Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่องการหาประจำหลักของเลขโดดของจำนวนนับไม่เกิน 1,000 ของนักเรียนชั้น ป.2

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่องการหาประจำหลักของเลขโดดของจำนวนนับไม่เกิน 1,000 ของนักเรียนชั้น ป.2

Published by ploy199898, 2022-08-07 03:07:26

Description: การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่องการหาประจำหลักของเลขโดดของจำนวนนับไม่เกิน 1,000 ของนักเรียนชั้น ป.2

Keywords: การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่องการหาประจำหลักของเลขโดดของจำนวนนับไม่เกิน 1,000 ของนักเรียนชั้น ป.2

Search

Read the Text Version

การพัฒนาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนคณิตศาสตร์ เรือ่ ง การหาคา่ ของเลขโดดในแต่ละหลกั ของจานวนนบั ไมเ่ กิน 1,000 โดยการจัดการเรยี นรูแ้ บบสืบเสาะหาความรู้ 5E ของนักเรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 2 โรงเรยี นบา้ นสงั ข์ทอง: การวิจยั ปฏิบัตกิ ารในชนั้ เรยี น THE DEVELOPMENT OF MATHEMATICAL ACHIEVEMENT ON THE DETERMINATION OF THE NUMERICAL VALUE IN EACH DIGIT OF THE COUNT UP TO 1,000 BY INQUIRY CYCLE (5E) FOR PRATHOMSUKSA 2 OF BANSUGTHONG SCHOOL : CLASSROOM ACTION RESEARCH. งานวิจยั ของ โสรยา ฟ้งุ สุข เสนอตอ่ มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอด็ เพอื่ เปน็ สว่ นหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรครุศาสตรบณั ทติ สาขาวชิ าการประถมศึกษา ปีการศึกษา 2564

2

ก ชือ่ เรื่อง การพฒั นาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นคณติ ศาสตร์ เร่อื ง การหาคา่ ของเลขโดดในแต่ละหลกั ของ จานวนนับไม่เกิน 1,000 โดยการจดั การเรียนรแู้ บบสบื เสาะหาความรู้ 5E ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรียนบา้ นสังขท์ อง : การวจิ ัยปฏิบตั ิการในชนั้ เรียน ผวู้ ิจัย โสรยา ฟงุ้ สขุ ทีป่ รกึ ษาการวจิ ยั ปวณี า จานงกจิ สาขาวิชา การประถมศกึ ษา สถานศกึ ษา มหาวิทยาลยั ราชภฎั รอ้ ยเอ็ด ปีท่พี ิมพ์ 2565 บทคดั ยอ่ การวจิ ัยคร้ังน้มี วี ัตถุประสงค์เพ่ือ 1) เพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เร่ือง การหาค่าของ เลขโดดในแต่ละหลักของจานวนนับไม่เกิน 1,000 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5E ให้มี ประสิทธิภาพตามเกณฑร์ ้อยละ 80 ของจานวนนักเรียนท้ังหมด และ 2) เพื่อได้คะแนนเพ่ิมสัมพัทธ์ เรื่อง การหา คา่ ของเลขโดดในแต่ละหลกั ของจานวนนับไม่เกิน 1,000 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5E ของ นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 2 ดาเนินการวิจัยโดยใช้การวิจัยเชิงปฏิบัติการ 3 วงรอบเคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจัย แผนการจดั การเรยี นดว้ ยเทคนคิ การจดั การเรยี นร้แู บบสบื เสาะ ของนักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 2 จานวน 6 แผน 6 ชั่วโมง แบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ท้ายวงรอบการวิจัย จานวน 3 ชุด แบบบันทึกผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ และแบบสมั ภาษณ์นักเรยี น วเิ คราะหข์ อ้ มูลโดยใช้ ค่ารอ้ ยละ ผลการศกึ ษาพบว่า 1. หลังจากการพัฒนาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นคณิตศาสตร์ เร่อื ง การพัฒนาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น คณิตศาสตร์ เรือ่ ง การหาค่าของเลขโดดในแต่ละหลักของจานวนนับไม่เกนิ 1,000 ของนักเรียนชั้น ประถมศกึ ษาปีที่ 2 โดยการจัดการเรยี นรแู้ บบสบื เสาะหาความรู้ 5E นกั เรียนกลุม่ เปา้ หมายทุกคน ผ่าน เกณฑ์การประเมินร้อยละ 80 ข้นึ ไป

ข TITLE The development of mathematical achievement in determining the value of the numbers in each digit of The count is not more than 1,000 by inquiry cycle (5E) for prathomsuksa 2 of bansugthong school: classroom action research. AUTHOR Soraya Fungsuk RESEARCH ADRISOR Paweena Jamnongkit MAJOR Elementary education UNIVIERSITY Roi Et Rajabhat University Year 2022 ABSTRCT The purpose of this research is to 1) to develop mathematical achievement in finding the value of numbers in each digit of the count not more than 1,000 by using the 5E search based learning management to be effective according to the percentage criteria. 80 of the total number of students and 2) to obtain a relative increase score on finding the value of the digit in each digit of not more than 1,000 by using the 5E tracing management of the second grade students. 3-circle action research around research tools Learning management plan with a tracing learning management technique Of 6 grade 2 students, 6 hrs., 4 sets of achievement tests at the end of the research cycle, the results of the learning management plan and student interview form. Data were analyzed using percentage and correlation score. The study found that 1. After the development of mathematical achievement on the development of mathematical achievement on the determination of the numerical value in each digit of the count not more than 1,000 of the second grade students by the 5E tracing learning arrangement. All target students Pass the assessment criteria 80 percent or more. 2. Development of mathematics achievement. Making students in grade 2 with lasting knowledge in Finding the value of each digit of the number not more than 1,000, as measured by the student's relative increase score.

ค กติ ตกิ รรมประกาศ วิจัยฉบับนี้ สาเร็จได้เพราะความกรุณาอย่างย่ิงจาก คุณครูปวีณา จานงกิจ ที่ปรึกษาการวิจัยได้ให้ คาแนะนา รวมท้ังให้ข้อคิดท่ีเป็นประโยชน์แก่ผู้วิจัย ด้วยดีเสมอมา ผู้วิจัยรู้สึกซาบซึ้งในความกรุณา และ ขอขอบพระคณุ ไว้ ณ โอกาสนี้ ขอขอบพระคุณผู้อานวยการโรงเรียนบ้านสังข์ทอง ท่ีกรุณาให้ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูล และให้ ข้อเสนอแนะเปน็ ประโยชน์ในการจดั ทาวจิ ัยในคร้งั นี้ ขอขอบพระคุณครูประจาชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรียนบ้านสังข์ทอง ท่ีได้ให้คาแนะนาและช่วยเหลือ และอานวยความสะดวกข้อมูลต่าง ๆ จนทาใหว้ ิจัยสาเรจ็ ล่วงไปดว้ ยดี ขอขอบคุณนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรียนบ้านสังข์ทอง จานวนทั้งสิ้น 27 คน ท่ีได้ให้ความ ร่วมมือในการทาวิจยั ในครงั้ นีเ้ ป็นอย่างดี นอกจากนีค้ วามสาเร็จและความภูมิใจอันเกดิ จากวิจัยฉบับนี้ เป็นผลพลังใจท่ีได้มาจากผู้มีส่วนร่วมในการ วิจยั ทุกภาคส่วนท่ีคอยให้กาลังใจ และให้คาปรึกษาเป็นอย่างดี เพื่อให้ผู้วิจัยได้ศึกษาจนสาเร็จสมความปรารถนา ด้วยดี คุณค่าและคุณประโยชน์ของการศึกษาวิจัยในคร้ังนี้ ผู้วิจัยขอน้อมบูชาพระคุณ บิดา มารดา ครู อาจารย์ ตลอดจนผู้มีพระคุณทุกท่านท่ีได้ให้ชีวิต สติปัญญาและคุณธรรม อันเป็นเครื่องช้ีนาชีวิตและเสริมสร้างส่ิงดีงาม แกผ่ ้วู จิ ัย ผู้วจิ ยั

สารบญั ง บท หน้า บทคดั ยอ่ ภาษาไทย……………………………………………………………………………………………….. ก บทคัดย่อภาษาองั กฤษ…………………………………………………………………………………………… ข กติ ตกิ รรมประกาศ………………………………………………………………………………………………… ค สารบัญ………………………………………………………………………………………………………………… ง สารบญั ตาราง……………………………………………………………………………………………………….. ฉ สารบญั ภาพ………………………………………………………………………………………………………….. ช 1 บทนา…………………………………………………………………………………………………………………… 1 1 ความเปน็ มาและความสาคัญ………………………………………………………………………. 3 คาถามของการวิจยั …………………………………………………………………………………… 3 วัตถุประสงค์……………………………………………………………………………………………… 4 ขอบเขตการวิจยั ………………………………………………………………………………………… 5 นิยามศัพทเ์ ฉพาะ………………………………………………………………………………………… 6 ประโยชน์ทค่ี าดวา่ จะไดร้ ับ…………………………………………………………………………… 6 กรอบแนวคิดในการวจิ ัย……………………………………………………………………………… 7 2 เอกสารและงานวิจัยที่เก่ยี วขอ้ ง………………………………………………………………………………… 7 ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นคณติ ศาสตร์……………………………………………………………… 12 การจัดการเรยี นรแู้ บบสืบเสาะหาความรู้ 5E…………………………………………………… 15 งานวิจัยท่เี ก่ียวข้อง……………………………………………………………………………………… 17 3 วิธกี ารดาเนนิ การวจิ ยั ……………………………………………………………………………………………… 17 กลุม่ เปา้ หมาย…………………………………………………………………………………………… 17 เคร่อื งมอื ทใี่ ช้ในการวจิ ัย…………………………………………………………………………….. 18 การสร้างเครื่องมือในการวจิ ัย……………………………………………………………………… 21 วธิ กี ารดาเนนิ การวิจยั ………………………………………………………………………………… 24 การเก็บรวบรวมขอ้ มลู ………………………………………………………………………………… 25 การวเิ คราะห์ขอ้ มลู ……………………………………………………………………………………. 26 สถิตทิ ี่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล…………………………………………………………………….. 28 4 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล……………………………………………………………………………………………. 28 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล…………………………………………………………………………………

สารบญั (ต่อ) จ บท 5 สรปุ ผล อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ………………………………………………………………………. หน้า 42 สรุปผล…………………………………………………………………………………………………….. 42 อภปิ รายผล………………………………………………………………………………………………. 43 ขอ้ เสนอแนะ…………………………………………………………………………………………….. 45 บรรณานกุ รม…………………………………………………………………………………………………………………….. 47 ภาคผนวก…………………………………………………………………………………………………………………………. 50 ภาคผนวก ก รายชื่อผู้ร่วมการวิจัยและหนังสอื ราชการ…………………………………………. 52 ภาคผนวก ข เครื่องมอื ทีใ่ ชใ้ นการวจิ ัย………………………………………………………………… 55 ประวัติย่อของผู้วิจยั …………………………………………………………………………………………………………… 67

ฉ สารบัญตาราง หน้า ตาราง 28 1 จานวนนกั เรยี นช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 โรงเรยี นบา้ นสงั ข์ทอง…………….. 31 2 ผลการวดั ผลสมั ฤทธิ์ทางคณิตศาสตร์ วงรอบที่ 1………………………………………………………… 35 3 ผลการวดั ผลสัมฤทธิ์ทางคณติ ศาสตร์ วงรอบท่ี 2………………………………………………………… 39 4 ผลการวัดผลสัมฤทธิ์ทางคณติ ศาสตร์ วงรอบท่ี 3…………………………………………………………

ช สารบัญภาพ หน้า ภาพ 4 1 โมเดลกระบวนการวิจยั …………………………………………………………………………………………….. 6 2 กรอบแนวคิดในการวจิ ัย……………………………………………………………………………………………. 20 3 ขั้นตอนการสร้างแบบสังเกต แบบสมั ภาษณ์…………………………………………………………………

บทที่ 1 บทนา 1. ความเปน็ มาและความสาคัญ การจัดการเรียนรู้ในสถานบันการศึกษาในทุกระดับช้ันต้องได้รับรับการพัฒนาอย่างเร่งด่วน เพ่ือให้ สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมของกระแสโลกในยุคแห่งเทคโนโลยีและนวัตกรรมท่ีเข้ามามีบทบาท ในการศึกษาอย่างมาก จึงส่งผลให้ผู้เรียนขาดการพัฒนาทักษะการเรียนรู้พื้นฐานในด้านต่าง ๆ และทักษะทาง คณิตศาสตร์ก็เป็นทักษะพ้ืนฐานท่ีผู้เรียนควรได้รับการพัฒนาเป็นอย่างยิ่ง ซ่ึงสอดคล้องกับพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2551 หมวดที่ 4 การจัดการศึกษา มาตร 22 การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่า ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญท่ีสุด กระบวนการจัดการ ศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ (สานักงานคณะกรรมการการศึกษา แห่งชาติ ,2542 :12) โดยพบว่าหลังจากสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน หรือ สพฐ. ร่วมกับ หน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง ประกาศผลคะแนนการประเมินคุณภาพผู้เรียน (National Test : NT) ซ่ึงจะประเมิน ความสามารถของผ้เู รียน 2 ด้าน คือ ความสามารถดา้ นภาษาไทย และความสามารถด้านคณติ ศาสตร์ ของนักเรียน ระดับชั้นประศึกษาปีท่ี 3 ประจาปีการศึกษา 2562 คะแนนด้านคณิตศาสตร์ ได้คะแนนเฉลี่ยรวมทั้งประเทศ ร้อยละ 44.94 ซึ่งลดลงจากปีการศึกษา 2561 ท่ีได้คะแนนเฉลี่ย 47.19 ซ่ึงพบว่านักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา ปีที่ 3 มคี ะแนนเฉลี่ยต่ากวา่ ร้อยละ 50 จะเห็นได้ชัดเจนว่าผู้เรียนยังขาดทักษะทางคณิตศาสตร์และถ้ายังไม่ได้รับ การพัฒนาทักษะทางคณิตศาสตร์ท่ีเป็นพ้ืนฐานของการเรียนคณิตศาสตร์ก็จะส่งผลกระทบต่อการเรียนรู้ทาง คณิตศาสตร์ของผู้เรียนในระดับท่ีสูงขนึ้ หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 เป็นการศึกษาเพื่อปวงชนท่ีเปิดรับโอกาสให้ เยาวชนทุกคนได้เรียนรู้ในรายวิชาคณิตศาสตร์อย่างต่อเน่ืองและตลอดชีวิตตามศักยภาพของตนเอง ทั้งน้ีเพ่ือให้ เยาวชนเป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถทางคณิตศาสตร์ท่ีสามารถนาความรู้ ทักษะ และกระบวนการทาง คณติ ศาสตรท์ จ่ี าเปน็ ไปพฒั นาคุณภาพชวี ติ ใหด้ ียิ่งขึน้ รวมท้งั สามารถนาไปเป็นพ้นื ฐานสาหรับการศึกษาต่อในระดับ ท่ีสูงขึ้น ดังนั้นหลักสูตรแกนกลางศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้จัดสาระการเรียนรู้กลุ่มวิชาคณิตสตร์ ออกเป็น 6 สาระการเรียนรู้ (จิรภา นุชทองม่วง ,2558 :1 อ้างอิง กระทรวงศึกษาธิการ ,2545 :13-14) ได้แก่ สาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ สาระท่ี 2 การวัด สาระที่ 3 เรขาคณิต สาระท่ี 4 พีชคณิต สาระท่ี 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น และสาระที่ 6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ โดยสาระที่ 1-5 เปน็ สาระในเชงิ เนื้อหา ส่วนสาระท่ี 6 เป็นสาระในเชงิ ทักษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ โดย โครงสรา้ งเวลาเรยี นรายวชิ าคณติ ศาสตร์ผู้เรียนระดบั ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 1-3 จะตอ้ งจดั ทาการเรียนการสอน 200 ชวั่ โมงตอ่ ปีการศึกษา

2 การจดั การเรยี นการสอนคณิตศาสตรใ์ นปัจจุบันยังไม่ประสบผลสาเร็จตามจุดมุ่งหมายท่ีตั้งไว้ ซึ่งมีสาเหตุ มาจาก 2 ด้าน คือ 1. ด้านผู้เรียนท่ีไม่เข้าใจในเน้ือหาหรือทฤษฎีของรายวิชา ผู้เรียนไม่ชอบวิชาคณิตศาสตร์ เน่อื งจากเป็นวชิ าทใ่ี ชต้ ัวเลขในการเรียนจึงทาให้เกดิ ความเบอ่ื หน่าย จงึ สง่ ผลใหผ้ ลผู้เรียนมีพลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน คณิตศาสตร์ในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานที่ผ่านมาไม่น่าพึ่งพอใจมากนัก ดังเห็นได้จากผลคะแนนการประเมิน คณุ ภาพผู้เรียน (National Test : NT) 2. ด้านครูผู้สอน ท่มี ักจะเน้นเนื้อหาและมีวิธีการสอนแบบบรรยายเน้ือหา และการสาธิตแล้วให้ผู้เรียนปฏิบัติตามจึงทาให้ผู้เรียนไม่สนใจการเรียน (จิรภา นุชทองม่วง ,2558 :2) ดังนั้น ครผู ูส้ อนควรเตรียมการสอนและใช้วิธีการสอนท่ีหลากหลายและสอดคล้องกับพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนอย่าง เหมาะสม จากท่ีกล่าวมาแล้ว ผู้วิจัยในฐานะนักศึกษาสาขาวิชาการประถมศึกษา ช้ันปีที่ 5 คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาราชภฏั ร้อยเอ็ด ที่กาลังฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชพี ครู ระยะเวลา 1 ปกี ารศกึ ษา ได้มีความสนใจท่ีจะทางาน วจิ ัยการพัฒนาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นคณิตศาสตร์ เรือ่ ง การหาค่าของเลขโดดในแต่ละหลักของจานวนนับไม่เกิน 1,000 ในระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2 เพื่อช่วยเป็นพื้นฐานในการเตรียมความพร้อมผู้เรียนด้านการคิดคานวณ ซ่งึ การจดั การเรียนการสอนเพ่ือให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจควรมีวิธีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่มีความหลากหลาย มีข้นั ตอนการสอนท่ีชดั เจนและเหมาะสมกบั พัฒนาการการเรยี นรูข้ องผู้เรยี น จากการศึกษารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ในปัจจุบันที่ช่วยพัฒนาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรยี นคณติ ศาสตรใ์ หด้ ีขนึ้ พบวา่ การจดั การเรยี นรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5E (Inquiry Cycle) เป็นรูปแบบ การจดั การเรียนการสอนที่ช่วยกระตุ้นให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะการคิดค้นหาคาตอบด้วยตนเอง ทักษะการแก้ปัญหา โดยผ่านกระบวนการเรียนรู้ 5 ข้ันตอน ได้แก่ 1. ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement) 2. ข้ันสารวจและค้นหา (Exploration) 3. ข้ันอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) 4. ข้ันขยายความรู้ (Elaboration) 5. ขั้นประเมิน (Evaluation) ซ่งึ การจัดการเรยี นรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5E (Inquiry Cycle) เป็นรูปแบบการจัดการเรียนรู้ท่ีใช้ กระบวนการสอนทางวิทยาศาสตร์ผู้สอนจะเป็นผู้อานวยความสะดวก เพ่ือให้ผู้เรียนบรรลุเป้าหมายการเรียนรู้ (จริ ภา นุชทองม่วง ,2558 :3 อ้างองิ สุนยี ์ เหมะประสิทธิ์ ,2542 :3) ซ่งึ สอดคล้อกบั ผลงานวิจัยเรื่อง การพัฒนาชุด กจิ กรรมการเรียนร้คู ณติ ศาสตร์ โดยใช้รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5E เป็นพ้ืนฐานในการจัดกิจกรรม การเรยี นรู้เรอื่ ง การบวก ลบ คูณ และหารเศษสว่ น ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวชิ าคณติ ศาสตรข์ องนกั เรยี นช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 หลังเรียนด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้ รูปแบบการเรียนการสอนแบบสบื เสาะหาความรู้เป็นฐานในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่อง การบวก ลบ คูณ และ หารเศษสว่ น สงู กวา่ กอ่ นเรียนอยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถิตทิ ร่ี ะดับ .05 (ปราริชาติ เชียวสกุล ,2557 :150) การพัฒนา ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นคณิตศาสตร์ เรื่องการหาพื้นท่ีโดยใช้กระดานตะปรู ว่ มกบั การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหา ความรู้ 5E พบว่า ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนหลังได้รับการจัดการเรียนการสอนตามแผนมีคะแนน เฉล่ยี 18.37 คิดเป็นร้อยละ 73.47 สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 ท่ีกาหนดไว้อย่างมีนัยสาคัญ .05 (จิรภา นุชทองม่วง

3 ,2558 :66) การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เรื่องโจทยป์ ญั หาระคน โดยใช้วฏั จักรการเรียนรู้ 5E กับการเรียนรู้ปกติ พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของกลุ่มท่ี ใชว้ ัฏจักรการเรยี นรู้แบบ 5E สูงกวา่ กลุ่มคนเรยี นปกติ (อารีย์ ปานถม ,2550 :74) ผู้วิจัยจึงมีความต้องการท่ีจะพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เร่ือง การหาค่าของเลขโดด ในแต่ละหลกั ของจานบั ไม่เกนิ 1,000 โดยใชก้ ารจัดการเรียนรแู้ บบสืบเสาะหาความรู้ 5E ในระดับชั้นประถมศึกษา ปที ่ี 2 โรงเรยี นบา้ นสงั ข์ทอง 2. คาถามของการวจิ ัย 2.1. นักเรียนท่ีได้รับการพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง การหาค่าของเลขโดด ในแต่ละหลกั ของจานวนนบั ไม่เกิน 1,000 โดยใชก้ ารจดั การเรียนรู้แบบสบื เสาะหาความรู้ 5E มีผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนคณิตศาสตร์ทีด่ ีขน้ึ หรือไม่ 3. วัตถปุ ระสงค์การวจิ ยั 3.1. เพอ่ื พัฒนาผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นคณิตศาสตร์ เร่อื ง การหาค่าของเลขโดดในแต่ละหลักของจานวน นับไม่เกิน 1,000 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5E ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ร้อยละ 80 ของจานวนนกั เรยี นท้ังหมด 4. ขอบเขตการวจิ ยั 4.1. ตัวแปรทศ่ี ึกษา 4.1.1. ตัวแปรต้น ได้แก่ การจดั การเรยี นร้แู บบสบื เสาะหาความรู้ 5E 4.1.2. ตวั แปรตาม ไดแ้ ก่ ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นคณติ ศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2 เร่อื ง การหาคา่ ของเลขโดดในแต่ละหลกั ของจานวนนบั ไมเ่ กนิ 1,000 4.2. กลมุ่ เป้าหมาย 4.2.1. นกั เรยี นช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 2 โรงเรียนบา้ นสงั ขท์ อง ปีการศกึ ษา 2564 จานวนท้งั สิ้น 27 คน

4 4.3. ขอบเขตเน้อื หา 4.3.1. เน้อื หาท่ีใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นเน้ือหากลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง การหาค่า ของเลขโดดในแต่ละหลักของจานวนนับไม่เกิน 1,000 ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 2 ตามหลักสูตรสาระการเรียนรู้ แกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 4.4. ระยะเวลาในการทาวจิ ัย ดาเนินการวจิ ยั ภาคเรยี นที่ 1 ถงึ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 ตัง้ แตว่ นั ท่ี 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2564 ถึง 1 มีนาคม พ.ศ.2564 โดยใชแ้ ผนการจดั การเรยี นรู้ 6 แผน ใชร้ ะยะเวลา 12 ชว่ั โมง แผนละ 2 ช่ัวโมง 4.5. วธิ ีการดาเนนิ การวจิ ัย วจิ ยั น้ี เป็นการวิจยั ปฏิบัติการ (Action research) ผวู้ จิ ยั ดาเนินการวิจัยโดยใช้ รูปแบบแนวคิดทฤษฎีการ วิจัยปฏิบัติการแบบบันไดเวียนของ เคริทเลวิน (Kurt Lewin) ประกอบด้วย 3 ข้ันตอน คือ ขั้นวางแผน (Plan) ข้ันปฏิบัติและสังเกต (Act and observe) ขั้นสะท้อนผลการปฏิบัติ (Reflect) (กนกวรรณ เหง้าวิชัย และ พรสวรรค์ ศริ ิกัยจนาภรณ์, 2558 :4) โดยมีกระบวนการวิจัย ดังน้ี P A&C R ภาพที่ 1 โมเดลกระบวนการวจิ ัย (กนกวรรณ เหงา้ วิชยั และพรสวรรค์ ศิริกัยจนาภรณ์, 2558 :4 )

5 5. นิยามศัพทเ์ ฉพาะ 5.1. การจัดการเรยี นรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5E (Inquiry Cycle) เป็นรูปแบบการจัดการเรียนการ สอนท่ีช่วยกระต้นุ ให้ผู้เรียนไดศ้ ึกษาค้นหาคาตอบด้วยตนเองผา่ นกระบวนการเรียนรู้ 5 ขน้ั ตอน ได้แก่ 1) การสร้างความสนใจ (Engage) ขน้ั ตอนนีเ้ ปน็ ขัน้ ตอนแรกของกระบวนการเรยี นรู้ที่จะนาเข้าสู่บทเรียน จุดประสงค์ที่สาคัญของขั้นตอนนี้ คือ ทาให้ผู้เรียนสนใจ ใคร่รู้ในกิจกรรมที่จะนาเข้าสู่บทเรียน ควรจะเช่ือมโยง ประสบการณ์การเรยี นรู้เดิมกับปัจจบุ นั และควรเป็นกิจกรรมทค่ี าดว่ากาลังจะเกิดข้ึน ซ่ึงทาให้ผู้เรียนสนใจจดจ่อที่ จะศึกษาความคิดรวบยอด กระบวนการ หรือทักษะ และเร่ิมคิดเช่ือมโยงความคิดรวบยอด กระบวนการ หรือ ทักษะกบั ประสบการณเ์ ดมิ 2) การสารวจและค้นหา (Explore) ขั้นตอนน้ีเป็นข้ันตอนท่ีทาให้ผู้เรียนมีประสบการณ์ร่วมกันในการ สรา้ งและพัฒนาความคดิ รวบยอด กระบวนการ และทกั ษะ โดยการใหเ้ วลาและโอกาสแกผ่ ูเ้ รียนในการทากิจกรรม การสารวจและค้นหาส่ิงที่ผู้เรียนต้องการเรียนรู้ตามความคิดเห็นผู้เรียนแต่ละคน หลังจากน้ันผู้เรียนแต่ละคนได้ อภปิ รายแลกเปลี่ยนความคิดเหน็ เกย่ี วกับการคดิ รวบยอด กระบวนการ และทักษะในระหว่างท่ีผู้เรียนทากิจกรรม สารวจและคน้ หา เปน็ โอกาสท่ผี ู้เรียนจะไดต้ รวจสอบหรือเก็บรวบรวมขอ้ มลู เกี่ยวกับความคิดรวบยอดของผู้เรียนท่ี ยังไม่ถูกต้องและยังไม่สมบูรณ์ โดยการให้ผู้เรียนอธิบายและยกตัวอย่างเกี่ยวกับความคิดเห็นของผู้เรียน ครูควร ระลึกอยู่เสมอเกี่ยวกับความสามารถของผู้เรียนตามประเด็นปัญหา ผลจากการที่ผู้เรียนมีใจจดจ่อในการทา กิจกรรม ผ้เู รยี นควรจะสามารถเชอื่ มโยงการสังเกต การจาแนกตวั แปร และคาถามเกยี่ วกบั เหตกุ ารณน์ นั้ ได้ 3) การอธิบาย (Explain) ข้ันตอนนี้เป็นขั้นตอนที่ให้ผู้เรียนได้พัฒนาความ สามารถในการอธิบาย ความคดิ รวบยอดที่ได้จากการสารวจและคน้ หา ครูควรให้โอกาสแก่ผู้เรียนได้อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน เกย่ี วกบั ทกั ษะหรือพฤตกิ รรมการเรยี นรู้ การอธิบายน้ันต้องการให้ผู้เรียนได้ใช้ข้อสรุปร่วมกันในการเชื่อมโยงส่ิงที่ เรยี นรู้ ในช่วงเวลาทเ่ี หมาะสมนี้ครคู วรช้แี นะผู้เรียนเก่ียวกบั การสรปุ และการอธิบายรายละเอียด แต่อย่างไรก็ตาม ครคู วรระลกึ อยูเ่ สมอว่ากจิ กรรมเหลา่ นยี้ ังคงเน้นผู้เรยี นเป็นศนู ย์กลาง นัน่ คือ ผ้เู รียนได้พัฒนาความสามารถในการ อธบิ ายด้วยตัวผูเ้ รียนเอง บทบาทของครูเพียงแต่ช้ีแนะผ่านทางกิจกรรม เพ่ือให้ผู้เรียนมีโอกาสอย่างเต็มท่ีในการ พัฒนาความรคู้ วามเขา้ ใจในความคิดรวบยอดให้ชัดเจน ในท่ีสุดผู้เรียนควรจะสามารถอธิบายความคิดรวบยอดได้ อยา่ งเข้าใจ โดยเชื่อมโยงประสบการณ์ ความร้เู ดิมและสง่ิ ท่ีเรยี นรเู้ ขา้ ดว้ ยกนั 4) การขยายความรู้ (Elaborate) ข้ันตอนน้ีเป็นข้ันตอนท่ีให้ผู้เรียนได้ยืนยันและขยายหรือเพ่ิมเติม ความรคู้ วามเข้าใจในความคิดรวบยอดให้กว้างขวางและลึกซ้ึงย่ิงขึ้น และยังเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะและ ปฏบิ ตั ิตามท่ีผู้เรียนต้องการ ในกรณีทผ่ี ู้เรยี นไม่เข้าใจหรือยังสับสนอยู่หรืออาจจะเข้าใจเฉพาะข้อสรุปที่ได้จากการ ปฏบิ ัติการสารวจและคน้ หาเทา่ นนั้ ควรให้ประสบการณ์ใหม่ผู้เรียนจะได้พัฒนาความรู้ความเข้าใจในความคิดรวบ ยอดให้กว้างขวางและลึกซ้ึงยิ่งขึ้น เป้าหมายที่สาคัญของขั้นน้ี คือ ครูควรชี้แนะให้ผู้เรียนได้นาไปประยุกต์ใช้ ใน ชีวิตประจาวนั จะทาใหผ้ เู้ รยี นเกดิ ความคดิ รวบยอด กระบวนการ และทกั ษะเพิ่มขึน้

6 5) การประเมินผล (Evaluate) ขนั้ ตอนนผี้ ู้เรยี นจะไดร้ ับข้อมูลย้อนกลับเก่ียวกับการอธิบายความรู้ความ เข้าใจของตนเอง ระหว่างการเรียนการสอนในข้ันน้ีของรูปแบบการสอน ครูต้องกระ ตุ้นหรือส่งเสริมให้ผู้เรียน ประเมนิ ความรู้ความเขา้ ใจและความสามารถของตนเอง และยงั เปิดโอกาสให้ครูได้ประเมินความรู้ความเข้าใจและ พฒั นาทกั ษะของผเู้ รียนดว้ ย 5.2. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นคณิตศาสตร์ หมายถงึ ผลคะแนนจากแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ เรื่อง การ หาค่าของเลขโดดแต่ละหลักของจานวนนับไม่เกิน 1,000 ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 2 โดยวัดจากความ ถูกต้อง ความเข้าใจในเน้ือหา ทักษะการคิด และทักษะการแก้ไขปัญหา ซึ่งผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนคณิตศาสตร์ สามารถวดั ไดจ้ ากการใช้แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิ์ 6. ประโยชน์ทคี่ าดว่าจะไดร้ บั 6.1. ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นคณิตศาสตร์ เรื่อง การหาค่าของเลขโดดในแต่ละหลักของจานวนนับไม่เกิน 1,000 ของนกั เรียนชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 2 โดยใช้การจดั การเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5E 7. กรอบแนวคิดในการวจิ ัย ในการวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยได้กาหนดกรอบแนวคิดการวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง การหาค่าของเลขโดดในแต่ละหลักของจานวนนับไม่เกิน 1,000 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหา ความรู้ 5E ในระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 2 โรงเรยี นบา้ นสังข์ทอง ดงั นี้ การใช้การจัดการเรยี นรู้ ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนคณิตศาสตร์ แบบสบื เสาะหาความรู้ 5E ภาพท่ี 2 กรอบแนวคิดในการวจิ ยั

บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจัยท่ีเกย่ี วข้อง ในการศึกษาคน้ คว้า เรือ่ ง การพฒั นาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง การหาค่าของเลขโดดใน แต่ละหลักของจานวนนับไม่เกิน 1,000 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5E ในระดับช้ัน ประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านสังข์ทอง เพื่อให้การดาเนินการวิจัยเกิดประสิทธิภาพ และสาเร็จลุล่วงตาม วัตถุประสงค์ของการวิจัย ผู้วิจัยได้ศึกษาแนวคิด ทฤษฏีตลอดจนงานวิจัยต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้อง เพื่อใช้เป็นความรู้ พน้ื ฐาน และแนวทางในการวจิ ยั ครัง้ นี้ ดังนี้ 1. ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ 1.1 ความหมายของผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นคณิตศาสตร์ 1.2 ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนคณติ ศาสตร์ 1.3 สาเหตุทท่ี าใหเ้ กิดปัญหาต่อผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นคณติ ศาสตร์ 1.4 การวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนคณิตศาสตร์ 1.5 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนคณติ ศาสตร์ 2. การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5E 2.1 หลกั การ แนวคิด ทฤษฎีที่เก่ยี วขอ้ งกับการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 2.2 ความหมายและแนวคิดเก่ยี วกับการสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ 2.3 รูปแบบการสอนแบบวัฏจกั รการสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Cycle) 3. งานวิจยั ทเี่ กยี่ วข้อง งานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องกับพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหา ความรู้ 5E 1.ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นคณติ ศาสตร์ 1.1 ความหมายของผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นเปน็ ความสามารถของนกั เรียนในด้านตา่ งๆ ซง่ึ เกิดจากนักเรยี นได้รบั ประสบการณ์ จากกระบวนการเรียนการสอนของครู โดยครตู อ้ งศกึ ษาแนวทางในการวดั และประเมินผลการสร้างเครื่องมือวัดให้ มีคณุ ภาพ ไดม้ ีผใู้ หค้ วามหมายของผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนไวด้ งั นี้ มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมธริ าช (2540 :24) กล่าวว่า ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเป็นตัวช้ีความสาเร็จในการ จัดการศึกษาตามจุดม่งุ หมายทก่ี าหนดไว้

8 สมพร เชื้อพันธ์ (2547 :53) กล่าวว่า ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ หมายถึง ความสามารถ ความสาเรจ็ และสมรรถภาพดา้ ยต่างๆของผู้เรียนทไี่ ด้จากการเรียนร้อู ันเป็นผลมาจากการเรียนการสอน การฝึกฝน หรือประสบการณ์ของแตล่ ะบุคคลซึ่งสามารถวดั ได้จากการมดสอบดว้ ยวธิ กี ารต่าง ๆ ภพ เลาหไพบลูย์ (2542 :387-389) ได้กล่าวว่า ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หมายถึง พฤติกรรมท่ีแสดงถึง ความสามรถในการกระทาส่ิงหนึ่งส่ิงใดได้ การท่ีไม่เคยกระทาได้หรือกระทาได้น้อยก่อนที่จะมีการเรียนการสอน และพฤตกิ รรมที่สามารถวัดได้ จากทก่ี ลา่ วมาแล้ว ผู้วิจัยสรุปได้ว่า ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หมายถึง ความรู้ความสามารถของนักเรียน ทีเ่ กดิ จากการเรียนรู้ผ่านกระบวนการเรียนการสอนและสามารถใช้เคร่ืองมอื วดั ได้ 1.2 ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนคณิตศาสตร์ ไกรฤกษ์ พลพา (2551 :59) กล่าวว่าผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนคณิตศาสตร์ หมายถงึ ผลการเรียนที่แสดงถึง ความสามรถ หรือความสาเร็จรวมถึงประสิทธิภาพท่ีได้จากการเรียนรู้ซ่ึงได้รับจากการสอน การฝึกฝนหรือ ประสบการณ์ในดา้ นตา่ งๆ เช่นความรู้ ทักษะในการแกป้ ัญหาความสามรถในการนาไปใช้และการวิเคราะห์ เป็นต้น ในการเรียนคณติ ศาสตร์ของนกั เรยี นซง่ึ ประเมินได้จากการทาแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธท์ิ างคณิตศาสตร์ท่ีสรา้ งข้นึ ฐิติยา เกตคา (2551 :46) กล่าวว่าความหมายของผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนคณิตศาสตร์ หมายถึง ความสามารถทางสติปัญญาในการเรียนรู้จากการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ซึ่งประเมินได้จากการทาแบบทดสอบ วัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรยี นหรอื จากงานท่ีไดร้ บั มอบหมาย กลา่ วโดยสรุป ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนคณิตศาสตร์ หมายถึง ผลที่แสดงความรู้ ความเข้าใจหลักการทาง คณิตศาสตร์ การมีทักษะในการคานวณ และมีความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาด้านต่างๆ ของนักเรียน เช่น ความตา ความเข้าใจ การนาไปใช้ และการวิเคราะห์ ซึ่งวัดได้จากแบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ โดยในงานวิจัยน้ีได้ กล่าวถึงผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ว่าหมายถึง ความสามารถของนักเรียนท่ีได้จากการทาแบบทดสอบ วดั ผลสัมฤทธิ์ เรื่อง พืน้ ที่ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 ทผี่ ้วู จิ ัยสร้างข้ึน ทาการทดสอบหลังจากการเรียนเร่ือง การหาค่า ของเลขโดดในแตล่ ะหลกั ของจานวนนบั ไมเ่ กิน 1,000 โดยการจัดการเรียนรแู้ บสืบเสาะหาความรู้ (5E) 1.3 สาเหตุทที่ าให้เกดิ ปัญหาตอ่ ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนคณิตศาสตร์ เรวัติ และคุปตะ (Rawat andGupta. 1970 :7-9) ได้กล่าวถึง สาเหตุท่ีทาให้ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนต่า มดี งั ตอ่ ไปนี้ 1. นักเรยี นขาดความรู้สกึ ในการมีสว่ นรว่ มกับโรงเรยี น 2. ความไมเ่ หมาะสมของการจัดเวลาเรียน 3. ผู้ปกครองไมเ่ อาใจใส่ในการศกึ ษาของบตุ ร

9 4. นักเรยี นสขุ ภาพไม่สมบรณู ์ 5. ความยากจนของผปู้ กครอง 6. ประเพณีทางสังคม ความเช่ือท่ีไมเ่ หมาะสม 7. โรงเรยี นไม่มกี ารปรบั ปรุงทดี่ ี 8. การสอบตกซ้าชน้ั เพราะการวดั ผลท่ไี ม่ดี 9. อายนุ อ้ ยหรอื มากเกินไป 10. สาเหตอุ น่ื ๆ เชน่ การคมนาคมไมส่ ะดวก ความยากจน การอพยพย้ายถ่นิ ทิพย์สุคนธ์ ศรีแก้ว (2546:57) ได้กล่าวถึง สาเหตุท่ีทาให้เกิดปัญหาต่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน คณิตศาสตรว์ า่ เกิดจากวฒุ ิภาวะ เจตคติตอ่ วชิ าคณิตศาสตร์สภาพแวดลอ้ มและท่ีสาคัญคอื การจัดการเรียนการสอน อารยี ์ ศรีเดือน (2547:60) ได้กล่าวถึง สาเหตทุ ี่ทาให้เกิดปัญหาต่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนคณิตศาสตร์ไว้ วา่ สาเหตุทที่ าให้เกดิ ปัญหาตอ่ การเรยี นการสอนคณิตศาสตร์ คือทักษะการจัดกระบวนการเรียนการสอน วิธีการ สอนของครู ตลอดจนเจตคติในการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ครูซ่ึงมีหน้าที่โดยตรงจาเป็นต้องการวิธีการสอนที่ หลากหลายให้นกั เรียนมีสว่ นรว่ มในการเรยี นรู้ เพื่อใหเ้ กิดประสทิ ธภิ าพมากทีส่ ดุ จากสาเหตทุ ี่ทาใหเ้ กิดปญั หาต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ทางการเรียนคณิตศาสตร์ข้างต้น สรุปได้ว่าเกิด จากหลายๆ ด้าน อาทิเช่น ปัญหาจากครูผู้สอน รูปแบบการเรียนการสอน วิธีการสอน สื่อในการสอน รวมถึง ปัญหาจากตัวนกั เรยี นเอง ซง่ึ ครูผสู้ อนควรศกึ ษาสาเหตขุ องปญั หา และพยายามหาแนวทางในการแก้ปัญหา จึงจะ สง่ ผลท่ีดตี อ่ ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนคณติ ศาสตรข์ องนักเรียนสูงข้ึน 1.4 การวดั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นคณิตสาสตร์ สถาบันส่งเสริมการสอบวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี (2546 :119) กล่าวว่า การวัดและการประเมินผล การเรียนร้คู ณิตศาสตร์ ควรจัดให้ครอบคลุมท้ังดา้ นความรู้ ดา้ นทกั ษะกระบวนการ ดา้ นคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ และสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวังรายปีและมาตรฐานการเรียนรู้ท่ีกาหนดไว้หลักสูตรสถานศึกษา ควรม่งุ เนน้ สมรรถภาพโดยรวมของผู้เรียนเป็นหลักจุดประสงค์หลักของการวัดและการประเมินผล เพื่อนาผลการ ประเมินไปใชป้ รับปรุงการเรียนการสอน เพอ่ื ช่วยพัฒนาผู้เรียนสามารถเรียนรู้คณิตศาสตร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเติมเต็มศักยภาพ คุณภาพของผู้เรียนที่ต้องประเมิน ในการวัดและประเมินผลของกลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์นั้น หลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐานพุทธราช 2551 กาหนดให้ทาการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ท่ี คาดหวงั รายปี โดยมตี ัวช้วี ัดและการประเมินผลท่ตี ้องนามาพจิ ารณา ดงั น้ี

10 1.4.1 ด้านความรู้ ในการวดั และประเมนิ ผลดา้ นความรตู้ ้องสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ท้ัง 5 สาระ ได้แก่ 1.4.1.1 จานวน และการดาเนินการ 1.4.1.2 การวัด 1.4.1.3 เรขาคณติ 1.4.1.4 พีชคณติ 1.4.1.5 การวเิ คราะห์ข้อมูล และความนา่ จะเปน็ 1.4.2 ด้านทกั ษะกระบวนการ ในการวัดและประเมินผลด้านทักษะ/กระบวนการเป็นการวัดความสามารถ ของนักเรยี นคลอบคลุมประเด็นท่ตี อ้ งการประเมิน ดงั นี้ 1.4.2.1 การแก้ปัญหา 1.4.2.2 การให้เหตุผล 1.4.2.3 การสอ่ื สาร การสื่อความหมายและการนาเสนอ 1.4.2.4 การเชื่อมโยง 1.4.2.5 ความคดิ ริเร่ิมสรา้ งสรรค์ 1.4.3 ด้านคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ การวัดและการประเมินผลด้านลักษณะอันพึงประสงค์ ครอบคลุม ประเดน็ ท่ตี อ้ งการประเมนิ ดงั นี้ 1.4.3.1 ทางานอยา่ งมีระบบ 1.4.3.2 มีระเบยี บวินัย 1.4.3.3 มีความรอบครอบ 1.4.3.4 มีความรับผดิ ชอบ 1.4.3.5 มีวจิ ารณญาณ 1.4.3.6 มคี วามเช่อื ม่นั ในตวั เอง 1.4.3.7 ตระหนักในคุณค่า และมเี จตคติท่ีดตี อ่ วชิ าคณติ ศาสตร์ ฐิติยา เกตุคา (2551 :48) กล่าวถึง การวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนไว้ว่า เป็นสิ่งจาเป็นอย่างยิ่งของการ เรียนการสอน เป็นตวั ชี้ ผลของการเรยี นรวู้ ่าบรรลุตามจุดประสงค์ทตี่ ้งั ใจไวห้ รอื ไม่ ณชนก มณเฑียร (2553 :73) การวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์เป็นสิ่งสาคัญ ควรจัดให้ ครอบคลุมท้ัง ด้านความรู้ ด้านทักษะกระบวนการ และด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ เพื่อพัฒนาความรู้ ความสามารถของนักเรยี นได้อย่างเต็มตามศกั ยภาพ

11 โดยสรุป การวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนคณิตศาสตร์ หมายถึง การวัด และการประเมินผลทาง คณติ ศาสตรท์ ค่ี รอบคลุมทัง้ ด้านความรู้ ทักษะกระบวนการและคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์เพื่อช่วยพัฒนาให้ผู้เรียน สามารถเรียนรูค้ ณิตศาสตรไ์ ด้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ 1.5 แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนคณติ ศาสตร์ พิชติ ฤทธิจ์ รูญ (2545 :96) กล่าวว่า แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หมายถึง แบบทดสอบท่ีใช้ วัดความรู้ ทักษะ และความสามารถทางวิชาการที่นักเรียนได้เรียนรู้มาแล้วว่าบรรลุผลสาเร็จตามจุดประสงค์ที่ กาหนดไว้เพยี งใด สมพร เชอ้ื พันธ์ (2547 :59) กล่าวว่า แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางเรียน หมายถึง แบบทดสอบหรือชุด ของขอ้ สอบทีใ่ ชว้ ดั ความสาเร็จหรือความสามารถในการทากิจกรรมการเรียนรู้ของนักเรียนที่เป็นผลมาจากการจัด กิจกรรมการเรียนการสอนของครผู สู้ อนวา่ ผา่ นจดุ ประสงค์การเรียนรูท้ ่ีตัง้ ไว้เพยี งใด แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น ประเภททคี่ รูสร้างมีหลายแบบ แต่ท่นี ยิ มใชม้ ี 6 แบบดงั น้ี 1.5.1 ข้อสอบอัตนัยหรือความเรียง (Subjective or Essey test) เป็นข้อสอบท่ีมีเฉพาะคาถาม แลว้ ใหน้ กั เรยี นเขยี นตอบอยา่ งเสรี บรรยายตามความรแู้ ละขอ้ คิดเห็นของแตล่ ะคน 1.5.2 ข้อสอบแบบการถูก-ผิด (Truc-false test) คือข้อสอบแบบเลือกตอบที่มี 2 ตัวเลือกแต่ตัวเลือก ดงั กล่าวเปน็ แบบคงทแ่ี ละมคี วามหมายตรงกนั ข้าม เชน่ ถกู –ผดิ ใช่-ไม่ใช่ จริง-ไมจ่ รงิ เหมือนกัน-ตา่ งกัน เป็นต้น 1.5.3 ข้อสอบแบบเติมคา (Completion test) เป็นข้อสอบท่ีประกอบด้วยประโยคหรือข้อความที่ยังไม่ สมบรณู แ์ ล้วใหต้ อบเตมิ คาหรอื ประโยค หรอื ข้อความลงในชอ่ งว่างทเ่ี ว้นไว้นั้นเพ่ือใหม้ ใี จความสมบรูณแ์ ละถูกตอ้ ง 1.5.4 ข้อสอบแบบตอบส้ันๆ (Short answer test) เป็นข้อสอบที่คล้ายกับข้อสอบแบบเติมคา แตกต่าง กันที่ข้อสอบแบบตอบส้ัน ๆ เขียนเป็นประโยคคาถามสมบรูณ์ (ข้อสอบเติมคาเป็นประโยคหรือข้อความที่ยังไม่ สมบรณู ์) แลว้ ให้ผ้ตู อบเขยี นตอบ คาตอบที่ต้องการจะสั้นและกระทันรัดได้ใจความสมบรูณ์ไม่ใช่เป็นการบรรยาย ข้อสอบแบบอตั นัยหรอื ความเรียง 1.5.5 ข้อสอบแบบจับคู่ (Matching test) เปน็ ข้อสอบแบบเลือกตอบชนิดหน่ึงโดยมีค่าหรือข้อความแยก ออกจากกนั เป็น 2 แล้วให้ผูต้ อบเลอื กจบั ควู่ ่าแต่ละข้อความในชุดหน่ึงจะคู่กับคาหรือข้อความใดในอีกชุดหน่ึงซึ่งมี ความสมั พันธก์ ันอย่างใดอยา่ งหนง่ึ ตามท่ผี อู้ อกขอ้ สอบกาหนดไว้ 1.5.6 ข้อสอบแบบเลือกตอบ (Multiple choice test) คาตอบแบบเลือกตอบโดยท่ัวไปจะประกอบด้วย 2 ตอน คือ ตอนนาหรือคาถาม (Stem) กับตอนเลือก (Choice) ในตอนเลือกน้ันจะประกอบด้วยตัวเลือกท่ีเป็น คาตอบและตวั เลือกลวง ปกติจะมีคาถามท่ีกาหนดให้พิจารณาแล้วหาตัวเลือกที่ถูกต้องมากที่สุดเพียงตัวเดียวจาก ตัวเลือกอน่ื ๆและคาถามแบบเลอื กตอบท่ดี ีนยิ มใช้ตวั เลือกท่ีใกลเ้ คียงกนั

12 ดังน้ันในการสร้างแบทดสอบการวัดผลสัมฤทธิ์ในการเรียนจึงเป็นวิธีการวัดประเมินผลการเรียนรู้ คณติ ศาสตร์ ซึ่งมีการสร้างแบบทดสอบหลากหลาย ได้แก่ ข้อสอบอัตนัยหรือความเรียง ข้อสอบแบบกาถูกกาผิด ขอ้ สอบแบบเติมคา ขอ้ สอบแบบตอบสน้ั ๆ ขอ้ สอบแบบจับคู่ และขอ้ สอบแบบเลือกตอบ ในการวิจัยครั้งน้ีผู้วิจัยสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบเลือกตอบเน่ืองจากเป็น แบบทดสอบท่ีสามารถวัดพฤติกรรมท้ัง 6 ด้าน ซ่ึงบลูม (Bloom.1976:115-124) ได้กล่าวว่า ด้านความรู้ ด้านความเข้าใจ ด้านการนาไปใช้ ด้านการวิเคราะห์ ดา้ นสังเคราะห์ และด้านการประเมนิ คา่ 2. การจดั การเรียนรูแ้ บบสบื เสาะหาความรู้ (5E) 2.1 หลกั การ แนวคดิ ทฤษฏที เี่ กีย่ วข้องกบั การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 2.1.1 ปรัชญาวิทยาศาสตร์ด้ังเดิม ความรู้วิทยาศาสตร์ หมายถึง ความจริงหรือข้อเท็จจริงที่มีอยู่หรือ เป็นอยู่ ซ่ึงได้จากการตรวจสอบ การค้นคว้าทดลองอย่างเป็นระบบ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และ ปรชั ญาวทิ ยาศาสตร์แนวใหมค่ วามรู้วทิ ยาศาสตร์ เปน็ ความรทู้ ีเ่ กดิ จากการสรรคส์ รา้ งของแต่ละบุคคล ซ่ึงมีอิทธิพล มาจากความร้หู รอื ประสบการณ์เดมิ และส่ิงแวดลอ้ มหรอื บรบิ ททางสังคมของแตล่ ะคน 2.1.2 แนวคิดของเพียเจย์ (Piaget) เกี่ยวกับพัฒนาการทางสิติปัญญาและความคิดคือ การที่คนเรามี ปะทะสมั พนั ธก์ บั ส่งิ แวดลอ้ มตัง้ แต่แรกเกิด และการประทะสัมพันธ์อย่างต่อเนื่องระหว่างบุคคลกับส่ิงแวดล้อมนี้มี ผลทาใหร้ ะดับสตปิ ัญญาและความคิด มีการพัฒนาข้ึนอย่างต่อเนื่องอยู่อย่างตลอดเวลากระบวนการเกี่ยวข้องกับ การพัฒนาทางสติปัญญาและความคิดมี 2 กระบวนการ คือ การปรับตัว (Adaptation) และการจัดระบบ โครงสร้าง (Organization) การปรับตัวเป็นกระบวนการที่บุคคลหาหนทางที่จะปรับสภาพความไม่สมดุลทาง ความคิดให้เขา้ กับสิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบๆตัว และเม่ือบคุ ลมปี ฏิสัมพันธ์กับสง่ิ แวดล้อมรอบๆตัว โครงสร้างทางสมอง จะถกู จัดระบบให้มีความเหมาะสม กับสิ่งแวดลอ้ ม มรี ปู แบบของความคิดเกิดขน้ึ กระบวนการปรับตัวประกอบด้วย กระบวนการทสี่ าคญั 2 ประการ คอื 2.1.2.1 กระบวนการดูดซึม (Assimilation) หมายถึง กระบวนการท่ีอินฟรีย์ซึมทราบ ประสบการณใ์ หมเ่ ข้าสู่ประสบการณ์เดิมท่ีเหมือนหรือคล้ายคลึงแล้วสมองก็รวบรวมปรับเหตุการณ์ใหม่ให้เข้ากับ โครงสร้างของความคิดอันเกดิ จากการเรยี นร้ทู ีม่ ีอยู่เดิม 2.1.2.2 กระบวนการปรับขยายโครงสร้าง (Accommodation) เป็นกระบวนการท่ีต่อ เน่ืองมาจากกระบวนการดดู ซึม คอื ภายหลงั จากการท่ซี มึ ทราบของเหตุการณ์ใหม่เข้ามา และปรับเข้าสู่โครงสร้าง เดิมแล้วท่าปรากฏว่าประสบการณ์ใหม่ท่ีได้รับการซึมทราบเข้ามาและปรับเข้าสู่โครงสร้างเดิมแล้วถ้าปรากฏว่า ประสบการณ์ใหมท่ ่ีได้รับจากการซึมทราบที่เข้ามาใหเ้ ข้ากบั ประสบการณ์เดิม สมองก็จะสร้างโครงสร้างใหม่ข้ึนมา เพอ่ื ปรับให้เขา้ กับประสบการณ์ใหมน่ ั้น

13 2.1.3 ทฤษฏสี ร้างเสรมิ ความรู้ (Constructivism) เช่ือว่านักเรียนทุกคนมีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับบาง สิง่ บางอย่างมาแล้วไม่มากก็น้อย และการเรียนรู้เร่ืองใหม่จะมีพื้นฐานมาจากความรู้เดิม ดังน้ันประสบการณ์เดิม ของนักเรียนจึงเป็นปัจจัยสาคัญต่อการเรียนรู้เป็นอย่างยิ่ง กระบวนการความรู้ (Process of leaning) ที่แท้จริง นักเรียนไม่ได้เกิดจากการบอกเลาของครู หรือนักเรียนเพียงแค่จดจาแนวคิดต่าง ๆ ที่มีผู้บอกให้เท่าน้ัน แต่การ เรียนรู้วิทยาศาสตร์ตามทฤษฏี Constructivism เป็นกระบวนการที่นักเรียนจะต้องสืบค้นเสาะหา สารวจ ตรวจสอบ และค้นคว้าด้วยวธิ ีตา่ ง ๆ จนทาให้นักเรียนเกิดความเข้าใจและเกิดการรับรูค้ วามร้นู ัน้ อยา่ งมีความหมาย จึงจะสามารถเปน็ องคค์ วามรู้ของนกั เรียนเองและเกบ็ เป็นข้อมูลไว้ในสมองไดอ้ ยา่ งยาวนาน สามารถนามาใช้ได้เมื่อ มสี ถานการณ์ใด ๆ มาเผชิญหน้า ดังน้ันการที่นักเรียนจะสร้างองค์ความรู้ได้ต้องผ่านการกระบวนการเรียนรู้ท่ีได้ หลากหลาย โดยเฉพาะอย่างยิง่ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 2.2 ความหมายและแนวคิดเกยี่ วกับการสอนแบบสืบเสาะแบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquirymethod) การสอนแบบสบื เสาะหาความรู้มผี ้ใู ห้ความหมายและแนวคดิ หลากหลาย ดงั นี้ สุคนธ์ สินทพานนท์ (2545 :194) สรุปนักการศึกษาทั้งต่างประเทศและในประเทศ ได้แก่ ซัคแมน (Sucman) ยัง (Young),การ์เน่ (Gagne),ซันด์และโทรวบริดจ์ (Sun and Trowbridge), ธีรชัย บูรโชติ และวีรยุทธ วิเชียรโชติ ให้ความหมายแบบวิธีการสอบแบบสืบเสาะหาความรู้ว่า เป็นวิธีที่เน้นการพัฒนา ความสามารถในการคดิ การแกป้ ัญหา หรือการแสวงหาความรู้ใหม่ โดยใช้กระบวนการทางความคิด เพ่ือแสวงหา ความรู้ และค้นพบคาตอบด้วยตัวเอง โดยมีผู้สอนเป็นผู้เล่าความสนใจกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความสงสัย คิดหา คาตอบ ช่วยจัดสถานการณ์ส่ิงอานวยความสะดวก และจัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีเอื้อต่อการสืบเสาะห า ความรู้ และการอาจร่วมอภปิ รายร่วมกับผู้เรยี น เพ่อื ให้ผูเ้ รียนได้ค้นพบความคิดรวบยอดหรือหลักการที่ถกู ต้อง อนันต์ จนั ทร์กวี (2523 :23) กล่าวว่า การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้เป็นวิธีการส่งเสริมให้นักเรียนรู้จัก คิดด้วยตนเอง รู้จักค้นคว้าหาเหตุผล และสามารถแก้ปัญหาได้โดยการนาเอาวิธีต่าง ๆ ของกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ นอกจากนี้ยังเป็นการเรียนเพื่อพัฒนาทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ พิมพันธ์ เดชะคุปต์ (2544 :56) กล่าวว่า การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ หมายถึง การจัดการการเรียน การสอนโดยวิธีให้ผู้เรียนเป็นผู้ค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเอง โดยสร้างความรู้ด้วยตัวเอง โดยใช้กระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ ครูเป็นผู้อานวยความสะดวก เพื่อให้ผู้เรียนบรรลุเป้าหมาย วิธีสืบเสาะหาความรู้จะเน้นผู้เรียนเป็น สาคัญของการเรยี น สุวัฒน์ นิยมคา้ (2531:42) กลา่ วว่า การสอนแบบสืบเสาะหาความรูเ้ ปน็ การสอนท่ีส่งเสริมให้นักเรียนเป็น ผู้ค้นคว้า หรือสืบเสาะหาความรู้เกี่ยวกับส่ิงใดส่ิงหน่ึงท่ีนักเรียนยังไม่เคยมีความรู้ในส่ิงนั้นมาก่อน โดยใช้ กระบวนการทางวทิ ยาศาสตรเ์ ปน็ เครอ่ื ง

14 กูด๊ (Good. 1973) ไดใ้ หค้ วามหมายของการแบบสบื เสาะหาความรู้ว่าเป็นเทคนิคหรือกลวิธีอย่างใดอย่าง หน่งึ ในการจัดให้เกิดการเรียนรู้เน้ือหาบางอย่างของวิชาวิทยาศาสตร์ โดยกระตุ้นให้นักเรียนมีความอยากรู้อยาก เห็น เสาะแสวงหาความรูโ้ ดยการถามคาถาม และพยายามคน้ พบหาคาตอบดว้ ยตนเอง นอกจากนย้ี งั ให้ความหมาย ของการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้อกี อยา่ งหน่ึงวา่ เป็นวิธีการเรียนโดยการแก้ปัญหาจากกิจกรรมท่ีจัดข้ึน และใช้ วิธกี ารทางวทิ ยาศาสตร์ในการทากจิ กรรม ซงึ่ ปรากฏการณใ์ หม่ ๆ ทีน่ กั เรียนเผชญิ แต่ละคร้ัง จะเป็นตัวกระตุ้นการ คิดกับการสังเกตกับสิ่งที่สรุปพาดพิงย่างชัดเจน ประดิษฐ์ คิดค้น ตีความหมายภายใต้สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม ทีส่ ดุ การใชว้ ธิ ีการอยา่ งชาญฉลาดสามารถทดสอบได้ และสรปุ อย่างมีเหตผุ ล สรุปว่า กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (inquiry process) เป็นกระบวนการเรียนรู้โดยกระตุ้นให้ผู้เรียน เกิดความอยากรู้อยากเห็น และพยายามเสาะแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ทาง วิทยาศาสตรเ์ พอื่ แสวงหาความรู้ 2.3 รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2546 :219-220) ได้เสนอข้ันตอนการสอนแบบสืบ เสาะหาความรู้ หรือแบบ 5E ประกอบด้วย 5 ข้ันตอน ได้แก่ข้ันสร้างความสนใจ (Engagement) ขั้นสารวจและ ค้นหา (Exploration) ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) ขั้นประเมิน (Evaluation) โดยย่อว่า 5E มาจาก E ทเ่ี ป็นอกั ษรภาษาองั กฤษทมี่ าจากตัวแรก แตล่ ะขน้ั โดยมขี ั้นตอน 5 ขั้นตอน ดงั น้ี 2.3.1 การสร้างความสนใจ ขั้นตอนน้ีเป็นข้ันตอนแรกของกระบวนการเรียนรู้ที่จะนาเข้าสู่บทเรียน จุดประสงค์ที่สาคัญของข้ันตอนน้ี คือ ทาให้ผู้เรียนสนใจ ใคร่รู้ในกิจกรรมที่จะนาเข้าสู่บทเรียน ควรจะเช่ือมโยง ประสบการเรียนรู้เดิมกับปัจจุบัน และควรเป็นกิจกรรมท่ีคาดว่ากาลังจะเกิดข้ึน ซ่ึงทาให้ผู้เรียนสนใจจดจ่อที่จะ ศึกษาความคิดรวบยอด กระบวนหรือทักษะ และเริ่มคิดเชื่อมโยงความคิดรวบยอด กระบวนการหรือทักษะกับ ประสบการณ์เดิม 2.3.2 การสารวจและค้นหา ข้ันตอนน้ีเป็นข้ันตอนท่ีทาให้ผู้เรียนมีประสบการณ์ร่วมกันในการสร้างและ พัฒนาความคิดรวบยอด กระบวนและทักษะ โดยการให้เวลาและโอกาสแก่ผู้เรียนในการทากิจกรรมการสารวจ และคน้ หาส่งิ ทนี่ ักเรยี นต้องการเรียนร้ตู ามความคดิ เหน็ ของผ้เู รียนแตล่ ะคน หลงั จากนน้ั ผู้เรียนแตล่ ะคนได้อธิปราย แลกเปลี่ยนความคดิ เหน็ เก่ียวกับความคิดรวบยอด กระบวนการและทักษะในระหว่างท่ีผู้เรียนทากิจกรรมสารวจ และคน้ หา เปน็ โอกาสทผี่ ู้เรยี นจะได้ตรวจสอบหรือเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับความคิดรวบยอดของผู้เรียนท่ียังไม่ ถกู ต้องและไมส่ มบูรณ์ โดยการให้ผู้อธิบายและยกตัวอย่างเก่ียวกับความคิดเห็นของผู้เรียน ซ่ึงครูจะต้องระลึกอยู่ เสมอเก่ียวกับความสามารถของผู้เรียนตามประเด็นปัญหา ผลจากการที่ผู้เรียนมีความตั้งใจในการทากิจกรรม ผเู้ รยี นควรจะสามารถเช่อื มโยงการสงั เกต การจาแนกตัวแปร และคาถามเกย่ี วกบั เหตุการณน์ ้นั ได้

15 2.3.3 การอธบิ าย ขัน้ ตอนน้ีเป็นขนั้ ตอนที่ให้ผู้เรียนได้พัฒนาความสามารถในการอธบิ ายความคิดรวบยอด ทีไ่ ดจ้ ากการสารวจและคน้ หา ครูควรใหโ้ อกาสแก่ผู้เรียนได้อธิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันเกี่ยวกับทักษะหรือ พฤติกรรมการเรียนรู้ ซึง่ การอธบิ ายน้ันตอ้ งการให้ผู้เรยี นได้ใชข้ ้อสรปุ ร่วมกันในการเชื่อมโยงสง่ิ ทีเ่ รียนรู้ ในชว่ งเวลา ทเ่ี หมาะนี้ครูควรช้ีแนะผเู้ รียนเกี่ยวกับการสรุปและการอธิบายรายละเอียด แต่อย่างไรก็ตามครูควรระลึกอยู่เสมอ ว่ากิจกรรมเหล่านี้ยงั คงเนน้ ผเู้ รียนเป็นศูนย์กลาง นน้ั คือ ผู้เรยี นได้พฒั นาความสามารถในการอธิบายด้วยตัวผู้เรียน เอง บทบาทของครูเพียงแต่ชี้แนะผ่านทางกิจกรรม เพื่อให้ผู้เรียนมีโอกาสอย่างเต็มท่ีในการพัฒนาความรู้ความ เข้าใจในความคิดรวบยอดให้ชัดเจน ในที่สุดผู้เรียนควรจะสามารถอธิบายความคิดรวบยอดได้อย่างเข้าใจ โดย เชอ่ื มโยงประสบการณ์ความรู้เดิมและสิง่ ทเี่ รยี นรู้เข้าด้วยกัน 2.3.4 การขยายความรู้ ข้ันตอนน้ีเป็นข้ันตอนท่ีให้ผู้เรียนได้ยืนยันและขยายหรือเพ่ิมเติมความรู้ความ เข้าใจในความคิดรวบยอดให้กว้างขวางและลึกซึ้งย่ิงข้ึน และยังเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะและปฏิบัติตามที่ ผ้เู รียนตอ้ งการ ในกรณีท่ีผู้เรียนไม่เข้าใจหรือยังสับสนอยู่ หรืออาจจะเข้าใจเฉพาะข้อสรุปท่ีได้จากการปฏิบัติการ สารวจและค้นหาเท่าน้ัน ควรให้ประสบการณ์ใหม่ผู้เรียนจะได้พัฒนาความรู้ความเข้าใจในความคิดรวบยอดให้ กว้างขวางและลึกซึ้งยิ่งข้ึนเป้าหมายท่ีสาคัญของข้ันน้ี คือ ครูควรชี้แนะให้ผู้เรียนได้นาไปประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจาวัน จะทาใหผ้ เู้ รียนเกดิ ความคิดรวบยอด กระบวนการ และทกั ษะเพ่ิมขึ้น 2.3.5 การประเมนิ ผล ขัน้ ตอนนีผ้ เู้ รียนจะไดร้ ับข้อมูลยอ้ นกลับเกี่ยวกับการอธิบายความรู้ความเข้าใจของ ตนเอง ระหว่างการเรียนการสอนในขัน้ นี้ของรูปแบบการสอน ครูต้องกระตุน้ หรอื ส่งเสริมให้ผู้เรียนประเมินความรู้ ความเขา้ ใจและพัฒนาทกั ษะของผู้เรยี นดว้ ย การนารูปแบบการสอนนไี้ ปใช้ สงิ่ ที่ครูควรระลึกอยู่เสมอในแต่ละข้ันตอนของรูปแบบการสอนน้ี คือ การ จดั เตรียมกจิ กรรม ครูควรจดั เตรียมกจิ กรรมใหเ้ หมาะสมกบั ความรคู้ วามสามารถของผ้เู รยี น เม่ือครูเตรียมกิจกรรม แล้วครูควรพิจารณาตรวจสอบบทบาทของครูและผู้เรียนในการปฏิบัติกิจกรรมแต่ละข้ันตอนว่าสอดคล้องกับ รูปแบบการสอน 5E หรอื ไม่ 3. งานวิจยั ที่เกยี่ วข้อง 3.1 งานวจิ ัยทีเ่ กีย่ วขอ้ งกบั การจัดการเรยี นรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5E วณี ารัตน์ ราศิริ (2552 : บทคัดยอ่ ) ไดพ้ ฒั นาชุดกจิ กรรมการเรียนรู้แบบ 5E เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ในการ แก้โจทยป์ ัญหาคณติ ศาสตร์ และความพึงพอใจตอ่ การเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 พบว่า ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ 5E ท่ีได้พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพเท่ากับ 93.30/87.10 และทาให้นักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียน สูงกวา่ กอ่ นเรยี นอย่างมนี ัยสาคญั .05 และมีความพึงพอใจตอ่ การเรยี นคณิตศาสตร์ อยู่ในระดับดี อารีย์ ปานถม (2550 : บทคัดยอ่ ) ได้ศึกษาเปรียบเทยี บผลการเรียนร้กู ลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ช้ัน ประถมศกึ ษาปที ี่ 2 เรื่อง โจทย์ปญั หาระคน โดยใชก้ ารจดั การเรียนรู้ 5E กับการเรียนรู้ปกติ พบว่า นักเรียนกลุ่มที่

16 ใช้การจัดการเรียนรู้ 5E มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ สูงกว่ากลุ่มการเรียนรู้ปกติ อย่างมนี ัยสาคญั .05 จิรภา นุชทองม่วง (2558 :66) การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เร่ืองการหาพ้ืนท่ีโดยใช้ กระดานตะปูร่วมกบั การจัดการเรยี นรแู้ บบสบื เสาะหาความรู้ 5E พบว่า ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนหลัง ได้รับการจัดการเรียนการสอนตามแผนมีคะแนนเฉล่ีย 18.37 คิดเป็นร้อยละ 73.47 สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 ทีก่ าหนดไวอ้ ย่างมีนยั สาคัญ .05 จากการศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5E สรุปได้ว่า การจัดการ เรียนรูแ้ บบสืบเสาะหาความรู้ 5E เป็นการจัดการเรยี นรทู้ ีท่ าให้นักเรยี นมีผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นสูงข้นึ ความคงทน ความเช่อื ม่นั ในตนเองและเจตคติต่อคณิตศาสตร์ดีขึ้น อาจเป็นผลมาจากการท่ีนักเรียนได้ค้นพบและสร้างความรู้ ด้วยตนเองและการที่นักเรียนส่วนร่วม ลงมือปฏิบัติด้วยตนเองจะช่วยให้นักเรียนสร้างสรรค์ทักษะความรู้น้ัน ๆ และเจตคตทิ ่ดี ี ผู้วิจัยจึงสนใจท่ีจะนาวิธีการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ มาจัดช่วยแก้ปัญหาการเรียน เรอ่ื ง การหาค่าของเลขโดดในแต่ละหลักของจานวนนับไม่เกิน 1,000 ในระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 2 จึงเกิดเป็น งานวจิ ัย เรอื่ ง การพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นคณิตศาสตร์ เร่อื ง การหาคา่ ของเลขโดดในแต่ละหลักของจานวน นบั ไม่เกนิ 1,000 โดยใชก้ ารจดั การเรยี นรูแ้ บบสบื เสาะหาความรู้ 5E ในระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้าน สังข์ทอง

บทท่ี 3 วธิ กี ารดาเนนิ การวจิ ัย การวิจัยปฏิบัติการเพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง การหาค่าของเลขโดดในแต่ละ หลักของจานวนนับไม่เกิน 1,000 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5E ในระดับช้ันประถมศึกษา ปีท่ี 2 โรงเรียนบ้านสังข์ทอง อาเภอโกสุมพิสัย จังหวัดมหาสารคาม สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา มหาสารคาม เขต 3 มีขน้ั ตอนการวจิ ยั ดงั ตอ่ ไปนี้ 3.1 กลมุ่ เปา้ หมาย 3.2 เคร่อื งมือท่ใี ช้ในการวจิ ัย 3.3 การสรา้ งเคร่อื งมือในการวจิ ัย 3.4 วธิ ีการดาเนนิ การวิจัย 3.5 การเก็บรวบรวมขอ้ มลู 3.6 การวเิ คราะหข์ อ้ มลู 3.7 สถิติท่ใี ชใ้ นการวเิ คราะห์ข้อมลู 3.1 กลุ่มเปา้ หมาย กลุ่มเป้าหมายในการวิจัยครั้งน้ี ได้แก่ นักเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านสังข์ทอง อาเภอโกสุมพิสัย จังหวัดมหาสารคาม สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 3 ในปีการศึกษา 2564 จานวน 27 คน 3.2 เครอ่ื งมือทใ่ี ชใ้ นการวจิ ัย การวิจัยคร้ังน้ีเครื่องมือท่ีใช้ในการศึกษา ผู้วิจัยแยกเคร่ืองมือออกเป็น 2 ประเภท คือ เครื่องมือเชิง ปรมิ าณและเครอื่ งมือเชงิ คุณภาพ 3.2.1 เครือ่ งมอื เชิงปริมาณ ได้แก่ 3.2.1.1 แผนการจัดการเรียนรู้ เร่ือง การหาค่าของเลขโดดในแต่ละหลักของจานวนนับไม่เกิน 1,000 ในระดบั ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 2 จานวน 6 แผน 3.2.1.2 แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นคณติ ศาสตร์ เร่ือง การหาค่าของเลขโดดในแต่ละ หลักของจานวนนับไม่เกิน 1,000 ในระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2 เข้าร่วมกระบวนการในการวิจัยโดยใช้แบบ เติมคาตอบ จานวน 10 ข้อ

18 3.2.2 เครื่องมอื เชงิ คุณภาพ ได้แก่ 3.2.2.1 แบบสังเกตพฤติกรรมการเรยี นรู้ ซ่ึงประกอบด้วย การเขียนคาอ่าน การเขียนเป็นตัวเลข การหาค่าประจาหลัก การเขียนในรปู กระจาย 3.2.2.2 แบบสัมภาษณ์นักเรียน ซึ่งประกอบด้วย คาถามหลัก (Main question) คาถามรอง (Follow up question) และคาถามเจาะลึกอยา่ งละเอยี ด (Probe) 3.3 การสร้างเครอ่ื งมอื ในการวิจยั ขั้นตอนการสร้างเคร่ืองมือเชิงปริมาณในการวัดความพร้อมทางคณิตศาสตร์ ที่สร้างขึ้นจากการร่วม วเิ คราะหส์ ภาพและปญั หาของผมู้ สี ่วนเกีย่ วขอ้ ง สรปุ ไดด้ ังนี้ 3.3.1 การสรา้ งเคร่อื งมือเชิงปรมิ าณ 3.3.1.1 แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง การหาค่าของเลขโดดในแต่ละหลักของจานวนนับไม่เกิน 1,000 ในระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2 จานวน 6 แผน ท่ีสร้างข้ึนจากการร่วมวิเคราะห์สภาพปัญหาของผู้มีส่วน เกย่ี วขอ้ ง ผวู้ ิจยั ไดด้ าเนินการ ดงั น้ี 1. ศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ คณติ ศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาชนั้ ปที ี่ 2 2. ศึกษาวิธีการหลักการ หลักทฤษฎี และเทคนิคการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ จากเอกสาร ตารา และรายงานการวิจัยที่เกย่ี วขอ้ ง 3. ศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5E เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนคณิตศาสตร์ เร่ือง การหาค่าของเลขโดดในแต่ละหลักของจานวนนับไม่เกิน 1,000 ในระดบั ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 2 4. สร้างแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดจากหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 นามาจัดการเรียนรู้ในรูปแบบสืบเสาะหาความรู้ 5E เสนออาจารย์ท่ี ปรกึ ษาการวิจัย จานวน 1 ท่าน เพ่ือพิจารณาตรวจสอบความถูกต้อง พิจารณาความเหมาะสมและปรึกษาหารือ สภาพและปัญหาทพ่ี บแลว้ นาไปแก้ไขปรบั ปรงุ ขอ้ บกพร่องกอ่ นนาไปใช้ 5. นาแผนการจัดการเรยี นรู้ในรปู แบบสบื เสาะหาความรู้ 5E ทีไ่ ด้ปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะ ของอาจารยท์ ป่ี รกึ ษาการวิจัยแลว้ ไปใชจ้ รงิ เพอ่ื เกบ็ ขอ้ มูล 6. ปรบั ปรุงแกไ้ ขโดยใช้ข้อมลู อ่ืนประกอบ เชน่ การปรกึ ษาผู้รว่ มวจิ ัย 7. ไดแ้ ผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบสืบเสาะหาความรู้ 5E ในกาจัดการการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง การหาค่าของเลขโดดในแต่ละหลักของจานวนนับ ไม่เกิน 1,000 ของนักเรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 2

19 3.3.1.2 แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นคณติ ศาสตร์ เรอ่ื ง การหาค่าของเลขโดดในแต่ละ หลักของจานวนนับไม่เกิน 1,000 ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2 ในการวัดผลประเมินผลการจัดการ เรยี นรู้ สรปุ ได้ ดังนี้ 1. ศึกษาหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 หนงั สอื เรยี นรายวิชาพ้นื ฐาน คณติ ศาสตร์ เอกสารประกอบการจดั การเรยี นรู้ วิเคราะหเ์ นื้อหาและจุดประสงคก์ ารจัดการเรยี นรู้ 2. ศึกษาเอกสารท่ีเกี่ยวข้องกับการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรอื่ ง การหาคา่ ของเลขโดดในแต่ละหลักของจานวนนบั ไมเ่ กนิ 1,000 ของนกั เรียนระดับช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 2 3. สร้างแบบแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง การหาค่าของเลขโดดใน แต่ละหลักของจานวนนับไม่เกิน 1,000 ของนักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 2 โดยแบบทดสอบเป็นแบบเติม คาตอบ จานวน 10 ขอ้ นาไปใชจ้ รงิ 10 ข้อ 4. นาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์เสนออาจารย์ที่ปรึกษาการวิจัย ตรวจสอบแล้วปรับปรงุ ตามขอ้ เสนอแนะของอาจารย์ท่ปี รึกษา 5. นาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนคณิตศาสตร์ท่ีปรับปรุงแล้วไปใช้กับนักเรียน ช้ันประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านสังข์ทอง ในสังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 3 ที่เป็นกลมุ่ เป้าหมายจานวน 27 คน เพอ่ื เก็บรวบรวมข้อมูลในการวิจยั 3.3.2 การสร้างเครือ่ งมอื เชงิ คณุ ภาพ การสรา้ งเครอ่ื งมือเชิงคณุ ภาพในการพฒั นาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนคณิตศาสตร์ เร่ือง การหาค่า ของเลขโดดในแต่ละหลักของจานวนนับไม่เกิน 1,000 ท่ีสร้างข้ึนจากการร่วมวิเคราะห์สภาพและปัญหาของผู้มี สว่ นเกย่ี วขอ้ ง สรุปได้ดังนี้ 3.3.2.1 ศกึ ษาเอกสารและทฤษฎี แนวคิด และงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องกับตัวแปรที่ต้องการจะสร้าง เคร่ืองมือ โดยพิจารณา ดงั นี้ 1. ความหมายของตัวแปร องคป์ ระกอบของตัวแปร พร้อมลักษณะพฤติกรรมการเรียนรู้ ที่แสดงออก 2. เคร่ืองมอื ทีใ่ ช้วดั วา่ มชี นิดใด วัดอยา่ งไร 3. วธิ ีการสร้างและตรวจสอบคุณภาพของเคร่อื งมอื 4. ผลท่ีได้จากเครอ่ื งมอื นาไปใช้เป็นอยา่ งไร 3.3.2.2 นาผลที่ได้จากการศกึ ษามากาหนดนิยามเชงิ ปฏบิ ัติการ 3.3.2.3 เลือกวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลว่าควรใช้แบบสอบถาม แบบประเมิน แบบสังเกต แบบ สมั ภาษณ์ แบบสารวจ จึงจะไดข้ ้อมลู ตรงตามความตอ้ งการและเป็นข้อมลู ทถี่ กู ต้อง 3.3.2.4 สรา้ งข้อคาถามจากนิยามเชิงปฏบิ ัติการทั้งหมด

20 3.3.2.5 นาเคร่อื งมอื ทส่ี ร้างข้นึ ไปใช้ เพอ่ื ตรวจสอบคณุ ภาพของเครอ่ื งมือ 3.3.2.6 ปรับปรงุ เครอื่ งมอื ให้มีคุณภาพ เพ่ือนาไปใช้จรงิ ข้ันตอนการสรา้ งเครอื่ งมือเชงิ คณุ ภาพในการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เร่ือง การหาค่า ของเลขโดดในแตล่ ะหลักของจานวนนับไม่เกิน 1,000 ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 2 ที่สร้างข้ึนจากการร่วม วิเคราะหส์ ภาพและปญั หาของผูม้ สี ่วนเก่ยี วข้อง โดยสรปุ ได้ ดังภาพที่ 3 ศกึ ษาแนวคิดทฤษฏี หลักการเกยี่ วกับการสร้าง แบบสงั เกต แบบสมั ภาษณ์ วเิ คราะห์/สงั เคราะหจ์ ุดประสงคก์ ารเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้ สาระทค่ี วรเรยี นรู้ จดุ ประสงค์ การสรา้ งแบบเก็บข้อมูล กาหนดพฤติกรรมการเรยี นร้ทู ี่ต้องการวัด สร้าง แบบสงั เกตและแบบสมั ภาษณ์ เสนอตอ่ อาจารย์ท่ีปรกึ ษาการวิจยั และผูม้ สี ว่ นรว่ มในการวจิ ัย ปรบั ปรงุ แกไ้ ขตามขอ้ เสนอแนะไดเ้ คร่อื งมือใช้เกบ็ ขอ้ มลู ภาพประกอบท่ี 3 ขั้นตอนการสร้างแบบสังเกต แบบสัมภาษณ์ 3.3.3 เมื่อได้เครอ่ื งมือทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ก็นาเคร่ืองมือมาใช้ประกอบการจัดกิจกรรมการ พฒั นาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง การหาค่าของเลขโดดในแต่ละหลักของจานวนนับไม่เกิน 1,000 ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ทส่ี ร้างขนึ้ จากการวเิ คราะหส์ ภาพและปญั หาของผ้มู สี ่วนเกี่ยวข้อง

21 3.4 วิธีการดาเนนิ การวิจัย การวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ใช้การวิจัยปฏิบัติการ (Action research) ซึ่งเช่ือว่าการวิจัยปฏิบัติการเป็น กระบวนการทาวิจัยท่ีควบคู่ไปพร้อมกับการแก้ปัญหาและการพัฒนาไปเป็นอย่างดี ดังน้ันการวิจัยปฏิบัติการ จึงเป็นกระบวนการที่เหมาะสมในการพัฒนาผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนคณิตศาสตร์ เรอ่ื ง การหาค่าของเลขโดดในแต่ ละหลกั ของจานวนนับไมเ่ กนิ 1,000 ในระดับชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 2 ซึ่งประกอบด้วยแผนปฏิบตั กิ ารวิจัย ดงั ต่อไปนี้ 3.4.1 การเตรียมความพร้อม ผู้วจิ ยั และอาจารย์ปรึกษาในการวิจัย ประชุมร่วมกันสร้างความคุ้นเคยและความเข้าใจเก่ียวกับ การดาเนนิ การพัฒนาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นคณติ ศาสตร์ เรอ่ื ง การหาคา่ ของเลขโดดในแต่ละหลักของจานวนนับ ไมเ่ กิน 1,000 ในระดับชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 2 เพื่อวางแผนในการเกบ็ ข้อมูล 3.4.2 ศึกษาสภาพและปัญหาเก่ียวกับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนคณิตศาสตร์ เร่ือง การหาค่าของเลข โดดในแตล่ ะหลกั ของจานวนนบั ไม่เกนิ 1,000 ขั้นตอนน้ีผู้วิจัยและผู้มีส่วนเก่ียวข้องทุกคนมีส่วนร่วมในการศึกษาวิเคราะห์สภาพและปัญหา สาเหตขุ องปัญหาและความต้องการ จึงได้ดาเนินการดังนี้ 1. ประชุมผู้วิจัยและอาจารย์ที่ปรึกษาการวิจัยและกาหนดวิธีการได้มาซึ่งข้อมูลและวิเคราะห์ ปัญหา รวมท้ังเสนอแนะวิธีการพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง การหาค่าของเลขโดดในแต่ละ หลกั ของจานวนนบั ไมเ่ กิน 1,000 ในระดบั ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 2 2. ทดสอบนักเรียนหลงั การจัดกระบวนการการเรยี นรู้เพอื่ วดั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนคณิตศาสตร์ เร่อื ง การหาค่าของเลขโดดในแตล่ ะหลกั ของจานวนนบั ไมเ่ กิน 1,000 ในระดบั ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 3. สมั ภาษณ์ พดู คยุ กบั ครปู ระจาชนั้ เป็นการสมั ภาษณ์แบบเจาะลกึ โดยผู้วิจัยได้ทาการสัมภาษณ์ ดว้ ยตนเอง เพือ่ ให้ได้ข้อมลู เกี่ยวกับปัญหาด้านการเรยี นในรายวชิ าคณติ ศาสตร์ และแนวทางการแก้ไขปญั หา 4. นาปญั หาทไ่ี ด้จากการสมั ภาษณ์ การสนทนาและการประชมุ นามาวเิ คราะห์ปัญหาที่ต้องแก้ไข เร่งดว่ น 3.4.3 ศกึ ษาแนวทางการพฒั นาผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นคณิตศาสตร์ของนกั เรียน ผู้วิจัยศึกษาแนวทางการพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียน จากเอกสาร ครู นกั เรยี น และอาจารย์ทีป่ รกึ ษาการวิจัย โดยวิธกี ารสมั ภาษณ์ สนทนากลมุ่ และประชุมระดมความคิดเพื่อจะได้ ทราบถึงแนวทางการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียน เพ่ือจะได้จัดทาแผนการพัฒนา ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนคณิตศาสตร์ของนกั เรยี นชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 2 ต่อไป

22 3.4.4 วธิ ีดาเนินการพัฒนา ผู้วิจัยและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องร่วมกันวางแผนเพ่ือให้เกิดการปฏิบัติและการประเมินตนเอง โดย กาหนดบทบาทหน้าท่ีความรบั ผิดชอบใหท้ ุกฝ่ายร่วมกนั ดาเนนิ การดังนี้ 1. ครูประจาชน้ั มีหน้าทใ่ี หค้ าปรึกษาชว่ ยเหลอื ในการจัดกระบวนการการเรียนรู้ และแนะนาแนว ทางการแก้ไขปญั หาทางการเรยี นคณติ ศาสตร์ของนกั เรียน 2. อาจารย์ที่ปรึกษาการวิจัย มีหน้าทใี่ ห้คาปรึกษา ช่วยเหลอื สง่ เสริม สนบั สนนุ สรา้ งขวัญ และกาลงั ใจในการปฏิบตั งิ าน 3. ผวู้ ิจยั มีหนา้ ที่นาเคร่ืองมือท่ีสร้างข้ึนไปเป็นสื่อในการจัดกระบวนการการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ของนักเรียนและปรับปรุงแก้ไขใหม้ ีประสทิ ธิภาพมากย่งิ ข้นึ 3.4.5 ศึกษาผลการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นคณิตศาสตร์ของนกั เรยี น ในระหว่างดาเนินการตามแผนจะจัดให้มีการประชุมแลกเปล่ียนข้อมูล ข่าวสาร เป็นระยะ ๆ มี การสนทนากลุ่ม (Focus group) และเมื่อสิ้นสุดกระบวนการ ผู้วิจัยพร้อมทีมงานและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องร่วมกัน ประเมนิ ผลและความสาเร็จในการแก้ไขปัญหา พร้อมส่งผลสะท้อนกลับการทางานของผู้วิจัย ข้อมูลที่ได้จากการ สังเกต การสัมภาษณ์จากทุกคน ทุกส่วนมาร่วมกันวิเคราะห์ผลการดาเนินงาน วิเคราะห์จุดเด่น จุดด้อย รวมทั้ง ร่วมกันสะท้อนผล (Reflect) การวิจัยปฏิบัติการเพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนที่ เกดิ ขึน้ ต่อคณะครแู ละต่อนักเรียน ตวั บ่งช้ที สี่ าคญั ที่แสดงให้เหน็ ว่านักเรียนมผี ลสมั ฤทธิ์ทางคณิตศาสตร์ หลังจากที่ ผู้วิจยั จดั กิจกรรมการพัฒนาผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียน ในข้ันตอนน้ีผู้วิจัยจะใช้เคร่ืองมือใน การประเมินผล ไดแ้ ก่ 1. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเรยี นรู้ 2. แบบสมั ภาษณ์ครูประจาช้ันเกยี่ วกับสติปญั ญาของนักเรยี น เป็นข้อคาถามที่ผู้วิจัยเป็นสร้างข้ึน เพอ่ื ใชใ้ นการรวบรวมข้อมูล 3. ผู้วิจัยนาเคร่ืองมือในการประเมิน 2 ชนิด และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คณิตศาสตร์ เร่ือง การหาค่าของเลขโดดในแต่ละหลักของจานวนนับไม่เกิน 1,000 จานวน 3 ชุด ชุดละ 10 ข้อ เสนออาจารย์ท่ีปรึกษาการวิจัยเพื่อตรวจสอบและให้คาแนะนาในการปรับปรุงแก้ไขให้สอดคล้องกับจุดมุ่งหมาย และสภาพปัญหาของการวจิ ัย 4. เพื่อให้เคร่ืองมือในการประเมินกิจกรรมการพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางคณิตศาสตร์ของนักเรียน เกิดความสมบูรณ์ย่ิงขึ้นผู้วิจัยได้นาเครื่องมือการประเมินกิจกรรม การพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางคณิตศาสตร์ของ นักเรียน เสนออาจารย์ท่ปี รึกษาตรวจสอบความถกู ตอ้ ง 5. ผู้วิจัยได้รวบรวมผลจากข้อมูลที่ได้มาดาเนินการวิเคราะห์ข้อมูล เป็นวิธีการสร้างข้อสรุปจาก ข้อมลู โดยมีแนวทางดาเนนิ การวเิ คราะห์ข้อมลู ดังน้ี

23 5.1 วิเคราะห์ข้อมูลแบบสร้างข้อสรุป ซ่ึงได้มาจากข้อมูลส่วนใหญ่ท่ีนามาวิเคราะห์ มีลักษณะเป็นข้อมูลแบบบรรยาย (Descriptive) ท่ีได้ข้อมูลจากเอกสาร การสังเกต การสัมภาษณ์และการจด บันทึก การสนทนาย่อย (Focus group) และทาการวพิ ากษโ์ ดยการอภิปรายของผู้วิจยั 5.2 การวเิ คราะห์เนอ้ื หา ซึ่งเป็นการวิเคราะหข์ อ้ มูลเชิงบรรยายโดยการวิเคราะห์ ข้อมูล จากเอกสาร ได้แก่ การจดบันทึกข้อมลู จากการสงั เกต การสัมภาษณ์ และภาพถ่ายตลอดจนข้อเขียนท่ีชี้นาถึงแนว ทางการวิจัยปฏิบัติการ เพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 2 ที่จะช่วยให้ประสบผลสาเร็จ เม่ือผู้วิจัยสรุปผลการวิจัยและได้แนวทางการวิจัยปฏิบัติการเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรียนสังข์ทอง อาเภอโกสุมพิสัย จังหวัด มหาสารคาม สานกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 3 ซึง่ การวจิ ัยคร้งั นี้ เปน็ การวจิ ัยปฏิบัติการ (Action research) ผู้วิจัยดาเนินการวิจัยโดยใช้รูปแบบแนวคิด ทฤษฎีการวิจัยปฏิบัติการแบบบันไดเวียนของ ของเคริทเลวิน (Kurt Lewin) ประกอบด้วย 3 ข้ันตอน คือ ข้ันวางแผน (Plan) ขั้นปฏิบัติและสังเกต (Act and observe) ขั้นสะท้อนผลการปฏิบัติ (Reflect) (กนกวรรณ เหง้าวิชยั และพรสวรรค์ ศิริกัยจนาภรณ์, 2558 :4) ในการดาเนินการวิจัยมีการปฏิบัติอย่างเป็นระบบ โดยผู้วิจัย ไดก้ าหนดกระบวนการในการวจิ ยั ซ่ึงมีรายละเอยี ดการดาเนนิ งาน ดงั นี้ ขน้ั ที่ 1 ข้ันวางแผน (Planning) เริ่มต้นด้วยการสารวจปัญหาสาคัญที่ต้องการให้มีการแก้ไข ผู้วิจัย ครูประจาชั้น และอาจารย์ท่ี ปรกึ ษาการวจิ ยั วางแผนร่วมกัน สารวจสภาพปัญหาว่าเป็นอย่างไร ปัญหาท่ีต้องการแก้ไขต้องมีการเปล่ียนแปลง ในเรือ่ งใดบ้าง ในการวางแผนจะมกี ารปรึกษารว่ มกันระหว่างผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทั้งหมด วิเคราะห์สภาพและปัญหา เพื่อเป็นแนวทางในการหาสาเหตุของปัญหาอยา่ งเป็นระบบ ทบทวนปญั หาอย่างกว้างขวาง ร่วมกันนาแนวคิดที่ได้ จากการวิเคราะห์มาวางแผนในการทากิจกรรมเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้น ประถมศกึ ษาปที ่ี 2 โดยคานงึ ว่ากิจกรรมนน้ั ต้องประกอบด้วยอะไรบา้ ง ตอ้ งแกไ้ ขอย่างไร ใครรับผดิ ชอบ ขนั้ ท่ี 2 ข้นั ปฏบิ ตั ิการและขนั้ สังเกตการณ์ (Acting and observation) เปน็ การนาแนวคดิ ทกี่ าหนดเปน็ กิจกรรมในขั้นวางแผนงานมาดาเนนิ การ เมื่อลงมอื ปฏบิ ตั ิ ต้องใช้ การวิเคราะห์วิจารณ์จากการรับฟ้งข้อคิดเห็นจากผู้มีส่วนเก่ียวข้อง ซ่ึงจากการปฏิบัติจะเป็นข้อมูลย้อนกลับว่า แผนการดาเนินการวิจัยทีก่ าหนดไว้อาจจะยดื หยนุ่ ได้ โดยการพิจารณาถึงความเหมาะสมและมุ่งปฏิบัติเพื่อให้เกิด การเปลี่ยนแปลตามที่กาหนดไว้และในขณะปฏิบัติกิจกรรม จะต้องมีการสังเกต การจดบันทึกเหตุการณ์ท่ีเกิดขึ้น ท้ังทีค่ าดหวังและไม่คาดหวังขณะทีด่ าเนนิ กิจกรรมตามขัน้ ตอนท่วี างไว้ โดยสง่ิ ท่ีได้จากการสังเกตเป็นกระบวนการ ของการปฏิบัติการ การสังเกตครั้งนี้รวมถึงการรวบรวมผลการปฏิบัติที่เห็นด้วยตา การได้ฟัง รวมถึงการใช้ เคร่ืองมอื เช่น แบบทดสอบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนคณิตศาสตร์ ซ่ึงนามาใช้ขณะท่ีกาลังดาเนินการทา การปฏิบัตกิ ารวจิ ยั

24 ขั้นที่ 3 ขน้ั สะท้อนการปฏบิ ัติ (Reflection) เป็นขั้นสุดท้ายของวงรอบการทาวิจัยปฏิบัติการ เป็นการประเมินหรือตรวจสอบ กระบวนการ ปญั หาหรืออปุ สรรคตอ่ การปฏบิ ัตกิ าร ที่ผู้วิจัยและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทาการตรวจสอบ ปัญหาที่เกิดขึ้นโดยผ่านการ อภิปรายปัญหา ซึ่งจะได้แนวทางของการพัฒนาขั้นตอนการดาเนินกิจกรรมและเป็นพ้ืนฐานข้อมูลนาไปสู่การ ปรบั ปรุงและวางแผนปฏบิ ัตติ อ่ ไป โดยวงรอบของ 3 ข้ันตอน ดังกล่าวจะมีลักษณะการดาเนินการเป็นบันไดเวียน (Spiral) กระทาซ้าตามวงรอบการปฏบิ ตั ิการวิจัยจนกว่าจะบรรลุตามจดุ มงุ่ หมายของการวิจยั ในครงั้ นี้ จากข้นั ตอนการวจิ ัยปฏิบตั กิ ารตามวงรอบการปฏิบัติการของผู้วิจัยและผู้มีส่วนเก่ียวข้อง ดังกล่าวผลจาก การปฏิบัติการท้ังหมดซ่ึงผ่านการวิเคราะห์วิจารณ์จากผู้วิจัย ผู้มีส่วนเก่ียวข้อง และอาจารย์ท่ีปรึกษาวิจัยมาสรุป และปรับปรุงรูปแบบการจัดกิจกรรมที่เหมาะสมต่อการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียน ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรยี นบ้านสงั ขท์ อง อาเภอโกสุมพิสัย จังหวัดมหาสารคาม สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ประถมศกึ ษามหาสารคาม เขต 3 3.5 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้วงรอบของการวิจัยปฏิบัติการ ซ่ึงมีขั้นตอนดาเนินการเป็นบันไดเวียน (Spiral) กระทาซ้าตามวงจรจนกว่านักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 2 จานวน 27 ราย จะต้องมีผลสัมฤทธ์ิทางการ เรียนคณิตศาสตร์ เร่ือง การหาค่าของเลขโดดในแต่ละหลักของจานวนนับไม่เกิน 1,000 ร้อยละ 80 ทุกคน ซึ่งมีขนั้ ตอนดังนี้ 1. ผวู้ ิจยั ดาเนินการจัดกระบวนการเรยี นรู้เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิท์ างการเรียนคณิตศาสตร์ เร่ือง การหาค่า ของเลขโดดในแต่ละหลักของจานวนนับไม่เกิน 1,000 โดยใช้แผนการจัดการเรียนรู้ที่ผู้วิจัยสร้างข้ึนจากการ วเิ คราะห์สภาพและปัญหาของผมู้ ีสว่ นเกยี่ วขอ้ ง 2. ผู้วจิ ยั เกบ็ ข้อมลู จากทุกแผนการจัดการเรียนรู้ ด้วยเคร่ืองมือสะท้อนผลการปฏิบัติแล้วนาข้อมูลที่ได้มา สะท้อนผลการพัฒนาร่วมกันกับอาจารย์ที่ปรึกษาการวิจัย เพื่อนาไปปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่องเพ่ือใช้ในวงรอบ ตอ่ ไปจนบรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ในการวิจยั ครัง้ นี้ 3. เมอ่ื ส้ินสดุ การจดั การเรียนรู้ โดยใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์กับนักเรียนช้ัน ประถมศึกษาปีที่ 2 ซ่ึงแบบทดสอบวัดความวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนคณิตศาสตร์จะมีโครงสร้างเดียวกันท้ัง 3 วงรอบแลว้ นาคะแนนท่ีได้ไปวเิ คราะห์และทาการแปลผลจากการ วเิ คราะหท์ างสถติ ิต่อไป

25 3.6 การวเิ คราะห์ขอ้ มลู ในการวิเคราะห์ข้อมูลนาข้อมูลที่ได้จากการเก็บรวบรวมมาวิเคราะห์ โดยใช้วิธีการของ วิจัยเชิงปริมาณ และวจิ ยั เชงิ คณุ ภาพ ดังน้ี 3.6.1 ข้อมูลเชิงปริมาณ ได้แก่ ข้อมูลพื้นฐานของกลุ่มเป้าหมาย และคะแนนจากการทดสอบ ของนักเรยี นหลังการจัดการเรยี นรู้ วงรอบปฏบิ ัติการโดยใช้วิธีการ คอื หาคา่ รอ้ ยละ คะแนนสัมพทั ธ์ 3.6.2 ข้อมูลเชิงคุณภาพ ผู้วิจัยได้ตรวจสอบคุณภาพข้อมูล โดยวิธีการตรวจสอบสามเส้า (Johnson & Christensen, 2004 :250 อ้างถึงใน ภัทราพร เกษสังข์,2552 :79-80) เพื่อใช้ยืนยันข้อมูลเชิง คุณภาพและวเิ คราะหเ์ นือ้ หาตามวัตถปุ ระสงค์ของการวิจยั มีวธิ ีการ ดังน้ี 3.6.2.1 การตรวจสอบสามเส้า เป็นการใช้ข้อมูลและวิธีการเก็บข้อมูลที่แตกต่างกัน มวี ธิ กี ารตรวจสอบดังน้ี 1. การตรวจสอบสามเสา้ ด้านขอ้ มูล (Data triangulation) เพื่อตรวจสอบว่าข้อมูลมีความถูกต้อง เป็นการตรวจสอบจากขอ้ มลู หลายแหล่ง ได้แก่ แหล่งเวลา โดยการตรวจสอบข้อมูลเรื่องเดียวกันในเวลาท่ีต่างกัน แหล่งสถานท่ี โดยการตรวจสอบข้อมูลเร่ืองเดียวกันในสถานที่ที่แตกต่างกัน และแหล่งบุคคลโดยการตรวจสอบ ข้อมูลเร่อื งเดียวกนั ในบคุ คลทแ่ี ตกตา่ งกนั ซ่ึงผู้วิจยั ต้องอาศยั การสัมภาษณ์ประเด็นท่ีคล้ายคลึงกัน ผู้วิจัยจะบันทึก ขอ้ มลู เพ่ือตรวจสอบความถกู ตอ้ ง 2. การตรวจสอบสามเส้าด้านวิธีการ (Method triangulation) บางคร้ังในการเก็บรวบรวม ข้อมูล ผู้วิจัยอาจใช้วิธีการใดวิธีการหน่ึงเพียงวิธีการเดียว ซึ่งการใช้วิธีการเดียวกันก็จะทาให้ได้ข้อมูลในลักษณะ หน่ึง แต่เม่ือเปลี่ยนไปใช้วิธีอ่ืนทาการเก็บรวบรวมข้อมูลในประเด็นเดียวกันน้ันก็อาจทาให้ได้ข้อมูลอีก ลกั ษณะหนง่ึ ดังนั้นการตรวจสอบสามเส้าด้านวิธีการ จึงเป็นการใช้วิธีการหลายๆ วิธีเพื่อเก็บรวบรวม ขอ้ มลู ในประเดน็ เดยี วกนั ว่าจะไดข้ ้อมูลตรงกันหรอื ไม่อย่างไร 3. การตรวจสอบสามเส้าด้านผู้วิจัย (Investigator triangulation) เป็นการตรวจสอบข้อมูลโดย การใช้ผเู้ ก็บข้อมูลหรอื ผู้วจิ ัยมากกว่าหนึง่ คน ทาการเก็บรวบรวมขอ้ มลู ในประเดน็ เดยี วกนั เพื่อตรวจสอบว่า หากใช้ ผู้เกบ็ รวบรวมข้อมลู ต่างกันแลว้ ขอ้ มลู ที่ได้จะยังคงเหมือนเติมหรือไม่ ผู้วิจัยดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลในสนาม การวิจัยเป็นเวลานานเพียงคนเดียว อาจมีความลาเอียงในการเก็บข้อมูลกับบุคคลใดบุคคลหนึ่งเป็นกรณีพิเศษ การชอบพอกันเป็นการส่วนตัวจนกระท่ังละเลยข้อมูลในส่วนอ่ืน ๆ ก็เป็นไปได้ ดังน้ันการให้ผู้เก็บรวบรวมข้อมูล หลายคน ตรวจสอบขอ้ มูลกันและกันทาให้ได้ขอ้ มูลที่นา่ เชอื่ ถือมากยงิ่ ขึ้น 3.6.2.1 ทาการวิเคราะหเ์ นอื้ หา การวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ใช้เทคนิคการตรวจสอบ ข้อมูล แบบสามเส้า (Triangulation) เพ่ือใช้ยืนยันคุณภาพข้อมูลเชิงคุณภาพและวิเคราะห์เน้ือหาตามวัตถุประสงค์ของ การวิจัย การวิเคราะห์ข้อมูลที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติการที่กาหนดไว้ ผู้วิจัยจะนาข้อมูลที่ได้จากการสังเกต (Observation) ท้ังหมดมาวิเคราะห์ วิจารณ์เชิงเนื้อหา เพ่ือพัฒนาตามสภาพท่ีเกิดขึ้นว่ามีข้อบกพร่อง มีปัญหา

26 หรืออปุ สรรคอยา่ งไร แนวทางแก้ไขปรบั ปรุงและผลการพัฒนามาดาเนินการวิเคราะห์ ผลการปฏิบัติการ (Action) ในแต่ละวงรอบปฏบิ ัติการ ร่วมกบั ผปู้ ฏบิ ัตกิ ารซ่ึงเป็นผู้วิจัยร่วมว่าเป็นไปตามจุดมุ่งหมายที่กาหนดไว้เพียงใด และ จะมกี ารปรับปรุงแผนการดาเนินงาน ในวงรอบปฏิบัติการของการวิจัย และช่วยกันสะท้อนปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น ตลอดจนการให้ขอ้ เสนอแนะเพอ่ื ปรบั ปรุงการดาเนนิ งานให้เป็นไปตามแผนท่ีกาหนดไว้ เม่ือสิน้ สุดการปฏิบัติการตามวงรอบการวิจัย ผ้วู ิจัยและผ้มู ีสว่ นเกย่ี วขอ้ งจะร่วมกนั สนทนากลุ่มนาข้อมูลที่ ไดท้ ้งั หมดมาพิจารณาเช่ือมโยงกันแล้วทาการวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูล สรุปเป็นรูปแบบในกระบวนการจัดการ เรียนรทู้ างคณิตศาสตร์ที่เน้นการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เร่ือง การหาค่าของเลขโดดในแต่ละ หลักของจานวนนับไม่เกิน 1000 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5E ในระดับช้ันประถมศึกษา ปที ี่ 2 ทเ่ี หมาะสมกบั โรงเรยี นบ้านดงหวาย ซึ่งเป็นการจัดกลุ่มประเด็นข้อค้นพบในเชิงพรรณนาวิเคราะห์ที่ได้จาก การสงั เกต การสมั ภาษณ์ และการสังเกตพฤตกิ รรมการเรยี นรู้ของนกั เรียน แลว้ นามาสรุปผลการวิจัย เพ่ือแสดงให้ เ ห็ น แ น ว ท า ง ห รื อ รู ป แ บ บ ก า ร ป ฏิ บั ติ ท่ี มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ใ น ก า ร พั ฒ น า ผ ล สั ม ฤ ท ธ์ิ ท า ง ก า ร เ รี ย น ค ณิ ต ศ า ส ต ร์ เร่ือง การหาค่าของเลขโดดในแต่ละหลักของจานวนนับไม่เกิน 1000 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหา ความรู้ 5E ในระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 2 โรงเรียนบา้ นบา้ นสังข์ทอง

27 3.7 สถิตทิ ใ่ี ชใ้ นการวเิ คราะหข์ ้อมูล 3.7.1 สถิติทใ่ี ช้ในการวเิ คราะห์ขอ้ มูลในการวจิ ัยครั้งนี้ ประกอบดว้ ย 3.7.1.1 ค่ารอ้ ยละ (บุญชม ศรีสะอาด ,2545 :104) วธิ ีการหาค่าร้อยละ คือ เมอื่ P แทน ร้อยละ F แทน ความถ่ที ีต่ ้องการแปลค่าให้เป็นร้อยละ n แทน จานวนความถ่ที งั้ หมด

บทที่ 4 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล ในการศึกษาครัง้ นี้ ผวู้ ิจัยได้สรา้ งแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง การหาค่าของ เลขโดดในแต่ละหลกั ของจานวนนับไมเ่ กิน 1,000 โดยใชก้ ารจดั การเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5E ในระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านสังข์ทอง อาเภอโกสุมพิสัย จังหวัดมหาสารคาม สานักงานเขตพื้นที่การศึก ประถมศึกษามหาสารคาม เขต 3 โดยการจัดกระบวนการการเรียนรู้โดยใช้แผนการจัดการเรียนรู้ในรูปแบบการ จัดการเรยี นรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5E พร้อมท้ังการวัดและประเมินผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนคณิตศาสตร์ โดยใช้ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนคณิตศาสตร์ หลังการจัดกระบวนการการเรียนรู้ท้ัง 3 วงรอบของการ ปฏิบตั กิ ารวิจยั ซง่ึ ผู้วิจยั ขอนาเสนผลการวจิ ัย ดังนี้ ตอนท่ี 1 ขอ้ มลู พน้ื ฐานของกลุ่มเปา้ หมาย ตอนท่ี 2 ผลการพฒั นาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นคณติ ศาสตร์ เรือ่ ง การหาคา่ ของเลขโดดในแต่ละ หลกั ของจานวนนับไมเ่ กนิ 1,000 โดยใช้การจดั การเรียนรู้แบบสบื เสาะหาความรู้ 5E ในระดับชนั้ ประถมศกึ ษา ปที ี่ 2 ทั้ง 3 วงรอบ ตอนท่ี 1 ข้อมลู พื้นฐานของกลุ่มเป้าหมาย ตารางวิเคราะหท์ ี่ 1 แสดงจานวนนักเรยี นชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 2 ปีการศึกษา 2564 โรงเรยี นบา้ นสงั ข์ทอง จานวน 27 ราย ตาราง 1 จานวนนกั เรยี นชั้นประถมศึกษาปที ี่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 โรงเรียนบ้านสังขท์ อง นักเรียน จานวน คิดเปน็ รอ้ ยละ ชาย 17 62 หญิง 10 38 รวม 27 100 จากตารางท่ี 1 จะเหน็ ว่านักเรียนช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 2 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนบ้านสังข์ทอง จานวนทั้งส้ิน 27 ราย เป็นนกั เรยี นชาย จานวน 17 ราย คิดเปน็ ร้อยละ 62 และนกั เรยี นหญงิ จานวน 10 ราย คดิ เป็นรอ้ ยละ 38 ตอนท่ี 2 ผลการพฒั นาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง การหาค่าของเลขโดดในแต่ละหลักของจานวน นับไม่เกิน 1,000 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5E ในระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบา้ นสงั ข์ทอง ผวู้ ิจัยขอนาเสนอข้อมลู ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู จากการปฏิบตั กิ ารวจิ ัย จานวน 3 วงรอบ ดงั ตอ่ ไปนี้

29 4.1 การวจิ ยั ปฏิบัตกิ ารในวงรอบที่ 1 จากการสารวจปัญหาเกี่ยวกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2 พบวา่ นักเรยี นมปี ัญหาเกยี่ วกับผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนคณติ ศาสตร์ เร่ือง การหาค่าของเลขโดดในแต่ละหลักของ จานวนนับไมเ่ กิน 1,000 ผู้วจิ ยั จึงมคี วามตอ้ งการจะพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ โดยมีขั้นตอนการ ดาเนนิ การวิจยั ดงั ตอ่ ไปนี้ ขั้นที่ 1 ข้ันวางแผน (Planning) 1. จากการสารวจปัญหาสาคัญท่ีต้องการให้มีการแก้ไข โดยผู้วิจัยและครูประจาชั้น ร่วมกัน สารวจสภาพปญั หาในชั้นเรียนพบว่า นักเรียนมีปัญหาทางการเรียนคณิตศาสตร์ในเร่ือง การหาค่าของเลขโดดใน แต่ละหลักของจานวนนับไม่เกิน 1,000 และปัญหาทางด้านการเขียนคาอ่าน การแสดงจานวนในรูปกระจาย จงึ เป็นสาเหตทุ ี่ทาให้นักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนคณิตศาสตร์ที่ไม่น่าพึ่งพอใจ ดังนั้นจึงมีความจาเป็นที่ต้อง แก้ไขปัญหาท่ีกล่าวมาข้างตน้ 2. นาสภาพปัญหาที่พบจากการสารวจมาวางแผนการปฏิบัติการวิจัย โดยผู้วิจัยศึกษาวิธีการ แก้ไขปัญหาการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์จากเอกสารงานวิจัยที่เก่ียวข้อง การสัมภาษณ์ การ สนทนารว่ มกบั ครปู ระจาชั้น เพื่อร่วมกันวิเคราะห์สภาพของปัญหาที่เกิดข้ึนกับนักเรียน โดยเฉพาะการหาสาเหตุ ของปัญหา พรอ้ มทงั้ หาแนวทางการแก้ไขปัญหาอยา่ งเปน็ ระบบร่วมกัน 3. นาแนวคดิ ท่ีได้จากการวเิ คราะห์ปญั หามาวางแผนในการจดั กระบวนการเรียนรู้โดยใช้แผนการ จัดการเรียนรู้ท่ีใช้กระบวนการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5E และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คณิตศาสตร์ เร่ือง การหาค่าของเลขโดดในแต่ละหลักขงจานวนนับไม่เกิน 1,000 เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการ เรียนคณิตศาสตร์ของนกั เรยี นช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 2 โดยในการจดั การเรียนร้ใู นวงรอบที่ 1 จะต้องมกี ารเรียงลาดับ ข้ันตอนของการดาเนินการวิจยั โดยผวู้ จิ ยั มภี าระหนา้ ที่ คือ 1. เป็นผู้จัดกระบวนการการเรียนรู้และทาการวัดและ ประเมินผลหลังการจัดการการเรียนรู้ในวงรอบท่ี 1 2. เป็นผู้เก็บรวมรวบข้อมูลท่ีได้จากการสังเกตกระบวนการ จัดการเรียนรู้ พฤตกิ รรมของผู้จัดกระบวนการการเรียนรู้และพฤติกรรมของนักเรียนที่เกิดจากการทากิจกรรมใน ชั้นเรียนรวมถึงบรรยากาศในชั้นเรียน พร้อมทั้งข้อมูลท่ีได้จากการสัมภาษณ์ การสอบถามจากครูประจาชั้น นักเรียน การบันทึกภาพในการทาวิจยั 4. หลังจากได้แนวทางการดาเนินการวิจัยโดยใช้แผนการจัดการเรียนรู้ที่ใช้กระบวนการการ เรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5E พร้อมเคร่ืองมือที่ใช้การวิจัย นาเสนอต่ออาจารย์ท่ีปรึกษาการวิจัย ในวันท่ี 3 เดือนกันยายน พ.ศ. 2564 เพื่อเป็นแนวทางในการหาโครงสร้างของปัญหาและนาข้อเสนอแนะท่ีได้มา ปรับปรงุ ใช้ในการปฏบิ ัตกิ ารวิจัยในวงรอบท่ี 1 ดังนี้

30 4.1 การปรับปรุงวัตถปุ ระสงค์การเรียนรู้ทีจ่ ะตอ้ งควบคุมตัวช้วี ัดการเรียนรู้ 4.2 การปรับโครงสร้างของปัญหาใหม้ ีความชัดเจนมากยงิ่ ขึ้น 4.3 การปรับรูปแบบเครอ่ื งมือทีใ่ ชใ้ นการวิจัย 5. หลังจากได้นาข้อเสนอแนะจากอาจารย์ที่ปรึกษาการวิจัย ผู้วิจัยจึงได้นามาปรับปรุงในเรื่อง วัตถุประสงค์การเรียนรู้ที่จะต้องควบคุมตัวชี้วัดการเรียนรู้ โครงสร้างของปัญหาให้มีความชัดเจนมากย่ิงข้ึน และเคร่อื งมอื ท่ีใช้ในการวจิ ัย ในวนั ที่ 5 เดอื นกนั ยายน พ.ศ.2564 เพื่อตรวจสอบความถูกต้องและความเหมาะสม ทจ่ี ะนาไปใช้ในการปฏบิ ตั ิการวิจยั ในวงรอบที่ 1 ต่อไป ขั้นท่ี 2 ขัน้ ปฏิบตั กิ ารและขน้ั สังเกตการณ์ (Acting and observation) การปฏบิ ตั กิ ารวจิ ยั ในวงรอบท่ี 1 การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เร่ือง การหาค่าของเลข โดดในแตล่ ะหลกั ของจานวนนับไมเ่ กนิ 1,000 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5E ของนักเรียนช้ัน ประถมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรียนบ้านสังข์ทอง จานวนทั้งส้ิน 27 ราย ซึ่งการจัดการกระบวนการการเรียนรู้ในคร้ังน้ี มสี ภาพแวดลอ้ มและบรรยากาศในชนั้ เรียนท่ีเอ้ืออานวยตอ่ การเรยี นรู้ของนักเรยี น และนักเรียนให้ความร่วมมือใน การทากิจกรรม มีความต้งั ใจในการเรียนเปน็ อย่างดี ซงึ่ จากการสังเกตพบว่า ผู้จัดกระบวนการการเรียนรู้มีเทคนิค การสอนที่ดีเป็นไปตามกระบวนจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5E การใช้ส่ือประกอบการสอนและการ ยกตวั อย่างประกอบกับเนื้อหาซึ่งมีความสอดคล้องกับปัญหาการวิจัยที่ต้องการพัฒนา พร้อมท้ังนักเรียนมีทักษะ การส่ือสาร ทกั ษะการฟัง ทกั ษะการเขียนและการตอบคาถามท่ดี ีในบางราย แตย่ ังมีนักเรียนที่ขาดทักษะท่ีกล่าวมา ข้างตน้ อยปู่ ระมาณ 8 ราย โดยจาการสมั ภาษณค์ รปู ระจาชน้ั พบวา่ นักเรียนบางรายมีปัญหามาจากพื้นฐานความรู้ เดิมทางการเรียนรายวิชาภาษาไทยและรายวิชาคณิตศาสตร์ จึงส่งผลให้การทากิจกรรมในชั้นเรียนมีความล่าช้า และการวัดประเมนิ ผลในการปฏบิ ตั กิ ารวจิ ยั ในวงรอบที่ 1 ยงั ไมป่ ระสบผลสาเรจ็ ตามวัตถปุ ระสงคข์ องการวจิ ยั หลงั จากสน้ิ สดุ การปฏบิ ตั ิการวิจยั ในวงรอบท่ี 1 ซง่ึ จัดการเรียนการสอน 2 แผน จานวน 2 ชั่วโมง ในวันท่ี 10 กันยายน 2564 ตั้งแต่เวลา 08.30-10.30 น. ซึ่งผู้วิจัยได้ทาการวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนคณิตศาสตร์ เร่ือง การหาค่าของเลขโดดในแต่ละหลักของจานวนนับไม่เกิน 1,000 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหา ความรู้ 5E โดยมผี ลการวดั ดงั ตารางท่ี 2 ผลการวัดผลสมั ฤทธท์ิ างคณิตศาสตร์ วงรอบที่ 1 ตอ่ ไปน้ี

31 ตาราง 2 ผลการวดั ผลสมั ฤทธิ์ทางคณติ ศาสตร์ วงรอบที่ 1 รายการประเมิน เลขท่ี เ ีขยนคาอ่าน รอ้ ยละ เ ีขยนเป็น ัตวเลข ค่าประจาหลัก 90 เ ีขยนในรูปกระจาย 50 รวมคะแนน 90 50 2 3 3 2 10 90 80 12 3 31 9 90 20 3 11 5 50 32 3 31 9 80 40 3 11 5 90 52 3 31 9 80 62 3 12 8 80 72 3 31 9 80 80 3 11 5 80 92 3 12 8 90 10 2 3 31 9 90 11 2 3 12 8 90 12 2 3 12 8 80 13 2 3 12 8 80 14 2 3 12 8 90 15 2 3 31 9 80 16 2 3 31 9 80 17 2 3 31 9 90 18 2 3 12 8 90 19 2 3 12 8 90 20 2 3 31 9 21 2 3 12 8 22 2 3 12 8 23 2 3 31 9 24 2 3 31 9 25 2 3 31 9

32 26 2 3 12 8 80 27 2 3 31 9 90 ขัน้ ที่ 3 ข้ันสะทอ้ นการปฏบิ ตั ิ (Reflection) จากการวิจัยปฏิบัติการในวงรอบที่ 1 พบว่าการจัดกระบวนการการเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์ เร่ือง การหาค่าของเลขโดดในแต่ละหลักของจานวนนับไม่เกิน 1,000 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหา ความรู้ 5E ยังไม่ประสบผลสาเร็จตามเกณฑ์การประเมินที่ต้ังไว้ คือ นักเรียนทุกคนต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80 ข้ึนไป แต่ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในวงรอบท่ี 1 พบว่านักเรียนทั้งหมด 27 ราย ผ่านเกณฑ์การ ประเมนิ จานวน 27 ราย และไม่ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ จานวน 8 ราย แตเ่ ม่ือพจิ ารณาในแตล่ ะส่วน พบว่านักเรียน ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ทง้ั หมด 19 ราย โดยเรอื่ งทน่ี กั เรียนไมผ่ ่านเกณฑ์การประเมิน คือ การเขียนคาอ่าน การหา ค่าประจาหลัก และการเขียนในรูปกระจาย ซ่ึงมีจานวนทั้งหมด 8 ราย ท่ีไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน โดยมี รายละเอียดดังต่อไปนี้ รายท่ี 1-4 ไมผ่ า่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ในเรื่อง การเขยี นคาอ่าน การหาค่าประจาหลัก จากการสัมภาษณ์ครู ประจาชน้ั พบว่านักเรียนมีปัญหาทางด้านการอ่านและการเขียนในรายวิชาภาษาไทย รวมถึงนักเรียนขาดทักษะ พืน้ ฐานทางคณติ ศาสตร์ ซ่ึงจากการสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในการทากิจกรรมในช้ันเรียน นักเรียนให้ความ ร่วมมอื ในการทากิจกรรมและมที ักษะการสื่อสาร การฟังทด่ี ี แตน่ กั เรียนยังขาดทักษะการเขียนและการคิด รวมถึง ทักษะการแก้ไขปัญหาทางคณิตศาสตร์ ทั้งนี้จากการสัมภาษณ์นักเรียน พบว่านักเรียนไม่ชอบเรียนในรายวิชา คณติ ศาสตร์ เน่ืองจากเปน็ วชิ าทนี่ กั เรยี นไม่ถนัด และเป็นวิชาท่ีมีตัวเลขในการเรียน แต่อย่างไรก็ตามนักเรียนยังมี ความชนื่ ชอบในการทากจิ กรรมการเรียนรทู้ ีจ่ ัดขน้ึ เพราะมคี วามสนกุ สนานในการทากจิ กรรม รายท่ี 5-6 ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินในเรื่อง การเขียนในรูปกระจาย จากการสัมภาษณ์ครูประจาช้ัน พบว่านกั เรียนมีพ้ืนฐานทางคณิตศาสตร์ทด่ี แี ละเปน็ ไปตามพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียนในระดับประถมศึกษาปีท่ี 2 ซึง่ จากการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ในชั้นเรียน พบว่านักเรียนให้ความร่วมมือในการทากิจกรรมในชั้นเรียน เป็นอยา่ งดี และมคี วามสนใจในเนื้อหา รวมถงึ การกล้าแสดงความคดิ เหน็ ในการตอบคาถาม ทัง้ น้ีจากการสัมภาษณ์ นักเรียน พบว่านักเรียนมีความช่ืนชอบในรายวิชาคณิตศาสตร์ เพราะได้ใช้กระบวนการคิด การแก้ไขปัญหา และเปน็ วชิ าที่มีความสนุกสนานในการเรียน ซ่ึงสาเหตุท่ีนักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินเนื่องจากกระบวนการ เรียนร้ทู ่ยี ังไม่ได้เน้นเร่ือง การเขยี นในรปู กระจาย จึงทาให้นกั เรยี นไม่ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ในวงรอบที่ 1 รายท่ี 7-8 ไม่ผ่านเกณฑก์ ารประเมินในเรือ่ ง การเขียนคาอ่าน การเขียนในรูปกระจาย จากการสัมภาษณ์ ครปู ระจาชั้น พบว่านกั เรียนมีปัญหาทางดา้ นการอ่านและการเขยี นคาในรายวิชาภาษาไทย และขาดทักษะพื้นฐาน ทางคณิตศาสตร์ รวมถึงนักเรียนมีพัฒนาการการเรียนรู้ท่ีช้าเน่ืองเข้ารับการศึกษาก่อนเกณฑ์ท่ีกาหนด ทั้งนี้จาก การสัมภาษณ์นักเรียนพบว่า นักเรียนมีความชื่นชอบในการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เพราะมีความสนุกในการทา กจิ กรรมที่จดั ขึ้น แตไ่ ม่ชอบเรียนในรายวิชาภาษาไทย เพราะไมช่ อบอ่านหนังสอื

33 ดงั นัน้ จึงสรปุ ได้ว่าสง่ิ ทีจ่ ะนาไปพฒั นาต่อในการวิจัยปฏบิ ตั กิ ารวงรอบที่ 2 ได้แก่ การเขียนคาอ่าน การหา ค่าประจาหลัก และการเขียนในรูปกระจาย ดงั นี้ 1. การปรบั เปล่ียนกระบวนการจัดการเรยี นร้ใู นแผนการจัดการเรยี นท่ี 3 ดังน้ี 1.1 การปรบั เปล่ยี นกิจกรรมในขนั้ การสรา้ งความสนใจ Engagement โดยกิจกรรมเดิมในข้ันท่ี 1 คอื การสนทนากับนักเรียนเก่ยี วกบั เรอ่ื ง คา่ ของเลขโดด โดยใช้คาถามเพอื่ ทบทวนเน้ือหาจากชั่วโมงเรียนที่ผ่านมา เช่น เลขโดดคอื อะไร ซงึ่ ปรับเปลย่ี นเปน็ กจิ กรรมการทบทวนการเขียนตัวเลขและตัวหนังสือของจานวนนับไม่เกิน 1,000 และตัดกิจกรรมในขั้นที่ 2 ออก 1.2 การปรับเปล่ียนกิจกรรมในขั้นการสารวจและค้นหา Explore โดยเพ่ิมกิจกรรมขั้นท่ี 2 จะเนน้ ให้นกั เรียนไดฝ้ ึกปฏิบตั ิมากยิ่งขนึ้ คือ ให้นกั เรียนจบั คูท่ ากจิ กรรมเขยี นตวั เลขละตัวหนงั สอื ของจานวนนับไม่ เกิน 1,000 ตามที่ครูกาหนดใหบ้ นกระดาน 1.3 การปรบั เปล่ียนในข้ันขยายความรู้ Elaborate โดยกิจกรรมเดมิ ในขั้นท่ี 1 คือ จากท่ีนักเรียน ไดแ้ สดงความคิดเห็นในการหาค่าของเลขโดดและหลักแล้วจะให้นักเรียนเติมจานวนลูกคิดลงในแต่ละหลัก โดยครู จะกาหนดจานวนให้ เชน่ 572 -ลูกคดิ 2 ลกู ในหลกั หน่วย -ลกู คดิ 7 ลูก ในหลกั สบิ -ลกู คิด 5 ลูก ในหลักรอ้ ย มีค่าเท่ากับ 572 เขียนเป็นตัวหนังได้ ห้าร้อยเจ็ดสิบสอง ซึ่งปรับเปล่ียนเป็นกิจกรรมที่ให้นักเรียนได้ทา กิจกรรมการเรียนร้ใู นรปู แบบกลุ่ม คือ ใหน้ กั เรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละ 4 คน ในการทากิจกรรมการ เขยี นตัวเลขและตัวหนงั สอื ของจานวนนบั ไม่เกนิ 1,000 จากการใช้ลูกคิดกับฐานลูกคิดเป็นสื่อประกอบการเรียนรู้ ในการแสดงคา่ ประจาหลักของแต่ละกลุ่ม โดยมีอุปกรณ์ที่ใช้ในการทากิจกรรม คือ ลูกคิดและฐานลูกคิด จากนั้น ครูผู้สอนจะอธบิ ายขั้นตอนการใช้ลูกคิดและฐานลูกคิดและกาหนดค่าของเลขโดดในแต่ละหลักแล้วให้นักเรียนนา ลกู คดิ ใสใ่ นหลักนั้น ๆ ตามท่ีกาหนด 2. การปรับเปลี่ยนกระบวนการจดั การเรียนรูใ้ นแผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 4 ดงั นี้ 2.1 การปรับเปลย่ี นกิจกรรมในขั้นสร้างความสนใจ Engagement โดยกจิ กรรมเดิมในขั้นที่ 1 คือ ครูให้นกั เรยี นทบทวนความรูเ้ ดิมจากจากชั่วโมงเรียนท่ีมา ซ่ึงปรับเปลี่ยนเป็นกิจกรรมที่ให้นักเรียนทบทวนความรู้ เดิมในเรอ่ื ง การหาค่าประจาหลักจากการทากจิ กรรมโดยใช้ลกู คดิ กับฐานลูกคดิ

34 4.2 การวิจัยปฏบิ ตั กิ ารในวงรอบที่ 2 จากการปฏิบัติการในวงรอบที่ 1 พบว่า นักเรียนยังไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินท่ีตั้งไว้ คือ นักเรียนทุกคน ตอ้ งผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ รอ้ ยละ 80 ขน้ึ ไป โดยผวู้ จิ ยั จึงได้ดาเนินการปฏิบัติการวจิ ัยในวงรอบท่ี 2 ดงั ต่อไปน้ี ขั้นที่ 1 ขน้ั วางแผน (Planning) 1. ผู้วิจัยวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการเก็บรวบรวมข้อมูลในการปฏิบัติการวิจัยในวงรอบที่ 1 เพ่ือ สารวจปัญหาท่ีเกิดข้ึนในระหว่างการจัดกระบวนการการเรียนรู้ในชั้นเรียน รวมทั้งผลการวัดผลสัมฤทธ์ิทางการ เรียนคณติ ศาสตร์ เรอ่ื ง การหาค่าของเลขโดดในแตล่ ะหลักของจานวนนบั ไมเ่ กิน 1,000 2. จากการวิเคราะห์ปัญหา พบว่า นักเรียนยังไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินท่ีตั้งไว้ คือ นักเรียนทุก คนต้องผ่านเกณฑ์การประเมินร้อยละ 80 ข้ึนไป ซ่ึงมีจานวน 8 ราย และผ่านเกณฑ์การประเมินจานวน 19 ราย โดยจากการพิจารณาแต่ละส่วนพบวา่ นกั เรียนไมผ่ า่ นเกณฑ์การประเมนิ ในเรื่อง การเขียนคาอา่ น การหาค่าประจา หลกั และการเขียนในรูปกระจาย 3. ผู้วิจัยและครูประจาชั้นได้ร่วมกันศึกษาหาแนวทางการแก้ไขปัญหาท่ีเกิดขึ้นในช้ันเรียน โดย การปรับปรุงกระบวนการจัดการเรียนรู้ซึ่งได้ปรับเปลี่ยนรูปแบบกิจกรรมในข้ันตอนการจัดกระบวนการจัดการ เรียนรูจ้ ากเดมิ ให้นักเรยี นไดเ้ รียนในรปู แบบรายบุคคลเป็นการเรียนร้แู บบการจับคู่ การแบง่ กลมุ่ ซ่ึงเน้นให้นักเรียน ไดศ้ ึกษาค้นคว้าด้วยตนเองและแลกเปล่ียนเรยี นรู้กบั เพื่อนร่วมชน้ั เรียน 4. นาข้อมลู ทไ่ี ด้จากการวิเคราะหแ์ ละแนวทางการแกไ้ ขปัญหา นาเสนอต่ออาจารย์ท่ีปรึกษาการ วจิ ยั ในวนั ที่ 10 เดือนกนั ยายน พ.ศ.2564 เพอื่ นาข้อเสนอแนะทีไ่ ดจ้ ากการปรึกษามาปรับใชใ้ นการปฏิบัติการวิจัย ในวงรอบที่ 2 ตอ่ ไป ข้ันที่ 2 ขนั้ ปฏิบัติการและขน้ั สงั เกตการณ์ (Acting and observation) การปฏิบัติการวิจัยในวงรอบท่ี 2 การพฒั นาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เร่ือง การหาค่าของเลข โดดในแต่ละหลกั ของจานวนนับไมเ่ กิน 1,000 โดยใช้การจดั การเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5E ของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านสังข์ทอง จานวนทั้งสิ้น 27 คน ซึ่งการจัดการกระบวนการการเรียนรู้ในคร้ังน้ี มีสภาพแวดล้อมและบรรยากาศในช้ันเรียนท่ีไม่เอื้ออานวยต่อการเรียนรู้ของนักเรียน เนื่องจากมีเสียงดังรบกวน จากการซ่อมแซมอาคารเรียนจงึ ทาใหไ้ ดเ้ ปลี่ยนสถานท่ีการจัดกระบวนการเรียนรู้ และนักเรียนให้ความร่วมมือใน การทากจิ กรรม มีความตง้ั ใจในการเรียนเปน็ อย่างดี และมคี วามเขา้ ใจในเนื้อหาในเรื่องการเขียนคาอ่าน การเขียน ตัวเลข การหาค่าประจาหลัก และการเขียนในรูปกระจายดีข้ึน ซ่ึงจากการสังเกตพบว่า ผู้จัดกระบวนการการ เรียนรมู้ เี ทคนคิ การสอนทด่ี ีเป็นไปตามกระบวนจัดการเรียนรูแ้ บบสบื เสาะหาความรู้ 5E ซงึ่ ในการปฏบิ ัติการวิจัยใน วงรอบที่ 2 โดยใช้สื่อประกอบการสอนซ่ึงเป็นสื่อที่เน้นให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติ คือ การใช้ลูกคิดกับฐานลูกคิด และการจัดกจิ กรรมทีใ่ หน้ ักเรียนไดฝ้ ึกปฏิบัติและหาคาตอบด้วยตนเอง โดยมีความสอดคล้องกับปัญหาการวิจัยท่ี ตอ้ งการพฒั นาและได้ปรบั เปล่ยี นกิจกรรมการเรียนรู้ในบางข้นั ตอน ทัง้ นน้ี กั เรยี นมที ักษะการสื่อสาร ทักษะการฟัง

35 ทักษะการเขียนและการตอบคาถามท่ีดีขึ้นและมีผลการวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนคณิตศ าสตร์เป็นที่น่าพึงพอใจ แตอ่ ย่างไรก็ตามยังมีนักเรียนที่ขาดทักษะการเขียนและการอ่าน จานวน 3 ราย ซึ่งจาการสัมภาษณ์ครูประจาชั้น พบว่านักเรยี นมีปญั หามาจากพนื้ ฐานความรู้เดมิ ทางการเรียนรายวิชาภาษาไทยและรายวิชาคณิตศาสตร์ จึงส่งผล ใหก้ ารประเมนิ ผลในการปฏิบัติการวิจยั ในวงรอบท่ี 2 ยังไมป่ ระสบผลสาเรจ็ ตามวัตถปุ ระสงคข์ องการวจิ ัย หลงั จากสน้ิ สุดการปฏิบัตกิ ารวจิ ัยในวงรอบที่ 2 ซ่ึงจัดการเรียนการสอน 2 แผน จานวน 2 ช่ัวโมง ในวันที่ 11 กันยายน 2564 ต้ังแต่เวลา 08.30-10.30 น. ซ่ึงผู้วิจัยได้ทาการวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง การหาคา่ ของเลขโดดในแต่ละหลกั ของจานวนนบั ไม่เกนิ 1,000 โดยใช้การจดั การเรียนรแู้ บบสืบเสาะหาความรู้ 5E โดยมผี ลการวดั ดังตารางท่ี 3 ผลการวดั ผลสมั ฤทธทิ์ างคณติ ศาสตร์ วงรอบที่ 2 ตอ่ ไปนี้ ตาราง 3 ผลการวดั ผลสัมฤทธิท์ างคณติ ศาสตร์ วงรอบท่ี 2 รายการประเมิน เลขท่ี เ ีขยนคาอ่าน ร้อยละ เขียนเ ็ปน ัตวเลข ่คาประจาห ัลก 90 เ ีขยนในรูปกระจาย 50 รวมคะแนน 90 80 2 3 3 2 10 90 80 12 3 31 9 90 21 3 11 6 80 32 3 31 9 80 42 3 12 8 90 52 3 31 9 80 62 3 12 8 80 72 3 31 9 80 82 3 12 8 80 92 3 12 8 90 10 2 3 31 9 90 11 2 3 12 8 12 2 3 12 8 13 2 3 12 8 14 2 3 12 8 15 2 3 31 9 16 2 3 31 9

36 17 2 3 31 9 90 18 2 3 12 8 80 19 2 3 12 8 80 20 2 3 31 9 90 21 2 3 12 8 80 22 2 3 12 8 80 23 2 3 31 9 90 24 2 3 31 9 90 25 2 3 31 9 90 26 2 3 12 8 80 27 2 3 31 9 90 ขั้นท่ี 3 ขน้ั สะทอ้ นการปฏบิ ตั ิ (Reflection) จากการวจิ ยั ปฏิบตั กิ ารในวงรอบที่ 2 พบวา่ การจดั กระบวนการการเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์ เร่ือง การ หาคา่ ของเลขโดดในแต่ละหลักของจานวนนบั ไม่เกิน 1,000 โดยใชก้ ารจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5E ยัง ไมป่ ระสบผลสาเร็จตามเกณฑ์การประเมินทต่ี ง้ั ไว้ คือ นักเรียนทุกคนต้องผ่านเกณฑ์การประเมินร้อยละ 80 ขึ้นไป แต่ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในวงรอบที่ 2 พบว่านักเรียนทั้งหมด 27 ราย ผ่านเกณฑ์การประเมินจานวน 24 ราย และไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินจานวน 3 ราย แต่เมื่อพิจารณาในแต่ละส่วน พบว่านักเรียนผ่านเกณฑ์การ ประเมินทง้ั หมด 26 ราย โดยเรือ่ งที่นกั เรียนไม่ผา่ นเกณฑก์ ารประเมิน คือ การเขียนคาอ่าน การหาค่าประจาหลัก และการเขยี นในรูปกระจาย ซง่ึ มจี านวนทง้ั หมด 3 ราย ท่ไี ม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน โดยมีรายละเอยี ดดังตอ่ ไปนี้ รายที่ 1-3 ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมนิ ในเรื่อง การเขียนคาอ่าน การหาค่าประจาหลัก และการเขียนในรูป กระจาย จากการสัมภาษณ์ครูประจาชั้น พบว่านักเรียนมีปัญหาทางด้านการอ่านและการเขียนในรายวิชา ภาษาไทย รวมถงึ นักเรียนขาดทักษะพ้ืนฐานทางคณิตศาสตร์และขาดการดูแลเอาใจใส่ การสนับสนุนในเรื่องการ เรียนจากครอบครัว ซ่งึ จากการสังเกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในการทากิจกรรมในชัน้ เรยี น นักเรยี นใหค้ วามร่วมมือ ในการทากจิ กรรมและมที กั ษะการสอ่ื สาร การฟังท่ีดี แต่นักเรียนยังขาดทักษะการเขียนและการคิด รวมถึงทักษะ การแกไ้ ขปัญหาทางคณิตศาสตร์และขาดทักษะการแสดงความคิดเห็นในการตอบคาถาม ทั้งน้ีจากการสัมภาษณ์ นักเรียน พบว่านักเรียนไม่ชอบเรียนในรายวิชาคณิตศาสตร์ เนื่องจากเป็นวิชาท่ีนักเรียนไม่ถนัด และเป็นวิชาท่ีมี ตัวเลขในการเรียน แต่อย่างไรก็ตามนักเรียนยังมีความชื่นชอบในการทากิจกรรมการเรียนรู้ที่จัดขึ้นโดยเฉพา ะ กิจกรรมในรปู แบบการจับค่แู ละแบบกลุ่ม เพราะมคี วามสนุกสนานในการทากิจกรรมกับเพื่อนร่วมช้ัน และมีความ ช่นื ชอบทคี่ รูให้ออกมามีบทบาทหนา้ ชน้ั เรียนในการแสดงคาตอบบนกระดาน ดังนนั้ จึงสรปุ ไดว้ ่าสิง่ ท่จี ะนาไปพฒั นาต่อในการวิจัยปฏิบตั กิ ารวงรอบที่ 3 ได้แก่ การเขียนคาอ่าน การหา คา่ ประจาหลกั และการเขียนในรูปกระจาย ดังน้ี

37 1. การปรบั เปลี่ยนกระบวนการจัดการเรียนรู้ในแผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 5 ดังนี้ 1.1 การปรับเปลี่ยนกิจกรรมการจัดการเรยี นรใู้ นขั้นสร้างความสนใจ Engagement โดยกิจกรรม เดิมในขั้นที่ 1 คือ ครูให้นักเรียนทบทวนความรู้เดิมจากจากชั่วโมงเรียนที่มา ซึ่งปรับเปลี่ยนกิจกรรมจากขั้นท่ี 1 เปน็ ขัน้ ที่ 2 คอื ใหน้ ักเรยี นช่วยกันตอบคาถามในเรอ่ื ง การหาคา่ ประจาหลัก โดยครูผู้สอนกาหนดจานวนตัวเลขบน กระดาน เชน่ 965,857,858 และปรบั เปล่ียนกิจกรรมการรอ้ งเพลง นบั สบิ จากขั้นท่ี 2 เป็นขั้นที่ 1 โดยมีเน้ือเพลง ดังน้ี เพลงนบั สิบ พวกหนู หนู สุขใจเมอื่ ไดม้ าเลน่ ด้วยกัน มี หน่งึ สอง สาม ส่ี ห้า อัน หก เจด็ แปด เก้า และสิบนน้ั (ซ้า) ของเล่นครบครนั จานวนสิบ 1.2 การปรับเปล่ียนกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ในขั้นการสารวจและค้นคว้า Explore โดย กิจกรรมเดมิ ในข้ันที่ 1 คือ ครูใชล้ กู คิดแสดงค่าประจาหลกั เช่น -มลี กู คิด 5 ลูกในหลกั หน่วย -มลี กู คดิ 8 ลูกในหลักสิบ -มลี กู คิด 9 ลกู ในหลักรอ้ ย สามารถเขียนในรูปกระจายของการบวกได้ คือ 900+80+5 = 985 ซึ่งปรับเปล่ียนกิจกรรม คือให้ นักเรียนใชล้ ูกคดิ แสดงคา่ ประจาหลกั เชน่ -มลี ูกคดิ 5 ลกู ในหลกั หน่วย -มลี ูกคดิ 8 ลูกในหลกั สบิ -มีลูกคิด 9 ลกู ในหลกั ร้อย สามารถเขยี นในรูปกระจายของการบวกได้ คอื 900+80+5 และเพิ่มกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ เป็นขั้น ที่ 2 คือให้นักเรียนนาจานวนท่ีได้จากการเขียนในรูปกระจายมาเขียนในรูปแบบการเขียนตัวเลขและตัวหนังสือ และปรับเปล่ียนกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ จากขั้นท่ี 2 คือ ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3-4 คน ครูจะแจกฐาน ลูกคิดและลกู คดิ ให้นักเรยี นกลุ่มละ 1 ชุด โดยครูจะกาหนดจานวนให้นักเรียน แล้วให้นักเรียนแต่ละกลุ่มใส่ลูกคิด ลงในหลกั ตามจานวนที่ครูกาหนดให้ ใหถ้ ูกต้องภายในเวลาทีก่ าหนด เปน็ กิจกรรมในข้ันท่ี 3 1.3 การเปล่ียนกระบวนการจัดการเรียนรู้ในขั้นการอธิบาย Explain โดยกิจกรรมเดิมในข้ันที่ 1 คอื จากการทากิจกรรมเตมิ จานวนให้ครบตามทีก่ าหนด ครจู ะใหน้ ักเรียนนาจานวนเหลา่ น้ันมาเขียนในรูปแบบการ กระจายของการบวก เชน่ 856 สามารถเขียนในรูปกระจายของการบวกได้ คือ 800+50+6 = 856 พร้อมอธิบาย หลักการกระจายจานวนประกอบ ซ่ึงปรบั เปลยี่ นกจิ กรรมเปน็ จากการทากิจกรรมเติมจานวนให้ครบตามท่ีกาหนด ครูจะให้นักเรียนนาจานวนเหล่านั้นมาเขียนในรูปแบบการกระจายของการบวก เช่น 856 สามารถเขียนในรูป กระจายของการบวกได้ คือ 800+50+6 พรอ้ มอธบิ ายหลักการกระจายจานวนและการเขียนตัวเลขและตวั หนังสือ

38 2. การปรบั เปลย่ี นกระบวนการจัดการเรียนรู้ในแผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 6 ดังนี้ 2.1 การปรับเปลี่ยนกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ในข้ันสร้างความสนใจ Engagement โดยเพิ่ม กจิ กรรมในข้นั ท่ี 2 คือ ใหน้ ักเรียนนาจานวนท่ีไดจ้ ากการหาค่าประจาหลักมาเขียนในรูปแบบการเขียนตัวเลขและ ตวั หนงั สือ 2.2 การปรับเปล่ียนกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ในขั้นการสารวจและค้นคว้า Explore โดยเพิ่ม กิจกรรมเป็นขั้นที่ 3 คือ ให้นักเรียนนาจานวนที่ได้จากการจับสลากมาเขียนในรูปแบบการเขียนตัวเลขและ ตวั หนงั สอื 2.3 การปรับเปลี่ยนกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ในข้ันขยายความรู้ Elaborate โดยเพิ่มกิจกรรม เปน็ ขน้ั ที่ 2 คอื ใหน้ กั เรียนสลบั สลากกับเพอื่ นในห้องเรียนแล้วนาจานวนทม่ี าเขียนตวั เลขและตัวหนงั สือ 4.3 การวจิ ยั ปฏิบัติการในวงรอบที่ 3 จากการปฏิบัติการในวงรอบที่ 2 พบว่า นักเรียนยังไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินท่ีตั้งไว้ คือ นักเรียนทุกคน ต้องผา่ นเกณฑ์การประเมินรอ้ ยละ 80 ขนึ้ ไป โดยผ้วู จิ ัยจึงไดด้ าเนินการปฏิบตั กิ ารวิจยั ในวงรอบท่ี 3 ดังต่อไปน้ี ขั้นท่ี 1 ขนั้ วางแผน (Planning) 1. ผ้วู ิจัยวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการเก็บรวบรวมข้อมูลในการปฏิบัติการวิจัยในวงรอบท่ี 2 เพื่อ สารวจปัญหาที่เกิดขึ้นในระหว่างการจัดกระบวนการการเรียนรู้ในช้ันเรียน รวมทั้งผลการวัดผลสัมฤทธ์ิทางการ เรยี นคณติ ศาสตร์ เร่ือง การหาค่าของเลขโดดในแต่ละหลักของจานวนนับไม่เกิน 1,000 2. จากการวิเคราะห์ขอ้ มลู พบวา่ นักเรยี นยังไมผ่ ่านเกณฑก์ ารประเมินที่ตัง้ ไว้ คือ นักเรียนทุกคน ต้องผ่านเกณฑ์การประเมินร้อยละ 80 ขึ้นไป ซึ่งมีจานวน 3 ราย และผ่านเกณฑ์การประเมินจานวน 24 ราย โดยจากการพจิ ารณาแต่ละสว่ นพบว่านักเรียนไม่ผา่ นเกณฑ์การประเมิน ในเร่ือง การเขียนคาอา่ น การหาคา่ ประจา หลกั และการเขียนในรูปกระจาย 3. ผู้วิจัยและครูประจาชั้นได้ร่วมกันศึกษาหาแนวทางการแก้ไขปัญหาท่ีเกิดขึ้นในช้ันเรียน โดยการปรับปรุงกระบวนการจัดการเรียนรู้ซึ่งได้ปรับเปลี่ยนรูปแบบกิจกรรมท่ีจะเ น้นนักเรียนเป็นสาคัญในการ ปฏิบตั ิกิจกรรม 4. นาขอ้ มลู ทีไ่ ดจ้ ากการวเิ คราะห์และแนวทางการแกไ้ ขปญั หา นาเสนอต่ออาจารย์ท่ีปรึกษาการ วจิ ัย ในวนั ท่ี 11 เดือนกนั ยายน พ.ศ.2564 เพ่อื นาขอ้ เสนอแนะทไ่ี ดจ้ ากการปรกึ ษามาปรับใช้ในการปฏิบัติการวิจัย ในวงรอบที่ 3 ตอ่ ไป

39 ขนั้ ที่ 2 ขั้นปฏบิ ัติการและข้ันสงั เกตการณ์ (Acting and observation) การปฏิบัติการวจิ ยั ในวงรอบที่ 3 การพฒั นาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง การหาค่าของเลข โดดในแต่ละหลักของจานวนนบั ไมเ่ กนิ 1,000 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5E ของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรียนบ้านสังข์ทอง จานวนท้ังส้ิน 27 ราย ซึ่งการจัดการกระบวนการการเรียนรู้ในคร้ังนี้ มีสภาพแวดล้อมและบรรยากาศในช้ันเรียนมีการเอื้ออานวยต่อการเรียนรู้ของนักเรียน และนักเรียนให้ความ ร่วมมือในการทากจิ กรรม มีความตัง้ ใจในการเรียนเป็นอย่างดี มีความเข้าใจ สามารถอธิบายในเน้ือหาในเร่ืองการ เขียนคาอ่าน การเขียนตัวเลข การหาค่าประจาหลัก และการเขียนในรูปกระจายดีข้ึน ซึ่งจากการสังเกตพบว่า ผู้จดั กระบวนการการเรียนรมู้ ีเทคนิคการสอนทด่ี ีเป็นไปตามกระบวนจัดการเรยี นรูแ้ บบสบื เสาะหาความรู้ 5E ซึ่งใน การปฏบิ ตั กิ ารวิจยั ในวงรอบที่ 3 จะใช้ส่ือประกอบการสอนซ่ึงเป็นสื่อท่ีเน้นให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติ คือ การใช้ ลูกคดิ กบั ฐานลูกคิด และการจดั กจิ กรรมท่ใี ห้นักเรยี นได้ฝึกปฏิบัติและหาคาตอบด้วยตนเอง โดยมีความสอดคล้อง กับปัญหาการวิจัยท่ีต้องการพัฒนา และได้ปรับเปลี่ยนกิจกรรมการเรียนรู้ในบางขั้นตอนท่ีจะต้องการเน้นให้ นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติและค้นหาคาตอบด้วยตนเองเป็นหลักโดยผู้สนจะคอยให้คาแนะนาในการทากิจกรรม ทั้งน้ีนักเรียนมีทักษะการสื่อสาร ทักษะการฟัง ทักษะการเขียนและการตอบคาถามที่ดีข้ึนและมีผลการวั ด ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์เป็นที่วัตถุประสงค์ของการวิจัยในคร้ังน้ี คือ นักเรียนทุกคนผ่านเกณฑ์การ ประเมนิ ร้อยละ 80 หลังจากสน้ิ สดุ การปฏิบตั ิการวิจัยในวงรอบที่ ซ่ึงจัดการเรียนการสอน 2 แผน จานวน 2 ช่ัวโมง ในวันท่ี 14 กันยายน 2564 ต้ังแต่เวลา 08.30-10.30 น. ซ่ึงผู้วิจัยได้ทาการวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง การหาค่าของเลขโดดในแต่ละหลักของจานวนนับไม่เกิน 1,000 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหา ความรู้ 5E โดยมผี ลการวัด ดงั ตารางท่ี 4 ผลการวดั ผลสัมฤทธิ์ทางคณิตศาสตร์ วงรอบที่ 3 ต่อไปน้ี ตาราง 4 ผลการวัดผลสัมฤทธิท์ างคณติ ศาสตร์ วงรอบท่ี 3 รายการประเมนิ เลขที่ เ ีขยนคาอ่าน ร้อยละ เขียนเ ็ปน ัตวเลข ่คาประจาห ัลก 100 เ ีขยนในรูปกระจาย 90 รวมคะแนน 100 100 2 3 3 2 10 12 3 32 9 22 3 31 9 32 3 32 9 42 3 32 9

40 52 3 32 9 100 62 3 12 8 80 72 3 32 9 100 82 3 12 8 80 92 3 32 9 100 10 2 3 32 9 100 11 2 3 32 9 100 12 2 3 32 9 100 13 2 3 32 9 100 14 2 3 32 9 100 15 2 3 31 9 90 16 2 3 32 9 100 17 2 3 32 9 100 18 2 3 32 9 100 19 2 3 32 9 100 20 2 3 32 9 100 21 2 3 31 9 90 22 2 3 31 9 90 23 2 3 32 9 100 24 2 3 32 9 100 25 2 3 32 9 100 26 2 3 31 9 90 27 2 3 31 9 90 ขั้นท่ี 3 ขน้ั สะทอ้ นการปฏบิ ตั ิ (Reflection) จากการวจิ ัยปฏบิ ตั กิ ารในวงรอบท่ี 3 พบวา่ การจดั กระบวนการการเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์ เร่ือง การ หาค่าของเลขโดดในแต่ละหลักของจานวนนับไม่เกิน 1,000 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5E ประสบผลสาเร็จตามเกณฑ์การประเมินที่ตั้งไว้ คือ นักเรียนทุกคนต้องผ่านเกณฑ์การประเมินร้อยละ 80 ขึ้นไป หลังจากการจัดการเรียนรู้ในวงรอบที่ 3 พบว่านักเรียนท้ังหมด 27 ราย ผ่านเกณฑ์การประเมินจานวน 27 ราย ถอื ได้วา่ การพฒั นาผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนคณติ ศาสตร์ เรอ่ื ง การหาค่าของเลขโดดในแต่ละหลักของจานวนนับไม่ เกนิ 1,000 โดยใชก้ ารจัดการเรียนรู้แบบสบื เสาะหาความรู้ 5E ซ่ึงประสบผลสาเรจ็ ตามวัตถปุ ระสงค์ของการวิจัยใน ครั้งนี้ คือ

41 1. นกั เรียนมผี ลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นคณิตศาสตร์ เร่ือง การหาคา่ ของเลขโดดในแต่ละหลักของจานวนนับ ไม่เกนิ 1,000 ของนกั เรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 2 โดยใช้การจดั การเรียนรแู้ บบสืบเสาะหาความรู้ 5E ที่สงู ขึน้ 2. ได้วิธีการสอนที่เหมาะสมในเนื้อหา เร่ือง การหาค่าของเลขโดดในแต่ละหลักของจานวนนับไม่เกิน 1,000 ของนกั เรยี นระดบั ช้ันประถมศึกษาปีที่ 2 ซ่ึงจากการสัมภาษณ์ครูประจาชั้น พบว่านักเรียนสามารถเขียนตัวเลขและตัวหนังสือแทนจานวน และสามารถบอกจานวนของส่ิงต่าง ๆ แสดงตามส่ิงต่าง ๆ ท่ีกาหนดและการเขียนแสดงจานวนในรูปกระจาย และนักเรียนมีทักษะการสื่อสาร ทักษะการฟัง ทักษะการคิด ทักษะการแก้ไขปัญหาทางคณิตศาสตร์ท่ีดีข้ึน ทั้งน้ี จากการสมั ภาษณ์นกั เรียน พบว่า นักเรียนมคี วามรู้ ความเขา้ ใจ และสามารถอธบิ าย ในเรือ่ ง การหาค่าของเลขโดด ในแตล่ ะหลกั ของจานวนนบั ไม่เกิน 1,000 รวมถงึ นักเรยี นมีความช่ืนชอบในรายวชิ าคณิตศาสตร์และมเี จตคติท่ีดีต่อ รายวชิ าคณติ ศาสตร์ หลงั จากการทากจิ กรรมการเรียนร้ใู นรูปแบบสืบเสาะหาความรู้ 5E ในครงั้ นี้