Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รูปเล่มรายงาน Zero Waste School_65

รูปเล่มรายงาน Zero Waste School_65

Published by Tanapat Issarangkul Na Ayutthaya, 2022-09-12 08:06:13

Description: รูปเล่มรายงาน Zero Waste School_65

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการพิจารณา โครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) ปี ๒๕๖๕ กรมสง่ เสรมิ คุณภาพส่ิงแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่ สานกั บริหารงานการศกึ ษาพิเศษ สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

เอกสารประกอบการพิจารณา โครงการโรงเรยี นปลอดขยะ (Zero Waste School) ปี ๒๕65 กรมส่งเสรมิ คณุ ภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม ของ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่ ปี 2565 สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

ห น้ า | ก คำนำ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่ ไดเ้ ล็งเหน็ ถึงความสำคัญการบริหารจัดการขยะ ภายในโรงเรยี น โดยเรม่ิ วเิ คราะหป์ ญั หา วางแผน และดำเนนิ การต้ังแต่ ปี พ.ศ. 2561 จนถงึ ปจั จุบัน จนเป็น ศูนย์บริหารจัดการขยะแบบครบวงจร ฉะนั้นเพื่อให้ศูนย์บริหารจัดการขยะแบบครบวงจรประสบผลสำเร็จ อยา่ งมีคณุ ภาพ จงึ ได้เข้าร่วมโครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) ปี ๒๕65 ของกรมส่งเสริม คุณภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และได้จัดทำรายงานผลการดำเนินงาน โรงเรียนปลอดขยะ จำนวน 2 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 สรุปผลการดำเนินงานโรงเรียนปลอดภัย และส่วนที่ 2 เอกสารแนบตามเกณฑ์การประเมิน 5 ข้อ คือ (1) นโยบาย การสนับสนุน และแผนการดำเนินงาน (2) กระบวนการสง่ เสริมความรู้ความเข้าใจและการมีส่วนรว่ มจัดการขยะ (3) การจัดการขยะภายในโรงเรียน โดยใช้หลัก 3Rs (4) ผลสำเร็จและความยั่งยืนของโรงเรียนปลอดขยะ และ (5) การจัดการขยะมูลฝอยและ สิง่ แวดลอ้ มตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง เอกสารฉบับนี้เป็นเอกสารประกอบการสมัครเข้าร่วมโครงการและประกอบการพิจารณาโครงการ โรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) ปี ๒๕65 ของกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม หวงั เป็นอย่างยง่ิ วา่ เอกสารฉบบั นจ้ี ะเปน็ ประโยชน์ตอ่ คณะกรรมการประเมินฯ เพ่อื ใช้ประกอบการ พจิ ารณาขอ้ มลู และผลงานของโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่ กมุ ภาพนั ธ์ 2565 เอกสารประกอบการพจิ ารณา โครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) ปี ๒๕65 กรมส่งเสริมคุณภาพสิง่ แวดลอ้ ม กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม

สารบญั ห น้ า | ข คำนำ หน้า สารบญั ก ประวตั โิ รงเรยี น ข สถานทตี่ ัง้ 1 สภาพพน้ื ท่ี 1 ประเภทโรงเรียนท่ีเข้าประเมนิ 1 ทีม่ าของปัญหาขยะมูลฝอยในโรงเรียนกอ่ นดำเนินกิจกรรมโรงเรยี นปลอดขยะ 2 สว่ นท่ี 1 สรุปผลการดำเนินงานโรงเรียนปลอดภยั 3 ส่วนที่ 2 เอกสารแนบตามเกณฑ์การประเมิน 5 9 1. นโยบาย การสนับสนนุ และแผนการดำเนินงาน 9 2. กระบวนการสง่ เสรมิ ความรู้ความเขา้ ใจและการมีสว่ นรว่ มจัดการขยะ 3. การจดั การขยะภายในโรงเรียนโดยใชห้ ลัก 3Rs 25 4. ผลสำเร็จและความยั่งยนื ของโรงเรยี นปลอดขยะ 38 5. การจัดการขยะมลู ฝอยและสง่ิ แวดล้อมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 51 75 เอกสารประกอบการพิจารณา โครงการโรงเรยี นปลอดขยะ (Zero Waste School) ปี ๒๕65 กรมส่งเสริมคณุ ภาพสิ่งแวดลอ้ ม กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม

โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่ | ๑ ชอื่ สถานศกึ ษา โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่ ประวัติโรงเรียนโดยสงั เขป โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่ เป็นโรงเรียนในสังกัดสำนักบรหิ ารงานการศกึ ษา พิเศษ ตั้งอยู่เลขที่ 99 หมู่ 10 ตำบลช่างเคิ่ง อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ รหัสไปรษณีย์ 50270 ดำเนินการภายใต้การประสานงานระหว่างมูลนิธิราชประชานุเคราะห์ในพระบรมราชูปถั มภ์กับ สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ได้รับประกาศจัดตั้งโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อวันที่ 30 เดือนกันยายน พ.ศ. 2541 เป็นโรงเรยี นประเภทศึกษาสงเคราะห์ เป็นโรงเรียนแบบประจำ รับนักเรยี นตัง้ แตช่ ัน้ ประถมศกึ ษา ปีท่ี 1 ถึงระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 รบั เดก็ นกั เรียนทย่ี ากไรท้ างเศรษฐกิจด้อยโอกาสทางการศึกษาทางสังคม และทางภูมิศาสตร์ สงั กัด สำนักบริหารงานการศกึ ษาพเิ ศษ สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ สถานทตี่ ง้ั เลขท่ี 99 ตำบล/แขวง ช่างเคิ่ง อำเภอ/เขตแมแ่ จ่ม จงั หวดั เชยี งใหม่ รหัสไปรษณีย์ 50270 โทรศัพท์ 053 - 106933 โทรสาร 053 - 106933 E-mail : [email protected] Website : http://www.rpk31school.ac.th สงั กัด สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร ผู้บริหารโรงเรยี น ชอื่ นายอดิศร สกลุ แดงเรอื น ตำแหน่ง ผอู้ ำนวยการโรงเรยี น โทรศัพท์ : 089-8554309 อาจารย์ผู้ประสานงาน 1. ชือ่ นายวเิ ศษ สกลุ ฟองตา ตำแหนง่ รองผูอ้ ำนวยการโรงเรียน โทรศพั ท์ : 093-7134455 E-mail : [email protected] ID Line : viset1 2. ช่อื นางสาวรัตตกิ าล สกลุ ยศสขุ ตำแหนง่ ครชู ำนาญการ โทรศพั ท์ : 095-2366658 E-mail :[email protected] ID Line : apple-rattikan สภาพพน้ื ท่ี โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ ตั้งอยู่บนเทือกเขาอินทนนท์บนพื้นที่ 226 ไร่ สภาพที่ตั้งเป็นที่สูงแยกจากถนนซึ่งเคยเป็นเส้นทางยุทธศาสตร์ในอดีต ปัจจุบันเป็นเส้นทางสัญจรระหว่าง อำเภอแมแ่ จ่มไปยังท้องที่ใกลเ้ คียงสามารถเดนิ ทางไดท้ ุกฤดูกาล มอี ากาศเย็นสบายตลอดปี สภาพอากาศในแต่ ละฤดูไม่มีความแตกตา่ งกนั เท่าใดนัก ในฤดูรอ้ นก็ไม่ร้อนอบอ้าวจนเกินไป เพราะมตี ้นไม้ข้นึ อยู่หนาแนน่ และอยู่ ตดิ กับแนวป่าซึง่ เช่ือมตอ่ กับดอยอนิ ทนนท์ซึง่ มีความอุดมสมบูรณ์ และมคี วามช่นื สงู สามารถทำกิจกรรมต่าง ๆ เอกสารประกอบการพิจารณา โครงการโรงเรยี นปลอดขยะ (Zero Waste School) ปี ๒๕65 กรมส่งเสรมิ คณุ ภาพสงิ่ แวดลอ้ ม กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม

โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ | ๒ ได้ตามปกติ เสน้ ทางท่ีจะเข้าสู่โรงเรียนมี 2 สาย คอื สายอินทนนท์และสายอำเภอฮอด โรงเรยี นราชประชานุ- เคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ ห่างจากตัวอำเภอแม่แจ่ม 7 กิโลเมตร มีแหล่งน้ำธรรมชาติ จากลำห้วยเหนือ หมู่บา้ นซง่ึ ไหลมาจากเทือกเขาถนนธงชัย สามารถนำมาอุปโภคและบริโภคได้ หมู่บ้านที่ใกล้เคียง จะมีหมู่บ้านแมป่ าน หมู่บ้านสันเก๋ียง หมู่บ้านห้วยรนิ ประชากรส่วนใหญจ่ ะ ประกอบอาชีพทำนา ทำสวน ทำไร่ข้าวโพด ปลูกถั่วเหลือง ประกอบการค้าขนาดเล็ก บริการสินค้าใน หมู่บ้านในการยังชีพ การดำเนินงานในระยะเริ่มแรกพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัวทรงพระกรุณาโปรด เกลา้ ฯ มอบหมายใหก้ รมสามญั ศกึ ษาโดยสำนกั งานสามญั ศกึ ษาจังหวดั เชยี งใหม่ ดำเนินการขอใชพ้ น้ื ที่ป่า เสื่อมโทรมกับกรมป่าไม้และได้รับอนุญาตให้ใช้พื้นที่ป่าจำนวน 226 ไร่ สำหรับก่อสร้างโรงเรียน กระทรวงศึกษาธิการไดป้ ระกาศจัดตั้งโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อวันที่ 30 เดือนกนั ยายน พ.ศ. 2541 เป็นโรงเรียนประเภทศกึ ษาสงเคราะห์ เปน็ โรงเรยี นแบบประจำ รบั นักเรียน ต้ังแต่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 รับเด็กนักเรียนที่ยากไร้ทางเศรษฐกิจด้อย โอกาสทางการศึกษาทางสงั คม และทางภูมศิ าสตร์ แผนทโ่ี รงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่ ประเภทโรงเรยี นท่เี ข้าประเมิน (เลอื กได้เพียง ๑ ประเภทเทา่ นั้น)  กล่มุ A โรงเรยี นระดับประถมศกึ ษา และโรงเรียนขยายโอกาส  กลุ่ม B โรงเรียนระดบั มธั ยมศึกษา เอกสารประกอบการพจิ ารณา โครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) ปี ๒๕65 กรมสง่ เสริมคณุ ภาพสิ่งแวดลอ้ ม กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม

โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่ | ๓ ทม่ี าของปญั หาขยะมลู ฝอยในโรงเรียนกอ่ นดำเนนิ กจิ กรรมโรงเรยี นปลอดขยะ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ สังกดั สำนักบริหารงานการศกึ ษาพิเศษ เป็นโรงเรยี น ประเภทประจำ มีนักเรียนบุคลากรทั้งสิ้น พันกว่าคน พักอาศัยอยู่ในโรงเรียน โดยแยกนักเรียนเป็นหอนอน มีทั้งสิ้น จำนวน 15 หอนอนแยกชายหญิง นักเรียนและบุคลากรใช้ชีวิตประจำวัน อยู่ในโรงเรียน ตลอด 24 ช่วั โมง การดำเนินชวี ติ ประจำวัน ทำให้เกิดปรมิ าณขยะในแต่ละวันเฉลย่ี ประมาณ 0.5 กิโลกรัมตอ่ คน ในแต่ละ วนั จึงเกดิ ปริมาณขยะมากกวา่ 500 กิโลกรมั จะมีเศษวสั ดุทเ่ี หลอื จากการประกอบอาหารซงึ่ สามารถทำปุ๋ยได้ จำนวนมาก ทำให้ในแต่ละเดือนมีขยะเกิดข้ึนมากถึง 14,600 กิโลกรัม ทำให้ประสบปัญหาด้านการบริหาร จดั การขยะ เนอื่ งจากปรมิ าณขยะทเ่ี พิม่ ขึ้นในทุกวัน โดยมีวธิ กี ารดำเนินการกำจัดขยะแบบเดิม ๆ คือ การย้าย ขยะ การฝังกลบ หรืออาจเผา ซึ่งเป็นวิธีการที่ไม่ถูกวิธี ส่งผลกระทบหลายด้านและเกิดปัญหาต่าง ๆ อาทิ ปัญหามลภาวะก่อให้เกิดผลเสยี ต่อสุขภาพ ส่งกลิ่นเหม็นและเป็นแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรค รวมถึงการเกิดแก๊ส มีเทน ซึ่งเป็นต้นเหตุที่สำคัญประการหนึ่งของภาวะเรือนกระจก อันจะมีผลกระทบต่อภาวะโลกร้อนอย่าง รุนแรง นับเป็นปญั หาเรอื้ รงั หากขยะมูลฝอย สง่ิ ปฏกิ ลู ถูกทิ้ง เกิดการเนา่ เสีย อีกท้ังการกำจดั ขยะของนักเรียน ไม่ถูกวิธีและไม่มีการคัดแยก ทำให้ไม่สามารถนำขยะมาใช้ประโยชน์ได้ ก่อให้เกิดต้นทุนในการดำเนินงาน แก้ปัญหาขยะสูงขึ้นทุกภาคเรียนและสถานที่กำจัดขยะมลู ฝอยไม่เพยี งพอต่อปริมาณขยะที่เพิ่มขึ้นเนื่องจาก พน้ื ที่ของโรงเรียนส่วนใหญเ่ ปน็ พ้นื ท่ีปา่ สงวนแห่งชาติ โรงเรียนเล็งเห็นถึงสำคัญในการแก้ปัญหาอย่างเร่งด่วน ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาลและ กระทรวงศึกษาธิการเรือ่ งมาตรการการแก้ปญั หาขยะอย่างเปน็ ระบบและมีประสิทธิภาพภายใตก้ ารกำกับดูแล ของผู้ที่เกี่ยวข้อง โดยให้สถานศึกษาทุกสถานศึกษากำหนดมาตรการในการบริหารจัดการขยะ ลด คัด แยก ตามบริบทของแต่ละสถานศึกษาอย่างเหมาะสมซึ่งโรงเรียนได้เริ่มดำเนินการคัดแยกขยะจากต้นทางได้แก่ บ้านพักครู, หอนอน, ชนั้ เรียน, สำนักงานตา่ ง ๆ ใหส้ ามารถนำกลับมาใช้ประโยชน์ได้มากทีส่ ุด ลดปริมาณขยะ ทต่ี อ้ งนำเขา้ เตาเผา ตลอดจนเปน็ การฝึกทักษะการทำงานกลุ่มให้กบั นกั เรยี น รวมทงั้ เป็นการเพิ่มมูลค่าให้กับ สิ่งของเหลือใช้ จึงมีการกำหนดมาตรการเกี่ยวกับการการจัดการขยะในโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ โดยเมื่อผ่านกระบวนการคัดแยกขยะตามหลัก 5Rs ได้แก่ Rethink : คิดใหม่ Reduce : ลดการใช้ Reuse : ใช้ซ้ำ Recycle : นำกลบั มาใชใ้ หม่ Return : ตอบแทน ในแต่ละเดอื นสามารถจำแนกขยะ ประเภทต่าง ๆ ได้ดังนี้ (1) ขยะทำปุ๋ย จำนวน 12,133 กก. (2) ขยะขายได้ จำนวน 1,473 กก. (3) ขยะ รไี ซเคลิ จำนวน 30 กก. (4) ขยะอัดแทง่ จำนวน 630 กก. (5) ขยะเสยี จำนวน 334 กก. จากข้อมูลการจำแนกขยะข้างต้น โรงเรียนจงึ แบ่งออกเป็น 5 ประเภท เพือ่ ให้มคี วามชัดเจนมากย่ิงขึ้น จงึ ได้กำหนดไว้ดงั นี้ 1. ขยะทั่วไป (อัดแท่ง) แยกย่อยได้ดังนี้ (1.1) โฟม ต้องทำความสะอาดก่อน โฟมจะถูกนำส่งโรง หลอมโฟม หลังจากนัน้ โฟมที่หลอมจะถูกนำเข้าเครื่องโม่ผสมปูน ทำอิฐมวลเบา (ใช้สร้างตกึ ) (1.2) กล่องนม เมือ่ ทานเสรจ็ จะตอ้ งนำไปเขยา่ น้ำ ชะลา้ งนมที่ตดิ ในกลอ่ งเพื่อไม่ให้เกิดกลนิ่ เหม็นผ่ึงใหแ้ ห้ง นำใสถ่ ึงแยกเฉพาะ กลอ่ งนมหรอื พับเกบ็ รวบรวมเพ่ือนำสง่ BIG C จะส่งไปท่ีมลู นิธเิ พ่อื นพ่งึ พายามยาก (1.3) ถงุ พลาสติก จะถูก แยกออกเป็น พลาสติกใส พลาสติกสี และพลาสติกฟรอยด์ แต่ในโรงเรยี นพลาสตกิ ไม่ได้มากพอท่ีจะแยกเปน็ สว่ นๆเลยจดั การดว้ ยการเอาพลาสตกิ มาเก็บรวมกัน ในถุงใสเลก็ ๆเพือ่ ง่ายต่อการนำถุงพลาสติกเหล่าน้ีไปอัด แท่ง ถ้าพลาสติกสกปรกจะจัดการด้วยการล้างน้ำก่อนแล้วผึ่งให้แห้งก่อนนำไปอดั แท่ง ถุงพลาสติกจะถูกอัด เป็นแท่ง แทง่ ละไมน่ อ้ ยกว่า 30 กิโลกรัม แต่ความชน้ื ของขยะที่อดั จะต้องต่ำกว่า 30% เพราะขยะที่อัดแล้ว จะถูกสง่ ไปยงั บรษิ ัท SCG เพื่อนำไปเป็นเชือ้ เพลงิ ผสมกับถา่ นหนิ ผลติ ไฟฟา้ ปนู ซีเมนต์ เอกสารประกอบการพิจารณา โครงการโรงเรยี นปลอดขยะ (Zero Waste School) ปี ๒๕65 กรมสง่ เสรมิ คุณภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม

โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่ | ๔ 2. ขยะอนั ตราย เช่น หลอดไฟ ถ่านไฟฉาย ทางโรงเรยี นจดั การกบั ขยะอนั ตรายเหล่านีไ้ ด้ดว้ ยวิธีการ ที่ปลอดภัย โดยทุกครั้งต้องสวมหน้ากากเพื่อป้องกันไอปรอทเวลาเราทบุ หลอดไฟ เพราะไอปรอทหากสูดดม เขา้ ไป จะทำใหส้ ารปรอทเข้าไปสะสมในร่างกาย และเกิดผลกระทบตอ่ ระบบการทำงานของอวัยวะต่าง ๆ ถ้า ขยะอันตรายเตม็ ถังท่เี ตรียมไว้ เวลามกี ารกอ่ สรา้ งตึกหรืออาคาร จะตอ้ งขุดหลมุ สเ่ี หลยี่ มก่อดว้ ยปนู ซีเมนต์ 3. ขยะทำป๋ยุ เชน่ เศษอาหารท่นี ักเรียนรบั ประทานไม่หมด เศษผกั ทโี่ รงครวั หลงั จากการประกอบ อาหาร กอ่ ใหเ้ กิดการเนา่ เสียสง่ กล่ินเหม็น จึงจำเป็นต้องจดั การโดยการนำเศษอาหารเหล่านไ้ี ปทำปุ๋ย โดยการ ขุดหลุม เทเศษอาหาร เศษผัก ลงไป หลังจากนั้นใช้น้ำฉีดเพื่อชะล้างเศษอาหาร จะช่วยบรรเทากลิ่น ราดน้ำ หมักชีวภาพตามอกี รอบ ต่อดว้ ยการโปรยมูลสัตว์บาง ๆ สุดทา้ ยนำใบไมม้ าปิดทับสง่ิ ที่เรานำลงหลุมให้มิดชิด (ใบไมเ้ ปียกจะดีมาก เพราะในใบไม้มีเซลลโู ลส จะช่วยดกั กล่ินและชว่ ยในการย่อยสลายไดด้ ี) หลังจากทป่ี ิดด้วย ใบไมจ้ ะตอ้ งสังเกตดว้ ยวา่ มีแมลงวันมาตอมไหมถา้ ยังมใี ห้นำใบไม้ปิดอกี รอบอย่างมิดชดิ 4. ขยะขายได้ เช่น ขวดพลาสติก เหล็ก สังกะสี ฯลฯ ที่แยกออกมาเป็นประเภท เป็นการสร้าง มูลค่าให้กับขยะ แต่ละประเภทราคาก็จะต่างกัน ในการเช็คพลาสติกนั้นว่าเป็นพลาสติ๊กกรอบหรือพลาสติ๊ก รวมทำได้โดยการนำไปลอยนำ้ หากจมจะเปน็ พลาสตกิ กรอบ หากลอยจะเปน็ พลาสติกรวม 5. ขยะเสยี เช่น ผา้ ทไ่ี ม่ใชแ้ ลว้ รองเท้าที่ไมใ่ ช่ยาง ผ้าอนามัย แผงยา ฯลฯ จะถูกแยกไวเ้ พือ่ นำสง่ เขา้ เตาเผาขยะตอ่ ไป เพื่อลดความรุนแรงของปัญหาขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นทั้งในอดีตจนถึงปัจจุบันและจะเกิดขึ้นในอนาคต ที่ส่งผลกระทบต่อสุขอนามัยของนักเรียน บุคลากรของโรงเรียน และบรรยากาศท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ ทางโรงเรยี นจึงได้บริหารจัดการขยะ โดยจดั ทำโครงการศนู ย์บรหิ ารจัดการขยะแบบครบวงจร เอกสารประกอบการพิจารณา โครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) ปี ๒๕65 กรมสง่ เสริมคุณภาพส่งิ แวดลอ้ ม กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม

โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่ | ๕ ส่วนที่ 1 สรปุ ผลการดำเนินงานโรงเรยี นปลอดขยะ เกณฑ์การ รายละเอียด เอกสาร ประเมนิ แนบหน้าท่ี 1. นโยบาย การสนับสนนุ และแผนการดำเนนิ งาน 9 10 1.1 นโยบาย 1. โรงเรียนมกี ารกำหนดนโยบาย วสิ ยั ทศั น์ การบรหิ ารจัดการขยะตน้ ทางอย่างชัดเจน 11 12 และ ผา่ นการประชมุ หารือกับครู บุคลากร และนักเรยี น 15 16 การสอ่ื สาร 2. โรงเรยี นมปี ระกาศมาตรการของสถานศึกษา เพอ่ื ถ่ายทอดนโยบายให้กับครู บุคลากร 20 นโยบายของ และนกั เรียนได้รบั ทราบ เกยี่ วกบั การดำเนินงานศนู ยบ์ รหิ ารจัดการขยะแบบครบวงจร 24 ผูบ้ รหิ ารภายใน 3. โรงเรียนมีการส่อื สาร ถา่ ยทอดนโยบายใหบ้ คุ ลากรภายในโรงเรยี นและภายนอก 25 25 โรงเรียน โรงเรียน ด้วยช่องทางไลน์, Facebook, Youtube, Website, และหนังส้นั 27 4. โรงเรียนมีการอบรมครูและนกั เรยี นแกนนำโรงเรยี นปลอดขยะ 28 5. โรงเรยี นมีการดำเนนิ งานบริหารจดั การขยะตามกระบวนการของ RPK31 MODEL 29 1.2 แผนการ 1. โรงเรยี นได้จดั ทำโครงการศนู ยบ์ ริหารจดั การขยะแบบครบวงจร และแต่งตั้ง ดำเนนิ งาน คณะทำงานในแตล่ ะขัน้ ตอน โดยกำหนดครูร่วมกบั นักเรยี นแกนนำเปน็ ผรู้ บั ผิดชอบ โรงเรียนปลอด โครงการ และครู บคุ ลากร นักเรียนทกุ คนเปน็ ผเู้ ข้าร่วมโครงการ ขยะ 2. วางแผนการดำเนินกจิ กรรมการคดั แยกขยะจากตน้ ทาง คอื หอ้ งเรยี น หอนอน หอ้ งสำนกั งาน อาคารเรียน และจดุ ต่าง ๆ ของโรงเรียน โดยแบง่ ออกเป็น 5 ประเภท คอื (1) ขยะทวั่ ไป (2) ขยะอนั ตราย (3) ขยะทำปุ๋ย (4) ขยะขายได้ และ (5) ขยะเสีย และส่งตอ่ เขา้ สู่ขัน้ ตอนการดำเนินงานของธนาคารขยะโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่ต่อไป 3. คณะทำงานรว่ มกนั ตดิ ตามและประเมนิ ผลการดำเนนิ งานโครงการและผลสำเรจ็ เพือ่ นำขอ้ มูลมาปรบั ปรงุ เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการดำเนนิ งาน 4. นำผลการดำเนินงานมาปรบั ปรงุ แกไ้ ขโครงการ/กจิ กรรมในปกี ารศกึ ษาถัดไป 2. กระบวนการสง่ เสรมิ ความร้คู วามเขา้ ใจและการมีสว่ นร่วมจดั การขยะ 2.1 1. โรงเรียนมีการพฒั นาหลักสตู รเพมิ่ เตมิ ด้านการจดั การขยะและสงิ่ แวดลอ้ ม ผา่ นการ กระบวนการ บูรณาการความรเู้ ขา้ กับเนื้อหาวิชาเรียน เพือ่ เสรมิ สรา้ งความรู้และจติ สำนกึ ใหผ้ ู้เรยี น พฒั นาผู้เรียน 2. โรงเรียนมีการกจิ กรรมการเรยี นร้ดู า้ นการจัดการขยะทีต่ ้นทางและสรา้ งความเขา้ ใจแก่ และส่งเสริม ผเู้ รียนใหส้ ามารถคัดแยกขยะได้อยา่ งถกู ตอ้ งตามประเภท และนำขยะกลบั มาใช้ ความรคู้ วาม ประโยชน์ เข้าใจการจัดการ 3. โรงเรียนมกี ารสอดแทรกองค์ความรกู้ ารจดั การในการเรยี นการสอน สาระการเรยี นรู้ ขยะมลู ฝอย หรือประยกุ ต์องค์ความรู้ และมีการบรู ณาการหลกั สตู รการเรียนการสอนตามความ เหมาะสมตอ่ วยั ผเู้ รียน 4. โรงเรยี นเปดิ ศูนยบ์ รหิ ารจัดการขยะแบบครบวงจร เพือ่ ใหน้ กั เรียนสามารถเรียนรูจ้ าก การฝกึ และปฏบิ ัตงิ านจริง โดยมี 7 ขนั้ ตอนคอื (1) รบั บัตรควิ (2) ช่งั น้ำหนกั /ตีราคา (3) บนั ทกึ ข้อมลู (4) จุดคดั แยกขยะ (5) อัดแทง่ (6) ประมาณผล และ (7) จำหน่าย เอกสารประกอบการพิจารณา โครงการโรงเรยี นปลอดขยะ (Zero Waste School) ปี ๒๕65 กรมส่งเสรมิ คุณภาพส่งิ แวดลอ้ ม กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม

โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่ | ๖ เกณฑก์ าร รายละเอียด เอกสาร ประเมนิ แนบหนา้ ที่ 2.2 การมสี ว่ น 1. ผเู้ รียนและบุคลากรภายในโรงเรยี นมีสว่ นร่วมในการคดั แยกขยะ นำขยะกลบั มาใช้ 33 ร่วมของผเู้ รียน ประโยชน์ผา่ นกจิ กรรมศนู ยบ์ รหิ ารจัดการขยะแบบครบวงจร และผู้เรยี นสามารถ และบุคลากร สรา้ งรายไดร้ ะหว่างเรยี นผ่านกจิ กรรมธนาคารขยะของโรงเรียน ภายในโรงเรียน 2. ผเู้ รียนและบุคลากรมสี ว่ นรว่ มในการประชมุ วางแผน หารอื เสนอความคิดเหน็ 33 เพ่อื แก้ปัญหาเร่อื งขยะรว่ มกนั 3. โรงเรียนได้สร้างแรงจงู ใจใหเ้ กดิ การมสี ว่ นร่วมของผู้เรียนและบคุ ลากรภายในโรงเรยี น 34 ผ่านการรณรงค์และส่งเสรมิ จติ สำนึกคณุ ค่าของขยะแต่ละประเภท 4. จำนวนผเู้ รียนและบุคลากรภายในโรงเรยี นที่เขา้ รว่ ม หรอื มสี ว่ นรว่ มกจิ กรรมการจดั การ 34 ขยะของโรงเรียน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100.00 2.3 การมสี ่วน โรงเรยี นมกี ารบริหารจดั การขยะด้วยนวัตกรรม RPK31 MODEL รว่ มกับ 3 ภาคี รว่ มของภาค เครือข่าย คอื โรงเรียน องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ และชมุ ชน หน่วยงานราชการต่าง ๆ สว่ นตา่ ง ๆ ดงั น้ี ภายนอก 1. โรงเรียน คือ สถานศกึ ษาในเครอื ขา่ ยอำเภอแม่แจม่ สถานศกึ ษาสงั กดั สำนัก 35 โรงเรยี น บริหารงานการศึกษาพเิ ศษ และสถานศกึ ษาตา่ ง ๆ ท่มี คี วามสนใจในเร่ืองการบรหิ าร จัดการขยะ มสี ่วนรว่ มในแปลกเปลี่ยนเรยี นรเู้ ร่ืองการบริหารจัดการขยะภายในโรงเรยี น 2. องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ และชุมชน คือ องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ และชมุ ชน 35 ของอำเภอแม่แจ่ม มสี ่วนรว่ มในการสนับสนนุ ด้านองคค์ วามรู้ วสั ดุอุปกรณ์ และการจดั จำหนา่ ยขยะทีข่ ายได้เพือ่ สร้างรายไดส้ ชู่ ุมชน 3. หน่วยงานราชการตา่ ง ๆ คือ หน่วยงานราชการในอำเภอแมแ่ จม่ และจังหวัด 36 เชียงใหม่ มสี ่วนร่วมและใหค้ วามช่วยเหลอื ในการแก้ปัญหาเร่อื งขยะ อาทิ สาธารณสุข อำเภอแมแ่ จม่ เทศบาลเมืองแมแ่ จม่ เป็นตน้ 2.4 จดุ เรยี นรู้ 1. ศนู ยบ์ รหิ ารจัดการขยะแบบครบวงจร 36 หรอื แหล่งเรยี นรู้ 2. ศนู ย์การเรียนรู้ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 37 ในโรงเรียน 3. โคกหนองนาโมเดล 37 4. ห้องเรียนสีเขียว (Green Learning Society) 37 5. การประกวดโครงการบริหารจดั การขยะในห้องเรียน 38 3. การจดั การขยะภายในโรงเรียนโดยใช้หลกั 3Rs 3.1 เส้นทาง โรงเรยี นมกี ำหนดเสน้ ทางการจัดการขยะ ดังน้ี การจัดการขยะ 1. กอ่ นดำเนนิ กิจกรรม โดยเร่มิ ต้นการใหค้ วามรแู้ ละรณรงค์การใช้สง่ิ ของทจี่ ำเปน็ อยา่ ง 38 ของโรงเรียน ประหยัดเพื่อลดการเกิดขยะ และใหบ้ คุ ลากรและนกั เรียนคัดแยกขยะจากตน้ ทาง (โรงอาหาร, หอ้ งเรียน, หอนอน, บ้านพกั , โรงครัว) โดยแยกขยะตามประเภท (ขยะท่ัวไป, ขยะสยี , ขยะขายได,้ ขยะอนั ตราย, ขยะทำป๋ยุ ) และดำเนนิ การตาม แผนผังเสน้ ทางของศนู ย์บริหารจดั การขยะแบบครบวงจร 2. หลงั ดำเนนิ กจิ กรรม มกี ารคัดแยกขยะอย่างถูกประเภทตามเสน้ ทาง (ขยะทว่ั ไป, ขยะ 40 สีย, ขยะขายได้, ขยะอันตราย, ขยะทำปยุ๋ ) ทำใหข้ ยะแตล่ ะประเภทเกดิ ประโยชน์และ มคี วามคมุ้ คา่ มากทส่ี ุด เอกสารประกอบการพจิ ารณา โครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) ปี ๒๕65 กรมส่งเสรมิ คณุ ภาพส่ิงแวดล้อม กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม

โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่ | ๗ เกณฑก์ าร รายละเอียด เอกสาร ประเมนิ แนบหนา้ ท่ี 3.2 กจิ กรรม 1. Reduce : โรงเรยี นสง่ เสริมใหม้ กี ารใช้นอ้ ยหรือลดการใชส้ ิ่งของทไ่ี มจ่ ำเปน็ เพอ่ื ลด 40 การจดั การขยะ ปริมาณขยะจากตน้ ทาง ผ่านกจิ กรรมโรงเรียนปลอดโฟม/ถุงพลาสตกิ การใช้กระบอก 41 ทัง้ 4 ประเภท นำ้ สว่ นตัวแทนขวดนำ้ พลาสตกิ การใช้ปน่ิ โตบรรจุอาหาร รณรงค์การรบั ประทาน 42 42 ตามหลัก 3Rs อาหารใหห้ มด การใชผ้ า้ แทนกระดาษ เปน็ ต้น 43 49 2. Reuse : โรงเรียนส่งเสริมใหม้ กี ารนำบรรจภุ ณั ฑห์ รือวัสดเุ หลอื ใชก้ ลับมาใช้อีก ผา่ น 51 กจิ กรรมการลดปรมิ าณกระดาษจากการทำงานผา่ นแอพพลเิ คชน่ั ของโรงเรียน การ 52 53 สั่งงานออนไลน์ การซ่อมแซมอุปกรณ์ตา่ ง ๆ การใชร้ ะบบแสงไฟจากโซลาเซลลท์ ง้ั 58 โรงเรยี น เปน็ ตน้ 60 61 3. Recycle : โรงเรยี นส่งเสริมใหม้ ีการคดั แยกขยะนำมารีไซเคิลกลับมาใช้ประโยชน์ เช่น 63 โดยการใชก้ ระดาษสองหนา้ การใช้กล่องลงั แทนฟวิ เจอรบ์ อร์ด การนำกล่องนมและ ขวดพลาสติกมาสรา้ งชนิ้ งาน เป็นต้น 4. โรงเรยี นเก็บรวบรวมข้อมลู ปริมาณขยะท่ีเข้าสู่กจิ กรรม เพื่อเป็นฐานขอ้ มลู สารสนเทศ ผา่ นโปรแกรมบริหารจดั การขยะ checkin.rpk31 3.3 นวตั กรรม โรงเรยี นมนี วัตกรรมการจัดการขยะของโรงเรยี น ดังน้ี การจัดการขยะ 1. ศนู ยบ์ ริหารจดั การขยะแบบครบวงจร ด้วย RPK 31 MODEL ตามมาตรการ 5Rs ของโรงเรียน 2. โปรแกรมบรหิ ารจัดการขยะ checkin.rpk31 จนได้รบั รางวลั รองชนะเลศิ อันดบั 2 การประกวดผลงานนวตั กรรมการจดั การขยะมลู ฝอยชมุ ชน 1 อปท. 1 นวัตกรรมจดั การชุมชน ประจำปี 2562 (ภายใต้หัวข้อ “ลดใช้ พลาสตกิ โฟม และ Single Use Plastic”) จากกรมส่งเสริมคุณภาพสง่ิ แวดล้อม กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม 4. ผลสำเร็จและความยงั่ ยืนของโรงเรยี นปลอดขยะ 4.1 ระดับ 1. โรงเรยี นมีการสง่ เสริมความรูก้ ารจดั การขยะให้กบั ผู้เรียนและบคุ ลากรทกุ คน ผา่ น ความรู้ ความ การจัดอบรมครูและนกั เรยี น การใหน้ กั เรียนแกนนำความรตู้ ามหอนอน การเรยี นรู้ เขา้ ใจของผ้เู รยี น ตามฐานการเรียนรู้ การประกาศเสยี งตามสาย และบอร์ดความรเู้ รอื่ งขยะ และบุคลากร 2. ผเู้ รียนและบุคลากร รอ้ ยละ 99.00 มคี วามรคู้ วามเข้าใจในประเภทขยะ และ ภายในโรงเรยี น การจัดการขยะแต่ละประเภทไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ผลการประเมนิ อย่ใู นเกณฑท์ ีด่ ี 4.2 มจี ิตสำนกึ 1. โรงเรียนมีการส่งเสรมิ จิตสำนกึ และปรบั พฤตกิ รรมของผเู้ รียนใหส้ ามารถคัดแยกขยะ และพฤตกิ รรม และจัดการขยะไดอ้ ย่างถูกต้อง โดยจดั อบรมและจดั กิจกรรมตา่ ง ๆ เกยี่ วกบั เร่อื งขยะ การจัดการขยะ อาทิ คัดแยกขยะจากตน้ ทางตรงตามประเภท, รบั ซอื้ ชายขยะ, ทานหมดยกหอนอน, ทด่ี ี กิจกรรมชง่ั เศษอาหาร, Snack box เปน็ ตน้ สง่ ผลใหโ้ รงเรียนและหอ้ งเรยี นสะอาด เป็นระเบียบเรียบรอ้ ย 2. โรงเรียนได้ทำขอ้ ตกลง กฎระเบียบ ด้านการจดั การขยะ ร่วมกบั ทุกคนทงั้ ภายในและ ภายนอก 4.3 ขอ้ มลู 1. วธิ กี ารเก็บรวบรวมขอ้ มูลปรมิ าณขยะ ท้งั ขยะในภาพรวมของโรงเรยี น ในรปู แบบ ปรมิ าณขยะที่ ออนไลนผ์ ่านโปรแกรมบริหารจดั การขยะ checkin.rpk31 และมีการรายงานเปน็ บง่ ชผ้ี ลสำเร็จ ระยะผา่ นทาง Website, Facebook, Line ของโรงเรยี น ของกจิ กรรม เอกสารประกอบการพิจารณา โครงการโรงเรยี นปลอดขยะ (Zero Waste School) ปี ๒๕65 กรมส่งเสริมคุณภาพส่ิงแวดลอ้ ม กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม

โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่ | ๘ เกณฑก์ าร รายละเอยี ด เอกสาร ประเมนิ แนบหนา้ ที่ 2. โรงเรียนมีแบบฟอรม์ บนั ทกึ ขอ้ มลู ปรมิ าณขยะ ในรปู แบบออนไลนผ์ า่ นโปรแกรมบรหิ าร จัดการขยะ checkin.rpk31 64 3. คณะทำงานนำขอ้ มลู ปรมิ าณขยะมาวเิ คราะหเ์ พอ่ื ใชใ้ นการปรับปรงุ พฒั นากจิ กรรม โรงเรียนปลอดขยะ 4.4 ความยง่ั ยนื 1. โรงเรยี นมแี ผนดำเนนิ งานโรงเรยี นปลอดขยะในระยะยาว โดยจดั ทำโครงการศูนยก์ าร 67 และตอ่ เน่อื งของ บรหิ ารจัดการขยะแบบครบวงจร เปน็ โครงการตอ่ เนอื่ งทุกปกี ารศกึ ษา การดำเนินงาน 2. มกี ารกำหนดคณะทำงานและแตง่ ตัง้ คณะทำงานครแู ละแกนนำนกั เรียน มกี ารถา่ ยทอด โรงเรยี นปลอด ความองค์ความรจู้ ากพสี่ นู่ อ้ งทกุ ปกี ารศกึ ษา 72 ขยะ 3. โรงเรยี นมกี ารวางระบบบริหารการจดั การขยะ โดยดำเนนิ งานตามโครงการศูนยบ์ รหิ าร จดั การขยะครบวงจร และรูปแบบโปรแกรมออนไลน์ โปรแกรมบรหิ ารจดั การขยะ 72 checkin.rpk31 4. ปัจจุบันการจดั การขยะเป็นส่วนหน่งึ ในการดำรงชวี ติ ประจำวันและเปน็ วฒั นธรรม องคก์ รของผเู้ รียนและบคุ ลากรภายในโรงเรียน อาทิ ครแู ละผเู้ รียนทกุ คนตอ้ งทำการ 74 คดั แยกขยะตน้ ทางให้ถูกประเภท รณรงค์การใชส้ งิ่ ของทีจ่ ำเปน็ การส่งเสริมนำเศษ ขยะกลับมาใชป้ ระโยชนใ์ หม่ การนำขยะไปขายทศ่ี นู ยฯ์ ขยะทุกวนั พธุ หลังเลกิ เรยี น การนำเศษอาหารไปทำปยุ๋ หมักชีวภาพ เปน็ ตน้ 5. การจัดการขยะมูลฝอยและสง่ิ แวดล้อมตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง 5.1 ดำเนิน การดำเนินกจิ กรรมการจดั การขยะ โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ดงั น้ี กจิ กรรมการ 1. กจิ กรรมการจัดการขยะดำเนนิ งานโดยยึดหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง คือ 2 75 จัดการขยะตาม เง่ือนไข 3 ห่วง 4 มิติ โดยใชข้ องทมี่ ีในทอ้ งถ่นิ พง่ึ พาตนเอง เรยี บงา่ ยแตม่ ี หลกั ปรัชญาของ ประสทิ ธิภาพ ภายใตค้ วามรทู้ ่ีถกู ตอ้ งเหมาะสม เศรษฐกจิ 2. มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจในหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและสามารถนำมาประยกุ ต์ใช้ 75 พอเพยี ง ในบริหารจัดการขยะอยา่ งเหมาะสม โดยยึดหลักการพอเพียง โดยการมงุ่ เนน้ การ แกป้ ญั หาทต่ี ้นทาง การใช้ประโยชน์อย่างคุม่ คา่ และการนำกลบั มาใชใ้ หม่ 5.2 การบริหาร โรงเรียนมกี ารดำเนนิ กจิ กรรมการจัดการสง่ิ แวดล้อมอ่ืน ๆ ควบคู่ จดั การ กบั การจดั การขยะและกจิ กรรมการจดั การทรัพยากรธรรมชาติ ดงั นี้ ทรพั ยากรธรรม 1. ศนู ย์บริหารจดั การขยะแบบครบวงจร ด้วย RPK 31 MODEL ตามมาตรการ 5Rs 77 ชาติและ 2. โคกหนองนาโมเดล 77 สิง่ แวดล้อม 3. กจิ กรรมการทำปุย๋ หมกั จากเศษอาหารของนักเรยี น 78 ควบคกู่ าร 4. กจิ กรรมห้องเรียนสีเขียวรว่ มกบั การไฟฟา้ ฝา่ ยผลิตแหง่ ประเทศไทยเพื่อลดการใช้ไฟฟา้ 78 จัดการขยะ โดยใช้พลงั งานทดแทนจากแสงอาทติ ย์ 5. กจิ กรรมสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น ในการอนรุ กั ษ์พนั ธ์ุพชื และการเพ่ิมพน้ื ทสี่ เี ขียว 79 6. กจิ กรรมโครงงานคุณธรรม ในการจัดทำโครงการจดั การขยะในชนั้ เรียน 79 7. กจิ กรรมการดูแลรกั ษาระบบนิเวศควบคูก่ ับการจดั การขยะ 80 8. กจิ กรรมการไมเ่ ผาขยะเพ่อื ลดมลพิษทางอากาศ 80 เปน็ ตน้ เอกสารประกอบการพิจารณา โครงการโรงเรยี นปลอดขยะ (Zero Waste School) ปี ๒๕65 กรมสง่ เสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม

โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่ | ๙ ส่วนท่ี 2 เอกสารแนบตามเกณฑ์การประเมิน (รายละเอยี ดเพิ่มและภาพประกอบ) 1. นโยบาย การสนบั สนนุ และแผนการดำเนินงาน 1.1 นโยบายและการส่อื สารนโยบายของผบู้ ริหารภายในโรงเรียน โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่มีนโยบายและการสื่อสารนโยบายของผู้บริหาร ภายในโรงเรยี น มรี ายละเอียดดงั น้ี 1. โรงเรียนมีการกำหนดนโยบาย วิสัยทัศน์ การบริหารจัดการขยะต้นทางอย่างชัดเจน ผ่านการ ประชุมหารอื กบั ครู บุคลากร และนกั เรยี น โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ มีการกำหนดนโยบาย วิสัยทัศน์ และกลยุทธ์ เกี่ยวกับการบริหารจัดการขยะอย่างชัดเจน และได้มีการจัดตั้งศูนย์บริหารจัดการขยะแบบครบวงจร ด้วย RPK31 MODEL ตามมาตรการ 5Rs เพือ่ บริหารจดั การขยะภายในโรงเรียน ให้ครูและนักเรียนทกุ คนมีความรู้ ความเข้าใจในขยะแตล่ ะประเภท และสามารถคดั แยกขยะแต่ละประเภทไดอ้ ย่างเหมาะสม เอกสารประกอบการพิจารณา โครงการโรงเรยี นปลอดขยะ (Zero Waste School) ปี ๒๕65 กรมส่งเสรมิ คุณภาพส่งิ แวดล้อม กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม

โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ | ๑๐ 2. โรงเรยี นมีประกาศมาตรการของสถานศกึ ษา เพื่อถ่ายทอดนโยบายให้กบั ครู บคุ ลากร และนกั เรยี น ไดร้ บั ทราบ เก่ยี วกบั การดำเนินงานศนู ย์บริหารจัดการขยะแบบครบวงจร โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ มีการประกาศมาตรการศูนย์บริหารจัดการขยะ แบบครบวงจร เปน็ ประจำทกุ ปีการศกึ ษา เอกสารประกอบการพจิ ารณา โครงการโรงเรยี นปลอดขยะ (Zero Waste School) ปี ๒๕65 กรมสง่ เสริมคุณภาพสิ่งแวดลอ้ ม กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม

โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่ | ๑๑ 3. โรงเรียนมีการสื่อสาร ถ่ายทอดนโยบายให้บุคลากรภายในโรงเรียนและภายนอกโรงเรียน ด้วย ชอ่ งทางไลน์, Facebook, Youtube, Website, และหนังส้ัน แบบบนั ทึกการเยย่ี มชมการดำเนนิ งาน แบบบนั ทกึ การเยี่ยมชมการดำเนินงาน จากสำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษา จากสำนกั งานเขตพื้นทีการศึกษา ประถมศึกษาสโุ ขทยั เขต 1 เชียงใหม่ เขต 5 Website ของโรงเรียน Website ศนู ย์บริหารจดั การขยะ Facebook ประชาสัมพันธ์ของโรงเรียน เอกสารประกอบการพจิ ารณา โครงการโรงเรยี นปลอดขยะ (Zero Waste School) ปี ๒๕65 กรมสง่ เสริมคณุ ภาพสง่ิ แวดลอ้ ม กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม

โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่ | ๑๒ 4. โรงเรียนมกี ารอบรมครแู ละนักเรียนแกนนำโรงเรียนปลอดขยะ ข้ันตอนท่ี 1 สรา้ งจิตสำนกึ รู้ลึกถึงปญั หาเกี่ยวกับขยะ โดยเรมิ่ ต้นจากการปรับฐานความคิดของครู และบุคลากรทางการศึกษาทุกคน นักเรียนแกนนำ เรือนนอนละ 3 คน เพื่อสร้างจิตสำนึกถึงปัญหาขยะท่ี เกดิ ขน้ึ ปรับฐานความคดิ บุคลากรทางการศึกษาทุกคน นักเรยี นแกนนำเรือนนอน โดยวทิ ยากร จากสำนกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาเชยี งใหม่ เขต 6 ปรับฐานความคิดบุคลากรทางการศึกษาทกุ คน นักเรยี นแกนนำเรอื นนอน โดยวิทยากร จากองคก์ ารบรหิ ารส่วนตำบลชา่ งเคิ่ง เอกสารประกอบการพิจารณา โครงการโรงเรยี นปลอดขยะ (Zero Waste School) ปี ๒๕65 กรมสง่ เสริมคณุ ภาพสิง่ แวดลอ้ ม กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม

โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่ | ๑๓ ปรบั ฐานความคดิ บคุ ลากรทางการศกึ ษาทุกคน นักเรยี นแกนนำเรือนนอน โดยวทิ ยากร นายกิจจา หนูนิ่ม สรา้ งความเขา้ ใจเรื่องขยะใหก้ บั นักเรยี นชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 2 โดยวิทยากร จากสำนกั งานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาเชียงใหม่ เขต 6 เอกสารประกอบการพิจารณา โครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) ปี ๒๕65 กรมสง่ เสริมคณุ ภาพสงิ่ แวดล้อม กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม

โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่ | ๑๔ ขั้นตอนท่ี 2 กจิ กรรมรู้จรงิ ทำจรงิ ไมน่ งิ่ ดดู าย หลังจากทที่ กุ คนไดร้ ับการปรบั ฐานความคิดในเร่ืองการคัดแยกขยะแล้ว นำความรู้ท่ีได้รับ ถา่ ยทอดใหก้ บั นกั เรยี นเพอ่ื ลงมอื ปฏบิ ตั ติ อ่ ไป นกั เรียนแกนนำถา่ ยทอดความร้เู กีย่ วกับการแยกขยะ การท้ิงขยะใหก้ บั สมาชิกในเรอื นนอนได้รับรู้และถอื ปฏิบัติทุกคน ครูและนักเรยี นแกนนำถา่ ยทอดความรู้และปฏิบตั ิการคดั แยกขยะ ให้กับสมาชกิ ในเรอื นนอนไดป้ ฏิบัตอิ ย่างถกู วิธี เอกสารประกอบการพจิ ารณา โครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) ปี ๒๕65 กรมสง่ เสรมิ คณุ ภาพส่ิงแวดลอ้ ม กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม

โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่ | ๑๕ 5. โรงเรยี นมกี ารดำเนินงานบรหิ ารจัดการขยะตามกระบวนการของ RPK31 MODEL RPK31 MODEL ประกอบด้วย 1. R : Reduce ลด ละ เลิก การใช้ สิ่งที่ก่อให้เกิดมลพิษ เช่น กล่องโฟม แก้ว ถุงพลาสติก โดยมี นโยบาย ให้นกั เรยี นและบคุ ลากร มีกระบอกนำ้ สว่ นตวั ใช้ป่ินโตตักอาหาร แทนการใช้ถงุ พลาสติก พ่อค้าแม่ค้า ทีม่ าขายของในโรงเรยี นงดใช้โฟม ถงุ แก้วพลาสตกิ ในการใสอ่ าหารขายโดยใช้ใบตอง แทนหรือให้นักเรียนนำ ภาชนะมาใส่ พ่อคา้ แม่คา้ ท่ีมาสง่ อาหารในโรงเรยี น ประเภทเนือ้ ใหใ้ ช้ กลอ่ งพลาสติกท่ีสามารถนำกลับมาใช้ได้ อีกครง้ั ใหใ้ ช้ตะกรา้ ใส่แทนถงุ พลาสตกิ ใช้ถุงผ้า ตะกร้า ไปจ่ายตลาด เป็นตน้ Reuse ใช้ซ้ำ การใช้กระดาษ 2 หน้า เศษวัสดุ ที่เหลือจากการประกอบอาหารและเศษอาหาร นำไปทำปุย้ หมักชวี ภาพและเล้ียงสุกร ไก่ เปลอื กผลไม้ อาทิ เปลือกสบั ปะรด แตงโม นำไปทำน้ำหมักดับกลิ่น เพื่อใชด้ บั กลิ่นในหอ้ งน้ำและย่อยสลายไม่ให้ห้องน้ำเหมน็ และเต็มเร็ว กิ่งไมท้ ่ีตดั แต่งนำมาบดเพ่ือผสมดินเป็น ปยุ๋ หมกั Recycle นำกลับมาใช้ใหม่ ซ่อมหรือสรา้ งสรรค์ของใชใ้ หม่ อาทิ ปั๊บขนมปังเก่า นำมาทำเป็นท่ี ตกั ผง โต๊ะ เกา้ อี้ ของใชต้ า่ ง ๆ ที่เก่าใช้ไมไ่ ด้แล้วทสี่ ามารถนำมาดัดแปลงเปน็ ของใช้ ใหเ้ กิดประโยชนแ์ ละคุ้มค่า มากท่สี ุด 2. P : Practice & People center เป็นสถานท่ีฝึกฝนและศนู ย์บริการประชาชนเกี่ยวการบรหิ าร จดั การขยะแบบครบวงจร 3. K : Knowledge ความรู้เกี่ยวกับการบริหารจัดการขยะ การคัดแยกขยะที่ถูกต้องตั้งแต่ต้นทาง โดยแบ่งออกเป็น 5 ประเภท คือ (1) ขยะทั่วไป (2) ขยะอันตราย (3) ขยะทำปุ๋ย (4) ขยะขายได้ และ (5) ขยะเสีย นักเรียน ครูและบุคลากรของโรงเรียนสามารถนำความรู้ทีไ่ ด้รับไปใช้ประโยชน์และขยายผลสู่ชุมชน หรอื องคก์ รตา่ ง ๆได้ 4. 3 : 3 ภาคีเครือข่าย คือ 1) โรงเรียน คือ สถานศึกษาในเครือข่ายอำเภอแม่แจ่ม สถานศึกษา สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ และสถานศึกษาต่าง ๆ มีส่วนร่วมในแปลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการ บริหารจดั การขยะภายในโรงเรียน 2) องคก์ รปกครองส่วนท้องถน่ิ และชุมชน คือ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน และชุมชน ของอำเภอแม่แจ่ม มีส่วนร่วมในการสนับสนุนด้านองค์ความรู้ วัสดุอุปกรณ์ และการจัดจำหน่าย ขยะทีข่ ายได้เพ่ือสรา้ งรายได้สู่ชุมชน และ 3) หน่วยงานราชการ คอื หน่วยงานราชการในอำเภอแม่แจ่ม และ จังหวัดเชียงใหม่ มีส่วนร่วมและให้ความช่วยเหลือในการแก้ปัญหาเรื่องขยะ อาทิ สาธารณสุขอำเภอแม่แจ่ม เทศบาลเมอื งแม่แจ่ม เปน็ ตน้ 5. 1 : ศูนยบ์ รหิ ารจดั การขยะแบบครบวงจร ด้วย RPK31 MODEL ตามมาตรการ 5Rs เอกสารประกอบการพิจารณา โครงการโรงเรยี นปลอดขยะ (Zero Waste School) ปี ๒๕65 กรมส่งเสริมคณุ ภาพส่งิ แวดลอ้ ม กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม

โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ | ๑๖ 1.2 แผนการดำเนินงานโรงเรยี นปลอดขยะ 1. โรงเรยี นได้จัดทำโครงการศนู ย์บริหารจัดการขยะแบบครบวงจร และแต่งตั้งคณะทำงานในแต่ละ ข้ันตอน โดยกำหนดครูร่วมกับนักเรยี นแกนนำเปน็ ผรู้ ับผิดชอบโครงการ และครู บุคลากร นักเรยี นทุกคนเป็น ผูเ้ ข้ารว่ มโครงการ เอกสารประกอบการพิจารณา โครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) ปี ๒๕65 กรมสง่ เสรมิ คณุ ภาพสงิ่ แวดลอ้ ม กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม

โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่ | ๑๗ เอกสารประกอบการพจิ ารณา โครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) ปี ๒๕65 กรมสง่ เสริมคณุ ภาพส่งิ แวดล้อม กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม

โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่ | ๑๘ เอกสารประกอบการพจิ ารณา โครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) ปี ๒๕65 กรมสง่ เสริมคณุ ภาพส่งิ แวดล้อม กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม

โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่ | ๑๙ เอกสารประกอบการพจิ ารณา โครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) ปี ๒๕65 กรมสง่ เสริมคณุ ภาพส่งิ แวดล้อม กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม

โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่ | ๒๐ 2. จัดทำโครงการศนู ยบ์ รหิ ารจัดการขยะแบบครบวงจร และวางแผนการดำเนนิ กิจกรรมการคัดแยก ขยะจากต้นทาง คือ ห้องเรียน หอนอน ห้องสำนักงาน อาคารเรียน และจุดต่าง ๆ ของโรงเรียน โดยแบ่ง ออกเป็น 5 ประเภท คือ (1) ขยะทั่วไป (2) ขยะอันตราย (3) ขยะทำปุ๋ย (4) ขยะขายได้ และ (5) ขยะเสีย และส่งต่อเข้าสู่ขั้นตอนการดำเนินงานของธนาคารขยะโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ ตอ่ ไป เอกสารประกอบการพิจารณา โครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) ปี ๒๕65 กรมส่งเสรมิ คณุ ภาพส่งิ แวดล้อม กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม

โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่ | ๒๑ เอกสารประกอบการพจิ ารณา โครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) ปี ๒๕65 กรมสง่ เสริมคณุ ภาพส่งิ แวดล้อม กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม

โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่ | ๒๒ เอกสารประกอบการพจิ ารณา โครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) ปี ๒๕65 กรมสง่ เสริมคณุ ภาพส่งิ แวดล้อม กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม

โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่ | ๒๓ เอกสารประกอบการพจิ ารณา โครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) ปี ๒๕65 กรมสง่ เสริมคณุ ภาพส่งิ แวดล้อม กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม

โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่ | ๒๔ 3. คณะทำงานรว่ มกนั ติดตามและประเมนิ ผลการดำเนินงานโครงการและผลสำเรจ็ เพือ่ นำข้อมลู มา ปรับปรุงเพ่มิ ประสทิ ธิภาพการดำเนินงาน รปู ภาพคณะทำงานการติดตามและประเมนิ ผลการดำเนินงานโครงการและผลสำเร็จ เอกสารประกอบการพจิ ารณา โครงการโรงเรยี นปลอดขยะ (Zero Waste School) ปี ๒๕65 กรมส่งเสริมคณุ ภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม

โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่ | ๒๕ 4. นำผลการดำเนินงานมาปรบั ปรุงแกไ้ ขโครงการ/กจิ กรรมในปีการศึกษาถัดไป โดยการประเมนิ ผล การดำเนินตามโครงการ ซง่ึ มีรายละเอียดดงั น้ี วธิ กี ารประเมิน เครือ่ งมอื การประเมนิ แหลง่ ขอ้ มูล/ผู้ใหข้ ้อมูล 1. การคัดแยกขยะตน้ ทาง - แบบประเมนิ ครู บคุ ลากร และนกั เรียน 2. การประเมินความพงึ พอใจ - แบบตรวจสอบการคัดแยกขยะ สรุปผลในภาพรวม ผลการดำเนนิ งานเม่อื พจิ ารณาเปรียบเทียบกับวตั ถปุ ระสงค์และเป้าหมายทีก่ ำหนดไว้  ตำ่ กว่ามาก  ต่ำกวา่ เลก็ นอ้ ย  เท่ากัน  สูงกว่าเล็กน้อย  สูงกว่ามาก ประเมนิ ความสำเร็จในภาพรวมคดิ เปน็ รอ้ ยละ ๘๐ (คดิ จากค่าเฉลี่ยของตวั บ่งช้ีความสำเรจ็ ) จุดเด่นของแผนงาน/โครงการ/กจิ กรรมครั้งนี้ ครู บคุ ลากร รอ้ ยละ ๗๘.๖๖ พักอาศยั อยใู่ นโรงเรียน และนักเรยี น รอ้ ยละ ๑๐๐ เป็นนกั เรยี นประจำ จึงเออื้ ตอ่ การดำเนนิ งาน และการจัดกจิ กรรมตา่ ง ๆ ไดอ้ ย่างต่อเน่อื ง จุดท่คี วรพฒั นาของแผนงาน/โครงการ/กจิ กรรมครงั้ นี้ ควรมกี ารทบทวนวธิ กี ารคดั แยกขยะจากต้นทางเป็นประจำ ข้อเสนอแนะเพือ่ การพัฒนาแผนงาน/โครงการ/กจิ กรรมคร้ังต่อไป ครหู อนอนควรเอาใจใส่และดแู ลการคดั แยกขยะจากตน้ ทางของนกั เรียนในหอนอน 2. กระบวนการสง่ เสรมิ ความรู้ความเข้าใจและการมสี ว่ นรว่ มจัดการขยะ 2.1 กระบวนการพัฒนาผูเ้ รียน และส่งเสรมิ ความรคู้ วามเข้าใจการจัดการขยะมูลฝอย 1. โรงเรยี นมกี ารพฒั นาหลกั สูตรเพ่มิ เติม ด้านการจดั การขยะและสิ่งแวดลอ้ ม ผ่านการบูรณาการ ความรู้เข้ากบั เนื้อหาวิชาเรยี น เพื่อเสรมิ สรา้ งความรแู้ ละจิตสำนึกให้ผู้เรียน รูปภาพแสดงการจดั กิจกรรมการเรียนรดู้ ว้ ยวธิ ีการการบรู ณาการความรู้เข้ากับเน้อื หาวิชาเรียนด้านการจัดการ ขยะและสงิ่ แวดล้อม เชน่ การเรียนรู้การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำยาล้างจาน การนำขยะกลบั มาสรา้ งช้ินงาน เอกสารประกอบการพจิ ารณา โครงการโรงเรยี นปลอดขยะ (Zero Waste School) ปี ๒๕65 กรมส่งเสริมคณุ ภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม

โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่ | ๒๖ รูปภาพแสดงชิ้นงานนักเรยี นเก่ียวกบั การคดั แยกขยะในหอนอน รปู ภาพแสดงการนำเศษเหล็กเหลอื ใชม้ าสร้างชิ้นงานนักเรียน เอกสารประกอบการพิจารณา โครงการโรงเรยี นปลอดขยะ (Zero Waste School) ปี ๒๕65 กรมสง่ เสริมคุณภาพสงิ่ แวดล้อม กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม

โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่ | ๒๗ 2. โรงเรียนมีการกิจกรรมการเรียนรู้ดา้ นการจดั การขยะที่ตน้ ทางและสร้างความเข้าใจแก่ผูเ้ รยี นให้ สามารถคัดแยกขยะไดอ้ ยา่ งถกู ต้องตามประเภท และนำขยะกลับมาใชป้ ระโยชน์ รูปภาพแสดงการคัดแยกขยะได้อย่างถูกต้องตามประเภท และนำขยะกลบั มาใชป้ ระโยชน์ รปู ภาพแสดงการจัดการขยะท่ตี น้ ทางและการคดั แยกขยะได้อย่างถูกต้องตามประเภท เอกสารประกอบการพิจารณา โครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) ปี ๒๕65 กรมสง่ เสรมิ คณุ ภาพสิง่ แวดล้อม กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม

โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่ | ๒๘ รปู ภาพแสดงการสรา้ งความเข้าใจแก่ผ้เู รยี นให้สามารถคัดแยกขยะ 3. โรงเรยี นมกี ารสอดแทรกองค์ความรกู้ ารจดั การในการเรียนการสอน สาระการเรยี นรู้ หรือประยกุ ต์ องคค์ วามรู้ และมกี ารบูรณาการหลักสูตรการเรยี นการสอนตามความเหมาะสมต่อวยั ผู้เรียน รูปภาพแสดงปลูกตน้ ไม้โดยใช้ปยุ๋ หมกั ทีน่ กั เรยี นทำขนึ้ เองจากเศษอาหารทีเ่ หลือ เอกสารประกอบการพิจารณา โครงการโรงเรยี นปลอดขยะ (Zero Waste School) ปี ๒๕65 กรมสง่ เสรมิ คุณภาพสงิ่ แวดล้อม กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม

โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่ | ๒๙ รูปภาพแสดงการหมักปุ๋ยดว้ ยวิธีการทางธรรมชาติ รปู ภาพแสดงการทำนำ้ ยาล้างจาน 4. โรงเรยี นเปิดศูนยบ์ รหิ ารจดั การขยะแบบครบวงจร เพอ่ื ใหน้ กั เรียนสามารถเรียนรจู้ ากการฝกึ และ ปฏบิ ตั ิงานจรงิ โดยมี 7 ข้ันตอนคอื (1) รับบตั รคิว (2) ชั่งน้ำหนกั /ตรี าคา (3) บนั ทกึ ข้อมูล (4) จุดคดั แยก ขยะ (5) อดั แท่ง (6) ประมาณผลและจดั จำหน่าย มีรายละเอียดดงั น้ี เอกสารประกอบการพจิ ารณา โครงการโรงเรยี นปลอดขยะ (Zero Waste School) ปี ๒๕65 กรมส่งเสริมคณุ ภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม

โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่ | ๓๐ จดุ ท่ี 1 รบั บตั รควิ มหี น้าที่ แจกบัตรคิว รูปภาพแสดงการรบั บัตรควิ จดุ ที่ 2 ชงั่ นำ้ หนกั และตีราคา มหี นา้ ที่ ชั่งน้ำหนักและตีราคาขยะและแนะนำการคัดแยกขยะ อยา่ งถกู วิธีใหแ้ กผ่ ูเ้ ขา้ รว่ มธนาคารขยะโรงเรยี น รูปภาพแสดงการช่ังนำ้ หนกั และตีราคา เอกสารประกอบการพิจารณา โครงการโรงเรยี นปลอดขยะ (Zero Waste School) ปี ๒๕65 กรมสง่ เสริมคณุ ภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม

โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่ | ๓๑ จุดที่ 3 บันทึกข้อมลู มีหน้าท่ี บันทึกข้อมลู การรวมน้ำหนักของจำนวนขยะแต่ละประเภท และคิด จำนวนเงินทไี่ ด้จาการขายขยะลงในโปรแกรมธนาคารขยะโรงเรยี น รปู ภาพแสดงการบันทกึ ขอ้ มูล จดุ ที่ 4 คัดแยกขยะ มหี น้าท่ี พิจารณาคดั แยกขยะประเภทต่าง ๆ และรวบรวมขยะไวส้ ำหรบั เตรยี ม ขายให้แก่ผู้ซ้อื รปู ภาพแสดงการคดั แยกขยะ เอกสารประกอบการพิจารณา โครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) ปี ๒๕65 กรมส่งเสริมคณุ ภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม

โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่ | ๓๒ จุดที่ 5 อัดแท่ง มีหน้าที่ นำขยะทั่วไปมาอัดแท่งและบันทึกรายการลงในโปรแกรมธนาคารขยะ โรงเรียน รปู ภาพแสดงการอดั แทง่ ขยะ จดุ ที่ 6 ประมวลผลและจดั จำหนา่ ย มีหนา้ ท่ี สรุปการรบั ซ้อื ขยะในแตล่ ะครง้ั ทีเ่ ปิดทำการและนำเอกสาร เกบ็ ไวใ้ นแฟม้ รปู ภาพแสดงการประมวลผลและการจัดจำหนา่ ย เอกสารประกอบการพิจารณา โครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) ปี ๒๕65 กรมส่งเสรมิ คุณภาพสง่ิ แวดล้อม กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม

โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ | ๓๓ 2.2 การมสี ่วนรว่ มของผ้เู รียนและบุคลากรภายในโรงเรยี น 1. ผ้เู รียนและบุคลากรภายในโรงเรียนมสี ่วนร่วมในการคดั แยกขยะ นำขยะกลับมาใชป้ ระโยชนผ์ า่ น กิจกรรมศนู ย์บริหารจดั การขยะแบบครบวงจร และผู้เรียนสามารถสรา้ งรายไดร้ ะหวา่ งเรยี นผา่ นกจิ กรรม ธนาคารขยะของโรงเรยี น รปู ภาพแสดงการมสี ่วนรว่ มของบุคลากรภายในโรงเรยี นมีสว่ นร่วมในการคัดแยกขยะ 2. ผ้เู รียนและบคุ ลากรมสี ว่ นรว่ มในการประชุมวางแผน หารือ เสนอความคิดเห็นเพ่อื แกป้ ญั หาเรื่อง ขยะร่วมกัน รปู ภาพแสดงการมีส่วนร่วมในการประชุมวางแผน หารอื เสนอความคดิ เหน็ เพอ่ื แกป้ ัญหาเรื่องขยะรว่ มกัน เอกสารประกอบการพจิ ารณา โครงการโรงเรยี นปลอดขยะ (Zero Waste School) ปี ๒๕65 กรมส่งเสรมิ คณุ ภาพสงิ่ แวดล้อม กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม

โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่ | ๓๔ 3. โรงเรยี นไดส้ ร้างแรงจงู ใจให้เกิดการมีสว่ นรว่ มของผเู้ รียนและบคุ ลากรภายในโรงเรยี น ผ่านการ รณรงคแ์ ละส่งเสริมจติ สำนกึ คณุ คา่ ของขยะแต่ละประเภท รูปภาพแสดงการอบรมสง่ เสริมแรงจูงใจและส่งเสริมจติ สำนึกคุณค่าของขยะแต่ละประเภท 4. จำนวนผเู้ รยี นและบคุ ลากรภายในโรงเรียนทเ่ี ขา้ รว่ ม หรอื มีส่วนรว่ มกิจกรรมการจดั การขยะของ โรงเรยี น คดิ เป็นร้อยละ 100.00 รปู ภาพแสดงการจดั ตั้งศูนย์การบริหารจัดการขยะแบบครบวงจรภานนโรงเรยี น เอกสารประกอบการพิจารณา โครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) ปี ๒๕65 กรมสง่ เสริมคุณภาพสงิ่ แวดลอ้ ม กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม

โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่ | ๓๕ 2.3 การมสี ว่ นรว่ มของภาคสว่ นตา่ ง ๆ ภายนอกโรงเรียน โรงเรียนมีการบรหิ ารจดั การขยะด้วยนวตั กรรม RPK31 MODEL รว่ มกบั 3 ภาคเี ครือขา่ ย คอื โรงเรียน องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่นและชุมชน หน่วยงานราชการตา่ ง ๆ ดังนี้ 1. โรงเรยี น คือ สถานศกึ ษาในเครือขา่ ยอำเภอแม่แจ่ม สถานศึกษาสังกัดสำนักบรหิ ารงานการศึกษา พเิ ศษ และสถานศึกษาต่าง ๆ ที่มีความสนใจในเรื่องการบรหิ ารจดั การขยะ มสี ่วนรว่ มในแปลกเปลี่ยนเรยี นรู้ เร่ืองการบริหารจดั การขยะภายในโรงเรียน รปู ภาพแสดงการมสี ว่ นร่วมในแปลกเปล่ียนเรยี นรขู้ องสถานศกึ ษาต่าง ๆ 2. องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิ่นและชุมชน คือ องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ และชมุ ชน ของอำเภอแม่ แจ่ม มีส่วนร่วมในการสนบั สนุนด้านองค์ความรู้ วัสดอุ ปุ กรณ์ และการจัดจำหน่ายขยะท่ขี ายได้เพอ่ื สรา้ งรายได้ สชู่ มุ ชน รูปภาพแสดงการรบั ซอ้ื ขยะในโรงเรยี น เอกสารประกอบการพจิ ารณา โครงการโรงเรยี นปลอดขยะ (Zero Waste School) ปี ๒๕65 กรมส่งเสรมิ คุณภาพส่ิงแวดล้อม กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม

โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ | ๓๖ 3. หน่วยงานราชการตา่ ง ๆ คอื หนว่ ยงานราชการในอำเภอแม่แจม่ และจังหวัดเชยี งใหม่ มีสว่ นรว่ ม และให้ความชว่ ยเหลอื ในการแก้ปญั หาเรอ่ื งขยะ อาทิ สาธารณสุขอำเภอแมแ่ จ่ม เทศบาลเมอื งแมแ่ จ่ม เปน็ ตน้ รูปภาพแสดงความรูแ้ ละความชว่ ยเหลอื ในการแกป้ ญั หาเรอ่ื งขยะ 2.4 จดุ เรยี นรู้หรือแหลง่ เรยี นรใู้ นโรงเรยี น 1. ศูนยบ์ รหิ ารจัดการขยะแบบครบวงจร รปู ภาพแสดงศนู ย์บรหิ ารจัดการขยะแบบครบวงจร เอกสารประกอบการพจิ ารณา โครงการโรงเรยี นปลอดขยะ (Zero Waste School) ปี ๒๕65 กรมส่งเสรมิ คุณภาพสิ่งแวดลอ้ ม กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม

โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่ | ๓๗ 2. ศูนย์การเรยี นรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รูปภาพแสดงศนู ยก์ ารเรยี นร้ตู ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 3. โคกหนองนาโมเดล รูปภาพแสดงโคกหนองนาโมเดล 4. หอ้ งเรยี นสเี ขยี ว (Green Learning Society) รปู ภาพแสดงหอ้ งเรยี นสเี ขยี ว (Green Learning Society) เอกสารประกอบการพจิ ารณา โครงการโรงเรยี นปลอดขยะ (Zero Waste School) ปี ๒๕65 กรมส่งเสรมิ คณุ ภาพส่งิ แวดล้อม กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม

โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่ | ๓๘ 5. การประกวดโครงการบริหารจดั การขยะในหอ้ งเรียน รูปภาพแสดงการประกวดโครงการบริหารจัดการขยะในหอ้ งเรียน 3. การจัดการขยะภายในโรงเรยี นโดยใช้หลัก 3Rs 3.1 เสน้ ทางการจัดการขยะของโรงเรยี น โรงเรยี นมกี ำหนดเสน้ ทางการจดั การขยะ ดงั นี้ 1. ก่อนดำเนนิ กจิ กรรม โดยเรมิ่ ต้นการใหค้ วามรแู้ ละรณรงค์การใชส้ ง่ิ ของทจ่ี ำเป็นอยา่ งประหยัดเพื่อ ลดการเกดิ ขยะ และให้บุคลากรและนกั เรยี นคดั แยกขยะจากตน้ ทาง (โรงอาหาร, ห้องเรียน, หอนอน, บ้านพัก, โรงครัว) โดยแยกขยะตามประเภท (ขยะท่วั ไป, ขยะสยี , ขยะขายได้, ขยะอนั ตราย, ขยะทำป๋ยุ ) และดำเนนิ การตามแผนผังเส้นทางของศูนย์ บรหิ ารจดั การขยะแบบครบวงจร 2. หลงั ดำเนนิ กจิ กรรม มีการคดั แยกขยะอยา่ งถูกประเภทตามเส้นทาง (ขยะทว่ั ไป, ขยะสยี , ขยะขาย ได้, ขยะอันตราย, ขยะทำปยุ๋ ) ทำให้ขยะแต่ละประเภทเกิดประโยชน์และมคี วามคมุ้ คา่ มากท่สี ุด เอกสารประกอบการพจิ ารณา โครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) ปี ๒๕65 กรมส่งเสริมคุณภาพส่งิ แวดลอ้ ม กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม

โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่ | ๓๙ รปู ภาพแสดงเสน้ ทางการจัดการขยะของโรงเรยี น เอกสารประกอบการพจิ ารณา โครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) ปี ๒๕65 กรมสง่ เสรมิ คุณภาพสิง่ แวดลอ้ ม กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม

โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่ | ๔๐ รปู ภาพแสดงผลการดำเนนิ งานบริหารจดั การขยะ 3.2 กิจกรรมการจัดการขยะท้ัง 4 ประเภท ตามหลัก 3Rs 1. Reduce : โรงเรยี นสง่ เสรมิ ให้มีการใช้น้อยหรือลดการใช้สิ่งของทีไ่ มจ่ ำเปน็ เพ่อื ลดปรมิ าณขยะ จากตน้ ทาง ผ่านกิจกรรมโรงเรียนปลอดโฟม/ถงุ พลาสตกิ การใช้กระบอกนำ้ ส่วนตวั แทนขวดนำ้ พลาสตกิ การ ใช้ปน่ิ โตบรรจอุ าหาร รณรงคก์ ารรบั ประทานอาหารใหห้ มด การใช้ผ้าแทนกระดาษ เปน็ ตน้ เอกสารประกอบการพจิ ารณา โครงการโรงเรยี นปลอดขยะ (Zero Waste School) ปี ๒๕65 กรมส่งเสรมิ คุณภาพสิ่งแวดลอ้ ม กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม

โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ | ๔๑ รูปภาพแสดงการรณรงค์การใชน้ อ้ ยหรือลดการใช้สง่ิ ของท่ไี ม่จำเป็น 2. Reuse : โรงเรียนสง่ เสรมิ ให้มีการนำบรรจุภัณฑ์หรอื วัสดเุ หลอื ใชก้ ลับมาใชอ้ ีก ผา่ นกจิ กรรมการลด ปริมาณกระดาษจากการทำงานผา่ นแอพพลิเคชัน่ ของโรงเรยี น การส่ังงานออนไลน์ การซอ่ มแซมอปุ กรณต์ ่าง ๆ การใช้ระบบแสงไฟจากโซลาเซลล์ทง้ั โรงเรียน เปน็ ต้น รูปภาพแสดงแอพพลิเคช่ันธนาคารขยะของโรงเรยี น เอกสารประกอบการพจิ ารณา โครงการโรงเรยี นปลอดขยะ (Zero Waste School) ปี ๒๕65 กรมส่งเสรมิ คณุ ภาพส่ิงแวดล้อม กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม

โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่ | ๔๒ 3. Recycle : โรงเรียนส่งเสริมให้มีการคดั แยกขยะนำมารีไซเคิลกลับมาใช้ประโยชน์ เช่น โดยการใช้ กระดาษสองหน้า การใช้กลอ่ งลังแทนฟวิ เจอรบ์ อรด์ การนำกลอ่ งนมและขวดพลาสตกิ มาสรา้ งชนิ้ งาน เป็นตน้ รปู ภาพแสดงการส่งเสรมิ ให้มกี ารคัดแยกขยะนำมารไี ซเคลิ กลับมาใช้ประโยชน์ 4. โรงเรียนเกบ็ รวบรวมข้อมลู ปริมาณขยะทเ่ี ข้าสู่กิจกรรม เพือ่ เป็นฐานข้อมลู สารสนเทศ ผ่าน โปรแกรมบริหารจัดการขยะ checkin.rpk31 รปู ภาพแสดงการเก็บรวบรวมข้อมลู ปริมาณขยะ เอกสารประกอบการพิจารณา โครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) ปี ๒๕65 กรมส่งเสริมคุณภาพส่ิงแวดล้อม กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม

โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่ | ๔๓ 3.3 นวตั กรรมการจัดการขยะของโรงเรียน โรงเรียนมนี วัตกรรมการจดั การขยะของโรงเรียน ดงั นี้ 1. ศูนย์บริหารจดั การขยะแบบครบวงจร ด้วย RPK 31 MODEL ตามมาตรการ 5Rs ชือ่ นวัตกรรมการจัดการขยะ ศนู ยบ์ ริหารจดั การขยะแบบครบวงจร ดว้ ย RPK31 MODEL ตามมาตรการ 5Rs ที่มา/แนวคิด/ต้นแบบ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ สังกัดสำนักบรหิ ารงานการศึกษา พิเศษ เป็นโรงเรียนประเภทประจำ มีนักเรียนบุคลากรทั้งสิ้นพันกว่าคน พักอาศัยอยู่ในโรงเรียน โดยแยก นกั เรยี นเปน็ หอนอน มที ัง้ ส้ิน จำนวน 15 หอนอนแยกชายหญงิ นกั เรียนและบุคลากรใช้ชวี ิตประจำวัน อยู่ใน โรงเรียนตลอด 24 ชั่วโมง การดำเนินชีวิตประจำวัน ทำให้เกิดปริมาณขยะในแต่ละวันเฉลี่ยประมาณ 0.5 กิโลกรัมต่อคน ในแต่ละวันจึงเกิดปริมาณขยะมากกว่า 500 กิโลกรัม จะมีเศษวัสดุที่เหลือจากการประกอบ อาหารซึ่งสามารถทำปุ๋ยได้จำนวนมาก ทำให้ในแต่ละเดือนมีขยะเกิดขึ้นมากถึง 14,600 กิโลกรัม ทำให้ ประสบปัญหาด้านการบริหารจัดการขยะ เนื่องจากปริมาณขยะที่เพิ่มขึ้นในทุกวัน โดยมีวิธีการดำเนินการ กำจัดขยะแบบเดมิ ๆ คือ การย้ายขยะ การฝังกลบ หรืออาจเผา ซึ่งเป็นวิธีการที่ไม่ถูกวิธี ส่งผลกระทบหลาย ด้านและเกิดปัญหาต่าง ๆ อาทิ ปัญหามลภาวะก่อให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพ ส่งกลิ่นเหม็นและเป็นแหล่ง เพาะพันธุเ์ ชอ้ื โรค รวมถงึ การเกดิ แกส๊ มีเทน ซงึ่ เปน็ ตน้ เหตทุ ีส่ ำคัญประการหนึง่ ของภาวะเรอื นกระจก อันจะมี ผลกระทบตอ่ ภาวะโลกร้อนอย่างรนุ แรง นับเป็นปญั หาเร้ือรัง หากขยะมลู ฝอย สิ่งปฏิกูลถกู ท้งิ เกดิ การเน่าเสีย อีกทั้งการกำจัดขยะของนักเรียนไม่ถูกวิธีและไม่มีการคัดแยก ทำให้ไม่สามารถนำขยะมาใช้ประโยชน์ได้ กอ่ ให้เกดิ ต้นทุนในการดำเนินงานแก้ปัญหาขยะสงู ขึ้นทกุ ภาคเรยี นและสถานที่กำจดั ขยะมูลฝอยไม่เพียงพอต่อ ปรมิ าณขยะท่เี พม่ิ ขึน้ เนอื่ งจากพน้ื ทีข่ องโรงเรียนสว่ นใหญเ่ ป็นพนื้ ท่ปี ่าสงวนแห่งชาติ โรงเรียนเล็งเห็นถึงสำคัญในการแก้ปัญหาอย่างเร่งด่วน ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาลและ กระทรวงศกึ ษาธิการเรอ่ื งมาตรการการแก้ปญั หาขยะอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพภายใตก้ ารกำกับดูแล ของผู้ที่เกี่ยวข้อง โดยให้สถานศึกษาทุกสถานศึกษากำหนดมาตรการในการบริหารจัดการขยะ ลด คัด แยก ตามบริบทของแต่ละสถานศึกษาอย่างเหมาะสม โดยโรงเรียนได้จัดทำศูนย์บริหารจัดการขยะแบบครบวงจร ด้วย RPK31 MODEL ตามมาตรการ 5Rs เพื่อจัดการขยะในโรงเรียนโดยเริ่มดำเนินการจากการคัดแยกขยะ จากต้นทางได้แก่ บ้านพักครู, หอนอน, ชั้นเรียน, สำนักงานต่าง ๆ ให้สามารถนำกลับมาใช้ประโยชน์ได้มาก ทสี่ ดุ ลดปริมาณขยะท่ีตอ้ งนำเข้าเตาเผา ตลอดจนเปน็ การฝึกทักษะการทำงานกลมุ่ ให้กับนกั เรียน รวมท้ังเป็น การเพิม่ มลู ค่าให้กบั ส่งิ ของเหลอื ใช้ จึงมกี ารกำหนดมาตรการเกีย่ วกบั การการจดั การขยะในโรงเรยี นราชประชา นุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ โดยเมื่อผ่านกระบวนการคัดแยกขยะตามหลัก 5Rs ได้แก่ Rethink : คิดใหม่ Reduce : ลดการใช้ Reuse : ใช้ซ้ำ Recycle : นำกลับมาใช้ใหม่ Return : ตอบแทน ในแต่ละเดอื นสามารถ จำแนกขยะประเภทตา่ ง ๆ ได้ดังน้ี (1) ขยะทำปยุ๋ จำนวน 12,133 กก. (2) ขยะขายได้ จำนวน 1,473 กก. (3) ขยะรไี ซเคลิ จำนวน 30 กก. (4) ขยะอดั แทง่ จำนวน 630 กก. (5) ขยะเสียจำนวน 334 กก. เพื่อลดความรุนแรงของปัญหาขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นทั้งในอดีตจนถึงปัจจุบันและจะเกิดขึ้นในอนาคต ที่ส่งผลกระทบต่อสุขอนามัยของนักเรียน บุคลากรของโรงเรียน และบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ทางโรงเรยี นจึงไดบ้ รหิ ารจดั การขยะ โดยจดั ทำศนู ยบ์ ริหารจดั การขยะแบบครบวงจรนข้ี น้ึ วิธีการ/ผลสำเร็จของนวัตกรรม กระบวนการบริหารจัดการขยะแบบครบวงจรของโรงเรียนราชประชานุ เคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่ ดังนี้ เอกสารประกอบการพิจารณา โครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) ปี ๒๕65 กรมสง่ เสรมิ คณุ ภาพส่งิ แวดลอ้ ม กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม

โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่ | ๔๔ P : PLAN - วเิ คราะหป์ ัญหา โดยให้นักเรียน ครแู ละบุคลากร วเิ คราะหถ์ งึ ปญั หาเกยี่ วกับขยะในโรงเรียน รวมถงึ การ กำจัดขยะแต่ละประเภทใหถ้ ูกวิธี - วางแผนการดำเนนิ งาน โดยใหค้ รูและแกนนำศึกษาดู งานและจัดอบรมเกยี่ วกับวธิ กี ารคัดแยกขยะจากต้นทาง จากน้นั ใหค้ รแู กนนำขยายผลใหค้ รูใหโ้ รงเรยี น สว่ นนกั เรยี น แกนนำขยายผลให้นักเรยี นในหอนอน เพ่อื ให้ทุกคนมี ความรแู้ ละปฏบิ ตั ิไปได้ถูกต้องในแนวเดียวกนั - แตง่ ตง้ั คณะกรรมการ ประกอบด้วย ผู้รบั ผิดชอบและ หน้าท่ี โดยแบง่ ออกเปน็ ฝ่าย ๆ ดงั น้ี คณะกรรมการ ธนาคารขยะ ฝา่ ยชง่ั นำ้ หนกั ฝา่ ยบนั ทกึ ข้อมูล ฝา่ ย ตรวจสอบความถกู ต้อง ฝา่ ยประมวลผล ฝ่ายคัดแยกขยะ ฝ่ายขยะอัดแทง่ คณะกรรมการส่งเสริมด้านสิง่ แวดล้อมใน โรงเรียน ฝา่ ยอาคารสถานท/่ี จัดเตรียม ฝ่ายการผลติ (น้ำยา นำ้ หมักดบั กลิ่น ป๋ยุ หมัก) ฝ่ายปลกู ต้นไม้ (งานปลูกไผ่ งานปลกู กล้วย งาน ปลูกกาแฟ งานไมป้ ระดับ) ฝ่ายจัดทำอปุ กรณ์ D : Do - สร้างความตระหนกั ให้กบั ครู บุคลากร นักเรียน - อบรมให้ความรูป้ รับฐานความคิดครู บุคลากร นักเรียน - สรา้ งนกั เรยี นแกนนำและขยายผลสู่เรอื นนอน - ดำเนนิ การจดั การขยะในโรงเรียน C : Check - ติดตามการคัดแยก ขยะในเรอื นนอน ห้องเรยี น บ้านพักครู โรงครัว และโรงอาหาร A : Act - ประเมินผลการดำเนินงานการบรหิ ารจดั การขยะแบบ ครบวงจร เอกสารประกอบการพจิ ารณา โครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) ปี ๒๕65 กรมสง่ เสรมิ คุณภาพสง่ิ แวดลอ้ ม กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม

โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่ | ๔๕ 2. กระบวนการจดั การขยะจากต้นทาง ดังนี้ แผนผงั กระบวนการจดั การขยะจากต้นทาง เอกสารประกอบการพจิ ารณา โครงการโรงเรยี นปลอดขยะ (Zero Waste School) ปี ๒๕65 กรมสง่ เสริมคุณภาพสิง่ แวดลอ้ ม กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม

โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ | ๔๖ การบริหารจัดการขยะของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ ด้วยกระบวนการ 5Rs มาตรการหลกั 5Rs ประกอบดว้ ย R : Return การตอบแทน เพิ่มพื้นที่สีเขียวคืนแก่โลกช่วยโลกให้สดใสลดปริมาณแก๊ส คารบ์ อนไดออกไซดแ์ ละลดปญั หาโลกร้อน โดยการปลกู ไผ่ ปลูกกลว้ ย ปลกู กาแฟ และไมเ่ ผาขยะ ไม่เผาใบไม้ R : Reuse ใช้ซ้ำ การใช้กระดาษ 2 หน้า เศษวัสดุ ที่เหลือจากการประกอบอาหารและเศษอาหาร นำไปทำปุ้ยหมักชีวภาพและเลี้ยงสุกร ไก่ เปลือกผลไม้ เช่น เปลือกสับปะรด แตงโม นำไปทำน้ำหมักดับกลิ่น เพ่ือใชด้ ับกลนิ่ ในหอ้ งน้ำและยอ่ ยสลายไม่ให้หอ้ งน้ำเหมน็ และเต็มเร็ว กง่ิ ไม้ท่ีตดั แต่งนำมาบดเพ่ือผสมดินเป็น ปยุ๋ หมัก R : Rethink คิดใหม่ทำใหม่ คิดก่อนทิ้งขยะ ปรับพฤติกรรมการทิ้งขยะใหมค่ ิดใหม่ โดยการแยกขยะ จากต้นทางอย่างจริงจัง หากคุณเปล่ยี น โลกเปล่ียน R : Recycle นำกลับมาใช้ใหม่ ซ่อมหรือสร้างสรรค์ของใช้ใหม่ เช่น ปั๊บขนมปังเก่า นำมาทำเป็นท่ี ตักผง โตะ๊ เก้าอ้ี ของใช้ต่าง ๆ ทเ่ี ก่าใช้ไมไ่ ด้แล้วทีส่ ามารถนำมาดัดแปลงเป็นของใช้ ใหเ้ กดิ ประโยชน์และคุม้ ค่า มากท่ีสดุ R : Reduce ลด ละ เลิก การใช้ สิง่ ทกี่ อ่ ใหเ้ กดิ มลพษิ เช่น กล่องโฟม แกว้ ถุงพลาสติก โดยมนี โยบาย ใหน้ กั เรียนและบุคลากร มกี ระบอกน้ำสว่ นตัวใช้ป่นิ โตตักอาหาร แทนการใชถ้ ุงพลาสติก พ่อค้าแม่ค้าท่ีมาขาย ของในโรงเรียนงดใช้โฟม ถุง แก้วพลาสติก ในการใส่อาหารขายโดยใช้ใบตอง แทนหรือให้นักเรียนนำภาชนะ มาใส่ พอ่ คา้ แม่คา้ ท่มี าส่งอาหารในโรงเรียน ประเภทเน้อื ใหใ้ ช้ กลอ่ งพลาสตกิ ทสี่ ามารถนำกลับมาใช้ได้อีกคร้ัง ใหใ้ ช้ตะกรา้ ใส่แทนถุงพลาสติก ใชถ้ ุงผา้ ตะกรา้ ไปจ่ายตลาด เปน็ ต้น เอกสารประกอบการพิจารณา โครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) ปี ๒๕65 กรมสง่ เสริมคณุ ภาพส่งิ แวดลอ้ ม กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook