Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Demo เล่ม 8 ปี

Demo เล่ม 8 ปี

Published by Samatcha Neamruang, 2016-11-19 07:58:01

Description: เล่ม 8 ปี

Search

Read the Text Version

1

2 8 ปี...ความทรงจำ�...ดว้ ยพลังรกั ...พลังศรทั ธาวิธีการบริหารงาน ความส�ำ เรจ็ ทีเ่ ป็นรูปธรรม • การบริหารแบบมีส่วนร่วม • รางวลั ที่ได้รบั • สร้างวฒั นธรรมองค์กร - รางวัลระดับหน่วยงาน - องค์กรแห่งการเรียนรู้ - รางวัลระดบั บคุ คล - องค์กรแห่งนวตั กรรม • ความส�ำ เร็จด้านต่าง ๆ • สร้างเครือข่าย – NULiNET - ด้านการบริการ - ด้านการจดั การทรพั ยากรสารสนเทศดา้ นการบริหารงาน งานรืน่ รมย์ ชีวิตรื่นรมย์ • หน่วยงานที่มาศึกษาดงู าน • บคุ ลากรทีแ่ ต่งงานสร้างครอบครวั - ระดบั นานาชาติ • บตุ ร/ธิดาทีเ่ กิดในช่วง 8 ปี (2551 – 2558) - ระดับชาติ • การให้ความอนเุ คราะห์ฐาน ข้อมูลทีส่ �ำ นักหอสมุดพฒั นาขึ้น

3รองศาสตราจารย์ ดร.ภญ.รัตติมา จนี าพงษา ผอู้ �ำ นวยการส�ำ นักหอสมดุ (26 มีนาคม 2551 – 26 มีนาคม 2559) รองศาสตราจารย์ ดร.ภญ.รตั ติมา จีนาพงษา ผู้น�ำ แนวทางการมีส่วนร่วมมาใช้ในการพัฒนางานห้องสมุดอย่างจริงจัง ได้ริเริม่สร้างสรรค์สิง่ ใหม่ ๆ และส่งเสริมการท�ำ งานเปน็ ทีมในทกุ มิติการทำ�งาน โดยลงมือปฏิบัติด้วยตนเองแบบล่มหวั จมท้าย ด้วยความทุ่มเทเสียสละ เพือ่ นำ�องค์กรนี้ไปสู่หวั ใจหลักของการทำ�งาน คือ “บริการเป็นเลิศ” สำ�นกั หอสมุด มหาวทิ ยาลยั นเรศวร 2551-2559

4 การมีส่วนร่วมของผเู้ กีย่ วขอ้ ง ผูเ้ กีย่ วขอ้ ง การมีส่วนร่วม ความตอ้ งการ การดำ�เนินงานผบู้ ริหารมหาวิทยาลยั การรายงานผลการดำ�เนินงาน ประสิทธิภาพการด�ำ เนินงาน • งบประมาณ ประจำ�ปีในด้าน - ด้านงบประมาณ • ผลการด�ำ เนินงานด้านงบผ้บู ริหารคณะ - งบประมาณ - การกำ�กับดแู ลกิจการที่ดี ประมาณ - การดำ�เนินงานตามปฏิญญา (ธรรมาภิบาล) • การประเมินการด�ำ เนินงานคณาจารย์ - การประกันคุณภาพ ตามปฏิญญา - การตรวจสอบภายใน • การประเมินคุณภาพภายใน • การตรวจสอบภายในประจำ�ปี • รายงานประจ�ำ ปี • กิจกรรม • การด�ำ เนินงานด้านงบประมาณ • การจัดสรรงบประมาณ Focus Group Discussion ทรพั ยากรสารสนเทศ ทรพั ยากรสารสนเทศ • การประชมุ การจัดซื้อทรพั ยากร • การใช้ทรัพยากรร่วมกัน • รายงานผลการจัดซื้อหนงั สือ สารสนเทศ • รายงานจำ�นวนหนังสือในระบบ • การประเมินความพึงพอใจ ฐานข้อมูล Naresuan Library’s Catalog • การรักษาระดบั ความพึงพอใจ • การประเมินความพึงพอใจ • คณุ ภาพและประสิทธิภาพของ • การรักษาระดับความพึงพอใจ • การสื่อสารผ่านช่องทางต่าง ๆ บริการ • การรบั ฟงั ความคิดเห็น/ข้อเสนอ แนะ  • การปรับปรุงการให้บริการ/การ ปฏิบัติงาน • กิจกรรมสร้างความสัมพนั ธ์ทีด่ ี กับคณาจารย์สำ�นกั หอสมุด มหาวทิ ยาลยั นเรศวร 2551-2559

5 การมีส่วนร่วมของผเู้ กีย่ วข้อง ผู้เกีย่ วขอ้ ง การมีส่วนร่วม ความตอ้ งการ การด�ำ เนินงานนิสิต • การประเมินความพึงพอใจ • คุณภาพและประสิทธิภาพของ • การรกั ษาระดับความพึงพอใจ บคุ ลากร • การสื่อสารผ่านช่องทางต่าง ๆ บริการ • การรับฟงั ความคิดเห็นหรือ ข้อเสนอแนะ ค่คู า้ /ผูส้ ่งมอบ • การประเมินผู้บริหาร • ความม่นั คง/ความก้าวหน้า • การปรับปรงุ การให้บริการ • กิจกรรม Library Say Hi : • ค่าตอบแทน • กิจกรรมสร้างความสมั พันธ์ทีด่ ี เรื่องเล่าชาวส�ำ นกั • สวสั ดิการ กับนิสิต • การประชุม • การพฒั นาตามแผนพฒั นา • การประเมินความพึงพอใจ บุคลากร • การประเมินโครงการ/กิจกรรม • การประเมินผลการปฏิบตั ิงาน • สวัสดิการทีเ่ หมาะสม • ค่าตอบแทนตามระเบียบทาง ราชการ • การติดต่อสือ่ สารผ่านช่องทาง • การปฏิบตั ิตามข้อตกลง/สญั ญา • การคัดเลือกคู่ค้าที่มีความรับผิด ต่าง ๆ ชอบตามข้อตกลง/สญั ญา • การประเมินความพึงพอใจ • งาน NU Book Fairชุมชน/สงั คม/ • การประเมินความพึงพอใจ • คณุ ภาพและประสิทธิภาพของ • โครงการบริการวิชาการแก่สาธารณชน • การสือ่ สารผ่านช่องทางต่าง ๆ บริการ สงั คม • กิจกรรม Road Show ชมุ ชน • การส่งเสริมให้ประชาชนทั่วไป เข้าใช้บริการห้องสมุดโดยไม่ เรียกเกบ็ ค่าใช้จ่าย • การบริจาคหนงั สือ ให้กบั โรงเรียน หน่วยงานทีร่ ้องขอ • การรกั ษาระดับความพึงพอใจ • การรับฟงั ความคิดเห็น/ข้อ เสนอแนะ • การปรับปรุงการให้บริการ/การ ปฏิบัติงาน สำ�นกั หอสมดุ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร 2551-2559

6 เสียงอนั มีค่าจากผมู้ ีสว่ นรว่ ม การประเมินผู้บริหารประจ�ำ ปี ซึ่งเปน็ การประเมินความพึงพอใจในการบริหารงานสำ�นกั หอสมุดจากผู้เกีย่ วข้อง 3 กลุ่มหลัก ประกอบด้วย บุคลากรส�ำ นักหอสมดุ ผู้บริหารคณะ และคณะกรรมการประจำ�สำ�นักหอสมดุ ซึ่งมีผล ประเมิน ดังนี้161412 4.84 4.66 4.731086 4.12 4.00 4.31 4.58 4.54 4.31 4.0042 4.45 4.53 4.55 4.52 3.85 4.49 4.6 4.710 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 บคุ ลากร ผู้บริหารคณะ คณะกรรมการประจำาสำานกั หอสมุดหมายเหตุ : ปี 2551 ประเมินโดยบคุ ลากรสำ�นกั หอสมุด ปี 2552-2555 ประเมินโดยบุคลากรส�ำ นกั หอสมดุ และผู้บริหารคณะ ปี 2556-2558 ประเมินโดยบคุ ลากรสำ�นักหอสมุด ผู้บริหารคณะ และคณะกรรมการประจำ�สำ�นักหอสมดุสำ�นักหอสมดุ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร 2551-2559

7 การประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ เป็นการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ ประจำ�ทุกปีการศึกษาโดยเฉพาะนิสิตทกุ ระดับที่เข้าใช้บริการห้องสมุด ทั้งในส่วนของสำ�นักหอสมดุ และห้องสมุดสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพเพื่อน�ำ ผลประเมินมาปรบั ปรงุ พฒั นาประสิทธิภาพการบริการ ท้ังนี้ได้ทำ�การประเมินใน 5 ด้านประกอบด้วย ด้านทรพั ยากรห้องสมดุ และการบริการสารสนเทศตรงกบั ความต้องการ ด้านกระบวนการ/ข้ันตอนการบริการของห้องสมดุถกู ต้อง รวดเรว็ ด้านบุคลากรของห้องสมดุ ให้บริการได้สอดคล้องกับความคาดหวัง และด้านสถานที่/สิง่ อำ�นวยความสะดวกมีความเหมาะสม และด้านการสือ่ สารกบั ผู้ใช้บริการได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผลประเมินค วามพึงพอใจของผู้ใช้บริการ หมายเหตุ : ปี 2551 ไม่มีการประเมิน ปี 2554 ประเมินเฉพาะห้องสมดุ สาขาฯผลของความส�ำ เรจ็ มีความร่วมมือแบบช่วยคิด ช่วยลงมือทำ� ช่วยแก้ไขปรบั ปรุง บุคลากรได้รับการพฒั นาความรู้ ทักษะในการปฏิบัติงานจากผู้บริหารอย่างใกล้ชิด และมีความรกั ความผกู พนั ในองค์กร องค์กรมีผลสมั ฤทธิ์ทีด่ ีอย่างต่อเนื่องและเป็นที่ยอมรบั สำ�นกั หอสมดุ มหาวิทยาลัยนเรศวร 2551-2559

8 สร้างวัฒนธรรมองค์กร ด้วยความคุ้นเคยกับการท�ำ งานแบบมีส่วนร่วม มีบรรยากาศการท �ำ งานแบบการพดู คุย ปรึกษากนั อยู่เสมอ ได้เรียน รู้ปัญหาจากการท�ำ งาน รจู้ กั คดิ วเิ คราะห์ และหาวิธแี ก้ไข ปรบั ปรงุ พรอ้ มกับลงมอื ปฏบิ ตั ิร่วม กันระหว่างผู้บริหารและบคุ ลากร ท�ำ ให้บุคลากรได้รับการพฒั นาให้เปน็ คนเรียนรู้แบบไม่รู้ตัว ท�ำ ให้งานต่าง ๆ มีการปรับปรุง พัฒนา เป็นการปฏิบัติทีน่ �ำ มาซึ่งวัฒนธรรมการท�ำ งานร่วมกันของบุคลากรและใช้ในการ ขบั เคลื่อนประสิทธิภาพของงานอย่างไม่หยุดนิ่งองค์กรแห่งการเรยี นรู้ “ศักยภาพในตัว” “เป้าหมายชัดเจน”“ภาวะผู้นำ�ของผู้บริหาร...ตั้งใจ...ปรารถนาดี...ปลกู ฝงั ” ผู้บริหารมีบทบาทโดยตรงที่ทำ�ให้เกิดการเรียนรู้ขึ้นในทกุ งาน ได้ต ิดตามพฒั นาอย่างใกล้ชิดด้วยตนเองเปน็ ผู้สร้างแรงบนั ดาลใจให้บคุ ลากรน�ำ ศักยภาพทีม่ ีอยู่มาใช้ให้เปน็ ประโยชน์ให้มากที่สุด (ภเู ขาน้�ำ แขง็ ) ให้รู้จักก ารท�ำ งานอย่างมีเป้าหมายถึงแม้ว่ามีความเหน็ ต่างแต่ให้มีเป้าหมายเดียวกนั (ภาพโมนาลิซา) รู้จกั ทำ�งานในหน้าที่ให้เตม็ประสิทธิภาพ (มีด) รู้จักร่วมมือท�ำ งานสนบั สนนุ ส่งเสริมทีมงาน (เรือแข่ง) และให้เข้าใจว่าบ างเวลาก็ต้องคิดนอกกรอบบ้าง (กล่อง) ซึง่ แนวคิดที่ผู้บริหารนำ�มาพัฒนาบ ุคลากรดงั กล่าวน้ัน ท�ำ ให้มีความรู้สึกว่าบคุ ลากรทุกคนล้วนเปน็ทีมงานที่มีค่าขององค์กร เสมือนเฟืองทีต่ ้องขบั เคลื่อนอยู่ตลอดเวลา (ภาพเฟือง) และปรบั ตวั เข้ากบั สภาวการณ์ที่เปลีย่ นแปลงได้งานย ่อมมีปัญหา และทุกปญั หาสามารถแก้ไข ปรบั ปรงุ ได้ “จัดทพั ”“Teamwork” “คิดนอกกรอบ” “ไม่หยุดนิ่ง”สายใย...การเรียนรู้2553“กา้ วไปด้วยกนั กบั การรว่ มคิด ร่วมทำ�”(ปรับทศั นคติ) รู้จักคิด แกป้ ัญหาร่วมกัน .... ปรับวิธีคิด วิธีปฏิบัติ จุดเริ่มต้นของการเรียนรู้เริม่ จากการมองปญั หาอุปสรรคในงานป ระจ�ำ โดยผู้บริหารพบปะบคุ ลากรทุกฝ่าย/งาน เพื่อรับฟังปญั หา ความคิดเหน็ ข้อเสนอแนะในการปฏิบัติงานจากผู้ปฏิบตั ิงานโดยตรง พร้อมทั้งให้ค�ำ ปรึกษาแนวทางแก้ไข และมีการติดตามผล ซึ่งกิจกรรมนี้บคุ ลากรเริ่มรู้จกั การคิด การแก้ปัญหาร่วมกันท�ำ ให้ทราบว่าทุกงานย ่อมมีปญั หา และทุกปัญหาสามารถแก้ไข ปรบั ปรุงได้สำ�นกั หอสมดุ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร 2551-2559

92554 2555“เลา่ สกู่ นั ฟงั ” โอกาสบอกกล่าว เล่าเรื่อง มีส่วนร่วม จาก “เล่าสู่กันฟัง” มาเป็นปรบั ปรงุ /แก้ไข ภารกิจได้รบั การพัฒนา ซึมซบั กบั การเปน็ “Library Say Hi : เรอื่ งเลา่ ชาวสำ�นกั ”ส่วนหนึง่ ขององค์กร คุ้นเคยกับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เวทีสร้างงาน สร้างคนในการ ถ่ายทอด แบ่งปนั และแลก กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในทกุ เช้าวัน เปลีย่ นเรียนรู้ฝึกฝนการคิดวิเคราะห์อย่างสร้างสรรค์ สนามพฤหัสบดี มีการน�ำ เรื่องดีๆ มาบอก มาเล่าให้เพื่อนร่วม ระดมความคิด พิชิตปัญหา โอกาสในการพัฒนาทกั ษะงานฟัง หรือนำ�ปัญหามาช่วยกันคิด ช่วยกนั แ ก้ไขในรูปแบบ การน�ำ เสนออย่างสนกุ สนาน เปน็ กันเอง สรรค์สร้างการปรึกษาหารือจนเปน็ เรือ่ งปกติทีถ่ ือว่าปญั หาต่าง ๆ เป็น นวตั กรรมเพือ่ เสริมประสิทธิภาพงานอย่างต่อเนื่องเรือ่ งของหน่วยงานมิใช่ของฝ่ายใดหรืองานใด บุคลากรทุก คนเปิดใจร ับฟังและช่วยกนั หาแนวทางแก้ไข เพื่อให้การ 2556 - 2558ปฏิบัติงานและการให้บ ริการต่าง ๆ น้ันให้เปน็ ไปด้วยความมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์แ ก่ผู้ใช้บริการให้มากทีส่ ดุ “Library Say Hi : เร่ืองเลา่ ชาวสำ�นัก” การเรียนรู้จากปญั หาอยู่บ่อยๆ แสดงความเห็น องค์กรเข้มแข็งด้วยการปฏิบตั ิเปน็ กิจวัตร แก้ไข/ปรับปรงุบ่อยๆ หรือฟังบ้าง พดู บ้าง ซึง่ บุคลากรได้แสดงออกใน เปน็ เรือ่ งปกติ ปรับตวั ได้ตามส ถานการณ์ จดั เก็บความรู้เปน็การเปน็ สมาชิกของทีมงานเปน็ ความร ู้สึกว่าเป็นส่วนหนึง่ ระบบ สะดวกใช้งาน(เจ้าของ) ขององค์กร เปน็ อะไรที่องค์กรได้ความรู้สึกนี้มาแบบสมัครใจ ซึ่งท�ำ ให้มีแนวคิดดีๆ ต่อการพัฒนางานต่าง ๆอยู่เสมอ สำ�นกั หอสมดุ มหาวิทยาลัยนเรศวร 2551-2559

10 2558 “Library Say Hi : เรื่องเล่าชาวสำ�นักฯ สู่ NU Lib Staff Learning ครั้งที่ 1: การเรียนรู้จากงานที่ทำ� สู่นวัตกรรมเพือ่ การบริการที่ ต่อยอด ขยายผล สู่ความย่งั ยืน ด้วยการจูงใจให้บคุ ลากรสนใจที่จะ แลกเปลีย่ นเรียนรู้มากขึ้น และมากขึ้น บคุ ลากร คิดเปน็ ทำ�งานเป็นเฉกเช่น “คนสร้างงาน งานสรา้ งคน” ด้่ว ยการปรับปรุง เปลีย่ นแ ปลงอย่างย่ังยืน เปน็ พลังที่ “ร่วมคิด รว่ ม สรา้ ง ” บุคลากรกล้าแสดงอ อกในการนำ�เสนอผลงานของตนเอง ด้วยความภาคภมู ิใจในการเปน็ ส่วนหนึ่งของความส�ำ เรจ็ ของทีมงานที่ ได้รับการฝึกฝน พฒั นาในรูปแบบต่าง ๆ โดยผู้บริหารให้การสนบั สนนุ ผลกั ดัน และเปน็ ก�ำ ลังใจ สำ�นักหอสมดุ มหาวิทยาลัยนเรศวร 2551-2559

11 2559 “Library Say Hi : เรื่องเล่าชาวสำ�นกั ฯ” สู่  “NU Lib Staff Learning คร้ังที่ 2 :เรียนรู้ร่วมกนั แบ่งปนั ความรู้ สู่องค์กรแห่งความสุข” ท�ำ งานด้วยความสขุ สำ�นกั หอสมุด มหาวทิ ยาลยั นเรศวร 2551-2559

12 องค์กรแห่งนวัตกรรมจากองค์กรแห่งการเรียนรู้ สู่องค์กรแห่งนวัตกรรม............ ท�ำ อะไร.............ท�ำ อย่างไร ทำ�งาน มุ่งไปในทิศทางเดียวกนั ภายใต้วิสยั ทศั น์ บุคลากรได้รับการฝึกฝน ปฏิบตั ิ ให้รู้จกั การองค์กร “สำ�นกั หอสมดุ เป็นศนู ย์กลางนวัตกรรมบริการ เปิดใจ เรียนรู้ ลงมือปฏิบัติ เปน็ ผู้ท�ำ ให้เกิดนวตั กรรม ท�ำ งานเพือ่ การเรียนรู้ของสาธารณชน” ด้วยกันบนพื้นฐานความร่วมมือ ใช้ความสามารถ ทกั ษะ ของตนเองในการส่งเสริมทีมอย่างเต็มที่ มีการแลกเปลีย่ น ผู้บริหารส่งเสริมให้เกิดการสร้างนวัตกรรม ถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์ ในรูปแบบเปน็ ทางการและไม่ เป็นทางการ และนำ�เทคโนโลยีมาใช้ในการเพิม่ ประสิทธิภาพพฒั นาการเรียนรู้ของบคุ ลากร โดยปรบั ความคิดของบุคลากร การปฏิบัติงานและการให้บริการการสร้างนวตั กรรมนั้น ได้ให้คิดเป็นระบบ มองปญั หาต่าง ๆ ให้เห็นถึงความเชื่อมโยง ด�ำ เนินการครอบคลุมทกุ ภารกิจทั้งในส่วนการบริหาร การเห็นวิธีการปรับปรงุ แก้ไขได้ทนั ต่อการเปลี่ยนแปลง และเรียน ปฏิบัติงานและการให้บริการ และมีการพฒั นาต่อยอด ขยายรู้ร่วมกัน เปน็ ทีม ผลในระบบง านต่างๆ อย่างต่อเนือ่ ง มุ่งเน้นประสิทธิภาพการ ใช้งานที่ส่งผลให้ทกุ ระบบงานมีผลสัมฤทธิท์ ีด่ ียิง่ ขึ้น รปู ทีมงาน นอกจากนี้”ส�ำ นักหอสมุดมีความตระหนกั และ เหน็ ความสำ�คญั ในการมุง่ สู่การเปน็ มหาวิทยาลยั วิจยั ของมหาวิทยาลยั นเรศวรต ามพนั ธกิจที่มหาวิทยาลยั ไดก้ �ำ หนดไว้ จึงเป็นโอกาสที่เอื้ออำ�นวยตอ่ การพฒั นา บริการตา่ งๆ เพือ่ สนบั สนนุ การวิจยั ใหส้ ามารถเข้า ถึงส ารสนเทศไดส้ ะดวก รวดเรว็ โดยเฉพาะดว้ ยระบบ บริการในรปู แบบออนไลน์” สำ�นักหอสมุด มหาวทิ ยาลัยนเรศวร 2551-2559

13ผลสัมฤทธิ์ด้านนวตั กรรม 1. ระบบสืบค้น (Quick Search) พฒั นาขึ้นในปี 2555 เพือ่ สนบั สนุนการสืบค้นทีส่ ะดวกต่อการเข้าถึงข้อมูลสารสนเทศได้รวดเรว็ ขึ้น ใน 3 รปู แบบ ได้แก่ Search for Books Search for Articlesสำ�หรบั สืบค้นหนงั สือผ่านระบบ WebOPAC สำ�หรบั สืบค้นบทความผ่านฐานข้อมลู SCOPUS หรือ ISI Web of Science Search for Journals สำ�หรบั สืบค้นรายชือ่ วารสารผ่านฐานข้อมูล A-to-Z Journal Search สำ�นักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร 2551-2559

14 2. ระบบสนับสนนุ การวจิ ัย (Research Support) เปน็ บริการบนหน้าเวบ็ เพจส�ำ หรบั บริการข้อมูลสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับการค้นคว้าวิจยั และการให้บริการ สืบค้นผลงานวิจัยของคณาจารย์และนักวิจยั ของมหาวิทยาลัย ประกอบด้วยระบบบริการที่เกีย่ วข้อง ดังนี้ 2552 Library Training  ระบบบริหารจดั การฝึกอบรม ส�ำ หรับบริหารจดั การการฝึกอบรมป ระกอบด้วยระบบย่อย ที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ ระบบการลงทะเบียนออนไลน์ ข้อมลู รายละเอียดของแต่ละห ลักสูตร การเกบ็ ประวัติการเข้าอบรม ตลอดจนระบบบริหารจ ัดการสมาชิกผู้เข้าอบรม2554 Reference Information Service ระบบบริหาร 2554 Citation Analysis ระบบบริการตรวจสอบการ จัดการ ให้บริการช่วยการค้นคว้า เพื่อการจัด อ้างอิง ผลงานหรือบทความของนักวิจัยของ เก็บรายการ คำ�ถามที่ผู้ใช้สอบถาม การจัดเก็บสถิติ มหาวิทยาลัยนเรศวรทีต่ ีพิมพ์ในวารสารทีป่ รากฏใน และระบบบริหารจ ัดการข้อมลู สมาชิก เพือ่ นำ�ไปเปน็ ฐานข้อมูล ISI Web of Science และฐานข้อมูล ข้อมลู เบื้องต้นในการบริหารล กู ค้าสมั พันธ์ SCOPUS และได้รบั การอ้างอิง (Citation) ซึ่งการให้ บริการจดั ส่งผลการวิเคราะห์ทาง e-mail2554 Ask a Librarian ร ะบบบริการตอบคำ�ถามและช่วย 2554 Journal Impact Factor บ ริการตรวจสอบค่าดัชนี การค้นคว้าในรูปแบบออนไลน์ เพือ่ ช่วยเหลือผู้ใช้ ผลกระทบการอ้างอิงของวารสาร เปน็ เครื่องมือช่วย บริการในเชิงวิชาการ รวมถึงการสอบถามปญั หา ในการประเมินคุณภาพของวารสารและเปน็ หรือข้อสงสยั ในบริการอื่นๆ ทีเ่ กี่ยวข้องผ่านระบบฯ ประโยชน์สำ�หรับนกั วิจัยในการคดั เลือกวารสารที่ โดยมีการตอบก ลบั ทาง e-mail ภายใน 24 ช่วั โมง เหมาะสมเพือ่ การตีพิมพ์ผลงาน โดยจะให้บริการ ส่งผล Journal Impact Factor ทาง e-mail2554 Literature Search Service ร ะบบบริการสืบค้น 2554 NU Digital Repository ฐ านข้อมูลจดั เกบ็ ผลงาน สารสนเทศเพื่อการวิจยั ซึ่งเป็นการให้บริการส ืบค้น วิชาการ ผลงานวิจยั ของบุคลากร และเอกสาร ข้อมูลสารสนเทศในรปู แบบบรรณานุกรม บทคัดย่อ ส�ำ คญั ที่เกีย่ วข้องของมหาวิทยาลัยนเรศวร โดยจัด และเอกสารฉบบั เตม็ จากฐานข้อมลู ต่าง ๆ ที่ เกบ็ เป็นเอกสารฉบบั เตม็  สำ�นักหอสมุดม ีให้บริการ2555 Scholary Research Support ระบบจัดเกบ็ ข้อมูล 2556 Clinic@Library เป็นบริการทีต่ อบสนองความ ผลงานวิชาการและผลงานวิจัยของบุคลากร ต้องการ เฉพาะกลุ่มในการแนะน�ำ ด้านวิชาการเฉพาะ มหาวิทยาลัยนเรศวรที่เผยแพร่ในฐานข้อมลู สากล ด้านโดยมีผู้เชีย่ วชาญมาให้ค�ำ แนะนำ�/ปรึกษาเป็น SCOPUS และ ISI Web of Science รายบคุ คล โดยมีระบบลงทะเบียนออนไลน์สำ�หรบั การบริหารจ ัดการและการใช้บริการสำ�นกั หอสมดุ มหาวิทยาลัยนเรศวร 2551-2559

3. ระบบสนบั สนนุ การปฏิบัตงิ านบริการ 15 เปน็ ระบบทีพ่ ัฒนาขึ้นเพือ่ ให้การปฏิบัติงานบริการมีประสิทธิภาพยิง่ ขึ้น ประกอบด้วยระบบย่อยต่าง ๆ ดังนี้ 2552 Document Delivery Service ระบบบริการน�ำ ส่งทรัพยากรสารสนเทศระหว่างห้องสมุด ภายในม หาวิทยาลยั นเรศวร2555 Digital Post-It ใช้สือ่ สาร ท�ำ ความเข้าใจเกีย่ วกับ 2556 ระบบแจง้ แก้ไขตวั เลม่ หนังสือ รวบรวมข้อมูลที่ แนวปฏิบัติงานบริการต่าง ๆ ระหว่างเคาน์เตอร์ จำ�เปน็ ต้องทำ�การแก้ไขทีต่ ัวเล่มหนงั สือ อาทิ หมวด One - Stop Service ทั้ง 3 เคาน์เตอร์ภายในอ าคาร หมู่ไม่ตรงกนั หรือข้อมูลบนตวั เล่ม หรือสนั หนังสือ สำ�นักหอสมุด ไม่ตรงกนั โดยเชื่อมโยงกบั ระบบจัดการรายการ2555 ระบบตรวจสอบรายชือ่ นิสิต/บคุ ลากร เพื่อนำ� ทรพั ยากรทีห่ าไม่พบบนชั้น ข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในงานบริการต่างๆ ของ 2556 ระบบบริการยืมระหว่างหอ้ งสมุด การให้บริการ ส�ำ นกั หอสมุด เช่น การตรวจสอบสถานะการ ยืมร ะหว่างห้องสมดุ โดยผู้ใช้บริการสามารถส่งคำ�ขอ ปฏิบตั ิงาน การเรียน การทำ�บตั รสมาชิกห้องสมดุ และตรวจสอบสถานะการใช้บริการในระบบออนไลน์ การติดตาม ทวงถาม การค้างส่งหนังสือ เป็นต้น และรวมถึงการบริหารจัดการระบบส�ำ หรบั เจ้าหน้าที่2555 ระบบข้อมูลสมาชิกห้องสมดุ ป ระเภทบคุ คล 2556 ระบบบนั ทึกเหตุการณ์ประจำ�วันสำ�หรบั ผู้ปฏิบัติ ภายนอก ศิษย์เก่า และ PULINET การนอกเวลาราชการ ประกอบด้วยการบนั ทึก เหตุการณ์ต่างๆ การให้บริการในการปฏิบัติงานนอก2555 ระบบจัดการรายการทรัพยากรที่หาไมพ่ บบนชั้น เวลาราชการโดยบรรณารกั ษ์หัวหน้าเวร ท้ังนี้รายชื่อ การช่วยเหลือผู้ใช้บริการเมื่อหาหนังสือบนช้ันไม่พบ ผู้ปฏิบัติงานจะถกู เชื่อมโยงไปยังระบบบริหารจัดการ ปฏิบัติงานนอกเวลาราชการในการเบิกจ่ายเงิน2555 ระบบส�ำ รองขอ้ มูลการคืนทรัพยากรสารสนเทศ ตอบแทนการปฏิบตั ิงาน รองรับข้อมูลการคืนหนังสือชั่วคราวในกรณีระบบ Millennium เกิดปญั หา 2557 โปรแกรมพิมพส์ ลิปค่าปรบั จากระบบห้องสมดุ อัตโนมตั ิ Millennium การออกสลิปค่าปรับแทน 2555 Internet Room Calendar เพือ่ การจัดการ ใบเสร็จรับเงิน ห้องฝึกอบรม 2558 ระบบสารสนเทศสถิติบริการของส�ำ นกั หอสมดุ2555 โปรแกรมพิมพ์สันหนงั สือ เป็นการใช้แถบสึี และ รวบรวบข้อมลู สถิติการใช้และให้บริการสารสนเทศ ระบุที่จัดวางตำ�แหน่งหนงั สือ เพื่ออ�ำ นวยความ ห้องสมดุ ที่ส�ำ คญั ไว้ในระบบเดียวกนั สะดวกผู้ปฏิบตั ิงานจดั ช้ันหนงั สือ ให้สามารถจดั เรียง หนงั สือตามหมวดหมู่ได้อย่างถูกต้องโดยง่าย 2558 ระบบแจง้ ของหาย สือ่ สาร กรณีลืมของไว้ที่ สำ�นกั หอสมดุ ผ่าน Facebook2556 ระบบการจัดการประชาสมั พนั ธด์ ้วย XIBO ก ารสือ่ สารข้อมูลบริการ กิจกรรมภายใน ส�ำ นกั หอสมดุ และห้องสมดุ สาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ บนจอ LED TV สำ�นกั หอสมดุ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร 2551-2559

16 4. บริการออนไลน์ 2552 VDO Online สนับสนนุ การฝึกทักษะภาษาต่างประเทศจากสื่อภาพยนตร์ หรือวิดีโอต่าง ๆ 2556 Group Study Room & Reservation System ระบบการขอใช้ห้องศึกษาค้นคว้าโดยสามารถตรวจสอบ และขอใช้ บริการในระบบออนไลน์5. ระบบสนบั สนนุ การปฏิบตั ิงานและการบริหารงาน5.1 งานพฒั นาทรัพยากรสารสนเทศ 2554 ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ การจัดการหนงั สือ ราชการอย่างเป็นระบบ2553 ระบบบริหารงานจัดซือ้ หนังสือออนไลน์ การบริหารจดั การการจัดซื้อหนังสือที่สนองตอบ ความต้องการ 2555 ฐานข้อมูลการลา บคุ ลากรทกุ คนยืน่ ใบลาในระบบ 2557 ระบบตรวจสอบความซำ้�ซ้อนรายชื่อวารสารใน ออนไลน์และเปน็ ข้อมลู ในการประเมินผลการปฏิบัติ ฐานขอ้ มลู e-Journal เพื่อประโยชน์การใช้ งานป ระจำ�ปี ทรพั ยากรร ่วมกนั ระหว่างห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา 2555 ฐานขอ้ มลู ภาพกิจกรรม รวบรวม จัดเก็บภาพ2558 ฐานข้อมูลทรพั ยากรสารสนเทศบริจาค เพือ่ การ กิจกรรมข องสำ�นักหอสมดุ ระบบบริหารจดั การ จดั การ  หนังสือบริจาค การปฏิบัติงาน 2556 นอกเวลาราชการการจดั เกบ็ ข้อมูลการปฏิบตั ิงานนอกเวลาราชการ5.2 งานธุรการ 2556 ระบบรายงานการเบิกจ่ายค่าตอบแทนการปฏิบตั ิ งานนอกเวลาราชการ โดยระบบนี้จะถูกเชื่อมโยง2552 ระบบสารสนเทศสำ�หรบั บคุ ลากร เพื่อการบริหาร  รายชื่อผู้ปฏิบัติงานนอกเวลาราชการมาจากระบบ งานบุคคล2552 ระบบขอ้ มลู การลงชือ่ ปฏิบัติงานของบุคลากร บันทึกเหตุการณ์ประจำ�วนั เพื่อสรปุ รายชือ่ การเบิก เพื่อรวบรวมจัดเกบ็ ข้อมูลการมาปฏิบัติงานของ จ่ายเงินค่าตอบแทนการปฏิบตั ิงานนอกเวลาราชการ บคุ ลากร 5.3 งานการเงินและพัสดุ2552 ระบบขอ้ มูลปฏิทินกิจกรรมส�ำ นกั หอสมุด แสดง 2552 ฐานขอ้ มลู ครุภณั ฑ์ การบริหารจัดการครภุ ัณฑ์  ความเลือ่ นไหวกิจกรรมของส�ำ นกั หอสมดุ เปน็ อย่างเป็นระบบ รายเดือน 2552 ระบบทะเบียนคมุ ใบส�ำ คัญทดรองจ่าย การจดั การ2552 ระบบขอ้ มลู การประกนั คุณภาพ/ SAR Online ด้านเงินทดรองจ่าย เพือ่ การประเมินคุณภาพภายใน 2553 ฐานขอ้ มลู วสั ดุ การจดั การเบิกใช้วัสดุของ2552 ระบบขอ้ มลู ดา้ นนโยบายและแผน แสดงข้อมลู ส�ำ นักหอสมุด สารสนเทศด้านนโยบายและแผนอย่างเปน็ ระบบ2552 ฐานข้อมลู ความรู้ คลังความรู้ทีม่ าจ ากการแลก 5.4 งานเทคโนโลยีหอ้ งสมุด เปลี่ยนเรียนรู้ของบคุ ลากร 2555 ระบบบริหารงานไฟลด์ ิจิทัล การจดั เกบ็ ไฟล์จาก ฝ่าย/งานให้เป็นหมวดหมู่สำ�นักหอสมดุ มหาวิทยาลัยนเรศวร 2551-2559

สรา้ งเครือขา่ ย NULiNet (Naresuan University Library Network) 17 “ให้...เรียนร้ดู ว้ ยกนั ...ความรว่ มมือเข้มแข็ง” การจดั ต้ังเครือข่าย NULiNet ในปี 2551 เป็นต้นมา โดยส�ำ นกั หอสมุดสนับสนนุ ให้ห้องอ่านหนังสือทุกคณะของมหาวิทยาลัยนเรศวรได้ใช้ระบบห้องสมดุ อัตโนมตั ิ  Millennium ร่วมกันในการจัดการทรพั ยากรสารสนเทศบนระบบห้องสมดุ อัตโนมัติ ประกอบด้วย การวิเคราะห์หมวดหมู่ห นังสือ การสืบค้นข้อมูล และการบริการยืม – คืน ซึ่งมีผลให้ทรัพยากรสารสนเทศต่าง ๆ ที่กระจายอยู่ตามห้องอ่านห นงั สือทุกคณะได้มาอยู่บนฐานข้อมลู Naresuan University Library’s Catalog และต่อมาสามารถให้บริการยืม – คืนระหว่างเครือข่าย NULiNet และในปี 2552 ได้จัดบริการนำ�ส่งทรัพยากรสารสนเทศระหว่างห้องสมดุ (DDS : Document Delivery Service) ซึ่งเปน็ การใช้ทรัพยากรสารสนเทศร่วมกันระหว่างห้องสมุดภายในมหาวิทยาลยัและอำ�นวยความสะดวกในการยืม – คืนให้กับผู้ใช้บริการในวัน และเวลาราชการ  เครือข่าย NULiNet ประกอบด้วยหน่วยงานภายในมหาวิทยาลยั นเรศวร จำ�นวน 18 หน่วยงาน ดังนี้ ส�ำ นกั หอสมุด ห้องสมุดสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ (อาคารเฉลิมพระเกียรติ 7 รอบฯ คณะแพทยศาสตร์) กล่มุ วิทยาศาสตรแ์ ละ กลุ่มวิทยาศาสตร์สุขภาพ กล่มุ สงั คมศาสตร์ เทคโนโลยี คณะทันตแพทยศาสตร์ คณะนิติศาสตร์คณะเกษตรศาสตร์ท รพั ยากรธรรมชาติ คณะพยาบาลศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์ และสิ่งแวดล้อม คณะเภสัชศาสตร์ และการสื่อสารคณะวิทยาศาสตร์ คณะสหเวชศาสตร์คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ (ปีงบประมาณ 2558 ปิดทำ�การห้องอ่านหนงั สือ)คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ (อยู่ในระหว่างก่อสร้างอาคารและนำ� หนงั สือมาให้บ ริการที่สำ�นักหอสมุด) คณะมนุษยศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ วิทยาลยั นานาชาติ โรงเรียนมธั ยมสาธิต มหาวิทยาลัยนเรศวร บณั ฑิตวิทยาลัย (ปีงบประมาณ 2555 ปิดท�ำ การห้องอ่านหนังสือ) สำ�นกั หอสมุด มหาวทิ ยาลัยนเรศวร 2551-2559

18 ความสำ�เร็จทีเ่ ปน็ รูปธรรม รางวัลที่ได้รบั รางวัลระดบั หนว่ ยงาน2556 รางวลั ที่ 1 โครงการส่งเสริมความเข้าใจเกณฑ์ TQA 2554 รางวลั ด้านการประกนั คณุ ภาพ : หน่วยงานที่มีการ ให้กบั หน่วยงานสายสนับสนนุ ประเมินคณุ ภาพภายในอ ย่างต่อเนื่อง มีการสร้าง หน่วยงานที่มอบให้: มหาวิทยาลัยนเรศวร นวตั กรรมใหม่ และเปน็ ตวั อย่างที่ดี หน่วยงานทีม่ อบให้: มหาวิทยาลัยนเรศวร2553 รางวัล Top Usage Award Thailand 2010 2553 รางวัลคุณภาพการให้บริการประชาชน รางวลั ชมเชย (Medium Size University) ประเภทนวตั กรรมการให้บริการประชาชน: หน่วยงานทีม่ อบให้: บริษทั Elsevier เจ้าของลิขสิทธิ์ การปรบั เปลี่ยนบริการห้องสมุดในยุคการปลี่ยนแปลง ฐานข้อมูล ScienceDirect และ SCOPUS : กระบวนงานการให้บริการห้องสมดุ ด ้วยรปู แบบ สมัยใหม่ หน่วยงานที่มอบให้: สำ�นกั งานคณะกรรมการพฒั นา ระบบราชการ (ก.พ.ร.) 2551 รางวลั หน่วยงานสายสนับสนุน (Non-Teaching Unit) ที่มีการพัฒนาระบบและก ลไกการประกันคณุ ภาพ อย่างต่อเนือ่ งจนสามารถเป็นอย่างแบบทีด่ ี  ให้กบั หน่วยงานอืน่ ๆ ด้านคณุ ภาพ NQA 2008 Naresuan Quality Award หน่วยงานที่มอบให้ : มหาวิทยาลัยนเรศวร สำ�นักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร 2551-2559

รางวลั ระดบั บคุ คล 19 2558 2557 นายมานะชัย เปียมี นายเกดิษฐ เกิดโภคา ได้รบั รางวลั บคุ ลากรสายบริการดีเด่น ได้รบั รางวัลบคุ ลากรสายบริการดีเด่นหน่วยงานทีม่ อบให้ : มหาวิทยาลัยนเรศวร หน่วยงานที่มอบให้ : มหาวิทยาลัยนเรศวร 2556 2555 นางสาวขวญั ตระกูล กลิ่นสคุ นธ์ นางสาวธนพร ประเสริฐกุล ได้รับรางวัลบุคลากรสายบริการดีเด่น ได้รบั รางวัลบุคลากรสายบริการดีเด่นหน่วยงานที่มอบให้ : มหาวิทยาลยั นเรศวร หน่วยงานทีม่ อบให้ : มหาวิทยาลยั นเรศวร สำ�นกั หอสมดุ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร 2551-2559

20 รางวัลระดับบุคคล 2553 2552 นางสาวพรทิพย์ อาจวิชัย รองศาสตราจารย์ ดร.ภญ.รตั ติมา จีนาพงษา ได้รบั รางวลั บคุ ลากรสายบริการดีเด่น ผู้อำ�นวยการ ส�ำ นักหอสมุด มหาวิทยาลยั นเรศวรหน่วยงานที่มอบให้ : มหาวิทยาลยั นเรศวร ได้รบั รางวลั บุคลากรสายวิชาการดีเด่น หน่วยงานทีม่ อบให้: มหาวิทยาลยั นเรศวร 2552 2552 รองศาสตราจารย์ ดร.ภญ.รตั ติมา จีนาพงษา รองศาสตราจารย์ ดร.ภญ.รัตติมา จีนาพงษาผู้อ�ำ นวยการ สำ�นักหอสมุดมหาวิทยาลยั นเรศวร ผู้อำ�นวยการ ส�ำ นกั หอสมุด มหาวิทยาลยั นเรศวร ได้รับรางวลั ข้าราชการพลเรือนดีเด่น (ครุฑทองคำ�) ได้รบั รางวัลศิษย์เก่าผู้ประสบความสำ�เร็จ ด้านบริหารองค์กร หน่วยงานที่มอบให้: สำ�นักนายกรฐั มนตรี หน่วยงานที่มอบให้: คณะเภสชั ศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชียงใหม่สำ�นกั หอสมุด มหาวิทยาลยั นเรศวร 2551-2559

รางวลั การน�ำ เสนอผลงานทางวิชาการ 212559 รางวลั การน�ำ เสนอผลงานด้วยวาจา ระดับดี ในงานการประชุมวิชาการ ระดับชาติ PULINET คร้ังที่ 6  ผลงาน เรื่อง ปรับรปู แบบ ลดข้ันตอนการใช้ใบเสรจ็ รับเงินในงานบริการสารสนเทศ (Work Process Reduction in Writing Reciept) หน่วยงานที่มอบให้ : ข่ายงานห้องสมุด มหาวิทยาลัยส่วนภูมิภาค (PULINET/Provincial University Library Network) 2557 รางวัลการน�ำ เสนอผลงานด้วยวาจา ระดับดีเด่น ในงาน PULINET วิชาการ ครั้งที่ 4 ผลงาน เรื่อง “การประยุกต์ใช้นวตั กรรมสําหรับบริการ  ส่งเสริมการวิจัยของสํานักหอสมุด (An application of Research Support Service Innovation for Naresuan University Library)  โดย ดร. ศศิธร ติณะมาศ และนายสภุ ชยั ธนานุวัตรพงศ์ หน่วยงานทีม่ อบให้ : ข่ายงานห้องสมดุ มหาวิทยาลยั ส่วนภูมิภาค (PULINET/Provincial University Library Network) ปี 25572555 รางวัลชนะเลิศ การประกวดนวัตกรรมทางการศึกษา ประเภทการประกวดนวตั กรรมที่สนบั สนุนงานบริการทางการศึกษา (ระดับสำ�นกั สถาบนั และหน่วยงาน ในมหาวิทยาลยั นเรศวร)  ในงาน “นเรศวรวิชาการ” นวตั กรรมแห่งยุคปลูกอนาคตก้าวไกล  เรือ่ ง โปรแกรมจดั ซื้อหนงั สือและระบบตรวจสอบออนไลน์ โดย นางสาวพรทิพย์ อาจวิชัย หน่วยงานที่มอบให้: มหาวิทยาลยั นเรศวร2553 รางวัลการน�ำ เสนอผลงานด้วยวาจา ระดบั ดี ในงาน PULINET วิชาการ  คร้ังที่ 1 ผลงาน เรื่อง มุมมองใหม่ของการออกแบบเว็บไซต์เพือ่ การบ ริหาร โดย รองศาสตราจารย์ ดร. รตั ติมา จีนาพงษา ผู้อ�ำ นวยการส�ำ นักหอสมดุ มหาวิทยาลยั นเรศวร หน่วยงานที่มอบให้ : ข่ายงานห้องสมดุ มหาวิทยาลัยส่วนภมู ิภาค (PULINET/Provincial University Library Network) ปี 2553 สำ�นักหอสมุด มหาวทิ ยาลัยนเรศวร 2551-2559

22 ความสำ�เรจ็ ดา้ นต่างๆ ดา้ นการบริการ แนวคิดการปรับปรงุ ภายหลงั การปรับโครงสร้างองค์กรเมื่อ ปี 2551 เป็นต้นมา สำ�นักหอสมุดได้จัดภารกิจต่าง ๆ ทีม่ ีความซ�ำ ้ซ้อนให้มาอยู่ ในฝ่ายเดียวกัน เพื่อให้ภารกิจทีเ่ กี่ยวข้องกันนั้นสามารถด�ำ เนินงานให้เบด็ เสร็จโดยที่ทกุ ๆ งานมีความเชื่อมโยง ติดต่อ ประสาน การท�ำ งานกันอย่างสมั ฤทธิ์ผลและมุ่งสู่การบริการที่เป็นเลิศภายใต้กระบวนงานที่มีประสิทธิภาพ การปรบั ปรุงเป็นหลกั การ ส�ำ คญั ที่ผู้บริหารเพียรพยายาม สร้าง ปลกู ฝังให้บคุ ลากรทุกคนเหน็ ความส�ำ คญั ของการพัฒนางานเพื่อประโยชน์ของผู้ใช้ บริการให้ได้รบั บริการทีม่ ีประสิทธิภาพยิง่ ขึ้น ซึ่งระยะเวลา 8 ปีที่ผ่านมาเปน็ ช่วงเวลาของการปรับปรงุ พัฒนา โดยความร่วม มือของผู้บริหารและบุคลากร แสดงให้เหน็ ถึงคุณค่าและความทรงจ�ำ ของการท�ำ งานบริการทีไ่ ด้รบั การดแู ล เอาใจใส่ เป็นแบบ อย่างของการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาให้กับหน่วยงานต่าง ๆ อย่างภาคภูมิใจ จากแนวคิด...สูก่ ารปฏิบตั ิทีเ่ ปน็ ผล การบริหารจัดการทรพั ยากรสารสนเทศ (ใชผ้ ังการปฏิบัติงานใหม่) การที่สำ�นักหอสมดุ มีหน้าทีใ่ นการจดั ซื้อหนงั สือและทรัพยากรสารสนเทศอืน่ ๆ ให้กับทุกคณะในสังกดั มหาวิทยาลัย นเรศวรที่มี นิสิต คณาจารย์ทุกหลักสตู ร สาขาวิชาซึ่งล้วนแต่มีความต้องการใช้หนังสือในการศึกษาค้นคว้าเปน็ จำ�นวนมากและ ต้องการอย่างทนั เวลาอีกด้วย ดังนั้นจ�ำ เปน็ ต้องมีการด�ำ เนินงานที่มีประสิทธิภาพท้ังระบบต้ังแต่ นโยบาย งบประมาณ ระบบ การจดั การ และทักษะการท�ำ งานของบุคลากร ให้สามารถขบั เคลื่อนภารกิจด้านนี้ในการสนบั สนุนให้คณาจารย์ นิสิตมีหนังสือ ใช้ทันตามความต้องการ ทั้งนี้ส�ำ นักหอสมดุ โดยผู้บริหาร บคุ ลากรมีความเหน็ ตรงกนั ที่จะจดั งาน NU Book Fair ขึ้น เพือ่ จดั ซื้อ หนังสือเข้าห้องสมุด และสนับสนุนให้คณาจารย์ นิสิต มีโอกาสคดั เลือกหนงั สือทีต่ ้องการด้วยตนเองได้ สำ�นกั หอสมดุ มหาวิทยาลยั นเรศวร 2551-2559

“การบริหารจดั การทรัพยากรสารสนเทศ ความส�ำ เรจ็ ของการท�ำ งานร่วมกนั ” 23 • ปรบั ปรุงกระบวนการทำ�งานแบบยกเครื่อง (การปรับปรุงเกิดเพราะอะไร?) • หลกั ปฏิบตั ิบนหลักความเสมอภาค (นโยบาย หลกั เกณฑ์) • จัดซื้อ รายงานผล แบบ Real Time (ระบบบริหารจดั ซื้อหนังสือ) • ท�ำ งานเป็นทีม • เชือ่ มโยงข้อมลู เพือ่ การสืบค้น ตอบสนองความต้องการ “บริการ Quick Service” ไดใ้ ช้หนงั สือรวดเรว็ ทนั ใจไวเปน็ นาที • การตอบสนองความต้องการใช้หนงั สือไม่ว่าจะอยู่ในขั้นตอนใด ๆ ให้ถึงมือผู้ใช้ด้วยความรวดเร็วด้านบริการสารสนเทศ ก้าวสำ�คญั แห่งความสำ�เร็จในการบริการสารสนเทศมาจากการปรับปรุง พฒั นาต่อเนือ่ งควบคู่กับการพัฒนาระบบเทคโนโลยีรองรบั งานบริการต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีการแนะนำ�การใช้งานท้ังในส่วนของผู้ใช้บริการและผู้ปฏิบตั ิงานให้เข้าใจ สามารถปฏิบัติงานได้ถูกต้องและผู้ใช้บริการมีความพึงพอใจต่อการให้บริการทีห่ ลากหลาย “บริการสะดวก รวดเรว็ มีประสิทธิภาพ ด้วยการเพิม่ คณุ ลักษณะของงานเดิม” อาทิ One Stop Service (2551) บริการแบบเบด็ เสร็จในจดุ เดียว (One - Stop Service) โดยรวมบริการเดิมที่หลากหลายไว้ณ จดุ เดียวที่เคาน์เตอร์บริการช้ัน 1 ถึง ช้ัน 3 โดยใช้ระบบห้องสมดุ อัตโนมตั ิด�ำ เนินการ ประกอบด้วย • บริการสืบค้นข้อมลู (Library search/WebOPAC) • บริการยืม – คืน (Borrowing Privileges) เครือข่าย NULiNet (Naresuan University Library Network) • บริการยืมต่อด้วยตนเอง (Renew Online) • บริการจอง (Request Online) • บริการแจ้งเตือนวันครบกำ�หนดส่งและค่าปรบั ผ่านจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (Note Via-mail) • บริการสมาชิกข่ายงานห้องสมุดมหาวิทยาลยั ส่วนภูมิภาค (PULINET Card)สำ�นักหอสมุด มหาวทิ ยาลัยนเรศวร 2551-2559

24 พัฒนาบริการเสริม “การใส่ใจช่วยเหลือให้ผู้ใช้บริการได้ใช้สารสนเทศที่ต้องการ” • ระบบบริการยืมระหว่างห้องสมุด (Interlibrary Loan) ผู้ใช้บริการสามารถยื่นค�ำ ขอ และตรวจสอบข้อมูลบนระบบ  ออนไลน์ ทั้งนี้ส�ำ นกั หอสมุดมีความร่วมมือในการบริการระหว่างห้องสมดุ ในส่วนกลาง 27 สถาบัน และส่วนภูมิภาค 20 สถาบนั • ระบบบริการรบั แจ้งหาหนงั สือไม่พบ การช่วยเหลือผู้ใช้บริการเมื่อหาหนงั สือบนช้ันไม่พบ และมีการแจ้งข้อมูลให้  ผู้ใช้ทราบทางจดหมายอิเลก็ ทรอนิกส์หรือโทรศัพท์ • บริการท�ำ บัตรสมาชิกห้องสมุด (Library Card) การจดั ทำ�บัตรสมาชิกห้องสมุดให้กบั คณาจารย์ และบคุ ลากรของ  มหาวิทยาลัยให้เปน็ บัตร RFID ( ท้ังหมด สำ�นักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร 2551-2559

25 ด้านบรกิ ารสารสนเทศ บริการน�ำ สง่ ทรัพยากรสารสนเทศระหว่างห้องสมุด (DDS : Document Delivery Service) เป็นการอำ�นวยความสะดวกให้กับผู้ใช้บริการในการยืม – คืน ทรัพยากรสารสนเทศภายในมหาวิทยาลยั ทุกวัน ในเวลาราชการ บริการนี้ส่งผลให้เกิดการหมุนเวียนการใช้สือ่ ทรพั ยากรสารสนเทศร่วมกนั และประหยัดงบประมาณจ ดั ซื้อหนงั สือทีไ่ ม่ซ้ำ�ซ้อนกัน อีกท้ังยังเปน็ การกระตุ้นการอ่านหนงั สือได้อีกด้วย โดยผู้ใช้บริการสามารถขอใช้บริการผ ่านทางเวบ็ ไซต์ ซึง่ สามารถยืมหนงั สือจากคณะต่างๆ ภายในมหาวิทยาลยั ได้ และสามารถระบคุ ณะที่ต้องการรับหนังสือได้โดยที่ผู้ใช้บริการไม่ต้องเดินทางไปยืมด้วยตนเอง และการคืนหนังสือ ก็สามารถคืนได้ทีห่ ้องอ่านหนังสือของคณะใดๆ กไ็ ด้เช่นเดียวกัน การบริการเคลื่อนที่ (Library Everywhere service)บริการเชิงรุก โดยการออกให้บริการนอกสถานที่ ณ จุดบริการที่กำ�หนดภายในมหาวิทยาลัยนเรศวร เพื่อให้ผู้ใช้บริการเข้าถึงบริการต่าง ๆ ด้วยความสะดวกอาทิ การรบั คืนหนังสือ การยืมต่อ การชำ�ระค่าปรบั เป็นต้น • ยกเลิกการงดยืมหนงั สือช่วงสอบปลายภาคกระตุน้ การอา่ น...อย่างไม่หยดุ ยงั้ • ยืมได้ตลอดเวลาทำ�การ ณ บนเครือข่าย NULiNet • สร้างสรรค์กิจกรรมยืมไม่อ้ัน...อ่านให้อิม่ ปิดภาคเรียนให้ยืมได้ไม่จ�ำ กัดจำ�นวน ....ขนไปอ่านเต็มทีต่ ามต้องการ สำ�นกั หอสมดุ มหาวิทยาลยั นเรศวร 2551-2559

26 ด้านบริการสารสนเทศ บริการพืน้ ทีน่ ัง่ อ่าน 24 ชวั่ โมง (Zone-24) ในการเปิดให้บริการ 24 ชว่ั โมงนี้ ส�ำ นกั หอสมดุ จัดสิง่ อ�ำ นวยความสะดวก อาทิ Wireless Access Point ครอบคลมุจัดพื้นที่น่งั อ่านประมาณ 200 ที่นัง่ บริเวณชั้น 1 ให้บริการ 24 พื้นทีท่ ้ังอาคาร มีน้ำ�ดืม่ ตู้รบั ฝากสมั ภาระ และการรักษาความชั่วโมงตลอดปีไม่มีวันหยดุ เพื่อสนับสนนุ การเรียนรู้แบบไร้ขีด ปลอดภยั ด้วยระบบกล้องวงจรปิดและเจ้าหน้าทีร่ กั ษาความจำ�กัดด้านเวลา และเปิดบริการการอ่านตลอด 24 ชว่ั โมง ปลอดภยั นอกจากนี้พื้นที่นั่งอ่านมีจำ�นวนจำ�กดั ไม่เพียงพอทัว่ ท้ังอาคาร โดยขยายเวลาเปิดให้บริการตั้งแต่เวลา 20.30 กับผู้ใช้บริการซึง่ มีจำ�นวนมาก ได้จดั หาโต๊ะญีป่ ุ่นมาเสริมเพือ่– 08.30 น. แรกเริ่มมีการเปิดให้บริการในช่วงก่อนสอบปลาย รองรบั จำ�นวนผู้ใช้บริการที่เพิ่มขึ้นอีกด้วยภาค 1 เดือน ต้ังแต่ ปีการศึกษาที่ 1/2551 และต่อมาได้ขยาย เวลาเปิดบริการในช่วงสอบกลางภาคเรียนเพิม่ เติมเปน็ ครั้งแรกคือ การสอบกลางภาคเรียนที่ 2 ของปีการศึกษา 2555 โดยมีการปรับช่วงเวลาเปิดให้บริการคือก่อนสอบกลางภาค 1 สัปดาห์ และก่อนสอบปลายภาค 2สปั ดาห์ เปน็ ระยะเวลาต่อเนื่องมาจนถึงปัจจบุ นั เพือ่ เปน็ การสนับสนนุ การเตรียมตวั สอบของนิสิตสำ�นกั หอสมดุ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร 2551-2559

27 ด้านบริการสารสนเทศการอบรมเรียนรสู้ ารสนเทศ (Information Lit- บริการวิเคราะหก์ ารอา้ งอิง (Citation Analysis)eracy) การจัดอบรมการใช้ฐานข้อมูล การใช้โปรแกรม บริการตรวจสอบการอ้างอิงผลงานหรือบทความของนกัEndnote และการท�ำ สารบัญโดยใช้โปรแกรม Microsoft วิจัยทีต่ ีพิมพ์ในวารสารซึ่งอยู่ในฐานข้อมูล ISI Web ofWord ให้กบั อาจารย์ นิสิตทุกระดับ บคุ ลากรและบคุ คล Science และฐานข้อมูล SCOPUS และได้รบั การอ้างอิงทว่ั ไปตลอดปีโดยไม่มีค่าใช้จ่าย ซึง่ มีระบบลงทะเบียน เข้า (Citation) โดยจดั ส่งผลการวิเคราะห์ทาง e-mail มีรายอบรมออนไลน์ส�ำ หรบั ใช้ในการจัดการ ละเอียด ดงั นี้ • จำ�นวนบทความที่ตีพิมพ์ (Published Articles)บริการแนะน�ำ การใช้หอ้ งสมดุ (Library Orien- • จำ�นวนการอ้างอิง (Total Citations)tation) บริการทีจ่ ัดขึ้นเป็นประจำ�ทกุ ต้นปีการศึกษาให้กบั นิสิต • จำ�นวนบทความทีน่ ำ�ผลงานของนักวิจยั ไป อ้างอิง (Citing Av rticles or Cited by)ช้ันปีที่ 1 ท้ังระดับปริญญาตรีและระดบั บณั ฑิตศึกษา เพือ่ สนบั สนุนและส่งเสริมให้นิสิตได้เรียนรู้เกีย่ วกับศึกษาค้นคว้าสารสนเทศต่าง • ค่า h – index (ดัชนีชี้วดั คณุ ภาพผลงานวิจัย)  ๆ ด้วยตนเอง โดยทีมบุคลากรจดั อบรม ณ คณะ/หน่วยงาน หรือ ของนกั วิจยั แต่ละท่านสำ�นกั หอสมุดพร้อมสนับสนุน มหาวิทยาลัยวิจัย บริการใหค้ �ำ ปรึกษาดา้ นวิชาการ (Clinic@Library) ความพร้อมที่จะสนับสนุนการทำ�วิจัยคณาจารย์ นกัวิจยั ท้ังภายในและภายนอกมหาวิทยาลยั นเรศวร ซึ่งสำ�นักหอ บริการทีจ่ ัดขึ้นเมือ่ ปี 2556 เปน็ ต้นมา โดยสนองตอบสมุดมีความพร้อมทั้งทรพั ยากรสารสนเทศ โดยเฉพาะฐานข้อมลู ความต ้องการกลุ่มผู้ใช้เฉพาะที่เป็นนิสิตระดับบณั ฑิตสำ�คัญ กว่า 30 ฐานข้อมลู และมีบคุ ลากรทีม่ ีทกั ษะ ความรู้ ความ ศึกษา คณาจารย์และนกั วิจยั ของมหาวิทยาลยั ซึ่งกลุ่มสามารถในการให้บริการ มีระบบเทคโนโลยีส�ำ หรบั การจดั การและ ผู้ใช้นี้ต้องใช้สารสนเทศในการท�ำ วิจยั ท้ังในหลกั สตู รการบริการ ดังน้ันตั้งแต่ปี 2555 เปน็ ต้นมา สำ�นักหอสมดุ จดั บริการ เรียนการสอน รวมถึงการพฒั นาผลงานวิชาการและวิจยัเพือ่ สนบั สนนุ การวิจยั ด้วยระบบการให้บริการ ดงั ต่อไปนี้ เพื่อเพิ่มพนู ค ณุ วุฒิทางวิชาการ ซึง่ ความรู้เรือ่ งการท�ำบริการสืบค้นเพื่อการวิจัย วิจัยต่าง ๆ ได้แก่ สถิติทีใ่ ช้ในการวิจัย ทักษะการสืบค้น สารสนเทศให้ตรงตามความต้องการ การใช้โปรแกรม บริการ Impact Factor บริการทีช่ ่วยนกั วิจัยใน Microsoft Word ส�ำ หรบั จดั ทำ�เอกสารการประเมินคณุ ภาพของวารสารเพื่อคัดเลือกวารสารที่ การใช้โปรแกรมจดั การทางบรรณานุกรม EndNoteเหมาะสมในการตีพิมพ์ โดยบริการส่งผล Journal Impact เป็นต้น ในการนี้สำ�นักหอสมุดจัดสถานทีเ่ ป็นมมุ บริการFactor ทาง e-mail ดงั นี้ ไว้ ณ บริเวณช้ัน 1 อาคารส�ำ นักหอสมุด พร้อมท้ังจัด • ค่า Journal Impact Factor ของวารสารวิชาการ เตรียมบุคลากรทีม่ ีความรู้ ความเชีย่ วชาญในเรือ่ งที่ ต่างประเทศ เกีย่ วข้องมาให้ค�ำ ปรึกษาแนะน�ำ มีการรับลงทะเบียนขอใช้ • ค่า Thai-Journal Impact Factor (TCI Journal บริการในระบบออนไลน์ และมีการแจ้งเตือนกลับไปยงั ผู้ใช้ Impact Factor) บริการผ่านทาง e-mail สำ�นักหอสมดุ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร 2551-2559

28 ด้านบรกิ ารสารสนเทศ“หนงั สือบนชนั้ เรา ไมเ่ ก่าเลย” สื่อสารผ่านจอ TV LED การจัดนิทรรศการหนงั สือ (Library Display) ด้วย Digital Signage Technology (XIBO) ภายในอาคารการนำ�หนงั สือจากช้ันมาจัดนิทรรศการตามเทศกาล/ ส�ำ นกั หอสมุด 2 จุด และห้องสมุดสาขาวิทยาศาสตร์วนั พิเศษต่างๆ เช่น วันเดก็ วันตรุษจีน วันวาเลนไทน์ วนั สขุ ภาพ 1 จดุ เพื่อประชาสัมพันธ์บริการห้องสมดุสงกรานต์ วันเข้าพรรษา วนั มาฆบชู า เป็นต้น โดยผู้ใช้ กิจกรรมส่งเสริมการอ่านในแต่ละช่วงเวลาบริการบริการทีส่ นใจสามารถยืมหนงั สือจากโต๊ะทีจ่ ดั นิทรรศการได้เลย พบว่าการจดั นิทรรศการดังกล่าว สามารถกระตุน้ สื่อดิจิทลั ได้แก่ จดหมายอิเลก็ ทรอนิกส์ Pop Up-ใหเ้ กิดการอ่านหนงั สือได้มากขึ้นอย่างเห็นได้ชัด เวบ็ เพจส�ำ นักหอสมุ ด Face book, YouTube, Line ซึ่ง“ความสะดวก สบาย ต้งั ใจทำ�ด้วยใจ” ให้ข้อมลู ข่าวสารบริการและกิจกรรมทีส่ ำ�คญั ให้ถึงผู้ใช้ บริการกลุ่ม Social Online รวมถึงสิทธิประโยชน์อืน่ ๆ ที่การบริการเคลือ่ นที่ (Library Everywhere service) ควรทราบกิจกรรมส่งเสริมการใช้บริการห้องสมุดหรือบริการเชิงรกุไปตามจุดบริการต่าง ๆ ภายในมหาวิทยาลัยนเรศวร และ สื่อโทรทัศน์ โดยผู้บริหารให้สัมภาษณ์ทางโทรทศั น์ท้องเปน็ ประชาสมั พนั ธ์บริการต่าง ๆ ให้ผู้ใช้บริการได้ทราบ ถิ่น MSS และ ช่อง 11 กรมประชาสัมพนั ธ์ สื่อวิทยุ โดยโดยตรง สปอร์ตประชาสมั พันธ์ผ่านสถานีวิทยกุ ระจายเสียงแห่ง“สื่อสารทนั สมัย (บอกถึงที่ รู้ทกุ วัน)” ประเทศไทย (สทท. 11) พิษณโุ ลก สถานีวิทยุมหาวิทยาลยั นเรศวร และสถานีวิทยชุ มุ ชนในจังหวดั พิษณโุ ลกการสื่อสารข้อมลู ข่าวสารเกี่ยวกบั บริการ กิจกรรมห้องสมุดถึงกลุ่มเป้าหมาย ด้วยสาระทีเ่ ป็นประโยชน์ เข้าใจง่าย การออกบูธ/นิทรรศการ เกี่ยวการแนะน�ำ เผยแพร่ บริการห้องสมดุ การรบั สมคั รสมาชิกห้องสมดุ อาทิ งานสื่อสิ่งพิมพ ์ เน้นการผลิตสิ่งพิมพ์เกีย่ วกับการใช้บริการ นเรศวรวิจัย งานสัปดาห์วิทยาศาสตร์แห่งชาติห้องสมดุ สำ�หรับนิสิตระดบั ปริญญาตรี บณั ฑิตศึกษาคณาจารย์ และบคุ ลากร เพื่อให้ความรู้ สร้างความเข้าใจในการใช้บริการ สามารถสืบค้นข้อมูลด้วยตนเองได้ รวมถึงการปฏิบตั ิตามระเบียบบริการต่างๆ ให้ถกู ต้องสำ�นกั หอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร 2551-2559

เปิดบ้านต้อนรบั ผมู้ าเยีย่ มชม 29 การเยีย่ มชม/ศึกษาดูงาน ประจ�ำ ปีงบประมาณ 2551 : ระดับชาติ11 ธนั วาคม 2550 ผู้บริหาร และบุคลากรศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยวลัยลกั ษณ์ (48 คน)17 กมุ ภาพันธ์ 2551 นิสิตคณะสาธารณสุขศาสตร์ ม หาวิทยาลัยนเรศวร (126 คน) 20 มีนาคม 2551 บุคลากรโรงเรียนเทศบาลบ้านปากทาง ส งั กัดเทศบาลเมืองพิจิตร จงั หวดั พิจิตร (12 คน)12 พฤษภาคม 2551 ผู้บริหาร และบุคลากรส�ำ นักหอสมุดกลาง ม หาวิทยาลัยศิลปากร (22 คน)12 พฤษภาคม 2551 นักเรียนโรงเรียนมธั ยมสาธิต ม หาวิทยาลัยนเรศวร (252 คน)25 พฤษภาคม 2551 ภาควิชาบริหารธรุ กิจ คณะวิทยาการจดั การฯ ม หาวิทยาลยั นเรศวร (136 คน)30 มิถุนายน 2551 คณะกรรมการวิชาชีพ สาขาแพทย์แผนไทยประยกุ ต์  คณะสาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร (3 คน)31 กรกฎาคม 2551 ผู้บริหาร และบุคลากรคณะศึกษาศาสตร์ ม หาวิทยาลยั เชียงใหม่ (9 คน)5 กันยายน 2551 เจ้าหน้าที่ ส�ำ นกั งานเทศบาลตำ�บลไพศาลี แ ละนกั เรียนช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 3 – 4 โรงเรียนไพศาลีพิทยา จ.นครสวรรค์ (315 คน)10 กันยายน 2551 บุคลากรสำ�นกั วิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบลู สงคราม พิษณโุ ลก (2 คน) สำ�นักหอสมดุ มหาวิทยาลัยนเรศวร 2551-2559

30 การเยีย่ มชม/ศึกษาดงู าน ประจ�ำ ปีงบประมาณ 2551 : ระดบั นานาชาติ 26 พฤษภาคม 2551 คณาจารย์จาก Devi Ahilya Vishwavidyalay University Indore, India เยีย่ มชมการ บริหารจัดการภายในองค์กร และการน�ำ IT มาใช้ในการด�ำ เนินงาน โดยศูนย์ฝึกอบรม และควบคุมระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร สำ�นักหอสมุด มหาวทิ ยาลัยนเรศวร 2551-2559

31 การเยีย่ มชม/ศึกษาดูงาน ประจำ�ปีงบประมาณ 2552 : ระดบั ชาติ4 พฤศจิกายน 2551 นิสิตระดับดุษฎีบัณฑิต ชั้นปีที่ 1 ภาควิชาเทคโนโลยีและการสื่อสาร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร (10 คน)7 พฤศจิกายน 2551 งานห้องสมุด โรงพยาบาลแพร่ จังหวดั แพร่ (2 คน)19 มกราคม 2552 นักศึกษา คณะมนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม (24 คน)31 มกราคม 2552 บุคลากรส�ำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาสโุ ขทยั เขต 2 จ งั หวดั สโุ ขทัย (13 คน)25 กุมภาพนั ธ์ 2552 ผู้บริหาร และบคุ ลากรส�ำ นักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร (20 คน)17 มีนาคม 2552 สถาบนั ทรพั ยากรมนุษย์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ (3 คน)23 เมษายน 2552 บุคลากร ส�ำ นักหอสมุด  มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (10 คน)24 พฤษภาคม 2552 นิสิตคณะวิทยาการจัดการฯ ม หาวิทยาลัยนเรศวร (50 คน)14 กรกฎาคม 2552 คณะเกษตรศาสตร์ฯ มหาวิทยาลัยนเรศวร (15 คน)สำ�นกั หอสมดุ มหาวิทยาลยั นเรศวร 2551-2559

32 การเยีย่ มชม/ศึกษาดูงาน ประจ�ำ ปีงบประมาณ 2552 : ระดบั นานาชาติ19 พฤศจิกายน 2551 ผู้ทรงคุณวฒุ ิจาก Dresden University of Technology ประเทศเยอรมนี และคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร (5 คน)12 ธนั วาคม 2551 ผู้แทนองค์การอนามยั โลก (WHO SEARO) และคณะสาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร (4 คน)28 มกราคม 2552 บคุ ลากรหอสมดุ แห่งชาติ ประเทศออสเตรเลีย (3 คน)สำ�นกั หอสมดุ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร 2551-2559

การเยีย่ มชม/ศึกษาดงู าน ประจำ�ปีงบประมาณ 2553 : ระดับชาติ 331 กุมภาพันธ์ 2553 บคุ ลากรจากส�ำ นักงานเลขานุการ หอสมุดสาขาวงั ท่าพระ ห อสมุดวิทยาเขตสารสนเทศเพชรบรุ ี และงานจดหมายเหตุ มหาวิทยาลยั ศิลปากร (40 คน)4 กมุ ภาพนั ธ์ 2553 เจ้าหน้าที่ฝ่ายการศึกษาและพัฒนาจิตใจ ทณั ฑสถานหญิงจ งั หวดั พิษณโุ ลก (3 คน)3 มิถนุ ายน 2553 นกั เรียนระดบั ปวช. 2 และ ปวช. 3 แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษาอตุ รดิตถ์ จงั หวัดอตุ รดิตถ์ (184 คน)28 มิถุนายน 2553 บคุ ลากรโรงเรียนแคมป์สนวิทยาคม ตำ�บลแคมป์สน อำ�เภอเขาค้อ จงั หวัดเพชรบรู ณ์ (5 คน)9 สิงหาคม 2553 นิสิตปริญญาโท สาขาวิทยาศาสตร์การเกษตร ชั้นปีที่ 1 และนิสิตปริญญาเอก  คณะเกษตรศาสตร์ ทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวร (15 คน)27 สิงหาคม 2553 คณะครูและนกั เรียนชมุ ชนห้องสมดุ โรงเรียนทุ่งเสลีย่ มชนปู ถัมภ์  อำ�เภอทุ่งเสลี่ยม จังหวดั สุโขทยั (40 คน) การเยี่ยมชม/ศึกษาดูงาน ประจำ�ปีงบประมาณ 2553 : ระดบั นานาชาติ7 พฤษภาคม 2553 คณะอาจารย์จาก Yangon University of Foreign Language (YUFL)  และอาจารย์จากคณะมนษุ ยศาสตร์ คณะมนษุ ยศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร (8 คน) สำ�นักหอสมดุ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร 2551-2559

34 การเยีย่ มชม/ศึกษาดูงาน ประจ�ำ ปีงบประมาณ 2554 : ระดับชาติ19 ตุลาคม 2553 บคุ ลากรจากส�ำ นักทรพั ยากรการเรียนรู้คณุ หญิงหลง อรรถกระวีสนุ ทร มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ (5 คน)30 พฤศจิกายน 2553 อาจารย์และเจ้าหน้าทีส่ �ำ นกั วิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ  มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา (20 คน)26 ธันวาคม 2553 ผู้น�ำ สโมสรนิสิตบณั ฑิตศึกษาระหว่างมหาวิทยาลัย งานกิจการนิสิต และศิษย์เก่าสมั พันธ์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร (20 คน)28 ธนั วาคม 2553 บคุ ลากรบณั ฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร (29 คน)9 มกราคม 2554 นักศึกษาและอาจารย์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์  มหาวิทยาลัยขอนแก่น (60 คน)20 มกราคม 2554 บคุ ลากร หอสมุดพระราชวงั สนามจันทร์ สำ�นักหอสมุดกลาง  มหาวิทยาลัยศิลปากร (9 คน)8 กมุ ภาพนั ธ์ 2554 นกั ศึกษา และอาจารย์ โปรแกรมวิชาบรรณารกั ษศาสตร์และส ารนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั นครปฐม (8 คน)15 กุมภาพนั ธ์ 2554 บคุ ลากรฝ่ายวิทยบริการและสารสนเทศ ม หาวิทยาลยั ราชภัฏศรีสะเกษ (8 คน)8 มีนาคม 2554 ผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ สำ�นักวิทยบริการและเทคโนโลยีส ารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำ�ปาง (27 คน)สำ�นกั หอสมดุ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร 2551-2559

การเยี่ยมชม/ศึกษาดูงาน ประจ�ำ ปีงบประมาณ 2554 : ระดับชาติ 3524 พฤษภาคม 2554 ผู้บริหารและบคุ ลากร ส�ำ นักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ  มหาวิทยาลยั ราชภัฏเชียงใหม่ (8 คน)27 มิถนุ ายน 2554 ผู้บริหาร หัวหน้างานและหวั หน้าห้องสมุด หอสมดุ และคลังความรู้ มหาวิทยาลยั มหิดล (15 คน)1 กรกฎาคม 2554 เจ้าหน้าที่ โรงพยาบาลกำ�แพงเพชร จังหวัดกำ�แพงเพชร (3 คน)1, 27 กรกฎาคม 2554 นักศึกษา สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์ ฯ ค ณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั พิบลู สงคราม (8 คน)7 กันยายน 2554 อาจารย์ และนักศึกษา โปรแกรมวิชาสารสนเทศศาสตร์  คณะมนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั ก�ำ แพงเพชร (22 คน)15 กนั ยายน 2554 บรรณารกั ษ์ และพนักงานห้องสมดุ วิทยาลัยนานาชาติ ม หาวิทยาลัยมหิดล (6 คน)30 กนั ยายน 2554 คณะครูในโรงเรียนใกล้เคียงวิทยาเขตกำ�แพงแสน จังหวดั นครปฐมโดย มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำ�แพงแสน (40 คน) สำ�นักหอสมดุ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร 2551-2559

36 การเยีย่ มชม/ศึกษาดูงาน ประจำ�ปีงบประมาณ 2555 : ระดับชาติ10 ตุลาคม 2554 ผู้บริหารทยาลยั การอาชีพกาฬสินธุ์ จังหวดั กาฬสินธ์ุ (8 คน)22 กุมภาพันธ์ 2555 บุคลากร ส�ำ นักวิทยบริการ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม (9 คน)29 กุมภาพนั ธ์ 2555 บุคลากร สำ�นักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏก�ำ แพงเพชร (4 คน)12 มีนาคม 2555 นักศึกษาสาขาวิชาบรรณารกั ษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ ช้ันปีที่ 2 แ ละช้ันปีที่ 3 คณะมนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม (45 คน)4 เมษายน 2555 ผู้บริหาร คณาจารย์ และเจ้าหน้าที่ วิทยาลยั แสงธรรม จ ังหวัดนครปฐม (14 คน)11 เมษายน 2555 ผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ สำ�นักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ  มหาวิทยาลยั ราชภัฏภเู กต็ (15 คน)22 สิงหาคม 2555 คณะเจ้าหน้าทีจ่ ากส�ำ นกั งบประมาณ (5 คน)การเยี่ยมชม/ศึกษาดูงาน ประจ�ำ ปีงบประมาณ 2555 : ระดับนานาชาติ4 เมษายน 2555 คณะผู้บริหารจาก Yangon University of Foreign Language (YUFL)  ประเทศสาธารณแห่งสหภาพพม่า (8 คน)26 มิถุนายน 2555 ผู้บริหารจาก University of Health Sciences และ N ational University of Laos (6 คน)13 กรกฎาคม 2555 ผู้แทนจากมหาวิทยาลยั ในกลุ่มประเทศอาเซียน (5 คน)10 สิงหาคม 2555 Mr.Kuniaki Yamashita, Director of Japan Society of the Promotion of Science (JSPS) Bangkok Office พร้อมคณะ (8 คน)สำ�นกั หอสมุด มหาวิทยาลยั นเรศวร 2551-2559

การเยี่ยมชม/ศึกษาดูงาน ประจ�ำ ปีงบประมาณ 2556 : ระดับชาติ 3727 พฤศจิกายน 2555 คณะผู้บริหารจากโรงพยาบาลจฬุ าภรณ์ แ ละผู้บริหารจากคณะสหเวชศาสตร์ (9 คน)28 พฤศจิกายน 2555 นกั ศึกษาของคณะมนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ ม หาวิทยาลยั ราชภฏั พิบลู สงคราม (7 คน)19 ธันวาคม 2555 บุคลากรสำ�นกั วิทยบริการ และเทคโนโลยีสารสนเทศ ม หาวิทยาลยั ราชภฎั พระนคร (30 คน)9 มกราคม 2556 บคุ ลากรของส�ำ นกั วิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (12 คน)26 กุมภาพันธ์ 2556 ผู้ทรงคุณวฒุ ิเข้าตรวจเยีย่ มเพือ่ ประเมินสถาบันของคณะพยาบาลศาสตร์ จากสภาการพยาบาล (3 คน)4 มีนาคม 2556 คณะกรรมการก�ำ หนดขอบเขตและแนวทางการปฏิบตั ิตามกฎหมายฯ และร่วมกับส�ำ นกั งานสาธารสุขจังหวัดพิษณุโลกเข้าเยี่ยมชมสถานที่สูบบุหรี่ ของส�ำ นักหอสมุด (5 คน)8 พฤษภาคม 2556 นกั เรียนใหม่ระดับชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 1 และปีที่ 4 โรงเรียนมธั ยมสาธิต มหาวิทยาลยั นเรศวร (286 คน) สำ�นักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร 2551-2559

38 การเยี่ยมชม/ศึกษาดูงาน ประจ�ำ ปีงบประมาณ 2556 : ระดบั ชาติ21 พฤษภาคม 2556 คณะครโู รงเรียนบ้านไร่พิทยาคม ตำ�บลบ้านไร่ อำ�เภอศรีส�ำ โรง จ งั หวัดสโุ ขทัย (10 คน)21 พฤษภาคม 2556 บคุ ลากรของสำ�นักวิทยบริการ มหาวิทยาลยั อุบลราชธานี ศึกษาดูงานก ารใช้งาน ฐานข้อมูล NU Library Online Purchasing System และงานวิเคราะห์ทรัพยากร สารสนเทศ (6 คน)2 สิงหาคม 2556 คณะอนกุ รรมการประเมินสถาบนั และหลกั สตู รเภสัชศาสตร์ ชุดที่ 1  คณะเภสชั ศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร (7 คน)8 สิงหาคม 2556 คณะกรรมการประเมินคณุ ภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลยั นเรศวร ประจ�ำ ปีการศึกษา 2555 (5 คน)16 สิงหาคม 2556 คณะผู้บริหารกองพสั ดุ สำ�นักงานอธิการบดี ม หาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธิราช (10 คน)6 กันยายน 2556 คณะจากสถาบนั วิชาการป้องกันประเทศ กองบญั ชาการกองทพั ไทย (31 คน)สำ�นกั หอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร 2551-2559

การเยี่ยมชม/ศึกษาดูงาน ประจ�ำ ปีงบประมาณ 2556 : ระดับนานาชาติ 395 ตุลาคม 2555 คณะผู้บริหารจาก Mme lim Siti Karimah พร้อมคณะ จาก Universitas Pedidikan Indonesia ประเทศอินโดนีเซีย (13 คน)24 ตุลาคม 2555 การเยี่ยมชม และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ความร่วมมือทางวิชาการ ของ Nong Lam University ประเทศเวียดนาม (5 คน)13 ธันวาคม 2555 คณะผู้บริหาร Oxbridge College, Kunming University of Science and Technology, China (8 คน)17 มิถนุ ายน 2556 Prof.Dr.Suparno อธิการบดีพร้อมคณะจาก Universitas Negeri Malang  ประเทศอินโดนีเซีย (8 คน)8 กรกฎาคม 2556 คณะผู้เข้ารบั การอบรมหลักสูตร Modern Technology for  Sustainable Agricultural Systems จ�ำ นวน 15 ประเทศ (18 คน)18 กรกฎาคม 2556 Dr.Sri Wahyuni, Director of International Cooperation Office, G ajayana University of Malang Indonesia (1 คน)2 กันยายน 2556 Prof. Roger Frutos จาก University of Montpellier 2 และดำ�รงตำ�แหน่ง D eputy Vice-President in Charge of the Erasmus Mundus Project ประเทศฝร่ังเศส (2 คน)10 กนั ยายน 2556 คณาจารย์และนิสิตมหาวิทยาลยั Nong Lam ประเทศเวียดนาม (23 คน) สำ�นกั หอสมุด มหาวทิ ยาลยั นเรศวร 2551-2559

40 การเยี่ยมชม/ศึกษาดงู าน ประจำ�ปีงบประมาณ 2557 : ระดับชาติ 4 พฤศจิกายน 2556 บคุ ลากรสำ�นกั หอสมุด มหาวิทยาลัยบูรพา เยีย่ มชมและดูงานเกี่ยวกับการจดั งานบุ๊คแฟร์ และการใช้งานระบบ RFID (5 คน) 24 มกราคม 2557 บุคลากรศนู ย์บรรณสารและสือ่ การศึกษา มหาวิทยาลยั พะเยา (8 คน) 7 กมุ ภาพันธ์ 2557 บคุ ลากร คณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร (10 คน) 11 กมุ ภาพนั ธ์ 2557 นกั ศึกษาสาขาบรรณารักษศาสตร์ ชั้นปีที่ 1 ค ณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม พิษณโุ ลก (10 คน) 8 พฤษภาคม 2557 นักเรียนโรงเรียนมธั ยมสาธิต มหาวิทยาลยั นเรศวร  ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 1 และปีที่ 4 (320 คน) 8 พฤษภาคม 2557 นิสิตของโครงการการจัดการศึกษาเพือ่ พัฒนาครใู นถิน่ ทรุ กันดารบนพื้นที่สงู ชายแดนไทย – เมียนมาร์ ด้านจังหวดั ตาก โดย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร 9 กนั ยายน 2557 นิสิตปริญญาโท สาขาวิชาพระพุทธศาสนา มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตแพร่ (16 คน) 17 กนั ยายน 2557 นักศึกษาสาขาบรรณารักษศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์  มหาวิทยาลยั ราชภัฏพิบลู สงคราม พิษณโุ ลก (5 คน) 25 กนั ยายน 2557 คณะกรรมการประเมินฯคุณภาพการศึกษาภายในระดบั มหาวิทยาลัย  ประจ�ำ ปีการศึกษา 2556 มหาวิทยาลัยนเรศวร (2 คน) สำ�นกั หอสมดุ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร 2551-2559

การเยี่ยมชม/ศึกษาดูงาน ประจ�ำ ปีงบประมาณ 2557 : ระดบั นานาชาติ 4116 ตลุ าคม 2556 คณะนักศึกษาชาวเมียนมาร์ มหาวิทยาลยั ภาษาต่างประเทศ ป ระเทศย่างกุ้ง (YUFL) (20 คน)22 ตลุ าคม 2556 Mr.Yoo WoonSek, Director, Office of International Affairs และ M r. Suh Young-jin, Manager, Undergraduate Degree Admission, Office of International Affairs from Konkuk University, Korea (2 คน)30 ตุลาคม 2556 Dr. Encarnacion N. Raralio อธิการบดีจาก IMUS Institute ป ระเทศฟิลิปปินส์ (1 คน)1 พฤศจิกายน 2556 Dr. Utami Widiati, Universitas Negeri Malang และ Sismijati, M inistry of Agriclture ประเทศอินโดนีเซีย พร้อมด้วยคณะนิสิตจาก Universitas Negeri Malang (12 คน)20 พฤศจิกายน 2556 คณะผู้บริหารจาก Myanmar Maritime University (7 คน)25 พฤศจิกายน 2556 School of Nursing Faculty of Medicine Gadjah Mada U niversity Indonesia (10 คน)20 ธันวาคม 2556 Assoc, Prof.Dr. Jianguo Chen, Deputy Director จาก International Exchange and Cooperation Division, China Jiliang University สาธารณรัฐประชาชนจีน พร้อมคณะ7 กุมภาพนั ธ์ 2557 Dr. Kim Wuenbae อธิการบดีจาก Mokwon University ป ระเทศสาธารณรฐั เกาหลี พร้อมด้วย Dr. Lee Heehak ตำ�แหน่ง Dean of Office of International Cooperation (2 คน)21 มีนาคม 2557 คณะผู้บริหารจาก San Sebastian College – Recoletos de Manila ป ระเทศฟิลิปปินส์ (3 คน)14 สิงหาคม 2557 เอกอคั รราชทตู บรไู นประจำ�ประเทศไทย (2 คน)28 สิงหาคม 2557 Professor Nobuhiko Henmi พร้อมคณะจาก Shinshu University ประเทศญีป่ ุ่น (3 คน) สำ�นักหอสมดุ มหาวิทยาลัยนเรศวร 2551-2559

42 การเยีย่ มชม/ศึกษาดูงาน ประจำ�ปีงบประมาณ 2558 : ระดับชาติ 4 พฤศจิกายน 2557 บุคลากรสำ�นกั หอสมุด มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ เยี่ยมชมและดงู านเกีย่ วกับระบบ ประตูอัตโนมัติ (ทางเข้า – ออก) (4 คน) 13 พฤศจิกายน 2557 คณะผู้บริหารของสำ�นักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา (สอศ.) พ ร้อมด้วยผู้บริหารคณะ บริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร (15 คน) 22 ธนั วาคม 2557 คณะบริหารธรุ กิจ เศรษฐศาสตร์และการสือ่ สาร มหาวิทยาลัยนเรศวร (การตรวจ ประเมินรบั รองหลกั สูตรระดบั นานาชาติ) (3 คน) 18 มิถุนายน 2558 บคุ ลากรหอสมุดพระราชวงั สนามจันทร์ สำ�นักหอสมุดกลาง ม หาวิทยาลยั ศิลปากร (10 คน) 10 กรกฎาคม 2558 การศึกษาดงู านของบุคลากรด้านงานนโยบายและแผน แ ละงานการเงินและการคลงั และ พสั ดสุ ำ�นักหอสมุด มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ (10 คน) 24 กรกฎาคม 2558 คณาจารย์และบุคลากรคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั พะเยา ด้านการจัดการระบบสารสนเทศ ณ ห้องสมุดสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ (6 คน) 17 สิงหาคม 2558 คณาจารย์หลักสตู รบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม (7 คน) 18 สิงหาคม 2558 บคุ ลากร วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลยั บรู พา (6 คน) 19 สิงหาคม 2558 นักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 5 – 6 และคณะครู โรงเรียนโพฒิสารศึกษา  จงั หวัดนครสวรรค์ (244 คน) สำ�นักหอสมดุ มหาวิทยาลัยนเรศวร 2551-2559

การเยี่ยมชม/ศึกษาดงู าน ประจำ�ปีงบประมาณ 2558 : ระดับนานาชาติ 4310 ตุลาคม 2557 นักศึกษาเมียนมาร์และผู้ช่วยสอนภาษาไทยจาก YUFL (18 คน)1 พฤศจิกายน 2557 Dr. Utami Widiati, Universitas Negeri Malang และ Ms. Sismijati, M inistry of Agriculture ประเทศอินโดนีเซีย ผู้สังเกตการณ์ พร้อมด้วยคณะนิสิตจาก Universitas Negeri Malang ประเทศอินโดนีเซีย (12 คน)10 พฤศจิกายน 2557 คณะจาก San Sebastian College – Recoletos, Manila ป ระเทศฟิลิปินส์ (6 คน)24 พฤศจิกายน 2557 ผู้เข้ารบั การฝึกอบรม จำ�นวน 15 ประเทศ ห ลักสตู ร Modern Technology for Sustainable Agricultural Systems ของภาควิชาวิทยาศาสตร์การเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ฯ (23 คน)18 กุมภาพนั ธ์ 2558 คณะบุคคลจาก Mulawarman University ประเทศอินโดนีเซีย (32 คน)2 เมษายน 2558 คณะผู้แทนจากมหาวิทยาลยั ต่าง ๆ และกระทรวงศึกษาธิการปากีสถาน โดย สถาบัน AIT กรุงเทพมหานคร (25 คน)23 เมษายน 2558 Mr. Muhammad Salman Shabbir, Managing Director, Lahore Leads University ประเทศปากีสถาน (3 คน)14 พฤษภาคม 2558 Prof.Dr.Fathur Rokhman, M.Hum อธิการบดี Universitas (UNNES) พร้อมคณะ (8 คน)7 กรกฎาคม 2558 ผู้เข้ารับการฝึกอบรมหลักสตู ร Modern Technology for S ustainable Agricultural Systems จ�ำ นวน 18 ประเทศ โดยภาควิชาวิทยาศาสตร์การเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ฯ (20 คน)10 กรกฎาคม 2558 ตัวแทนจาก Queensland University of Technology ประเทศออสเตรเลีย (3 คน)13 กรกฎาคม 2558 นิสิตแพทย์จากมหาวิทยาลัย Thai Nguyen ประเทศเวียดนาม (3 คน)11 สิงหาคม 2558 Mr. Callum Cowell, Director of Centre for English Language Teaching U niversity of Western Australia (2 คน) สำ�นกั หอสมดุ มหาวิทยาลยั นเรศวร 2551-2559

44 การเยีย่ มชม/ศึกษาดงู าน ประจำ�ปีงบประมาณ 2559 : ระดับชาติ 12 พฤศจิกายน 2558 คณาจารย์และนักศึกษาสาขาคณิตศาสตร์ ชั้นปีที่ 3 ม หาวิทยาลยั ราชภฏั ชยั ภูมิ (84 คน) 12 – 13 พฤศจิกายน 2558 บุคลากรสำ�นกั วิทยบริการ มหาวิทยาลัยนครพนม (งานพัฒนาทรพั ยากร, งานวารสารและสื่อสิ่งพิมพ์ต่อเนือ่ ง และงานเทคโนโลยี) (3 คน) 26 พฤศจิกายน 2558 คณะครู และนกั เรียนโครงการแลกเปลี่ยนภาษาและวฒั นธรรม โรงเรียนตาคลีประชาสรรค์ และโรงเรียน SMA NEGERI 6 MALANG ประเทศอินโดนีเซีย (46 คน) 21 ธันวาคม 2558 บรรณารักษ์ นักเทคโนโลยีการศึกษา และผู้ปฏิบัติงานห้องสมดุ  ห้องสมดุ จอห์น เอฟ เคนเนดี้ มหาวิทยาลัยสงขลานคริทร์ วิทยาเขตปตั ตานี (30 คน) 23 ธันวาคม 2558 ผู้บริหาร บคุ ลากรส�ำ นักหอสมดุ ส �ำ นักหอสมุด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน (19 คน) 28 ธนั วาคม 2558 หวั หน้าฝ่ายบริการทรพั ยากรสารนิเทศ ส ำ�นกั หอสมดุ มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ (1 คน) 14 มกราคม 2559 คณะอาจารย์และเจ้าหน้าที่ หน่วยจัดการศึกษานอกที่ตั้ง  มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี จังหวดั ลพบุรี (11 คน) 10 - 11 มีนาคม 2559 ผู้บริหารและบุคลากรสำ�นกั หอสมดุ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (22 คน) ผู้บริหารและบคุ ลากรสำ�นกั หอสมุด มหาวิทยาลัยบูรพา (9 คน) ผู้บริหารและบคุ ลากร ส�ำ นักวิทยาบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี (5 คน) 23 มีนาคม 2559 ผู้บริหารและบคุ ลากร ส�ำ นักงานวิทยทรัพยากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (12 คน) สำ�นักหอสมดุ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร 2551-2559

การเยี่ยมชม/ศึกษาดงู าน ประจำ�ปีงบประมาณ 2559 : ระดบั นานาชาติ 4527 ตุลาคม 2558 คณะอาจารย์และนักศึกษาชาวเมียนมาร์ จากภาควิชาภาษาไทย  มหาวิทยาลยั ภาษาต่างประเทศ ย่างกุ้ง (YUFL) พร้อมด้วยผู้ช่วยสอน (TA) ชาวไทยจาก YUFL (28 คน)28 ตลุ าคม 2558 ผู้บริหารจากมหาวิทยาลยั Hindustan University เมืองเจนไน ประเทศอินเดีย (2 คน) สำ�นักหอสมุด มหาวิทยาลยั นเรศวร 2551-2559

46 การให้ความอนุเคราะห์ฐานข้อมลู ที่สำ�นักหอสมดุ พฒั นาขึ้น สำ�นักหอสมดุ ให้ความอนเุ คราะห์ฐานข้อมูลที่พฒั นาขึ้นเพื่อเปน็ ประโยชน์ต่อหน่วยงานภายในและภายนอก มหาวิทยาลยั นเรศวร ดังนี้ หน่วยงานภายใน ฐานข้อมูลครุภัณฑ์ หน่วยงานภายนอก กองบริหารงานวิจยั • • วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สงขลา คณะทันตแพทยศาสตร์ • • สำ�นกั วิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ  คณะบริหารธรุ กิจฯ • มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร • สำ�นักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ  คณะเภสชั ศาสตร์ • มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลล้านนาพิษณโุ ลก คณะสังคมศาสตร์ • • ส�ำ นักหอสมุด มหาวิทยาลัยบรู พา โครงการหอพกั นิสิต • • ส�ำ นักหอสมดุ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน โรงเรียนมัธยมสาธิต • • สำ�นักหอสมดุ มหาวิทยาลยั บูรพา วิทยาลัยนานาชาติ • • สำ�นักงานวิทยทรพั ยากร จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั สถานการศึกษาต่อเนื่อง • • ส�ำ นกั หอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากรสถานสตั ว์ทดลองเพื่อการวิจยั •ฐานข้อมลู วสั ดุ หนว่ ยงานภายใน • คณะสงั คมศาสตร์ หน่วยงานภายนอก • สำ�นกั หอสมุด มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ บางเขน • ส�ำ นักงานวิทยทรพั ยากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั • สำ�นกั หอสมุดกลาง มหาวิทยาลยั ศิลปากร หน่วยงานภายใน ระบบสารสนเทศ สำ�หรบั บุคลากร คณะเภสัชศาสตร์ • หนว่ ยงานภายนอก สำ�นกั หอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร •ฐานข้อมลู การลา หนว่ ยงานภายใน • คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ • วิทยาลยั นานาชาติ หน่วยงานภายนอก • สำ�นักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลยั ศิลปากรสำ�นักหอสมุด มหาวทิ ยาลยั นเรศวร 2551-2559

47การให้ความอนุเคราะหฐ์ านข้อมลู ทส่ี ำ�นักหอสมดุ พฒั นาข้นึระบบบรหิ ารง านจดั หน่วยงานภายในซ้อื หนงั สืออ อนไลน์ • ศนู ย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลยั พะเยา • สำ�นักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยอบุ ลราชธานี • สำ�นกั หอสมดุ มหาวิทยาลัยบูรพา • สำ�นักหอสมุด มหาวิทยาลัยแม่โจ้ • ส�ำ นกั วิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี • ส�ำ นกั งานวิทยทรพั ยากร จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั หน่วยงานภายใน ระบบการดำ�เนิน ศูนย์บรรณสารและสือ่ การศึกษา มหาวิทยาลัยวลยั ลกั ษณ์ • งานการประกนั คุณภาพอ อนไลน์ ศนู ย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยพะเยา • (SAR Online) ส�ำ นกั หอสมดุ กลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร • ระบบบนั ทกึ หนว่ ยงานภายใน เหตกุ ารณป์ ระจำ�วนั • ส�ำ นักวิทยบริการ มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปตั ตานีส ำ� หรบั ผู้ปฏบิ ัตงิ านน อก • สำ�นักหอสมดุ มหาวิทยาลัยบรู พา • สำ�นกั หอสมุด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน เวลาราชการ • สำ�นักงานวิทยทรัพยากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หน่วยงานภายใน ระบบรายงาน ส�ำ นกั หอสมุด มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ บางเขน • การเบิกจา่ ยคา่ ตอบแทน สำ�นักหอสมดุ มหาวิทยาลัยบูรพา • การปฏบิ ัตงิ าน นอกเวลาราชการระบบบริหาร หนว่ ยงานภายใน • ส�ำ นักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานีจัดการห นังสือทห่ี าบน • ส�ำ นักหอสมุด มหาวิทยาลัยบรู พาช้ันไมพ่ บ • สำ�นักงานวิทยทรพั ยากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สำ�นกั หอสมุด มหาวทิ ยาลัยนเรศวร 2551-2559

48 การให้ความอนุเคราะห์ฐานข้อมลู ท่สี ำ�นกั หอสมดุ พัฒนาขึน้ ระบบบริการ หน่วยงานภายใน หนงั สือเร่งดว่ น • ส�ำ นกั วิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปตั ตานี( Quick service) หนว่ ยงานภายใน ระบบรายงาน ส�ำ นกั หอสมุด มหาวิทยาลยั บูรพา • สำ�นกั หอสมุด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน • ผ ลงานตีพิมพ์ สำ�นักงานวิทยทรพั ยากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั • ของม หาวทิ ยาลัยนเรศวร (NU Scholarly Research Report)ระบบสนบั สนุนการวจิ ยั  หนว่ ยงานภายใน(Research Support) • ส�ำ นกั งานวิทยทรัพยากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หน่วยงานภายใน ปฏิทินกิจกรรม สำ�นักงานวิทยทรพั ยากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั • สำ�นักหอสมุดคลงั ข้อมูลการแลก หนว่ ยงานภายใน • ส�ำ นกั วิทยบริการ มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปตั ตานี เปลยี่ นเรยี นรู้ • สำ�นักหอสมุด มหาวิทยาลยั บูรพา • สำ�นกั งานวิทยทรพั ยากร จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั ของบคุ ลากร (Knowledge-Based Central)สำ�นักหอสมดุ มหาวิทยาลยั นเรศวร 2551-2559

การให้ความอนุเคราะห์ฐานข้อมลู ทส่ี ำ�นักหอสมุดพัฒนาขน้ึ 49 ระบบ หน่วยงานภายในพ ิมพ์ใบเสรจ็ รับเงิน • สำ�นักงานวิทยทรพั ยากร จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั (Print Slip) หน่วยงานภายใน ระบบบริการ สำ�นกั หอสมุด มหาวิทยาลยั บูรพา • นำ�สง่ ทรพั ยากรสารสนเทศ ส�ำ นกั หอสมุด มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ บางเขน • ระหว่างห้องสมดุ สำ�นักงานวิทยทรัพยากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • (Document Delivery Service) หนว่ ยงานภายในVDO Online • สำ�นกั งานวิทยทรพั ยากร จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย หน่วยงานภายใน ระบบจอง สำ�นกั งานวิทยทรพั ยากร จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ห้องศึกษาค้นคว้ากล่มุ (Group Study Room & Reservation System) หนว่ ยงานภายใน ระบบบริการยืม • สำ�นักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปตั ตานี ระหว่างห้องสมดุ(Interlibrary Loan Service) สำ�นกั หอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร 2551-2559

50 การให้ความอนุเคราะหฐ์ านข้อมูลทส่ี ำ�นักหอสมุดพฒั นาข้นึ ระบบแจ้ง หนว่ ยงานภายในแก้ไขตัวเลม่ หนังสอื • ส�ำ นกั งานวิทยทรัพยากร จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย หนว่ ยงานภายใน สำ�นักงานวิทยทรัพยากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ระบบตรวจสอบร ายชือ่ นสิ ิต/บุคลากร หนว่ ยงานภายในDigital Post-It • ส�ำ นกั งานวิทยทรัพยากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หน่วยงานภายใน ระบบสำ� รองข้อมูล สำ�นักงานวิทยทรพั ยากร จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย • การคืนหนงั สอื ระบบข้อมูล หนว่ ยงานภายใน สมาชิกห้อง • สำ�นักวิทยบริการ มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี สมดุ ป ระเภทบคุ คลภายนอก ศิษย์เก่า และ PULINETสำ�นกั หอสมดุ มหาวิทยาลัยนเรศวร 2551-2559


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook