื่อช่วยให้ครู พัฒนาการจัดการเรียนการสอนไปสู่จุดมุ่งหมายการเรียนรู้และ จดุ มงุ่ หมายของหลกั สตู ร อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ 2.4.2 องคป์ ระกอบของแผนการจดั การเรียนรู้ นักวิชาการ ทั้งชาวต่างประเทศชาวไทยมีแนวคิดเกี่ยวกับองค์ประกอบ ของแผนการจดั การ เรียนคล้ายคลึงกันในองค์ประกอบหลัก แต่แตกต่างกันออกไปในบางประเด็น ซึ่งควรมีองค์ประกอบ สาํ คัญ ดงั น้ี พรพิมล พรพีรชนม์ (2550, น.221) สรปุ ไว้วา่ องค์ประกอบของแผนการจดั การเรียนรู้ 1. ระดับช้นั ที่สอน 2. รายวชิ า หนว่ ยการเรยี นรทู้ ส่ี อน เร่ืองท่ีสอนและสาระสําคญั (ความคิดรวบยอด ของเร่ือง) 3. ผลการเรียนรทู้ ่คี าดหวัง แสะ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 4. เนอ้ื หาสาระการเรียนรู้ 5. กจิ กรรมการเรียนรู้ 6. สือ่ การเรยี นรแู้ หลง่ การเรียนรู้ 7. การวัดและประเมนิ ผล นอกจากองค์ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้ทั้ง 7 ประการแล้ว ผู้สอน อาจเพิ่ม องค์ประกอบอื่นได้ตามความเหมาะสม เช่น บันทึกผลการจัดการเรียนรู้ ปัญหาและข้อเสนอแนะใน การใช้แผน เปน็ ต้น วัฒนาพร ระงับทุกข์, 2550, น.70-71 สรุปไว้ว่า องค์ประกอบของแผนการจัดการ เรียนรู้มี ดังนี้ 1. หัวเรอ่ื ง (Heading) 2. สาระสําคัญ (Concept) 3. จุดประสงค์การเรยี นรู้ (Objective) 4. เนอื้ หาสาระ (Content) 5. กจิ กรรมการเรียนรู้ (Activities) 6. สอื่ การเรียนรู้ (Material and Media) 7. การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ (Assessment)

21 ในการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้ ผู้สอนมีอสิ ระในการออกแบบแผนการจัดการเรียนร้ขู อง ตนเอง ซึ่งมีได้หลากหลายรูปแบบ แต่อย่างไรก็ตาม ผู้สอนควรปฏิบัติตามนโยบายของโรงเรียนที่ กําหนดไว้ให้ใช้รปู แบบใด ถ้าโรงเรียนมิไดก้ ําหนดรูปแบบไว้ จึงเลือกแบบที่ตนเอง เห็นว่าสะดวกต่อ การนาํ ไปใช้ จากความหมายข้างต้นสรุปได้ว่า องค์ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้ มีดังนี้ หัวเรื่อง สาระสาํ คัญ สมรรถนะสําคัญของผู้เรยี น จุดประสงค์ สาระการเรียนรู้ ทกั ษะกระบวนการ คณุ ลักษณะ อนั พงึ ประสงค์ ชน้ิ งาน กระบวนการเรยี นรู้ สอ่ื /แหลง่ การเรียนรู้ การวัดผลประเมินผล 2.4.3 ขัน้ ตอนการจัดทําแผนการเรยี นรู้ สํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ (2545, น.50-51) เสนอ ขั้นตอน การ จัดทําแผนการเรียนรู้ ซึ่งผู้สอนมีอิสระในการออกแบบแผนการเรียนรู้ของตนเอง ซึ่งมีหลากหลาย รูปแบบ ครูผู้สอนควรปฏิบัติตามนโยบายของโรงเรียนที่กําหนดไว้ว่าใข้ รูปแบบใดถ้าโรงเรียนไม่ได้ กําหนดรูปแบบไวจ้ ึงเลือกแบบท่ีตนเองเหน็ ว่าสะดวกตอ่ การนาํ ไปใช้ ดงั นี้ 1. เลือกแบบแผนการเรียนรู้ น้ําหน่วยการเรียนรู้ที่กําหนดไว้มาพิจารณา จัดทําแผนการ เรียนรู้ 2. ต้งั ชอ่ื แผนการเรยี นรู้ตามหวั ข้อสาระการเรยี นรู้ 3. กําหนดจาํ นวนเวลา ระบรุ ะดบั ชัน้ 4. วิเคราะห์จุดประสงค์การเรียนรู้ จากผลการเรียนที่คาดหวังรายปี/รายภาค เขียนเป็น จดุ ประสงค์การเรียนรู้รายวชิ า โดยยดึ หลักการเขียนจดุ ประสงค์การเรียนรขู้ อง ลนิ น์ มอริส (Lyn Morris) ทีว่ า่ จดุ ประสงค์การเรยี นรจู้ ะต้อง 5. บรรยายจดุ มุ่งหมายปลายทาง 6. สะท้อนถึงระดับตา่ งๆ ของทักษะท่ีเกิดขนึ้ 7. ใชค้ าํ กริยาที่เปน็ รูปธรรม และครบองค์ประกอบ 3 สว่ นคอื 1) พฤตกิ รรม 2) สถานการณห์ รือเง่อื นไข 3) เกณฑ์ 8. เลือกจุดประสงค์การเรียนรู้ทว่ี ิเคราะหแ์ ลว้ เฉพาะขอ้ ที่สมั พันธ์กับหัวข้อ สาระ การเรียนรู้ กําหนดเปน็ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ หรอื จดุ ประสงคป์ ลายทางตามธรรมชาติ ของวขิ า 9. วิเคราะห์สาระการเรยี นร้เู ปน็ รายละเอียด สําหรับนาํ ไปจัดการเรียนรู้ สาระ การเรียนรู้จะ เป็นเนื้อหาใหม่ของมวลเนื้อหาที่กาํ หนดไว้ท่จี ําเป็นตอ้ งสอน 10. กาํ หนดจดุ ประสงคก์ ารเรียนรูต้ ามลําดบั ความยากงา่ ยของเนอ้ื หา 11. เลือก กจิ กรรมและเนอื้ หาทีเ่ หมาะสม สอดคล้องกบั จุดประสงค์การเรยี นรู้

22 12. เลอื กส่อื อุปกรณ์ สําหรบั ใช้ประกอบการจัดการเรียนรใู้ หเ้ หมาะสมกบั สาระ การเรียนรู้ที่ เลอื กมา เชน่ รูปภาพ บตั รคํา วดี ีทัศน์ 13. จัดลาํ ดับการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ โดยคํานึงถึงขั้นตอนตรงตาม ธรรมชาติ ของวิขาตาม จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ และคํานงึ การบรู ณาการเทคนคิ และกระบวนการเรยี นร้รู วมทง้ั สาระการเรยี นรู้ อืน่ ๆ เข้าไวใ้ นแต่ละขั้นตอนด้วย คาด 14. กําหนดการวัดและประเมินผลโดยระบุวิธีการประเมินผลการเรียนรู้ทั้งที่ ระหว่างเรียน ตามจุดประสงค์การเรียนรู้ และเกิตหลังการเรียนการสอน เมื่อจบแผนการเรียนรู้ โดย วิธีการวัดผล หลากหลายรปู แบบตามความเหมาะสม เชน่ ปฏิบัตจิ ริง การทดสอบความรู้ การทํางาน กล่มุ ช้ินงานท่ี เกดิ จากการเรียน และการสังเกตพฤติกรรมลกั ษณะของแผนการจดั การเรยี นรู้ทีด่ ี วฒั นาพร ระงบั ทกุ ข์ (2550, น.70-71) สรุปข้นั ตอนการจาํ แผนการจดั การเรยี นรู้ ดังนี้ 1. เลอื กรปู แบบแผนการจัดการเรยี นรูน้ ําหน่วยการเรียนรู้ทก่ี ําหนดไว้แล้วมา พจิ ารณาจัดทํา แผนการจัดการเรียนรู้ 2. ต้งั ชอ่ื แผนตามหัวข้อสาระการเรียนรู้ 3. กาํ หนดจาํ นวนเวลา ระบุระดับชน้ั 4. วิเคราะห์จุดประสงค์การเรียนรู้จากมาตรฐานการเรียนรู้รายปี รายภาคที่ เลือกไว้เขียน เป็นจุดประสงค์การเรียนรรู้ ายวิชา โดยยึดหลักการเขียนจุดประสงค์การเรียนรู้ของลินน์ มอริส (Lynn Morris) ท่ีวา่ จุดประสงค์การเรียนรู้ 4.1 บรรยายจุดหมายปลายทาง ไม่ใช้วธิ กี าร 4.2 สะท้อนถงึ ระดบั ต่าง ๆ ของทกั ษะทีเ่ กิด 4.3 ใช้คํากรยิ าทีเ่ ป็นรูปธรรม และใช้องคป์ ระกอบ 3 ส่วนตามแนวโรเบริ ์ต เมจเจอร์ (Robert Mager) คือ 4.3.1 พฤตกิ รรม (Overal Behavior) 4.3.2 สถานการณห์ รือเงือ่ นไข (important Conditions) 4.3.3 เกณฑ์ (Criterion) 5. เลือกจุดประสงค์การเรียนรู้ที่วิเคราะห์ไว้แล้ว เฉพาะข้อที่สัมพันธ์กับหัวข้อ สาระการ เรียนรู้ กาํ หนดเปน็ จุดประสงคก์ ารเรียนรูห้ รอื จดุ ประสงค์ปลายทางตามธรรมชาติวชิ า 6. วิเคราะห์สาระการเรียนรูเ้ ป็นรายละเอียดสําหรับนาํ ไปจัดการเรียนรู้ สาระการเรียนร้จู ะ เปน็ เนื้อหาใหมข่ องมวลเนอ้ื หาทก่ี ําหนดไว้ ที่จําเปน็ ตอ้ งสอน 7. กําหนดจดุ ประสงค์นาํ ทางตามลาํ ดับความยากงา่ ยของเน้อื หานัน้ ๆ 8. เลอื กกิจกรรมและเทคนิคการสอนทเี่ หมาะสม

23 9. เลือกสื่ออุปกรณ์สําหรับใช้ประกอบการจัดการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับสาระ การเรียนรู้ท่ี เลือกมา เช่น รูปภาพ บัตรคาํ วดี ที ัศน์ 10. จัดทําลําดับขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยคํานึงถึงขั้นตอนการ สอนตาม ธรรมชาติวิชาตามจุดประสงค์นําทาง และคํานึงถึงการบูรณาการเทคนิค และกระบวนการ เรียนรู้ รวมทง้ั สาระการเรียนรู้อน่ื ๆ เขา้ ไว้ในแตล่ ะขัน้ ตอนด้วย 11. กําหนดการวัดและประเมินผลโดยระบุวิธีการประเมินผลการเรียนรู้ทั้งที่ เกิดระหว่าง เรียน ตามจุดประสงค์ย่อย/นทางและทีเ่ กดิ หลังการเรียนการสอนเมื่อจบแผนการ จัดการเรียนรู้โดย วิธีการวัดหลากหลายรูปแบบตามความเหมาะสม เชน่ ปฏบิ ัตจิ รงิ การทดสอบ ความรู้การทาํ งานกลุ่ม ฯลฯ สรุป ขัน้ ตอนการจดั ทาํ แผนการเรยี นรู้ ดังน้ี 11.1 เลอื กรปู แบบแผนการจัดการเรียนรู้ 11.2 ต้ังชื่อแผนตามหัวขอ้ สาระการเรยี นรู้ 11.3 กําหนดจาํ นวนเวลา ระบรุ ะดับช้ัน 11.4 วเิ คราะห์จุดประสงค์การเรียนรู้จากมาตรฐานการเรียนรรู้ ายปี รายภาคที่ เลือก ไว้เขยี นเปน็ จุดประสงคก์ ารเรยี นร้รู ายวิชา 11.5 เลือกจุดประสงค์การเรียนรู้ที่วิเคราะห์ไว้แล้ว เฉพาะข้อที่สัมพันธ์กับ หัวข้อ สาระการเรียนรู้ กําหนดเปน็ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้หรือจดุ ประสงค์ปลายทางตามธรรมชาติวิชา 11.6 วิเคราะหส์ าระการเรยี นรู้เป็นรายละเอยี ดสําหรับนาํ ไปจดั การเรียนรู้ สาระการ เรียนรจู้ ะเป็นเนอ้ื หาใหม่ของมวลเนือ้ หาที่กําหนดไว้ ทจี่ ําเป็นตอ้ งสอน 11.7 กําหนดจดุ ประสงค์ 11.8 เลอื กกจิ กรรมและเทคนิคการสอนทเ่ี หมาะสม 11.9 เลือกส่ืออุปกรณ์สําหรับใช้ประกอบการจัดการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับ สาระ การเรียนรู้ท่เี ลือกมา เช่น รปู ภาพ บัตรคาํ วีดีทัศน์ 11.10 จัดทําลาํ ดบั ขัน้ ตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยคาํ นึงถึงขัน้ ตอนการ สอน ตามธรรมชาติวิชาตามจุดประสงค์ และคํานึงถึงการบูรณาการเทศนิศ และกระบวนการ เรียนรู้ รวมท้งั สาระการเรียนรอู้ ืน่ ๆ เขา้ ไวใ้ นแต่ละขั้นตอน 11.11 กาํ หนดการวดั และประเมินผลโดยระบุวิธีการประเมนิ ผลการเรยี นรู้ท้ัง ที่เกิด ระหวา่ งเรยี น ตามจดุ ประสงคย์ ่อย/และท่เี กติ หลงั การเรยี นการสอนเมอ่ื จบแผนการจัดการ เรียนรูโ้ ดย วธิ ีการวดั หลากหลายรูปแบบตามความเหมาะสม เช่น ปฏิบัติจรงิ การทดสอบ ความรู้การ ทํางานกล่มุ

24 2.4.4 รูปแบบของแผนการจัดการเรียนรู้ พรพิมล พรพรชนม์ (2550, น.229) แผนการจดั การเรียนรมู้ ีหลายรูปแบบขึน้ อย่กู ับ ตุลพินิจ ของหน่วยงานต้นสังกัด สถานศึกษาหรือผู้สอนที่จะเลือกใช้รูปแบบที่คิดว่ามีความเหมาะสม และ สะดวกตอ่ การนําไปใช้ ทงั้ นี้รปู แบบของแผน การจัดการเรยี นรทู้ นี่ ยิ มใช้ โดยทั่วไป มดี ังน้ี 1. รปู แบบแผนการจดั การเรยี นรูแ้ บบบรรยายหรือแบบเรียงหวั ข้อ แผนจดั การ เรียนรู้ชนิดนี้ จะเป็นการเขยี นบรรยายรายละเอยี ดแตล่ ะองคป์ ระกอบของแผน จัดการเรียนรู้ เรยี งลําดับในลกั ษณะ ความเรยี ง เปน็ รปู แบบทไี่ ด้รับความนิยม แต่มขี อ้ จํากัด ในกรณที รี่ ายละเอยี ดอยู่ คนละหน้ากัน และ ยากต่อการมองเหน็ ความสมั พนั ธ์ของแตล่ ะองค์ประกอบภาพ 2. รูปแบบแผนการจัดการเรียนรู้แบบตาราง แผนการจัดการเรียนรู้ชนิดนี้ เป็นการ นํา รายละเอียดแต่ละองค์ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้มาเขียนลงในตารางภายใน หน้าเดียวกัน เพื่อให้ง่ายต่อการมองเห็นความสัมพันธ์ของแต่ละองค์ประกอบ แต่มีข้อจํากัด ในด้านพื้นที่ในการ เขยี น 3. รูปแบบแผนการจัดการเรียนรู้แบบกึ่งตาราง แผนการจัดการเรียนรู้ชนิดนี้ เป็น การน้ํา รายละเอียดแต่ละองค์ประกอบของแผนการจัดการเรยี นรู้มาเขียนในลักษณะ ความเรียงและ ตาราง ประกอบกัน วัฒนาพร ระงับทุกข์ (2550, น.72-80) แผนการจัดการเรียนรู้มีหลายรูปแบบขึ้นอยู่ กับ ดุลพินิจของหน่วยงานต้นสงั กัด สถานศึกษาหรือผู้สอนท่ีจะเลอื กใช้รูปแบบที่คิดว่ามีความ เหมาะสม และสะดวกต่อการนําไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้รูปแบบของแผนการจัดการเรียนรู้ที่ นิยมใช้ โดยท่ัวไป มีดงั นี้ 1. แผนการจัดการเรียนรู้แบบบรรยายหรือแบบเรยี งหัวข้อแผนการจัดการเรียนรู้ ชนิดนี้จะ เป็นการเรียงรายละเอียดขององค์ประกอบแต่ละองค์ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้ตามลําดับ โดยใช้ความเรียง เป็นรปู แบบทไี่ ดร้ ับความนิยมแต่มีข้อจํากัดในกรณีทร่ี ายละเอียด อยู่คน ละหน้ากัน เน่ืองจากยากตอ่ การมองเห็นความสัมพันธ์ของแต่ละองค์ประกอบ 2. แผนการจดั การเรยี นร้แู บบตารางแผนการจดั การเรยี นรชู้ นดิ น้เี ป็นการนาํ รายละเอียดของ แต่ละองค์ประกอบของแผนการจัดการเรียนร้มู าเขยี นลงในตารางภายในหน้า เดยี วกัน เพื่อให้ง่ายต่อ การมองเห็นความสัมพันธ์ของแต่ละองคป์ ระกอบ แตม่ ีขอ้ จํากดั ในดา้ นพื้นท่ี ในการเขียน และภาระใน การตีตาราง นอกจากแผนการจัดการเรียนรู้ทั้งสองรูปแบบที่กล่าวมาแล้ว กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ ได้เสนอตัวอย่างรูปแบบแผนการจัดการเรียนรู้ไว้เป็นกรอบเพื่อ นําไปสู่การ ปฏบิ ตั ิ ซง่ึ ผ้ใู ช้สามารถนําไปปรับไดต้ ามท่เี หน็ ว่าเหมาะสม จากรปู แบบแผนการจดั การเรียนรู้ ขา้ งตน้ สรุปไดด้ งั น้ี

25 1. รปู แบบแผนการจดั การเรียนรู้แบบบรรยายหรือแบบเรียงหัวขอ้ แผน จดั การเรียนรู้ชนิดนี้ จะเปน็ การเขียนบรรยายรายละเอียดแตล่ ะองคป์ ระกอบของแผน จัดการเรยี นรู้ เรยี งลําดบั ในลักษณะ ความเรียง 2. รูปแบบแผนการจัดการเรียนรู้แบบตาราง เป็นการนาํ รายละเอยี ดแต่ละองค์ประกอบ ของ แผนการจัดการเรียนรู้มาเขียนลงในตาราง เพื่อให้ง่ายต่อการมองเห็นความสัมพันธ์ของแต่ละ องคป์ ระกอบ แตม่ ีข้อจํากัดพ้ืนท่ใี นการเขียน 3. รูปแบบแผนการจัดการเรยี นรู้แบบกึ่งตาราง เป็นการนาํ รายละเอียดแตล่ ะ องค์ประกอบ ของแผนการจัดการเรยี นรูม้ าเขยี นในลกั ษณะ ความเรยี งและตารางประกอบกนั ท้งั นี้ผวู้ ิจยั ไดจ้ ัดทํารปู แบบแผนการจัดการเรียนรู้แบบบรรยายหรือเรยี งหัวข้อ ประกอบด้วย หัวเรื่อง สาระสําคัญ สมรรถนะสําคัญของผู้เรียน จุดประสงค์ สาระการเรียนรู้ ทักษะ กระบวนการ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ชิ้นงาน กระบวนการเรียนรู้ สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ การวัดผลประเมนิ ผล 2.5 ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น 2.5.1 ความหมายผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2557, น.16) ได้สรุป ความหมาย ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนว่าเป็นการประเมนิ สมรรถภาพของผู้เรียนจะต้องมเี ครื่องมือ การ ประเมินที่มี ประสิทธิภาพ ทั้งวิธีการประเมนิ กจิ กรรมเกณฑก์ ารประเมิน และแบบประเมิน เป็นส่วน หนงึ่ ของ เครอื่ งมอื การประเมิน ท่ีผูส้ อนตอ้ งใหค้ วามสาํ คญั และกําหนดสาระสาํ คัญของการประเมินไว้ ใน แผนการจัดการเรยี นรเู้ พ่อื การเตรยี มความพรอ้ มไวก้ อ่ นการจัดการเรยี นการสอน สมนึก ภัททิยธนี (2551 น. 73) ได้ให้ความหมายของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการ เรียนว่าเป็นแบบทดสอบที่วัตสมรรถภาพสมองด้านต่างๆ ที่นักเรียนได้รับการเรียนรู้ผ่าน มาแลว้ พิสุทธา อารีราษฎร์ (2551 น. 154) กล่าวว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (Achievement) หมายถึง ความสามารถของผู้เรียนในการแสดงออกโดยการทําแบบทดสอบให้ ถูกตอ้ งหลังจากได้ผ่าน การศึกษาจากสอื่ แลว้ ได้คะแนนสูงจะถอื ว่าผู้เรียนมมี ีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สูงซึ่ง ความสามารถที่มี ของผู้เรียนนี้เป็นผลมาจากการได้ศึกษาเนื้อหาความรู้จากสื่อ ดังนั้นจึงเป็น การวัดคุณภาพของสื่อได้ เช่นกัน ถ้าสื่อมีคุณภาพดีเมื่อให้ผู้เรียนได้เรียนเนื้อหาผ่านสื่อแล้วทําให้ ผู้เรียนมผี ลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนที่ดีด้วยในทางตรงกนั ข้ามถ้าสื่อไม่มคี ุณภาพเมื่อผู้เรยี นผ่านสือ่ แลว้ อาจจะมผี ลทาํ ใหผ้ ลสัมฤทธ์ิ ทางการเรยี นตา่ํ หรือค่อนข้างต่ำได้เชน่ กัน

26 จากความหมายข้างต้นสรุปได้ว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง การประเมิน สมรรถภาพของผู้เรียนโดยมีเครือ่ งมอื ในการประเมนิ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสามารถแสดงผลได้ท้งั เชงิ ปรมิ าณและเชิงคุณภาพ 2.5.2 แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน สมนึก ภัททิยธนี (2551, น. 73) กล่าวว่า แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง แบบทดสอบที่ใช้วัตสมรรถภาพสมองด้านต่าง ๆ ที่นักเรียนได้รับการเรียนรู้ผ่านมาแล้ว แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน อาจแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ แบบทดสอบที่ครูสร้างขึ้น และแบบทดสอบมาตรฐาน 1. แบบทดสอบทีค่ รูสรา้ งข้นึ ที่นิยมใชม้ ี 6 แบบ ดงั น้ี 1.1 ข้อสอบแบบอัตนัยหรือความเรียง (Subjective or Essay Test) เป็น ขอ้ สอบทม่ี ีเฉพาะคําถาม แลว้ ใหน้ กั เรียนเขยี นตอบอยา่ งเสรี เขียนบรรยายตามรู้ และข้อคดิ เห็น 1.2 ข้อสอบแบบกาถูก-ผิด (True-false Test) เป็นข้อสอบแบบเลือกตอบ ที่มี 2 ตัวเลือก แต่ตัวเลือกดังกล่าวเป็นแบบคงทีแ่ ละมีความหมายตรงกันข้าม เช่น ถูก-ผิด ใช่ ไม่ใช่ จรงิ ไม่ จรงิ เหมอื นกนั -ต่างกัน เป็นต้น 1.3 ข้อสอบแบบเติมค่า (Completion Test) เป็นข้อสอบที่ประกอบด้วย ประโยคหรือข้อความที่ยังไม่สมบูรณ์และถูกต้อง แล้วให้เติมคําหรือประโยค หรือข้อความลงใน ช่องวา่ งที่เวน้ ไวน้ นั้ เพื่อใหม้ ใี จความสมบูรณแ์ ละถูกต้อง 1.4 ขอ้ สอบแบบตอบส้ัน ๆ (Short Answer Test) ขอ้ สอบประเภทน้ีคลา้ ย กับ ข้อสอบแบบเติมคํา แต่แตกต่างกันที่ข้อสอบแบบตอบสั้นๆ เขียนเป็นประโยคค้าถามสมบูรณ์ (ข้อสอบ เติมคําเป็นประโยคหรือข้อความที่ยังไม่สมบูรณ์) แล้วให้ผู้ตอบเป็นคนเขียนตอบ คําตอบที่ ต้องการจะ สั้นและกะทัดรัตได้ใจความสมบูรณ์ ไม่ใช่เป็นการบรรยายแบบข้อสอบอัตนัยหรือความ เรียง 1.5 ข้อสอบแบบจับคู่ (Matching Test) เป็นข้อสอบเลือกตอบชนิดหน่ึง โดยมี คา่ หรอื ขอ้ ความแยกออกจากกันเปน็ 2 ชุด แลว้ ให้ผ้ตู อบเลือกจับควู่ ่า แตล่ ะข้อความในชุดหนึ่ง (ตัว ยืน) จะจับคู่กับคําหรือข้อความใดในอีกชุดหนึ่ง (ตัวเลือก) ซึ่งมีความสัมพันธ์อย่างใดอย่างหนง่ึ ตามท่ี ผูอ้ อกขอ้ สอบกําหนดไว้ 1.6 ข้อสอบแบบเลือกตอบ (Multiple Choice Test) คําถามแบบ เลือกตอบ โดยทั่วไปจะประกอบด้วย 2 ตอน คือ ตอนนำหรอื คําถาม (Stem) กับตอนเลอื ก (Choice) ในตอน เลือกน้จี ะประกอบดว้ ยตัวเลือกที่เปน็ คําตอบถูกและตัวเลือกที่เปน็ ตัวลวง ปกติจะมีคําถามท่ี กําหนดให้ นักเรียนพิจารณา แล้วหาตัวเลือกทีถ่ ูกต้องมากท่ีสุดเพยี งตัวเลอื กเดียวจากตัวเลือกอืน่ ๆ

27 และคาํ ถาม แบบเลือกตอบทด่ี ีนิยมใช้ตัวเลอื กที่ใกล้เคยี งกัน ดเู ผนิ ๆ จะเหน็ วา่ ทกุ ตัวเลอื กถูกหมดแต่ ความจริงมี น้ำหนักถูกมากนอ้ ยตา่ งกัน 2. แบบทดสอบมาตรฐาน เปน็ แบบทดสอบที่มีคุณลกั ษณะเปน็ มาตรฐาน 2 ประเภท คอื 2.1 มาตรฐานในวธิ ีดําเนนิ การสอบ หมายถงึ ไมว่ ่าจะนาํ แบบทดสอบน้ี ไป ใช้ ท่ี ไหน เมอ่ื ไร ตอ้ งดําเนินการในการสอบเหมือนกนั หมด แบบทดสอบนี้จะมีคู่มือ ซึง่ จะบอกว่า ใน การใช้ แบบทดสอบนี้ตอ้ งทําอย่างไรบา้ ง 2.2 มาตรฐานการให้คะแนน แบบทดสอบประเภทน้ีมีเกณฑป์ กติไว้สาหรับ ใช้ ในการเปรียบเทียบคะแนน เพอ่ื จะบอกวา่ การท่ผี ู้สอบได้คะแนนอย่างหนง่ึ อย่างใด หมายถึงว่า มี ความสามารถอย่างไรจากจากการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการ เรยี น จากความหมายข้างตน้ สรุปได้วา่ แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน หมายถึง เคร่อื งมือ ทใ่ี ช้วดั ความสามารถของผู้สอบต้านพุทธพิ ิสัย เป็นเคร่อื งมอื อยา่ งหนง่ึ ออกแบบไวส้ าํ หรบั วัดความรู้ หรือ ทักษะที่เกิดขึ้นกับผู้เรียนในช่วงเวลาหนึ่งที่ใช้วัดผลการเรียนรู้ในเนื้อหาและ จุดประสงค์ใน รายวิชาต่าง ๆ ที่เรียนในโรงเรียนและสถาบันการศึกษาต่างๆ เป็นเครื่องมือหลักของ การวัดผล แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน อาจแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ แบบทดสอบที่ครู สร้างข้ึน และแบบทดสอบ มาตรฐานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทีด่ ีจะมีลักษณะดงั น้ี มีความเที่ยงตรง มีความ เชื่อมั่นสูง มีความเป็นปรนัย มีความยากง่ายพอเหมาะ มีอํานาจจําแนก มีประสิทธิภาพ มี ความ ยตุ ธิ รรม ใชค้ าํ ถามถามลีก ใชค้ ําถามยว่ั ยุ และคําถามจําเพาะเจาะจง ทั้งนี้ผู้วิจัยจัดทําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ข้อสอบแบบเลือกตอบ (Multiple Choice Test) คะแนนท่ไี ดข้ องผเู้ รียนในการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์จากการทาํ แบบทดสอบแบบปรนัยวัด ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สาระที่ 4 แรงและการเคลื่อนที่ เรื่องการเคลื่อนที่แบบโพรเจคไทล์ ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 4 ที่ผู้วิจัยสร้างแบบวดั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นเป็นแบบปรนยั 4 ตัวเลือก จํานวน 30 ข้อ 2.6 ความพงึ พอใจ 2.6.1 ความหมายความพงึ พอใจ (Satisfaction) Morse (1955, p. 19) กลา่ วว่า ความพึงพอใจ หมายถึง สภาวะจติ ที่ปราศจาก ความเครียด ทั้งนี้เพราะธรรมชาติของมนุษย์มีความต้องการ ถ้าความต้องการได้รับการตอบสนอง ทั้งหมดหรือ บางส่วน ความเครียดก็จะน้อยลง ความพึงพอใจก็จะเกิดขึ้นและในทางกลับกันถ้าความ ต้องการนัน้ ไมไ่ ดร้ บั การตอบสนองความเครียดและความไมพ่ ึงพอใจทีจ่ ะเกิดขึ้น

28 Vroom (1964, p.8) กล่าวว่า ความพึงพอใจ หมายถึงผลที่ได้จากการที่บุคคลเข้าไปมี ส่วน ร่วมในสิ่งนั้น ทัศนคติด้านบวกจะแสดงให้เป็นสภาพความพงึ พอใจในสิง่ นั้น และทัศนคติด้านลบ จะ แสดงให้เหน็ สภาพความไมพ่ ึงพอใจนนั่ เอง Good (1973, p.320) กล่าวว่า ความพึงพอใจในการทํางาน หมายถึง คุณลักษณะ สภาวะ หรือ ระดบั ความพึงพอใจทีเ่ ปน็ ผลมาจากความสนใจ และทัศนะของบุคคลท่มี ีตอ่ งาน จากความหมายขา้ งต้นสรุปไดว้ า่ ความพึงพอใจ คอื ความรู้สึกหรอื ทัศนะคติของบุคคล ตอ่ ส่งิ ต่างๆ ในทางบวก หรือระดบั ความพึงพอใจจะเป็นผลมาจากความสนใจ ดังนั้นความพึงพอใจใน การ เรยี นรู้ จึงหมายถึง ความร้สู กึ หรอื ทศั นะคติด้านบวกทมี่ ตี ่อการได้ปฏบิ ัติกจิ กรรมจนบรรลุ เปา้ หมายใน การเรียนรู้ การวัดความพึงพอใจ ได้มผี กู้ ลา่ วถงึ เคร่อื งมือและวิธวี ัดความพงึ พอใจ ดังนี้ บุญชม ศรีสะอาด (2553, น. 74-54) ได้เสนอเครื่องมือที่ใช้วัดความพึงพอใจ เช่น แบบสอบถาม (Questionnaire) เป็นเครื่องมือที่ใช้รวบรวมข้อมูล ประกอบด้วยชุดข้อคําถามท่ี ตอ้ งการ ให้กลมุ่ ตวั อย่างตอบ โดยกาเครอ่ื งหมายหรือเขยี นตอบ หรือกรณที ่ีกลุม่ ตัวอย่างอ่านหนังสือ ไม่ได้หรืออ่านได้ยาก อาจใช้วิธีการสัมภาษณ์ตามแบบสอบถาม นิยมถามเกี่ยวกับข้อเท็จจริง ความ คดิ เห็นของบคุ คล 2.6.2 การวดั ความพึงพอใจ บุญชม ศรีสะอาด (2553, น.82)การวดั ความพึงพอใจแบบมาตราสว่ นประมาณค่ามี 5 ระดับ คอื พึงพอใจมากท่ีสดุ ซง่ึ พอใจมาก พงึ พอใจปานกลาง พึงพอใจนอ้ ย พงึ พอใจน้อยท่ีสุด โดยมี เกณฑ์ การใหค้ ะแนนตาม ระดบั ความพึงพอโจท้ัง 5 ระดบั ในการใชแ้ บบมาตราสว่ นประมาณค่านนั้ จะต้อง รายงานผล การตอบของกลุ่มตวั อย่างของแต่ละข้อหรอื แต่ละคน โดยภาพรวมวา่ มีความพึง พอใจอยู่ ในระดับใด จะต้องหาค่าเฉลี่ยของกลุ่มในแต่ละข้อหรือแต่ละด้าน และโดยภาพรวมแล้วแปล ความหมาย ค่าเฉล่ียอีกที การแปลความหมายจะใช้เกณฑ์เปน็ ระบบเดียวกันกับระบบการให้คะแนน ในขน้ั ตอ่ ไปกน็ ำเอาขอ้ มลู มาจัดระบบ วิเคราะห์ แปลผลเพอ่ื ท่จี ะสรปุ และอ้างองิ ต่อไป สรุปได้ว่า ความพึงพอใจในการเรียนรู้มีความสําคัญต่อกิจกรรมการเรียนการสอน ที่จะ กระตุ้นให้ผู้เรียนเกดิ ความขอบ ความรู้สึกที่ดี และทํางานที่ได้รับมอบหมาย หรือต้องการปฏิบัติ ให้ บรรลุตามวัตถุประสงคไ์ ด้ และถ้าไมม่ ีความพึงพอใจแล้วการทํากิจกรรมต่าง ๆ ก็ดูน่าเบื่อหน่าย เป็น เชงิ ลบ ทาํ ให้กิจกรรมต่าง ๆ ไม่ประสบผลสาํ เร็จ

29 2.7 งานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วข้อง 2.7.1 งานวิจัยในประเทศ อรวรรณ เตชะโสต (2552, น.75 - 53) ศึกษาค้นคว้าการใช้ของเล่นพื้นบ้าน เพื่อพัฒนา ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 กลุ่มตัวอย่าง นักเรียนช้ัน ประถมศึกษาปีที่ 4 จํานวน 25 คน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2551 โรงเรียน ปริสส์รอยแยลส์ วิทยาลัย อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ได้มาโดยใช้วิธีเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ไดแ้ ก่ 1) แผนการจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรู้เรื่อง “แรงและ การเคล่ือนที่\" โดยใช้ของเล่นพ้ืนบ้านท่ี พฒั นาจากแนวคติ ภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่ินเป็นสอื่ การเรียนการสอน จาํ นวน 12 แผน 2) แบบทดสอบทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เปน็ แบบเลือกตอบชนดิ 3 ตัวเลือกจํานวน 30 ข้อ วิเคราะห์ข้อมูลโดย การการหาค่าเฉลีย่ สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐานและการทดสอบคา่ ที (t-test) นำเสนอข้อมูลโดยใช้ตาราง ประกอบคําบรรยายผล การศึกษาพบว่า แผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้เรื่อง “แรงและการ เคล่ือนท\"ี่ ที่ใช้ของเลน่ พ้ืนบา้ นเปน็ สอื่ สาํ หรับนกั เรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 จาํ นวน 12 แผน ได้แก่ แผนการฝึกทักษะการสังเกต ทักษะการวัด ทักษะการจําแนกประเภททักษะการหาความสัมพันธ์ ระหวา่ งมติ ิกับมิติ และ มติ กิ ับเวลา ทักษะการคํานวณ ทักษะการจัดกระทาํ และส่ือความหมายข้อมูล ทักษะ การลงความเห็นจากข้อมูล และทักษะการพยากรณ์ จํานวน 2 แผน และแผนเรื่องแรงดัน อากาศ แรงดงึ ในเส้นเชอื ก แรงดึงแรงส่ศู นู ย์กลาง แรงโนม้ ถว่ งแรงตน้ และแรงลอยอากาศซึ่ง สัมพันธ์ กับของของเล่นและทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ทัง้ 8 ทักษะจาํ นวน 10 แผน ซง่ึ แผนดังกล่าว สามารถนําไปใช้กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ได้อย่างเหมาะสม การเปรียบเทียบทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ก่อนเรียน และหลังเรียน โดยใช้ แผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่สร้างขึ้น ปรากฏว่านักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนและหลัง เรียนแตกตา่ งกนั โดยคะแนนเฉลยี่ หลังเรียนสงู กว่าก่อนเรียน แสดงวา่ นักเรียนทีเ่ รยี นดว้ ยแผนการจัด ประสบการณ์การเรียนรู้ท่ีสร้างขึน้ สรุปได้ว่าทักษะ กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ของนักเรียนสงู ข้นึ อยา่ งมีนยั สาํ คญั ทางสถติ ทิ ่รี ะดบั .01 ประกันเล็ก โพธิชัย (2554,น. 45 -47) ศึกษาค้นคว้าผลการใช้สื่อของเล่นจาก ภูมิ ปัญญา ท้องถิ่นที่มีตอ่ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนกั เรยี นชั้นประถมศึกษาปที ี่ 5 โรงเรียน บ้าน มหาเจริญจังหวดั สระแก้ว กลุม่ ตวั อยา่ งนกั เรียนช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 5 จาํ นวน 25 คน ภาคเรียน ท่ี 1 ปีการศึกษา 2554 โรงเรียนบา้ นมหาเจริญ สํานักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาสระแกว้ เขต 1 ได้มาโดยโดยสุ่มแบบเปน็ กล่มุ เคร่ืองมือที่ใช้ในการศึกษาไดแ้ ก่ 1) แผนการจดั การเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ โดยใช้สื่อของเล่นจากภมู ิปัญญาท้องถิ่น เรื่องแรงและการเคลื่อนที่ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5 จํานวน 4 แผน 17 ชั่วโมง 2) แบบทดสอบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ปรนัยชนิด เลือกตอบ 4

30 ตัวเลอื ก จํานวน 25 ขอ้ และปรนยั ชนดิ เติมค้า 15 ขอ้ วดั ทกั ษะการสังเกต ทักษะการวัด | ทักษะการ จาํ แนก วเิ คราะห์ขอ้ มูลโดยใช้ค่าเฉล่ียส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบคา่ ที่ผล การศึกษา พบว่าทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพ้ืนฐานของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้สื่อของเล่นจากภูมิปัญญาท้องถิ่นหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสําคัญทางสถิตทิ ี่ ระดับ .01 ภิรมย์ภรณ์ เชิดชูธรกุล (2555, น. 81-85) วิจัยผลการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง ภาวะ โลกร้อน กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรยี นชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 5/3 จํานวน 37 คน ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2554 โรงเรียน อนุบาล สมเด็จพระวันรัต อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี ได้มาโดยการสุ่มห้องเรียนด้วยการจับ สลาก เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยใต้แก่ 1) ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง ภาวะโลกร้อน 2) แบบทดสอบ วัด ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น 3) แบบประเมนิ ทกั ษะปฏบิ ัตกิ ิจกรรม 4) แบบวดั เจตคตติ ่อการอนุรักษ์ โลก สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบค่าท่ี ผลการวิจยั พบวา่ ชุดกิจกรรมการเรียนรเู้ ร่ืองภาวะโลกรอ้ น กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ สําหรับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 มีประสิทธิภาพเท่ากับ 83.38/82.08 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลัง เรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสําคัญที่สถิติ 05 มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.967 ทักษะปฏิบัติ กจิ กรรมของนักเรยี น โดยรวมอย่ใู นระดับดี นักเรยี นมีเจตคติตอ่ การอนรุ ักษ์โลกอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าความเชื่อมัน่ เท่ากับ 0.846 ศิริสุภรณ์ มันปาติ (2556, น.84) ได้ศึกษาผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ชุด กิจกรรม การเรยี นรูต้ ามรปู แบบวฏั จักรการเรยี นรู้ 5Es เรอ่ื ง วงจรไฟฟา้ กลุม่ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ช้ัน ประถมศึกษาปีที่ 6 พบว่าขุดกิจกรรมมีประสิทธิภาพเท่ากับ 52.36/84.44 ซึ่งสูงกว่า เกณฑ์ 70/70 ที่ตั้งไว้ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนรู้โดยใช้ชุดกิจกรรมหลังเรียนสูงกว่า ก่อนเรียน อย่างมีนัยสาํ คัญทางสถิติทีร่ ะดบั .05 ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนท่ี เรียนโดยชุด กจิ กรรมหลงั เรียนสูงกวา่ กอ่ นเรยี นอย่างมนี ัยสําคญั ทางสถติ ิทีร่ ะดับ .05 และนกั เรยี นมี ความพงึ พอใจ ต่อการเรยี นรู้โดยใชช้ ดุ กจิ กรรมการเรียนรใู้ นระดบั มากทส่ี ุด วันวิสาข์ ศรีวิไล (2556, น.143-147) ที่สร้างชุติกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง พืช สําหรับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 โดยใช้การสอนแบบผสมผสานระหวา่ งวัฏจักรการสบื เสาะหาความรู้ 5 ขนั้ (5E) กับการเรยี นร่วมมือด้วยเทคนิค STAD มีประสทิ ธภิ าพเท่ากับ 82,06/84.11 สงู กว่าเกณฑ์ มาตราฐานทตี่ งั้ ไว้ 80/80 ไอลดั ดา ปามทุ า (2560) ได้ศกึ ษาผลสัมฤทธแิ์ ละความคงทนทางการเรยี นโดยใชช้ ุด กิจกรรม การเรียนรูป้ ระกอบการเรียนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่องสารและการเปลี่ยนแปลง กลุ่ม สาระ การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 พบว่า ชุดกิจกรรมการเรียนรู้

31 ประกอบการเรียนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) มีประสิทธิภาพเท่ากับ 84,82/83.71 ซงึ่ สูงกว่าเกณฑท์ ่ี กําหนดไว้ 80/80 ค่าดัชนีประสิทธิผลการเรียนรู้ของนักเรียนที่เรียนโดยขุดกิจกรรมการเรียนรู้ ประกอบการเรียนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) มีค่าเท่ากับ 0.7432 คิดเป็นร้อยละ 74.32 มี ผลสมั ฤทธิท์ าการเรียนหลังเรียนสูงกว่ากอ่ นเรียนอยา่ งมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดบั .01 และนักเรียนมี ความพงึ พอใจตอ่ การเรียนโดยรวมอยู่ในระดับมาก (X = 4.38,5.D. = 0.50) 2.7.2 งานวิจัยต่างประเทศ Campbell (2006) ไดศ้ ึกษาผลของการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ แบบวฏั จักรการเรียนรู้ ข้ันท่ีมี ตอ่ ความคิดรวบยอดนักเรียนทีเ่ รียนเรอ่ื งแรงและการเคลือ่ นที่ กลุ่มตวั อย่างเป็นนักเรียนระดับ เกรด 5 โดยจัดการเรียนการสอนแบบสืบเสาะหรือวัฏจกั รการเรียนรู้ขั้นมีการทดสอบก่อนเรียนเพ่ือ ทดสอบ ความเข้าใจเกี่ยวกับความคิดรวบยอดเรื่องแรง และการเคลื่อนที่ใช้เวลาในการทดลอง 14 สัปดาห์ เคร่อื งมอื ทีใ่ ชค้ อื แบบทดสอบหลังเรยี น ใบงานการทํากจิ กรรม นักเรยี นเขา้ ใจด้วยตนเองเปน็ พ้ืนฐาน โดยการเก็บภาพการสัมภาษณ์สําหรับเก็บข้อมูลในการสรุปผลโดยวาดภาพผังมโนทัศน์ ผลการวิจัย พบวา่ นกั เรียนท่ีเรียน โดยใชร้ ูปแบบวฏั จกั รขนั้ มีความร้คู วามเข้าใจเร่ืองแรงและการ เคล่อื นท่ีเพิ่มข้นึ Schart (2000) ได้ศึกษาเรอื่ งผลการรับรู้การออกแบบการเรยี น การสอนโดยใช้ชุด กิจกรรม การเรียนรู้สําหรับการเรียนการสอนในระดับวิทยาลัย วัตถุประสงค์ เพื่อรับรองการรับรู้ เกี่ยวกับ คุณค่าและผลกระทบจากการพัฒนาชุดกิจกรรมโดยใช้การออกแบบ ระบบการเรียนการสอน (Instruction System Design, ISD) เครอ่ื งมือทใ่ี ชส้ ํารวจความตอ้ งการของผูเ้ รียนจากการใช้ ประโยชน์ของขดุ กิจกรรมมกี ารวดั ทศั นคติ การออกภาคสนาม การใช้แหล่งทรัพยากรบุคคล สื่อผสม เทคนิคพเิ ศษ รปู แบบของการวิจัยเปน็ แบบกลุ่มเดยี ว สอบกอ่ นเรยี นและหลังเรยี น ผลการวิจัยพบว่า นักศึกษามีการรับรู้เกี่ยวกับประโยชน์ของการพฒั นาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยออกแบบระบบการ เรียนการสอนในรายวิชาการเรียนการสอนมากกว่า 9096 และทําให้นักศึกษามีผลการเรียนอยู่ใน ระดับดีเยี่ยมถึง 46.9996 ระดับดี 43.56 ระดับปานกลาง 9.3% และงานวิจัยช่วยให้บรรยากาศใน การเรียนการสอนดขี นึ้ Farkas (2002, pp. 1243-A) ได้ศึกษาผลของวิธีการสอนแบบปกติและการสอนโดยใช้ ชุด การสอนทมี่ ีตอ่ การเรียนรู้ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น เจตคติ การเอาใจใสใ่ นการเรยี นและ ความสามารถ ในการแปลความหมายของนกั เรียนชัน้ ปีท่ี 7 ผลการศึกษาพบว่าในดา้ นผลสัมฤทธิ์ ชุด การสอนที่มีส่ือ หลากหลายทําให้นักเรยี นมีผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน และความสามารถในการแปล ความหมายดขี ึ้น Caraisco (2007.pp.255-260) ได้ศึกษาเปรียบเทียบความสามารถใน การเรียนรู้และ เจต คติของนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุด กิจกรรม ผลการศึกษา พบว่านักเรียนที่เรียน โดยใช้ชุดกิจกรรมมีการเรียนรู้และเจตคติสูงขึ้นกว่าก่อนการเรียนรู้ ซึ่งชุด

32 กิจกรรมจะทําให้นักเรียนมีความคิดทีห่ ลากหลาย มีความคิดยืดหยุ่น และท้าทายความสามารถของ นกั เรียนมากกวา่ การเรยี นการสอนแบบปกติ Mosenson and Fox (2011, p. 63) ได้ศึกษาเกี่ยวกับ การเรียนการสอนที่แสริมสร้าง ทักษะทางวิทยาศาสตร์ในศตวรรษที่ 21 ผลการศึกษาพบว่า การเตรียมความพร้อมที่ดีและมีบุต กิจกรรมท่ีเหมาะสมสามารถทําให้ทกั ษะทางวทิ ยาศาสตร์ และผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นดีข้นึ ได้ จากงานวิจัยทั้งในประเทศและต่างประเทศ สรุปได้ว่า การจัดกิจกรรมการเรียนการ สอนโดยใช้ชุด กิจกรรมเป็นการส่งเสรมิ และพฒั นานกั เรียนได้ฝกึ คดิ รู้จักคิดวิธีแก้ปัญหาโดย อาศยั เหตผุ ล รู้จักวิธีตั้ง คําถามอย่างฉลาดและสามารถค้นหาคําตอบได้จากการค้นคว้า สังเกต จําแนกและ วัตสิ่งของต่างๆ แล้วรวบรวมข้อมูลนํามาพินิจพิเคราะห์หาข้อเท็จจริง ก่อนที่จะสรุปความ เกิดองค์ ความรู้สร้าง ผลผลิตใหม่ทม่ี คี ณุ ภาพและสร้างสรรค์โดยอาศัยทกั ษะ กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ นักเรียนมคี วาม พร้อมในการเรียน มีเขาว์ปัญญาและการปรับตัว เข้าสู่สังคม ทําให้นักเรียนมีความ กระตือรือร้น สนุกสนานในการร่วมมือทํากิจกรรม สามารถช่วยกันคิดแก้ปัญหา มีความรับผิดชอบ และกล้า ตัดสินใจด้วยตนเอง และมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น การวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยจึงพัฒนาชุด กิจกรรม การเรยี นรู้ เรื่องวสั ดรุ อบตัวเรา ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 2

33 บทท่ี 3 วธิ ดี ำเนินการวจิ ยั การวิจัยเรื่อง การศกึ ษาผลการเรียนร้รู ายวิชาฟสิ ิกส์ ของนักเรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 โดยใช้ การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้รว่ มกับชุดกิจกรรมการเคล่ือนที่แบบโพรเจคไทล์ ผู้วิจัยได้ดำเนินการ ตามลำดับ ดังน้ี 1. ประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ ง 2. แบบแผนการวจิ ยั 3. เคร่ืองมือทใ่ี ช้ในการวิจัย 4. การสรา้ งและหาคุณภาพเครอ่ื งมือ 5. การเก็บรวบรวมขอ้ มูล 6. การวเิ คราะหข์ อ้ มลู 7. สถิติที่ใชใ้ นการวิจยั 3.1 ประชากรและกลมุ่ ตวั อย่าง 3.1.1 ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนราชประชานุ เคราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่ จำนวน 15 คน 3.1.2 กลมุ่ ตัวอย่างทีใ่ ชใ้ นการวจิ ัย คือ นกั เรียนชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรียนราชประชานุ เคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 1 ห้องเรียน ห้องเรียนละ 15 คน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 โดยการเลอื กเจาะจงใชป้ ระชากรเปน็ กลุ่มตวั อย่าง 3.2 แบบแผนการวิจัย การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลองโดยมีแบบแผนการทดสอบแบบกลุม่ เดียวทดสอบกอ่ น เรยี น-หลังเรียน (One Group Pretest-Posttest Design) กลุม่ Pre-test Treatment Post-test E T1 X T2 สัญลกั ณท่ใี ช้ในการวจิ ยั E หมายถงึ กลุ่มตัวอย่างทใ่ี ช้ในการทดลอง T1 หมายถงึ การทดสอบก่อนเรียน T2 หมายถึง การทดสอบหลงั เรยี น

34 X หมายถึง การสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ร่วมกับชดุ กจิ กรรมการเคลื่อนที่แบบ โพรเจคไทล์ 3.3 เคร่อื งมือที่ใช้ในการวิจยั การวิจยั ในครงั้ นม้ี ีเคร่ืองมือทใี่ ช้ในการวิจัย 2 ประเภท ดังน้ี 1) เคร่อื งมือที่ใช้ในการทดลอง ได้แก่ 1.1 แผนการจัดการเรียนรู้การสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ 1.2 ชุดกิจกรรมการเคล่ือนทีแ่ บบโพรเจคไทล์ 2) เครอื่ งมอื ท่ีใชใ้ นการเก็บรวบรวมข้อมลู ได้แก่ 2.1 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาฟิสิกส์ เรื่องการเคลื่อนที่แบบ โพรเจคไทล์ 2.2 แบบประเมินความพึงพอใจในการเรียน 3.4 การสรา้ งและหาคุณภาพเครื่องมือท่ีใช้ในการวิจยั การวิจัยในครั้งนี้มีการสร้างและหาคุณภาพเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ตามประเภทของ เคร่อื งมอื แบง่ ออกเปน็ 4 แบบ ดังน้ี 1) แผนการจัดการเรียนรู้การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ รายวิชาฟิสิกส์ เรื่องการเคลื่อนที่ แบบโพรเจคไทล์ ของนกั เรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 มขี ้ันตอนการการสรา้ งและหาคณุ ภาพ ดงั น้ี 1.1) ศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สาระการ เรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด คู่มือ ตำรา เอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำ แผนการจัดการเรยี นรู้การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ รายวิชาฟิสกิ ส์ เรื่องการเคลื่อนท่ีแบบโพรเจค ไทล์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เพื่อทราบขอบข่ายและแนวทางในการสร้างแผนการจัดการ เรียนรู้ 1.2) สร้างแผนการจัดการเรียนรู้การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ รายวิชาฟิสิกส์ เรอื่ งการเคลื่อนทแ่ี บบโพรเจคไทล์ ของนกั เรยี นชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 2 แผน แผนละ 4 ชั่วโมง มีรายละเอยี ดโครงสรา้ งของแผนการจดั การเรยี นรู้ ดังนี้ ตารางที่ 2.1 โครงสร้างของแผนการจัดการเรียนรู้ แผนการจัดการเรยี นรู้ เน้ือหาสาระ ระยะเวลา 1 ทฤษฎีการเคล่อื นท่แี บบโพรเจคไทล์ 1 ชั่วโมง 2 การทดลองการเคลือ่ นทแี่ บบโพรเจคไทล์ 1 ชว่ั โมง

35 1.3) นำร่างแผนการจัดการเรียนรู้ที่สร้างเสนอต่อหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง และเหมาะสมตามหลักการของการจัดทำ แผนการจดั การเรยี นรู้ แล้วนำมาปรบั ปรุงแกไ้ ขตามคำชี้แนะ 1.4) นำแผนการจัดการเรียนรู้การสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ รายวิชาฟิสิกส์ เรื่อง การเคลื่อนที่แบบโพรเจคไทล์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่แก้ไขแล้วเสนอต่อผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 3 คน ซึ่งเป็นครูที่มีประสบการณ์ทำงานมากกว่า 10 ปีขึ้นไป เพื่อตรวจสอบความเหมาะสม ของแผนการจดั การเรยี นรแู้ ละประเมินแผนการจดั การเรียนรู้ ตามแบบประเมนิ แผนการจดั การเรียนรู้ ซึง่ มีลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดบั คือ มากท่สี ดุ มาก ปานกลาง น้อย และนอ้ ยทส่ี ดุ โดยใช้เกณฑค์ ่าเฉลี่ย 3.51 ข้ึนไป ถือว่าใช้ได้ เปน็ เกณฑ์ตดั สินว่าแผนการจัดการ เรยี นรมู้ ีคุณภาพ โดยมีเกณฑ์การพิจารณาดงั นี้ (บญุ ชม ศรสี ะอาด, 2545) ระดบั คะแนนเฉลี่ย 4.51 – 5.00 หมายถึง มีความเหมาะสมมากท่ีสดุ ระดับคะแนนเฉลี่ย 3.51 – 4.50 หมายถงึ มีความเหมาะสมมาก ระดบั คะแนนเฉล่ีย 2.51 – 3.50 หมายถงึ มีความเหมาะสมปานกลาง ระดบั คะแนนเฉลยี่ 1.51 – 2.50 หมายถงึ มีความเหมาะสมน้อย ระดบั คะแนนเฉลีย่ 1.00 – 1.50 หมายถึง มีความเหมาะสมน้อยทส่ี ุด 1.5) นำผลการประเมินของผู้เชี่ยวชาญทั้ง 3 คน เพื่อหาค่าเฉลีย่ ท่ีเหมาะสมโดยค่า ดัชนีความสอดคล้อง (Item Objective Congruency Index: IOC) ตั้งแต่ 0.5 ขึ้นไป จึงจะนำไปใช้ ในการจัดการเรยี นการสอนได้ ซ่งึ ผลการหาค่าดชั นีความสอดคลอ้ ง (IOC) ของแผนการจดั การเรยี นรูม้ ี คา่ เท่ากับ 0.67 – 1.00 1.6) นำแผนการจัดการเรียนรู้ที่ผ่านการประเมินของผู้เชี่ยวชาญมาปรับปรุงแก้ไข ตามข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญให้เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ที่สมบูรณ์ เพื่อนำไปใช้สอนกับกลุ่ม ตวั อยา่ งตอ่ ไป 2) ชดุ กจิ กรรมการเคลอ่ื นท่แี บบโพรเจคไทล์ มีขนั้ ตอนการการสร้างและหาคณุ ภาพ ดังนี้ 2.1) ศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สาระการ เรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชีว้ ัด คู่มือ ตำรา เอกสาร และงานวิจยั ท่ีเกีย่ วข้องกับการสรา้ งชุด กจิ กรรมการเคล่ือนทแ่ี บบโพรเจคไทล์ รายวิชาฟิสิกส์ เรอ่ื งการเคลอ่ื นทแ่ี บบโพรเจคไทล์ ของนกั เรียน ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 ได้องค์ประกอบของชุดกิจกรรม เพื่อเป็นแนวทางในการกำหนดเนื้อหาในชุด กิจกรรม 2.2) สร้างชุดกิจกรรมการเคลื่อนที่แบบโพรเจคไทล์ รายวิชาฟิสิกส์ เรื่องการ เคล่อื นทีแ่ บบโพรเจคไทล์ ของนักเรยี นชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 โดยมีองค์ประกอบ ไดแ้ ก่ ช่ือกิจกรรม คำ ชี้แจงสำหรับนักเรียน จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ประจำชุดกิจกรรม แบบทดสอบก่อนเรยี น ใบความรู้ ใบ

36 งาน ใบกจิ กรรม แบบบันทึกกจิ กรรม แบบทดสอบหลังเรยี น เพื่อให้สอดคล้องกบั แผนการจกั ารเรียนรู้ มีรายละเอยี ดโครงสร้างของชดุ กิจกรรม ดังน้ี ตารางท่ี 2 โครงสร้างของชุดกิจกรรมการเคลอ่ื นท่ีแบบโพรเจคไทล์ ชุดกิจกรรม เนื้อหาสาระ ระยะเวลา 4 ชวั่ โมง 1 ทฤษฎีการเคล่ือนทแี่ บบโพรเจคไทล์ 4 ชว่ั โมง 2 การทดลองการเคลอื่ นทแี่ บบโพรเจคไทล์ 2.3) นำร่างชุดกิจกรรมการเคลื่อนที่แบบโพรเจคไทล์ที่สร้างเสนอต่อหัวหน้ากลุ่ม สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง และเหมาะสมตามหลักการ ของการจดั ทำชดุ กิจกรรม แลว้ นำมาปรับปรงุ แก้ไขตามคำชี้แนะ 2.4) นำชุดกิจกรรมการเคลื่อนที่แบบโพรเจคไทล์ รายวิชาฟสิ ิกส์ เรื่องการเคลือ่ นท่ี แบบโพรเจคไทล์ ของนักเรยี นช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 ทแี่ กไ้ ขแลว้ เสนอต่อผเู้ ชย่ี วชาญ จำนวน 3 คน ซึ่ง เปน็ ครทู มี่ ีประสบการณ์ทำงานมากกวา่ 10 ปขี ึน้ ไป เพอ่ื ตรวจสอบความเหมาะสมของชดุ กจิ กรรมและ ประเมินชุดกิจกรรม ตามแบบประเมินชุดกิจกรรม ซึ่งมีลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ คือ มากท่สี ุด มาก ปานกลาง นอ้ ย และน้อยทส่ี ดุ โดยใชเ้ กณฑ์ค่าเฉล่ยี 3.51 ข้ึนไป ถอื วา่ ใชไ้ ด้ เป็นเกณฑต์ ดั สนิ วา่ ชุดกิจกรรมมีคุณภาพ โดยมเี กณฑก์ ารพจิ ารณาดังน้ี (บุญชม ศรี สะอาด, 2545) ระดบั คะแนนเฉลีย่ 4.51 – 5.00 หมายถึง มีความเหมาะสมมากท่ีสุด ระดับคะแนนเฉลยี่ 3.51 – 4.50 หมายถงึ มีความเหมาะสมมาก ระดับคะแนนเฉลย่ี 2.51 – 3.50 หมายถงึ มีความเหมาะสมปานกลาง ระดบั คะแนนเฉล่ยี 1.51 – 2.50 หมายถึง มีความเหมาะสมน้อย ระดับคะแนนเฉลี่ย 1.00 – 1.50 หมายถงึ มีความเหมาะสมน้อยทีส่ ดุ 2.5) นำผลการประเมินของผู้เชี่ยวชาญทัง้ 3 คน เพื่อหาค่าเฉลีย่ ท่ีเหมาะสมโดยค่า ดัชนีความสอดคล้อง (Item Objective Congruency Index: IOC) ตั้งแต่ 0.5 ขึ้นไป จึงจะนำไปใช้ ในการจัดการเรียนการสอนได้ ซึ่งผลการหาค่าดัชนคี วามสอดคลอ้ ง (IOC) ของชดุ กจิ กรรมมีค่าเท่ากับ 0.67 – 1.00 2.6) นำชุดกจิ กรรมการเคลื่อนท่ีแบบโพรเจคไทล์ที่ผ่านการประเมนิ ของผู้เช่ียวชาญ มาปรบั ปรุงแกไ้ ขตามข้อเสนอแนะของผเู้ ชีย่ วชาญให้เป็นแผนการจดั การเรียนรูท้ ส่ี มบูรณ์ เพอื่ นำไปใช้ สอนกับกลมุ่ ตวั อย่างตอ่ ไป

37 3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนรายวิชาฟสิ ิกส์ เร่อื งการเคลอื่ นที่แบบโพรเจคไทล์ ของนักเรยี นชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 มขี ้นั ตอนการการสร้างและหาคณุ ภาพ ดงั น้ี 3.1) ศึกษาตำรา เอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสร้างแบบทดสอบวัด ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน และวิธีตรวจสอบหาคุณภาพของแบบทดสอบ เพือ่ เปน็ แนวทางในการจัดทำ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาฟิสิกส์ เรื่องการเคลื่อนที่แบบโพรเจคไทล์ ของ นักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 4 3.2) วิเคราะห์เนื้อหา จุดประสงค์การเรียนรู้ มาตราฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด รายวิชาฟสิ ิกส์ เรอ่ื งการเคลอื่ นที่แบบโพรเจคไทล์ ของนักเรยี นช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 เพอ่ื นำเน้ือหามา สรา้ งแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น 3.3) สร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นรายวิชาฟิสิกส์ เรื่องการเคล่อื นที่ แบบโพรเจคไทล์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 แบบปรนัย ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก โดย ครอบคลุมเนอ้ื หาและจุดประสงคก์ ารเรียนรู้ จำนวน 30 ข้อ 3.4) นำรา่ งแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนทีส่ ร้างเสนอต่อหัวหน้ากลุ่มสาระ การเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง และเหมาะสมตามหลักการของ การจดั ทำแบบทดสอบ แลว้ นำมาปรับปรงุ แกไ้ ขตามคำช้แี นะ 3.5) นำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่แก้ไขแล้วเสนอต่อผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 3 คน ซึ่งเป็นครูที่มีประสบการณ์ทำงานมากกว่า 10 ปีขึ้นไป เพื่อตรวจความสอดคล้ อง ระหว่างข้อสอบกับจุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อนำผลมาวิเคราะห์หาค่าดัชนีความสอดคล้อง (Item Objective Congruency Index: IOC) ซึ่งผลการหาค่าดชั นคี วามสอดคล้อง (IOC) ของแบบทดสอบ วดั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนมคี า่ เทา่ กับ 0.67 – 1.00 3.6) นำแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นท่ีผา่ นการตรวจสอบจากผู้เชี่ยวชาญ แล้ว จำนวน 30 ข้อ ไปทดลองใช้ (Try-out) กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนราชประชานุ เคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่ จำนวน 20 คน ทเี่ คยเรยี นเน้ือหานีม้ าแล้ว 3.7) นำกระดาษคำตอบของนักเรียนมาตรวจให้คะแนน โดยข้อใดตอบถูกให้ 1 คะแนน ขอ้ ใดตอบผดิ ให้ 0 คะแนน รวมคะแนนแตล่ ะคนแล้วนำมาวิเคราะหข์ อ้ สอบเปน็ รายขอ้ เพ่ือ นำมาวิเคราะห์หาค่าความยากง่าย (P) ค่าอำนาจจำแนก (r) และค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ (บุญชม ศรีสะอาด, 2545) ภายหลังการวิเคราะห์พบว่าค่าความยากง่ายเท่ากับ 0.20 – 0.70 ค่า อำนาจจำแนกเทา่ กบั 0.20 – 0.70 และค่าความเช่อื มั่นเทา่ กับ 0.86 3.8) จดั ทำแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาฟิสิกส์ เรื่องการเคลื่อนที่ แบบโพรเจคไทล์ ของนักเรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 ฉบับสมบูรณ์ เพือ่ นำไปใชก้ บั กล่มุ ตัวอย่างต่อไป 4) แบบประเมนิ ความพงึ พอใจในการเรียน มีขนั้ ตอนการการสรา้ งและหาคุณภาพ ดงั นี้

38 4.1) ศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สาระการ เรยี นรู้ มาตรฐานการเรียนร้แู ละตัวช้ีวัด คู่มอื ตำรา เอกสาร และงานวจิ ัยที่เกี่ยวข้องกับการสร้างแบบ ประเมนิ ความพึงพอใจในการเรียน 4.2) สรา้ งแบบประเมินความพงึ พอใจในการเรียน ซ่ึงมีลกั ษณะเป็นแบบมาตราส่วน ประมาณคา่ (Rating Scale) 5 ระดับ คอื มากทสี่ ุด มาก ปานกลาง นอ้ ย และน้อยทีส่ ุด โดยใช้เกณฑ์ คา่ เฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป ถอื วา่ ใช้ได้ เปน็ เกณฑ์ตัดสนิ ว่านกั เรียนมีความพึงพอใจในการเรียน โดยมีเกณฑ์ การพจิ ารณาดงั นี้ (บุญชม ศรีสะอาด, 2545) ระดบั คะแนนเฉล่ีย 4.51 – 5.00 หมายถงึ มีความพึงพอใจมากทสี่ ุด ระดบั คะแนนเฉลย่ี 3.51 – 4.50 หมายถงึ มีความพึงพอใจมาก ระดบั คะแนนเฉล่ยี 2.51 – 3.50 หมายถึง มีความพงึ พอใจปานกลาง ระดับคะแนนเฉล่ยี 1.51 – 2.50 หมายถงึ มีความพงึ พอใจนอ้ ย ระดบั คะแนนเฉลย่ี 1.00 – 1.50 หมายถึง มีความพงึ พอใจนอ้ ยท่ีสดุ 4.3) นำร่างแบบประเมินความพึงพอใจในการเรียน ที่สร้างเสนอต่อหัวหน้ากลุ่ม สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง และเหมาะสมตามหลักการ ของการจัดทำแบบประเมินความพงึ พอใจในการเรยี น แล้วนำมาปรบั ปรุงแกไ้ ขตามคำชแี้ นะ 4.4) นำแบบประเมินความพึงพอใจในการเรียน ที่แก้ไขแล้วเสนอต่อผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 3 คน ซึ่งเป็นครูทีม่ ีประสบการณ์ทำงานมากกว่า 10 ปีขึ้นไป เพื่อตรวจสอบความเหมาะสม ของแบบประเมินความพึงพอใจในการเรียน ตามแบบประเมินความเหมาะสม ซึ่งมีลักษณะเป็นแบบ มาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ คือ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย และน้อยที่สุด โดยใช้เกณฑ์ค่าเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป ถือว่าใช้ได้ เป็นเกณฑ์ตัดสินว่าแบบประเมินความพึงพอใจในการ เรยี นมีคุณภาพ โดยมีเกณฑ์การพิจารณาดงั นี้ (บุญชม ศรสี ะอาด, 2545) ระดบั คะแนนเฉลีย่ 4.51 – 5.00 หมายถงึ มีความเหมาะสมมากท่ีสดุ ระดับคะแนนเฉลีย่ 3.51 – 4.50 หมายถงึ มีความเหมาะสมมาก ระดบั คะแนนเฉลี่ย 2.51 – 3.50 หมายถึง มีความเหมาะสมปานกลาง ระดบั คะแนนเฉลย่ี 1.51 – 2.50 หมายถึง มีความเหมาะสมนอ้ ย ระดับคะแนนเฉล่ยี 1.00 – 1.50 หมายถงึ มีความเหมาะสมน้อยที่สุด 4.5) นำผลการประเมนิ ของผู้เชีย่ วชาญทั้ง 3 คน เพื่อหาค่าเฉลี่ยที่เหมาะสมโดยค่า ดัชนีความสอดคล้อง (Item Objective Congruency Index: IOC) ตั้งแต่ 0.5 ขึ้นไป จึงจะนำไปใช้ ในการประเมินความพงึ พอใจในการเรียนของนกั เรียนได้ ซึ่งผลการหาค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ของแบบประเมินทักษะมคี ่าเทา่ กบั 0.67 – 1.00

39 4.6) นำแบบประเมินความพึงพอใจในการเรียนที่ผ่านการตรวจสอบจาก ผู้เชี่ยวชาญแล้ว ไปทดลองใช้ (Try-out) กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนราชประชานุ เคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่ จำนวน 20 คน ท่ีเคยเรยี นเนอื้ หาน้มี าแล้ว 4.7) นำผลการแบบประเมินความพึงพอใจในการเรียนของนักเรียนมา วิเคราะหห์ าค่าความเช่ือมั่นของแบบประเมิน (บญุ ชม ศรสี ะอาด, 2545) ภายหลังการวิเคราะห์พบว่า คา่ ความเช่ือมั่นเท่ากับ 0.89 4.8) จัดทำแบบประเมินความพึงพอใจในการเรียน ฉบับสมบูรณ์ เพื่อ นำไปใช้กับกลุม่ ตวั อย่างตอ่ ไป 3.5 ขัน้ ตอนดำเนินการทดลองและเกบ็ รวบรวมข้อมลู 1) ผู้วิจัยทำหนังสือขออนุญาตผู้บริหารโรงเรียน ทำความเข้าใจกับครูและนักเรียน ใน โรงเรียน และแจง้ วตั ถุประสงค์กับนกั เรยี นกลมุ่ ตวั อยา่ ง 2) ผู้วิจัยดำเนินการทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) โดยใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนทผ่ี ู้วิจัยสร้างข้ึนคือ แบบทดสอบแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 30 ข้อ ใช้เวลา 1 ชว่ั โมง 3) ผู้วิจัยดำเนินการสอนด้วยตนเอง ตามแผนการจัดการเรียนรู้การสอนแบบสืบเสาะหา ความรู้ รายวิชาฟิสิกส์ เรื่องการเคลอื่ นที่แบบโพรเจคไทล์ ของนักเรยี นชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4 จำนวน 2 แผน พรอ้ มให้นักเรียนทำแบบทดสอบระหวา่ งเรียนเพอ่ื นำผลไปหาประสทิ ธิภาพของชุดกิจกรรม 4) ผู้วจิ ัยดำเนินการทดสอบหลงั เรยี น (Post -test) โดยใชแ้ บบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิ์ทางการ เรียนฉบับเดยี วกนั กับที่ใช้ในการทดสอบกอ่ นเรยี น 5) ผู้วจิ ยั ดำเนนิ การประเมินความพงึ พอใจในการเรียนของนักเรียน โดยการสอบถามนักเรียน ตามแบบสอบถามความพงึ พอใจในการเรยี น 3.6 การวิเคราะห์ขอ้ มูล 1) หาคา่ ประสทิ ธิภาพของชดุ กิจกรรม (E1/E2) ตามเกณฑ์ 80/80 2) วิเคราะห์เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาศิลปศึกษา เรื่องงานศิลปะภาพปะ ติดจากกระดาษ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ก่อนและหลังเรียน ด้วยการวิเคราะห์ความ แตกตา่ งของค่าเฉล่ยี โดยใช้ ค่า t (Paired Sample t Test) 3) หาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของผลการเรียนรู้ประเด็นความพึงพอใจในการ เรียน โดยภาพรวมและรายด้าน 5 ด้านได้แก่ ด้านเนื้อหา ด้านการจัดกิจกรรมการสอน ด้านสื่อการ เรียนการสอน ด้านการวัดผลการประเมินผล และด้านประโยชน์ที่ได้รับจากการเรียนการสอน หลัง เรยี น โดยใช้เกณฑค์ ่าเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป เป็นเกณฑต์ ดั สนิ ว่านักเรียนมคี วามพงึ พอใจในการเรยี น

40 3.7 สถิติทใ่ี ช้ในการวจิ ัย ผู้วจิ ัยไดด้ ำเนินการวิเคราะหข์ อ้ มูลโดยใชโ้ ปรแกรมสำเรจ็ รปู และใช้สถิติท่ีใชใ้ นการวิจยั ดงั น้ี 1) สถติ ที่ใช้ในการหาคุณภาพเคร่อื งมอื ทใี่ ชใ้ นการวจิ ยั 1.1 ค่าดัชนคี วามสอดคล้อง (Item Objective Congruency Index: IOC) 1.2 คา่ ความยากง่าย (p) 1.3 คา่ อำนาจจำแนก (r) 1.4 คา่ ความเชื่อมัน่ ของแบบทดสอบ (KR-20) 1.5 คา่ ความเช่อื มั่นของแบบประเมิน (KR-21) 2) สถิตเชิงบรรยาย 2.1 ค่าเฉล่ีย 2.2 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 3) สถิติท่ใี ชต้ อบวตั ถุประสงค์การวจิ ยั 3.1 คา่ เฉลยี่ 3.2 ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน 3.3 ค่าประสิทธิภาพของชุดกิจกรรม (E1/E2) 3.3 คา่ คะแนน t-test Dependent (Paired Sample t Test)

41 บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มลู การวจิ ยั เรอ่ื ง การศึกษาผลการเรยี นรู้รายวิชาฟสิ ิกส์ ของนักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้ การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับชุดกจิ กรรมการเคลอื่ นที่แบบโพรเจคไทล์ ผู้วจิ ัยได้นำเสนอผล การวเิ คราะห์ขอ้ มูลตามลำดับ ดังน้ี 1. สัญลกั ษณ์ทใี่ ชใ้ นการเสนอผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู 2. ลำดบั ขั้นตอนในการเสนอผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู 3. ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู 4.1 สัญลกั ษณท์ ี่ใชใ้ นการเสนอผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล เพื่อให้เกิดความเข้าใจในการแปลความหมาย และการนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลได้ ถูกต้อง ผ้วู จิ ัยไดก้ ำหนดความหมายสญั ลักษณ์ทใ่ี ช้ในการวเิ คราะหข์ อ้ มูล ดงั น้ี n แทน จำนวนนักเรยี นกลมุ่ ตวั อยา่ ง x แทน คะแนนเฉลี่ย  X แทน คะแนนรวม S.D. แทน ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน E1 แทน ประสิทธิภาพของกระบวนการ E2 แทน ประสิทธภิ าพของผลลพั ธ์ t แทน คา่ คะแนน t-test Dependent (Paired Sample t Test) 4.2 ลำดบั ขั้นตอนในการเสนอผลการวิเคราะหข์ อ้ มูล ผ้วู จิ ัยไดด้ ำเนินการวเิ คราะห์ข้อมลู และแปลความหมายโดยแบ่งเป็น 3 ตอน ดงั น้ี ตอนที่ 1 ผลการวเิ คราะหห์ าค่าประสทิ ธภิ าพของชดุ กิจกรรมการเคลื่อนที่แบบโพรเจคไทล์ ที่ มปี ระสทิ ธิภาพ (E1/E2) ตามเกณฑ์ 80/80 ตอนที่ 2 ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนกับหลังเรียน รายวิชาฟิสิกส์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับชุด กจิ กรรมการเคล่ือนท่ีแบบโพรเจคไทล์

42 ตอนที่ 3 ผลการวิเคราะห์ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ของระดับความพึงพอใจใน การเรียนของนักเรยี นชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 4 ทม่ี ีตอ่ การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับชุดกิจกรรม การเคลอื่ นท่แี บบโพรเจคไทล์ 4.3 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะห์หาค่าประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมการเคลื่อนที่แบบโพรเจค ไทล์ ท่ีมีประสทิ ธิภาพ (E1/E2) ตามเกณฑ์ 80/80 ตารางที่ 4.1 ผลการวเิ คราะห์ชุดกิจกรรมการเคลื่อนทแ่ี บบโพรเจคไทล์ ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพตามเกณฑ์ 80/80 ชุดกจิ กรรม คา่ ประสทิ ธภิ าพของกระบวนการ (E1) คา่ ประสิทธภิ าพของผลลพั ธ์ (E2) คะแนนเต็ม x S.D. รอ้ ยละ คะแนนเต็ม x S.D. ร้อยละ 1 2 10 8.44 0.85 84.40 30 24.52 2.53 81.73 รวมเฉล่ยี 10 8.52 0.85 85.20 10 8.48 0.85 84.80 30 24.52 2.53 81.73 จากตารางท่ี 4.1 พบว่า ชุดกิจกรรมการเคลือ่ นที่แบบโพรเจคไทล์ ระดับชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 4 มี ค่าประสทิ ธภิ าพโดยรวม 84.80 / 81.73 โดยมีคา่ ประสทิ ธภิ าพของกระบวนการ (E1) เทา่ กับ 84.80 และค่าประสทิ ธภิ าพของผลลัพธ์ (E2) เท่ากบั 81.73 ซงึ่ เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด เมื่อพจิ ารณาราย ชุดกิจกรรม พบวา่ ประสทิ ธิภาพของกระบวนการ (E1) มคี ่าอยู่ระหวา่ ง 84.40 – 85.20 โดยชุด กิจกรรมการเรียนรทู้ ่ีมีประสิทธภิ าพของกระบวนการสูงสดุ คอื ชุดกิจกรรมที่ 2 มคี ่าเทา่ กับ 85.20 เพราะเปน็ กจิ กรรมการทดลองทที่ ำใหน้ ักเรียนเกดิ ความเข้าใจเนือ้ หางา่ ยขน้ึ สว่ นชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้ ที่มปี ระสิทธภิ าพของกระบวนการตำ่ สุด คอื ชดุ กิจกรรมท่ี 1 มคี า่ เท่ากบั 84.40 เพราะเปน็ เนื้อหา หลักการ ทฤษฎี นักเรียนอาจยงั ไมเ่ ข้าใจในเนอื้ หามากอ่ น

43 ตอนที่ 2 ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนกับหลังเรียน รายวชิ าฟิสกิ ส์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 4 โดยใชก้ ารสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ร่วมกับชุด กิจกรรมการเคลือ่ นทแ่ี บบโพรเจคไทล์ ตารางท่ี 4.2 ผลการเปรียบเทียบผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาฟิสกิ ส์ ของนกั เรียนช้ันมัธยมศึกษา ปีที่ 4 โดยใช้การสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ร่วมกับชุดกิจกรรมการเคลือ่ นที่แบบโพร เจคไทล์ กลุม่ ทดลอง n X S.D. t Sig กอ่ นเรียน .000 หลงั เรยี น 29 13.03 1.71 22.04* 29 24.38 2.49 * มนี ยั สำคญั ทางสถิตทิ ีร่ ะดับ .05 (คา่ วกิ ฤตของ t ระดับ .05, df 28 = 1.6924) จากตารางที่ 4.2 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน รายวิชาฟิสิกส์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับชุด กิจกรรมการเคลือ่ นที่แบบโพรเจคไทล์ พบว่า มีคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนเท่ากับ ( X = 24.38, S.D. = 2.49) สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนทีม่ ีค่าเท่ากบั ( X = 12.12, S.D. = 2.55) อย่างมีนยั สำคัญทาง สถิติที่ระดบั .05 ตอนท่ี 3 ผลการวเิ คราะห์ค่าเฉลย่ี และสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน ของระดับความพึงพอใจ ในการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่มีต่อการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับชุด กิจกรรมการเคล่อื นทีแ่ บบโพรเจคไทล์ ตารางที่ 4.3 ผลการวิเคราะห์ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ของระดับความพงึ พอใจในการ เรียนของนักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 ที่มีต่อการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกบั ชุดกจิ กรรมการเคลอื่ นท่แี บบโพรเจคไทล์ ในภาพรวม รายการ n X S.D. แปลผล 1. ด้านเน้อื หาสาระการเรียนรู้ 29 4.28 0.55 มาก 2. ดา้ นการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ 29 4.19 0.85 มาก 3. ดา้ นส่อื การเรียนรู้ 29 4.08 0.86 มาก 4. ดา้ นการวัดผลประเมินผล 29 4.22 0.70 มาก 5. ดา้ นคณุ ลักษณะของผูส้ อน 29 4.28 0.65 มาก รวม 29 4.22 0.73 มาก

44 จากตารางที่ 4.3 พบว่า นักเรียนมีความพึงพอใจในการเรียนโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( X = 4.22, S.D. = 0.73) เมื่อแยกพจิ ารณารายดา้ น พบว่า ดา้ นเน้อื หาสาระการเรียนรู้มคี ่าเฉลยี่ มาก ที่สุด ( X = 4.28, S.D. = 0.55) รองลงมาคอื ด้านคุณลักษณะของผู้สอน ( X = 4.28, S.D. = 0.65) ด้านการวัดผลประเมินผล ( X = 4.22, S.D. = 0.70) ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ( X = 4.19, S.D. = 0.85) และด้านสอ่ื การเรยี นรู้มีค่าเฉล่ยี ต่ำสดุ ( X = 4.08, S.D. = 0.86) ตารางที่ 4.4 ผลการวิเคราะหค์ ่าเฉลีย่ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ของระดับความพงึ พอใจในการ เรียนของนักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 4 ที่มีต่อการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกบั ชุดกิจกรรมการเคลือ่ นทแ่ี บบโพรเจคไทล์ ด้านเนอ้ื หาสาระการเรยี น รายการ n X S.D. แปลผล 1. ความทนั สมัย ทนั เหตกุ ารณข์ องเนือ้ หาสาระ 29 4.42 0.55 มาก 2. เนอื้ หาสาระเกยี่ วขอ้ งกบั ชีวติ ประจำวัน 29 4.28 0.57 มาก 3. เน้อื หาสาระ มีความน่าสนใจนา่ ตดิ ตาม 29 4.17 0.70 มาก 4. เนือ้ หาเป็นประโยชนแ์ ละนำไปประยุกตใ์ ชไ้ ด้ 29 4.28 0.66 มาก ในชวี ติ ประจำวนั รวม 29 4.28 0.55 มาก จากตารางที่ 4.4 พบว่า นักเรียนมีความพึงพอใจในการเรียนด้านเนื้อหาสาระการเรียนโดย ภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( X = 4.28, S.D. = 0.55) เมื่อแยกพิจารณารายประเด็น พบว่า ความ ทันสมัย ทันเหตุการณ์ของเนื้อหาสาระมีค่าเฉลี่ยมากที่สุด ( X = 4.42, S.D. = 0.55) รองลงมาคือ เนื้อหาสาระเกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวัน ( X = 4.28, S.D. = 0.57) เนื้อหาเป็นประโยชน์และนำไป ประยุกต์ใช้ได้ในชีวิตประจำวัน ( X = 4.28, S.D. = 0.66) และเนื้อหาสาระ มีความน่าสนใจน่า ติดตามมคี า่ เฉล่ยี ต่ำสุด ( X = 4.17, S.D. = 0.70) ตารางที่ 4.5 ผลการวิเคราะหค์ ่าเฉลีย่ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ของระดับความพึงพอใจในการ เรียนของนักเรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 4 ที่มีต่อการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับ ชุดกจิ กรรมการเคลอ่ื นทแ่ี บบโพรเจคไทล์ ด้านการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ รายการ n X S.D. แปลผล 5. กิจกรรมการเรียนรู้มีความน่าสนใจ 29 4.14 0.87 มาก 6. กจิ กรรมการเรียนรู้ส่งเสริมให้ผเู้ รียนศึกษา 29 4.19 0.71 มาก คน้ คว้าด้วยการปฏบิ ตั ิจรงิ 7. กจิ กรรมการเรยี นรูส้ ง่ เสริมใหผ้ เู้ รียนใช้ปัญหา 29 4.19 0.75 มาก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook