Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การงาน-ม.3

การงาน-ม.3

Published by ครูแว่นใหญ่, 2019-01-19 22:33:59

Description: การงาน-ม.3

Keywords: การงาน,ชั้น3

Search

Read the Text Version

หนังสอื เรียน รายวิชาพน้ื ฐาน​ กาเรทงคาโนนอโลาชยีพี มแ.ล3ะ ช้ันมัธยมศึกษาป​ ท่ี 3 กลมุ สาระการเรยี นรศู ลิ ปะ ตามหลักสูตรแกนก​ ลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐานพุทธศักราช 2551 ผู้เรยี บเรยี ง ผศ. ดร.สุภาวดี ช่วงโชติ รศ.จริยา เดชกุญชร สายใจ เจริญร่นื ผตู้ รวจ เรวดี บุญแยม้ นราธิศร์ พานิชสมสมบตั ิ ธนยิ สหพงศ์ บรรณาธิการ อัญญารัตน์ วบิ รู ณ์ชาติ

หนงั สอื เรยี น รายวชิ าพ้ืนฐาน การงานอาชพี และเทคโนโลยี ม. 3 ชนั้ มธั ยมศึกษาปท ่ี 3 กลุ่มสาระการเรยี นรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 สงวนลิขสิทธ์ติ ามกฎหมาย หามละเมดิ ทำ ซ้ำ ดัดแปลง เผยแพร สว นหน่ึงสวนใด เวน แตจะไดรับอนญุ าต ผูเ้ รียบเรยี ง ผศ. ดร.สภุ าวดี ชว งโชติ รศ.จริยา เดชกญุ ชร สายใจ เจริญร่นื ผตู้ รวจ เรวด ี บญุ แยม นราธศิ ร์ พานชิ สมสมบตั ิ ธนิย สหพงศ์ บรรณาธิการ อัญญารตั น วบิ รู ณช าติ ISBN 978-616-8047-20-0 บรษิ ทั ​กรพฒั นายิ่ง​จาํ กัด เลขท่ี 23/34–35 ชนั้ 3 หอ้ ง 3B ถนนตรีมิตร แขวงตลาดน้อย เขตสมั พันธวงศ์ กรงุ เทพฯ 10100

คํานํา หนงั สอื เรยี น รายวชิ าพน้ื ฐาน การงานอาชพี และเทคโนโลยี ม. 3 เลม น้ี จดั ทำขน้ึ ตามหลกั สตู ร แกนกลางการศึกษาข้นั พืน้ ฐานฐานพุทธศกั ราช 2551 สำหรับนักเรียนช้นั มัธยมศึกษาปท่ี 3 โดย มีเปาหมายใหนักเรียนและครูใชเปนสื่อในการจัดการเรียนรูเพ่ือพัฒนานักเรียนใหมีคุณภาพตาม มาตรฐานที่กำหนดไวในหลักสูตร มสี มรรถนะสำคญั ดา นการส่อื สาร การคิดการแกปญ หา การใช ทักษะชีวิต และการใชเทคโนโลยี ตลอดจนพัฒนานักเรียนใหมีคุณลักษณะอันพึงประสงค และ ทำ ประโยชนใ หส งั คม เพอ่ื ใหส ามารถดำ รงชวี ติ อยรู ว มกบั ผอู น่ื ในสงั คมไทยและสงั คมโลกไดอ ยา ง มคี วามสุข หนงั สอื เรยี น รายวชิ าพนื้ ฐาน การงานอาชพี และเทคโนโลยเี ลม น้ี ยดึ แนวคดิ การจดั การเรยี น รูที่เนนผูเรียนเปนสำคัญใชหลักการสงเสริมใหนักเรียนมีความรูความเขาใจธรรมชาติของการงาน อาชพี และเทคโนโลยี และสามารถนำ ความรไู ปประยกุ ตใ ชใ นชวี ติ ประจำ วนั ไดอ ยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ และยั่งยืน โดยพัฒนานักเรียนแบบองครวมอยูบนพื้นฐานของการบูรณาการความคิดรวบยอด ทเี่ นน ใหน กั เรยี นเรยี นรดู ว ยการปฏบิ ตั ิ (Active Learning) และเรยี นรโู ดยใชส มองเปน ฐาน (Brain- Based Learning) เนนการเรียนรูใหตรงกับรูปแบบการเรียนรู (Learning Style) เนนทักษะท่ี สรา งเสรมิ ความเขา ใจทค่ี งทนของนกั เรยี นซง่ึ เปน ผลลพั ธป ลายทางทต่ี อ งการใหเ กดิ ตามหลกั สตู รการ จดั ทำ หนงั สอื เรยี น รายวชิ าพน้ื ฐาน การงานอาชพี และเทคโนโลยเี ลม น้ี คณะผจู ดั ทำซง่ึ เปน ผเู ชย่ี วชาญ ในสาขาวิชาและการพัฒนาสื่อการเรียนรู ไดศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 อยางลึกซึ้ง ทั้งดานวิสัยทัศน หลักการ จุดมุงหมาย สมรรถนะสำคัญของ นกั เรียน คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค มาตรฐานการเรียนรู ตวั ช้ีวดั ช้นั ป สาระการเรียนรแู กนกลาง แนวทางการจัดการเรียนรู และการวัดและประเมินผลการเรียนรู แลวจึงนำองคความรูที่ไดมา ออกแบบหนว ยการเรียนรู แตล ะหนว ยการเรยี นรูป ระกอบดว ยตัวช้วี ัดชั้นป ผังมโนทศั นส าระการ เรยี นรู ประโยชนจากการเรียน คำถามชวนคดิ เนอ้ื หา นานานารู แหลง สืบคน ขอ มูล ผงั มโนทศั น สรปุ เนอ้ื หา กจิ กรรมเสนอแนะ โครงงาน การประยกุ ตใ ชใ นชวี ติ ประจำวนั และคำถามทบทวน ซง่ึ องค ประกอบเหลา นจ้ี ะชว ยสง เสรมิ ใหน กั เรยี นเกดิ ความเขา ใจทค่ี งทน และเกดิ การเรยี นรอู ยา งครบถว น ตามหลักสตู ร หวงั เปน อยา งยง่ิ วา หนงั สอื เรยี น รายวชิ าพน้ื ฐาน การงานอาชพี และเทคโนโลยี ม. 3 จะชว ย สนบั สนนุ ใหนกั เรียนไดพ ฒั นาทกั ษะพ้นื ฐานในการทำ งาน การจดั การ การคดิ สรา งสรรคแ ละการ ใชเทคโนโลยเี พือ่ เพ่ิมประสิทธภิ าพในการดำรงชีวติ บรรลุตามจุดมงุ หมายของหลกั สูตร คณะผูจŒ ดั ทำ

คําช้แี จง หนงั สอื เรยี น รายวชิ าพนื้ ฐาน การงานอาชพี และเทคโนโลยี ม. 3 เลม นไ้ี ดอ อกแบบหนว ยการเรยี นรู ใหแตละหนวยการเรยี นรปู ระกอบดว ย 1. ตัวชี้วัดชั้นป เปนเปาหมายในการพัฒนานักเรียนแตละชั้นป ซ่ึงสอดคลองกับมาตรฐานการ เรยี นร ู มรี หัสของมาตรฐานการเรียนรแู ละตวั ช้วี ัดช้นั ปก าํ กบั ไวห ลังตวั ชวี้ ัดชั้นป เชน ง 1.1 ม. 3/1 (รหัส แตละตัวมีความหมายดังน้ี ง คอื กลมุ สาระการเรยี นรู การงานอาชีพและเทคโนโลย ี 1.1 คอื สาระท ่ี 1 มาตรฐานการเรียนรขู อท ่ี 1 ม. 3/1 คือ ตวั ชวี้ ดั ช้ันมธั ยมศกึ ษาปท ่ี 3 ขอท ่ี 1) 2. สาระการเรียนรู้ เปนการนาํ เสนอขอบขายเนื้อหาทน่ี กั เรียนจะไดเรียนรใู นระดบั ช้ันน้นั ๆ 3. ประโยชน์จากการเรียน นําเสนอไวเพ่ือกระตุนใหนักเรียนนําความรู ทักษะจากการเรียนไป ประยุกตใ ชในชวี ิตประจําวนั 4. คําถามชวนคดิ (คาํ ถามนํา–กจิ กรรมนาํ ) เปน คาํ ถามหรือสถานการณเ พ่อื กระตุนใหน ักเรยี น เกิดความสงสัยและสนใจท่ีจะคนหาคาํ ตอบ 5. เน้ือหา เปนเนือ้ หาที่ตรงตามสาระ มาตรฐานการเรยี นรู ตวั ชว้ี ัดชัน้ ป  และสาระการเรยี นรแู กน กลาง โดยแบง เนอื้ หาเปน ชวง ๆ แลว แทรกกจิ กรรมพัฒนาการเรยี นรูท่พี อเหมาะกับการเรียน รวมทัง้ มี การนาํ เสนอดว ยภาพ ตาราง แผนภมู ิ และแผนทค่ี วามคดิ เพอ่ื เปนสอ่ื ใหนกั เรียนสรางความคิดรวบยอด และเกิดความเขาใจที่คงทน 6. เรอ่ื งนา่ รู้ (ความรเู้ สรมิ /เกรด็ ความร)ู้ เปน ความรเู พอ่ื เพม่ิ พนู ใหน กั เรยี นมคี วามรกู วา งขวางขน้ึ โดยคดั สรรเฉพาะเรอ่ื งทีน่ กั เรียนควรร ู 7. กจิ กรรมเรยี นร.ู้ ..สปู่ ฏบิ ตั ิ (กจิ กรรมพฒั นาการเรยี นร)ู้ เปน กจิ กรรมทก่ี าํ หนดไวเ มอ่ื จบเนอ้ื หา แตละตอนหรอื แตละหวั ขอ เปน กจิ กรรมที่หลากหลาย ใชแ นวคดิ ทฤษฎตี า ง ๆ ท่ีสอดคลอ งกบั เนอ้ื หา เหมาะสมกบั วัย และพฒั นาการดานตา ง ๆ ของนักเรียน สะดวกในการปฏบิ ตั ิ กระตนุ ใหนกั เรยี นไดค ดิ และสง เสริมใหศึกษาคน ควา เพมิ่ เติม มีคาํ ถามเปน การตรวจสอบผลการเรียนรขู องนักเรียน ไดออกแบบ กิจกรรมไวอยางหลากหลาย และมีมากเพียงพอที่จะพัฒนาใหนักเรียนเกิดการเรียนรูตามเปาหมายของ หลกั สตู ร โดยครผู สู อน/นกั เรยี นสามารถนาํ กจิ กรรมดงั กลา วมาใชป ฏบิ ตั ใิ นชว งกจิ กรรมลดเวลาเรยี นเพม่ิ เวลารไู ด 8. ผงั มโนทศั น์สรปุ เนอื้ หา ไดจดั ทาํ บทสรปุ เปนผังมโนทัศน (Concept Map) เพ่อื ใหน กั เรียนได ใชเ ปนบทสรุปทบทวนความรู โดยวธิ กี ารจนิ ตภาพจากผงั มโนทัศนท ไี่ ดส รุปเนอื้ หาทีไ่ ดจัดทาํ ไว 9. แหล่งสืบค้นขอ้ มูล เปน แหลง การเรยี นรตู า ง ๆ ตามความเหมาะสม เชน เว็บไซต  หนงั สือ สถานที่ หรือบุคคล เพือ่ ใหน ักเรียนศึกษาคนควา เพิม่ เตมิ ใหสอดคลอ งกบั เร่อื งทเี่ รียน 10. กจิ กรรมเสนอแนะ เปนกจิ กรรมบรู ณาการทักษะที่รวมหลักการและความคดิ รวบยอดในเรื่อง ตา ง ๆ ที่นกั เรยี นไดเ รยี นรไู ปแลวมาประยุกตใชในการปฏบิ ัตกิ จิ กรรม

11. โครงงาน เปน ขอ เสนอแนะในการกาํ หนดใหน กั เรยี นปฏบิ ตั โิ ครงงาน โดยเสนอแนะหวั ขอ โครง งานและแนวทางการปฏิบัติโครงงานท่ีสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดช้ันปของหนวยการ เรยี นรูนน้ั เพ่ือพฒั นาทกั ษะการคดิ การวางแผน และการแกป ญ หาของนักเรยี น 12. การประยุกต์ใช้ในชีวิตประจําวัน เปนกิจกรรมท่ีเสนอแนะใหนักเรียนไดนําความรู ทักษะใน การประยกุ ตความรูในหนว ยการเรยี นรนู นั้ ไปใชในชีวติ ประจาํ วนั 13. คาํ ถามทบทวน เปน คําถามท่ตี อ งการใหนกั เรียนไดส ะทอนความคดิ ในเน้ือหาทไ่ี ดศ กึ ษา โดย เนน การนําหลักการต้ังคําถามสะทอ นคิด (RCA) มาจัดเรียงเปน คําถามตามเน้อื หาทนี่ ักเรยี นไดเรียนรู 14. ภาคผนวก เปน ความรเู สริมประกอบการศกึ ษาคน ควา สาํ หรับนกั เรียน 15. บรรณานุกรม เปน รายชอื่ หนังสือ เอกสาร หรือเวบ็ ไซตท ีใ่ ชค นควา อา งอิงประกอบ การเขยี น 16. คาํ อภธิ านศพั ท ์ เปน การนาํ คาํ สาํ คญั ทแ่ี ทรกอยตู ามเนอื้ หามาอธบิ ายใหค วามหมาย และจดั เรยี ง ตามลําดับตวั อกั ษร เพ่อื ความสะดวกในการคน ควา

สารบญั สาระที่ 1 การดำ�รงชีวิตและครอบครัว หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 1 ธรุ กจิ เบอื้ งต้น ..............................1 1. รูจ้ กั ธรุ กจิ .....................................................2 2. ประเภทและรูปแบบของธรุ กิจ...........................4 3. ทกั ษะการจัดการธุรกิจ....................................3  ผังมโนทัศน์สรุปเน้ือหาหนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 1.......12  กจิ กรรมเสนอแนะ.......................................14  โครงงาน ...................................................14  การประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตประจำ�วนั 1���������������������15  คำ�ถามทบทวน1�������������������������������������������15 หน่วยการเรยี นรู้ที่ 2 การจัดการธุรกจิ การทำ�เฟอร์นิเจอร์ แบบนอ็ คดาวน.์ ...........................16 1. งานอาชีพการทำ�เฟอรน์ เิ จอรแ์ บบนอ็ คดาวน1์ ������17 2. การจดั การธรุ กจิ การทำ�เฟอร์นิเจอร์แบบ นอ็ คดาวน ์.................................................23  ผังมโนทัศนส์ รุปหนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 2...............31  กิจกรรมเสนอแนะ.......................................32  โครงงาน..................................................32  การประยุกต์ใช้ในชวี ิตประจำ�วัน3���������������������33  คำ�ถามทบทวน3�������������������������������������������33

สารบัญ หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 3 การจดั การธุรกจิ ขายพันธพ์ุ ืช...........34 1. งานอาชีพขายพนั ธุพ์ ืช..................................35 2. การจัดการธรุ กจิ ขายพันธพุ์ ชื ..........................40  ผังมโนทัศนส์ รุปหนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 3...............46  กจิ กรรมเสนอแนะ.......................................47  โครงงาน..................................................47  การประยุกต์ใช้ในชวี ิตประจำ�วนั 4���������������������47  คำ�ถามทบทวน4�������������������������������������������48 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 4 สำ�รับครวั ไทย4�����������������������������49 1. อาหารสำ�รบั สำ�หรับครอบครวั 0�������������������������50 2. การประกอบอาหารประเภทสำ�รับ5���������������������55 3. การจดั อาหารประเภทสำ�รบั 6����������������������������63  ผังมโนทศั นส์ รุปเนอ้ื หาหน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 4.......67  กิจกรรมเสนอแนะ.......................................68  โครงงาน..................................................68  การประยุกต์ใช้ในชวี ติ ประจำ�วนั 6���������������������69  คำ�ถามทบทวน6�������������������������������������������69

สารบัญ หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 5 สร้างสรรค์งานผ้า.........................70 1. ความรู้เบอ้ื งตน้ เกีย่ วกับการตดั เย็บ...................71 2. การตัดเย็บเส้อื ผ้าและของใช้ที่ทำ�จากผา้ 7������������77 3. การจัดการเสอ้ื ผา้ อย่างมีประสทิ ธิภาพ...............82  ผังมโนทัศน์สรุปหนว่ ยการเรียนรู้ที่ 5...............94  กจิ กรรมเสนอแนะ.......................................96  โครงงาน ...................................................96  การประยกุ ตใ์ ช้...........................................97  คำ�ถามทบทวน9�������������������������������������������97 หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 6 บรรจภุ ณั ฑส์ ร้างสรรคไ์ ด้................98 1. ความรู้ท่วั ไปเก่ยี วกบั บรรจภุ ัณฑ.์ .....................99 2. การออกแบบบรรจุภัณฑ์.............................. 102 3. การประดษิ ฐบ์ รรจภุ ณั ฑ์.............................. 105  ผงั มโนทศั นส์ รุปหนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 5............. 110  กิจกรรมเสนอแนะ..................................... 111  โครงงาน................................................ 111  การประยกุ ต์ใช้ในชีวิตประจำ�วัน1������������������� 112  คำ�ถามทบทวน1����������������������������������������� 113

สารบัญ สาระท่ี 2 การออกแบบและเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 7 เทคโนโลยีมีระดบั ...................... 113 1. เทคโนโลยีระดบั พื้นบา้ นหรือ ภมู ิปญั ญาทอ้ งถิน่ ...................................... 114 2. เทคโนโลยีระดบั กลาง................................ 117 3. เทคโนโลยรี ะดบั สงู ................................... 119 4. เทคโนโลยกี บั การพัฒนาประเทศ.................. 124  ผงั มโนทศั น์สรุปหนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 7............. 126  กิจกรรมเสนอแนะ..................................... 127  โครงงาน ................................................ 127  การประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตประจำ�วนั 1������������������� 128  คำ�ถามทบทวน1����������������������������������������� 128 หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 8 สรา้ งเครอื่ งใช้ด้วยเทคโนโลย.ี ....... 129 1. การออกแบบเคร่อื งใช้................................ 130 2. การเขยี นภาพฉายและการจำ�ลองแบบ1������������ 132 3. อุปกรณแ์ ละระบบท่เี ก่ยี วขอ้ งกับการ สรา้ งเครอ่ื งใช.้ ......................................... 135 4. การสรา้ งเคร่อื งใชต้ ามกระบวนการ เทคโนโลย ี ............................................. 139  ผงั มโนทัศนส์ รปุ หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 8............. 148  กิจกรรมเสนอแนะ..................................... 150  โครงงาน ................................................ 150  การประยุกตใ์ ช้ในชีวติ ประจำ�วัน1������������������� 151  คำ�ถามทบทวน1����������������������������������������� 151

สารบญั สาระท่ี 4 การอาชพี หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 9 เสน้ ทางสงู่ านอาชีพ..................... 152 1. การหางานหรอื ตำ�แหน่งวา่ ง1������������������������� 153 2. แนวทางเข้าสู่อาชพี ................................... 156 3. การประเมินทางเลอื กอาชีพ.......................... 163  บทสรปุ หน่วยการเรียนรู้ท่ี 9........................ 171  การประยกุ ต์ใช้ในชีวติ ประจำ�วนั 1������������������� 173  โครงงาน................................................ 173  การประยุกต์ใชใ้ นชวี ติ ประจำ�วัน1������������������� 174  คำ�ถามทบทวน1����������������������������������������� 174  บรรณานกุ รม........................................... 175  คำ�อภิธานศัพท์1���������������������������������������� 176

1หหนนว่วยยกกาารรเรเร�ยียนนรรูททู้ ี่ ี่ ธรุ กจิ เบ้อื งตน ตวั ช้ว� ัดชน้ั ป และ อภิปรายการทำงานโดยใชท ักษะการจัดการเพอื่ การประหยดั พลังงาน ทรพั ยากร สิ่งแวดลอม (ง 1.1 ม. 3/3) ผังมโนทศั นส าระการเรย� นรู จ�ดมงุ หมายของธุรกจิ ประโยชนข องธรุ กิจ กลยุทธใน รจู ักธรุ กจิ การประกอบธรุ กิจ ทกั ษะการจัดการธรุ กิจ ธุรกิจเบ้อื งตน ประเภท รูปแบบ ของธุรกจิ ของธรุ กิจ ทักษะการจัดการ ทกั ษะการจัดการ ดา นระบบคน ดา นระบบงาน ประเภทและรูปแบบของธรุ กิจ ประโยชนจ ากการเรียน คาํ ถามชวนคิด 1. เขา ใจความหมาย จดุ มงุ หมาย และประโยชน 1. ธุรกิจมคี วามสำคัญตอ การดำรงชวี ติ ของธรุ กิจ ของมนษุ ยอยา งไร 2. แยกประเภทและรูปแบบของธุรกิจได 2. ผูท่จี ะประสบความสำเร็จในการประกอบ 3. อธิบายทักษะท่ีจำเปนในการจัดการธุรกิจ ธรุ กจิ ควรมีคุณสมบัติดา นใดบาง ได คาํ ถามนาํ

2 หนงั สือเรยี น รายวิชาพนื้ ฐาน การงานอาชพี และเทคโนโลยี ม. 3 1. รูจ กั ธรุ กิจ ธรุ กจิ (Business) คอื กจิ กรรมตา ง ๆ ทดี่ ำเนนิ งานเกย่ี วกบั กระบวนการผลติ การจำหนา ย และการบรกิ าร เพือ่ ใหต รงกับความตองการของผูบริโภค 1.1 จุดมุงหมายของธรุ กิจ กำไร ความอยูร‹ อด ความเจรญิ เติบโต ความรบั ผิดชอบตอ‹ สงั คม ผูประกอบการมจี ดุ หมายในการดำเนินธรุ กิจ ดงั นี้ 1. กำไร (Profit) เปนจุดมุงหมายท่ีสำคัญของการดำเนินธุรกิจ ซ่ึงกำไรเปนผลตอบแทน จากการลงทนุ ดว ยสนิ ทรพั ย แรงกาย ความรู ความสามารถ และเปน สงิ่ จงู ใจในการดำเนนิ กจิ กรรม ตา ง ๆ 2. ความอยู‹รอด (Survival) เพ่ือทำหนาท่ีผลิตสินคาหรือบริการแกผูบริโภคและใหธุรกิจ ประสบความสำเร็จ โดยผปู ระกอบการสามารถดำเนินธุรกิจตอ ไปเรอื่ ย ๆ 3. ความเจรญิ เตบิ โต (Growth) การดำเนนิ ธรุ กจิ ตอ งมคี วามเจรญิ เตบิ โต มกี ารขยายขนาด ของกจิ การ มยี อดการผลิตหรือยอดขายเพมิ่ ขึ้น ตลอดจนมสี ินทรัพยเพมิ่ ข้ึน 4. ความรับผิดชอบต‹อสังคม (Social Responsibility) ผูประกอบการตองดำเนินธุรกิจ ใหสอดคลองกับความรับผิดชอบของธุรกิจ คือ มีความซื่อสัตยตอผูบริโภค มีความยุติธรรมกับ ทุกคนในสงั คม และอนุรกั ษส่งิ แวดลอม 1.2 ประโยชนข องธรุ กจิ ธรุ กิจมีประโยชนต อ ประชาชน สังคม และประเทศชาติ ดงั น้ี 1. ผลิตสินคŒาหรือบริการเพื่อตอบสนองความตŒองการของมนุษย เนื่องจากมนุษยมี ความตอ งการสนิ คา หรอื บริการท่แี ตกตางกนั ทั้งท่จี ำเปน ตอ การดำรงชวี ิตและอำนวยความสะดวก สบายในการดำรงชวี ติ องคก รธรุ กจิ จงึ มหี นา ทใ่ี นการผลติ หรอื จดั มาบรกิ ารใหต รงกบั ความตอ งการ ของผบู ริโภค

หนงั สือเรยี น รายวิชาพนื้ ฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 3 3 2. กระจายสินคŒาหรือบริการจากผŒูผลิตไปสู‹ผูŒบริโภค โดยมีการจัดจำหนายหรือบริการให ทว่ั ถงึ ทง้ั ในประเทศและตา งประเทศ เพอ่ื ใหผ บู รโิ ภคไดเ ลอื กซอ้ื สนิ คา หรอื บรกิ ารตามความตอ งการ ของตนเอง 3. ก‹อใหŒเกิดการจŒางงานและสรŒางรายไดŒในทŒองถิ่น กิจกรรมธุรกิจทั้งกระบวนการผลิต การขนสง การจดั จำหนาย และการบริการ จะตอ งใชแรงงานในการดำเนนิ กจิ กรรมเหลานี้ ซ่งึ ทำให เกิดการ จางงาน กอใหเ กดิ รายได ชว ยลดปญ หาการวา งงานและปญหาทางสงั คม 4. เกิดการพฒั นาเทคโนโลยดี าŒ นตา‹ ง ๆ เพื่อตอบสนองความตอ งการของผูบรโิ ภค ผผู ลิต จึงจำเปนตองนำเทคโนโลยีมาใชในการปรับปรุงและพัฒนาสินคาหรือบริการอยูตลอดเวลา เชน การใชเครอ่ื งจกั รท่สี ามารถผลิตสินคาไดใ นปรมิ าณทมี่ ากข้ึน 5. สรŒางรายไดŒใหŒกับรัฐ โดยรัฐจะมีรายไดจากการเก็บภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาจาก ผูประกอบอาชพี ตาง ๆ และภาษีเงินไดน ิตบิ คุ คลจากสถานประกอบการตาง ๆ ซงึ่ รฐั จะนำเงินภาษี เหลานไ้ี ปพฒั นาประเทศหรือปรับปรุงสาธารณปู โภคดา นตา ง ๆ เชน การคมนาคม การไฟฟา 6. ช‹วยพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ธุรกิจบางประเภทมีคุณภาพดีตรงกับความตองการ ของผบู ริโภคท้งั ในประเทศและตา งประเทศ ทำใหสามารถสงสินคา ไปจำหนา ยในตา งประเทศ หาก มีการสง ออกปริมาณมากก็จะนำรายไดเขา ประเทศจำนวนมากเชน กนั ซงึ่ จะสง ผลใหเ ศรษฐกจิ ของ ประเทศดีขน้ึ ตอบสนองความตŒองการข เกดิ การพฒั นาเทค ชว‹ ยพฒั นาเศรษฐกิจ โนโลยี องมนษุ ย เ ิกดการ ŒจางงานและสรŒางรายไดŒ กระจายส‹ูผŒูบริโภค สราŒ งรายไดŒกับรัฐ กจิ กรรมเรยี นร…ู สปู ฎบิ ตั ิ นักเรยี นแบง กลมุ กลมุ ละ 4–5 ศกึ ษาคนควาประโยชนข องธรุ กจิ จากแหลง การเรยี นรูตา ง ๆ แลวนำเสนอผลงานหนา ช้ันเรียน

4 หนังสอื เรียน รายวชิ าพน้ื ฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 3 2. ประเภทและรูปแบบของธุรกิจ 2.1 ประเภทของธุรกิจ ธุรกจิ จำแนกตามลักษณะของการดำเนนิ งานออกเปน 3 ประเภท ดงั นี้ 1. ธุรกิจอตุ สาหกรรม เปนธุรกจิ ท่ดี ำเนนิ การ โดยแปรรปู วตั ถดุ บิ และปจ จยั การผลติ เปน สนิ คา ชนดิ ตา ง ๆ ซงึ่ มที งั้ อตุ สาหกรรมขนาดใหญท ใี่ ชเ ครอ่ื งจกั ร หรือเทคโนโลยี ในการผลติ สินคา อตุ สาหกรรมขนาด กลางและขนาดยอมท่ีนำภูมิปญญาทองถิ่นมาผลิต สินคา โดยผลิตในโรงงานขนาดเล็กหรือใชแรงงาน ในครวั เรอื น ธรุ กจิ พาณชิ ยกรรม 2. ธุรกิจพาณิชยกรรม เปนธุรกิจท่ีดำเนิน การโดยการกระจายสินคาจากแหลงผลิตไปยัง ผบู รโิ ภคอยา งทวั่ ถงึ ซง่ึ มลี กั ษณะเปน การคา สง และ การคาปลกี เชน รา นสะดวกซื้อ หางสรรพสินคา ธรุ กิจพาณชิ ยกรรม 3. ธุรกิจการบริการ เปนธุรกิจที่ดำเนินการ เกย่ี วกบั การบรกิ ารในรปู แบบตา ง ๆ เพอื่ ตอบสนอง ความตอ งการของผบู รโิ ภค เชน ธรุ กจิ การทอ งเทยี่ ว การโรงแรม โรงพยาบาล รานซอมเคร่อื งใชไ ฟฟา ธรุ กจิ พาณชิ ยกรรม

หนงั สือเรียน รายวิชาพน้ื ฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 3 5 รูปแบบธรุ กิจ ขŒอดี ขŒอเสีย 1. กิจการเจาของคนเดียว 1. เจาของกิจการมีอิสระ 1. หากเจาของขาดความรูใน (Sole or SinglePropri- ในการดําเนินการตาง ๆ การดําเนินกิจการ จะมี etorship เปนการประกอบ ไดเ ตม็ ท่ี โ อ ก า ส ป ร ะ ส บ กั บ ค ว า ม ธุรกิจที่มีบุคคล คนเดียว 2. จัดตั้งและเลิกกิจการได ลมเหลวสงู เปนเจาของกิจการและ สะดวก รกั ษาความลับของ 2. จัดหาเงินทุนขยายกิจการ บรหิ ารจดั การธรุ กจิ ทกุ เรอ่ื ง กิจการไดด ี คอนขางยาก ดวยตนเอง เชนแผงลอย 3. ไดรับรายไดหรือกําไรแต 3. ต อ ง รั บ ผิ ด ช อ บ ห นี้ สิ น รา นขายของชำ รา นเสรมิ สวย เพยี งผเู ดยี ว ไมจ ำกัด 4. เสียภาษีแบบภาษีเงินได 4. อายกุ ารดำเนนิ กจิ การขนึ้ อยู บคุ คลธรรมดา กับเจาของกจิ การ 2. หางหนุ สว น (Partnership) 1. ถาหุนสวนแตล ะคนมีความ 1. ถาผูถือหุนสวนบางคนที่ไม เปนการประกอบกิจการ ชำนาญ ความสามารถ และ สจุ รติ หรอื ทำการโดยประมาท ตง้ั แต 2 คนขน้ึ ไป แบง เปน มีประสบการณหลายดาน จะทําใหผูถือหุนสวนอื่น 2 ประเภท ไดแ ก จะทําใหการบริหารธุรกิจ เสียหายไปดวย 1) หางหุน สว นสามญั สำเร็จลุลว งได 2. มีความลา ชา ในการตดั สินใจ (Ordinary Partner- 2. การจดั หาเงนิ ทนุ ทำไดง า ยกวา และอาจเกดิ ความขดั แยง กนั ship) ผูเปนหุนสวนจะ แบบกิจการเจาของคนเดียว ไดงาย เน่ืองจากมีผูถือหุน ตองชำระหนี้สินรวมกัน เพราะมีหุนสวนหลายคน หลายคน โดยไมจํากัดจํานวน สถาบันทางการเงินจึงใหกู 3. มีหน้ีสินไมจํากัด หากไม แบงเปนหางหุนสวน งายกวา สามารถชำระหน้ีของกิจการ สามญั นิตบิ ุคคล (จด 3. จัดต้ังไดงายกวาการจัดต้ัง ไดหมด เจาหนี้สามารถ ทะเบยี น) และหา งหนุ สว น บรษิ ทั จำกดั เพราะมขี อ จำกดั เรียกรองสินทรัพยสวนตัว สามัญนิติบุคคล (ไม ทางกฎหมายนอย ของหุน สว นแตล ะคนได จดทะเบียน) 4. ถอนทนุ คืนไดยาก เพราะมี 2) หา งหนุ สว นจำกดั ขอจํากัดตามขอตกลงใน (Limited Partnership) สัญญาและกฎหมาย ต อ ง จ ด ท ะ เ บี ย น เ ป น นิติบุคคล แบงเปน หางหุนสวนประเภท จํากัดความรับผิดชอบ และหา งหนุ สว นประเภท ไมจ ำกดั ความรบั ผดิ ชอบ

6 หนงั สือเรียน รายวิชาพืน้ ฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 3 รูปแบบธรุ กิจ ขŒอดี ขอŒ เสยี 3. บรษิ ทั จำกดั (Corporation) 1. การจัดการมีประสิทธิภาพ 1. การจัดต้ังยุงยากและเสีย เปนการประกอบกิจการท่ี เน่ืองจากบริษัทมักจะใช คาใชจายสูง เน่ืองจากมี จดทะเบียนเปนนิติบุคคล ผูบริหารมืออาชีพและมี ขอจํากัดทางกฎหมายและ มผี ถู อื หนุ ตง้ั แต 7 คนขน้ึ ไป ระบบการทำงานดีกวาธุรกิจ ห น ว ย ง า น ข อ ง รั ฐ ดู แ ล แบงเปน 2 ประเภท ไดแ ก รปู แบบอ่ืน ๆ อยางเขมงวด 1) บริษัทเอกชนจํากัด มี 2. ผูถือหุนรับผิดชอบเฉพาะ 2. ไมสามารถปกปดความลับ ผถู อื หนุ ไมเ กนิ 100 คน คาหุนที่ตนยังคางจายแก ของกิจการได เพราะตอง 2) บริษัทมหาชนจำกัด มี บริษัทเทาน้ัน ถาบริษัทมี เ ป ด เ ผ ย ข อ มู ล แ ก รั ฐ ผถู อื หุนตง้ั แต 100 คน หนีส้ ินใด ๆ ผูถอื หนุ ไมตอง ตามทก่ี ฎหมายกำหนด ขน้ึ ไป มลี กั ษณะดงั นี้ รับผดิ ชอบ 3. ถาฝายบริหารไมใชผูถือหุน – ผูถือหุน 15 คนขึ้น 3. โอน ขาย หรอื ขยายกจิ การ อาจบริหารงานไมรอบคอบ ไป ไดง า ย เนอ่ื งจากบรษิ ทั จำกดั และทำใหธุรกิจลม เหลว – ไมมีการกําหนดทุน ดูนาเชื่อถือในกลุมของ 4. ผูถ อื หนุ ตอ งเสยี ภาษซี ำ้ ซอน จดทะเบียนขั้นต่ำ บคุ คลและสถาบนั ทางการเงนิ ทั้งภาษีเงินไดนิติบุคคลและ – มลู คาหุน เทา กันและ 4. มคี วามม่ันคงถงึ แมจะมีการ ภาษเี งินไดบุคคลธรรมดา ตองชําระคาหุนคร้ัง เปลยี่ นแปลงเจา ของบรษิ ัท เดียวเตม็ มูลคาหุน – กรรมการมีจํานวน ไมนอยกวา 5 คน และไมน อ ยกวา กง่ึ หนง่ึ ตอ งอยใู นประเทศไทย 4. สหกรณ (Cooperative) 1. กฎหมายใหการสนับสนุน 1. ส ม า ชิ ก ท่ี เ ป น ผู ผ ลิ ต ไ ม เปนการประกอบกิจการท่ีมี ชวยเหลือ เชน ไดรับการ สามารถตง้ั ราคาขายผลผลติ คณะบุคคลตั้งแต 10 คน ยกเวน ไมต อ งเสยี ภาษเี งนิ ได ของตนเองไดตามใจชอบ ขน้ึ ไป ซง่ึ มอี าชพี ความตอ งการ สำหรบั ผบู ริโภค เพราะสหกรณเปน ผูก ำหนด และความสนใจคลา ยคลงึ กนั 2. เปนการรวมสมาชิกเพื่อ 2. หากสมาชิกไมเขาใจหลัก รวมกันจัดตั้งขึ้น แบงเปน ชว ยเหลอื ซึ่งกันและกัน และวธิ กี ารของสหกรณด พี อ 2 ประเภท ไดแก 3. คาใชจายในการดำเนินงาน สหกรณอ าจไมเ จรญิ เทา ทค่ี วร 1) สหกรณจ ำกดั สมาชกิ มี ของสหกรณถูกกวาธุรกิจ 3. สหกรณขาดแรงจูงใจ คือ ความรับผิดชอบจํากัด ประเภทอ่ืน กำไรทน่ี อ ยกวา ธรุ กจิ ประเภท ไมเกนิ จำนวนคาหุนทย่ี ัง 4. สมาชิกไดรับผลประโยชน อน่ื ๆ ใชไ มค รบมลู คา หนุ ทต่ี นถอื โดยทั่วถึง ถาใครทำธุรกิจ 4. มีทุนจํากัดจึงมีผลตอการ 2) สหกรณไ มจ ำกดั สมาชกิ กบั สหกรณไ วม ากกจ็ ะไดร บั บริหารจัดการ ทกุ คนมคี วามรบั ผดิ ชอบ ผลประโยชนสูงตามไปดว ย รวมกันเพื่อหนี้ทั้งปวง ของสหกรณโ ดยไมจ ำกดั

หนงั สอื เรยี น รายวิชาพน้ื ฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 3 7 กิจกรรมเรียนร…ู สปู ฎบิ ัติ นักเรียนแบงกลมุ กลุมละ 4–5 คน สำรวจธุรกจิ ในชมุ ชนใหม ากทีส่ ดุ แลว ระบวุ า เปน ธรุ กิจประเภทใด มรี ปู แบบของธรุ กิจแบบใดบาง แลว นำเสนอผลงานหนา ชน้ั เรยี น 3. ทักษะการจัดการธรุ กิจ การจัดการ คือ กระบวนการวางแผน การจัดองคกร การส่ังการ และการควบคุมธุรกิจใน ดา นงบประมาณ วัสดุ อปุ กรณ บคุ ลากร และระบบสื่อสารใหสำเร็จตามวตั ถุประสงค ทกั ษะการจดั การ คอื การจดั การระบบงานและ จัดระบบคน เพื่อใหไดผลงานสำเร็จตามเปาหมาย 1 อยางมปี ระสิทธภิ าพ ซึง่ มีข้ันตอนดงั นี้ ทกกั าษรจะัดการ 1. การต้ังเปาหมาย คือ การกําหนดสิ่งที่ ตองการไดรับจากการทํางานไวลวงหนา โดย เปา หมายทต่ี ัง้ ข้ึนจะตองเปน เปา หมายเดยี วกัน 2 2. การวเิ คราะหท รพั ยากร โดยทรพั ยากรทเ่ี ปน ปจจัยสำคัญของการจัดการ มี 4 อยาง ซ่ึงนิยม 3 เรียกโดยยอวา 4 M ไดแ ก คน (Man) วสั ดุส่ิงของ (Material) เงนิ (Money) และวธิ ีการ (Method) 3. การวางแผนและการกำหนดทรพั ยากร คอื การกําหนดกิจกรรมไวลวงหนา เพ่ือใหบรรลุ 4 เปา หมายทตี่ ง้ั ไว ซง่ึ เปน หนา ทข่ี องผบู รหิ าร ผจู ดั การ หรอื หัวหนางานท่ตี อ งตัดสนิ ใจ 5 4. การปฏบิ ตั ติ ามแผนและการปรับแผน คอื การดำเนินงานตามแนวทางปฏิบัติงานที่กำหนดไว ใหสำเร็จตามเปาหมาย อาจปรับวิธีการหรือเปลี่ยน แผนทวี่ างไว เพอ่ื หลีกเลี่ยงปญ หาที่อาจเกดิ ขน้ึ 5. การประเมินผล คือ การตรวจสอบวา ไดป ฏบิ ตั งิ านบรรลเุ ปา หมายทกี่ ำหนดไวห รอื ไม โดย ประเมินผลเปนระยะ ๆ เพ่ือนำมาปรับปรุงในสวน ทม่ี ขี อ บกพรอ งและตรวจสอบประสทิ ธภิ าพของการ ทำงาน เมอื่ ทำงานเสร็จส้นิ แลว

8 หนงั สอื เรยี น รายวิชาพืน้ ฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 3 การจัดการดŒานระบบงาน เปนกระบวนการจัดบคุ คลและทรพั ยากร โดยกำหนดฝายตา ง ๆ ที่จะรวมมือกันทำงาน ประกอบดวยการระบุงานท่ีทำและการประสานงานเพื่อใหบรรลุจุดมุงหมาย รว มกัน ผังการจัดองคกร คือ การแสดงขอบขายการแบงงาน ซ่ึงอธิบายเกี่ยวกับตำแหนงและช่ือ ผปู ฏิบัตงิ านท่ีรับผิดชอบในการทำงาน ความสมั พันธใ นการบงั คบั บัญชา และสายการบงั คับบัญชา เพื่อรายงานผลการปฏิบัตงิ าน โครงสราŒ งองคก ร คอื การจดั แบง งาน ความรบั ผดิ ชอบ และอำนาจหนา ทต่ี า ง ๆ ใหเ ปน รปู ธรรม รวมทงั้ การกำหนดรปู แบบการสอ่ื สารและการประสานงาน โดยรปู แบบโครงสรา งขององคก รมดี งั นี้ 1. การจัดโครงสรŒางองคกรตามหนŒาท่ี เปนโครงสรางตามสายการบังคับบัญชาแบบดั้งเดิม ซ่งึ ในแตล ะองคก รจะมีการแยกหนาที่ออกเปนฝา ยตา ง ๆ เชน ฝา ยบคุ คล ฝา ยการตลาด 2. การจัดโครงสรŒางองคกรตามเขตภูมิศาสตร เปนการกำหนดรูปแบบองคกรท่ีขยายตาม พ้ืนทท่ี างภูมิศาสตร เชน ผูจดั การภาคกลาง ผูจดั การภาคเหนือ 3. การจัดโครงสรŒางองคกรแบบเนŒนผลิตภัณฑ เปนการกำหนดภาระหนาท่ีและโครงสราง ขององคกร เชน ผจู ดั การผลิตภัณฑส ำหรบั เด็ก ผจู ัดการผลติ ภณั ฑส ำหรับผใู หญ 4. การจดั โครงสราŒ งแบบเครือขา‹ ย เปน โครงสรางท่กี ระจายหนาทส่ี ำคัญออกไปดว ยการตง้ั เปนบริษัทใหมข้ึนมา โดยสำนักงานใหญทำหนาท่ีเปนศูนยกลางในการประสานงาน เชน บริษัทผู จดั การดานการตลาด บริษัทผูออกแบบสนิ คา

หนงั สอื เรยี น รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 3 9 3.2 ทักษะการจดั การดานระบบคน การวางแผนทรพั ยากรมนษุ ย การประเมินผล การสรรหาและ การปฏบิ ตั ิงาน คัดเลอื กบคุ ลากร การพฒั นาบคุ ลากร มีแนวทางในการจดั การ ดังนี้ 1. การวางแผนทรัพยากรมนุษย เปนการคาดการณความตองการและตอบสนองความ ตองการบุคคลากรขององคกรอยางเปน ระบบ โดยองคก รจะตองทำแผนการจัดหา การใช และการ รักษาทรพั ยากรมนษุ ยท่มี ีอยใู นองคก รใหเ กิดประโยชนสูงสดุ 2. การสรรหาและคัดเลอื กบุคลากร ประกอบดวยข้นั ตอนสำคัญ 4 ขั้นตอน ดังน้ี 1) การวางแผนสรรหา ไดแก การประมาณจํานวนบุคลากร การกําหนดคุณสมบัติ ข้ันตำ่ และการกำหนดเปาหมายการสรรหา 2) การกําหนดกลยุทธการสรรหา ไดแก กําหนดคุณสมบัติของตําแหนง กําหนด วธิ ีการติดตอ และใหขอมูลขาวสารแกผสู มคั ร เตรียมและกำหนดผทู ำการสรรหา 3) การดำเนินกิจกรรมการสรรหา ไดแก การประกาศ การโฆษณาและประชาสัมพันธ การตดิ ตอ บคุ ลากรทต่ี อ งการ และการคดั เลอื กบคุ ลากรทมี่ คี ณุ สมบตั เิ หมาะสมตามจำนวนทต่ี อ งการ 4) การประเมินผลการสรรหา โดยติดตามและตรวจสอบการดำเนนิ การสรรหาวาเปนไป ตามแผนและมปี ระสทิ ธภิ าพหรอื ไม นอกจากนคี้ วรประเมนิ คา ใชจ า ยและเวลาทใี่ ชส ำหรบั การสรรหา วา คมุ คาหรอื ไม 3. การพัฒนาบุคลากร เปนการทำใหบุคลากรในองคกรมีความสมบูรณพรอมทั้งรางกาย อารมณ จิตใจ สังคม สติปญญา และคุณธรรม ซ่ึงจะสงผลใหการทำงานมีประสิทธิภาพ กลยุทธ ในการพัฒนาบคุ ลากร ไดแก 1) การพัฒนาดวยการศึกษาและการพัฒนาตนเอง ผูประกอบการใหการสนับสนุนการ ศกึ ษา หรอื ใหท นุ ไปศกึ ษาดงู านทง้ั ในประเทศและตา งประเทศ เพอ่ื เพม่ิ พนู ความรแู ละทกั ษะในอาชพี แลวนำมาประยุกตใชในการปฏิบัติหนาที่ของตนเอง สำหรับการพัฒนาตนเอง ไดแก การทดลอง ปฏิบตั ิแบบลองผดิ ลองถูก การคิดสรางสรรคส นิ คาใหม และการพัฒนาผลติ ภัณฑ

10 หนงั สือเรียน รายวชิ าพน้ื ฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 3 2) การพัฒนาโดยการฝก อบรม ซ่ึงวิธกี ารอบรมบคุ ลากรมีหลายวิธี เชน – การฝกอบรมปฐมนิเทศ (Orientation Training) โดยจัดกิจกรรมอบรมความรู ขอ มลู องคก ร และวธิ ีการปฏบิ ัติงานใหแกพ นักงานเขาใหม – การฝก อบรมโดยวธิ ฝี ก ปฏบิ ตั งิ านจรงิ (On The Job Training) เปน วธิ กี ารทน่ี ยิ ม ใชก นั อยา งแพรห ลาย เนอื่ งจากผเู ขา รบั การอบรมสามารถนำความรู เทคนคิ และประสบการณจ าก การฝกอบรมไปใชใ นการปฏบิ ัตงิ านอาชพี ของตนเองไดจรงิ – การฝก อบรมทจ่ี ดั ใหม กี ารเรยี นรดู ว ยตนเอง (Programmed Instruction Training) โดยใหศึกษาความรูท่ีเก่ียวของกับการปฏิบัติงานจากตำราและส่ืออิเล็กทรอนิกสตาง ๆ เพ่ือเพ่ิม ประสทิ ธภิ าพในการทำงาน 4. การประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ าน เปน เครอื่ งมอื สำคญั ทผี่ ปู ระกอบการใชเ พอื่ สรา งขวญั และ กำลงั ใจใหแ กผ ปู ฏบิ ตั งิ าน ซงึ่ จะนำไปสกู ารปรบั ปรงุ ประสทิ ธภิ าพการทำงาน การพฒั นาบคุ ลากรให มีคณุ ภาพย่ิงขนึ้ และการจายคา ตอบแทนตามความสามารถ ทักษะพ้ืนฐานสำหรบั ผŒปู ระกอบการ ทักษะพ้นื ฐานทจ่ี ำเปน ในการบรหิ ารจดั การ มีดังนี้ 1. ทกั ษะดŒานความคิด (Conceptual Skill) คอื ความสามารถในการจัดกระบวนการคดิ หาเหตุผลอยางเปนระบบ มีความชำนาญในการวางแผน เม่ือพบปญหาหรือสถานการณท่ีมีความ ซบั ซอ นกส็ ามารถพจิ ารณาปญ หา แลว หาวธิ กี ารแกป ญ หา โดยเลอื กวธิ กี ารทดี่ ที สี่ ดุ และตดั สนิ ใจได ถูกตอ ง 2. ทักษะดŒานมนุษยสัมพันธ (Human Relation Skill) คือ ความสามารถในการติดตอ ประสานกบั ผูอืน่ สรา งความรสู ึกเปน มติ ร และสรางสมั พนั ธภาพที่ดี 3. ทกั ษะดาŒ นเทคนคิ หรอื ความชำนาญในการปฏบิ ตั ิ (Technical Skill) คอื ความสามารถ ในการใชอ ปุ กรณ เครอื่ งมือ และเทคนคิ ตาง ๆ สำหรับปฏิบัติงาน โดยเฉพาะงานชางทกุ ประเภท ดาŒ นเทคนคิ หรือความชำนาญ ทกั ษะดาŒ นความคิด ทกั ษะดาŒ นมนษุ ยสัมพันธ ัทกษะ ในการปฏบิ ตั ิ กจิ กรรมเรียนร…ู สูป ฎิบัติ นกั เรียนแบง กลุม กลมุ ละ 10 คน สมมตุ วิ าเปนองคก รธรุ กิจท่ผี ลิตสินคา หรอื บรกิ าร 1 ชนิด แลว ใหแ ตล ะกลุม จัดทำระบบงานขององคกรตนเองและจัดทำรายงาน

หนงั สือเรียน รายวชิ าพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 3 11 3.3 กลยทุ ธในการประกอบอาชีพ 1. คดิ วเิ คราะหอยางรอบคอบชัดเจน 2. ลงมอื ทำทันทที่ ่ีมโี อกาส 3. เลือโอกาสท่คี ุม คาเสมอ 4. จัดการดานการเงนิ อยา งเครง ครัด 5. จดั ทำแผนธรุ กิจท่เี หมาะสมทันสมยั 6. กำหนดเปาหมายการตลาด 7. พฒั นาสนิ คา หรอื บรกิ ารใหล ำ้ หนา คแู ขง หนง่ึ กา ว 8. สรางเครอื ขายธุรกิจ นานา นา รู ลักษณะทเ่ี ปนโอกาสทางธุรกจิ ไดแ ก – ธรุ กจิ ที่มีขนาดใหญและกำลงั เตบิ โต – ธรุ กจิ ท่มี ีคุณคาตอลูกคา/ผบู รโิ ภค – ธุรกิจทีม่ คี วามเสยี่ งนอยและใหกำไรทยี่ อมรบั ได – ธรุ กจิ ทขี่ น้ึ อยกู บั กระแสความตอ งการของตลาด – ธุรกิจท่ีไดใชศกั ยภาพ (ทักษะ/ประสบการณ) ทม่ี อี ยแู ลว แหลง สืบคนขอ มูล 1. หนังสือ เอกสาร ตำราเก่ียวกับหลักการจัดการ การบริหารการผลิต การจัดการ การผลติ 2. เว็บไซต เชน www. google.com 3. เจาของกจิ การ ครสู อนวชิ าการจดั การ การบรหิ ารธุรกจิ เศรษฐศาสตรเบอ้ื งตน การ บริหารการผลติ 4. หอ งสมดุ มหาวิทยาลยั ทเี่ ปด สอนสาขาการจดั การ บรหิ ารธุรกจิ กิจกรรมเรยี นร…ู สปู ฎิบตั ิ นกั เรยี นรวมกันระดมสมองเก่ียวกับกลยทุ ธใ นการประกอบธุรกิจ แลวสรุปผล

12 หนงั สือเรียน รายวชิ าพ้นื ฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 3 ผงั มโนทศั นส รปุ เนอื้ หาหนวยการเร�ยนรูท ี่ 1 ธุรกิจเบอื้ งตน เรียนรูเกย่ี วกับ กจิ กรรมตา ง ๆ ของมนษุ ยท ีเ่ กี่ยวขอ ง ธรุ กิจ กบั กระบวนการผลติ การจาํ หนาย และ หมายถึง การใหบริการใหตรงกับความตองการ จุดมงุ หมาย ของผบู รโิ ภค เพอื่ ใหไ ดร ายไดห รอื กาํ ไร กาํ ไร เพื่อ ตอบแทน ความอยูร อด ความเจริญเติบโต ประโยชน รบั ผิดชอบตอสงั คม ไดแก ประเภท สนองความตองการของมนุษย ธรุ กิจอตุ สาหกรรม ไดแ ก กระจายสินคา/บริการ ธรุ กิจการพาณชิ ยกรรม กอ ใหเ กดิ การจา งงาน พฒั นาเทคโนโลยีดานตา ง ๆ ธุรกจิ การบรกิ าร สรางรายไดใ หรัฐ พฒั นาเศรษฐกิจของประเทศ รูปแบบ ขอ ดี ขอ เสยี กิจการเจาของคนเดียว  - มีความคลอ งตัวในการบริหาร - มีอตั ราการลมเหลวสงู - จดั ตง้ั และเลกิ กจิ การไดงา ยและสะดวก - หาเงนิ ทนุ ขยายกิจการไดค อนขางยาก - รับรายได/กําไรเพียงคนเดียว - รบั ผิดชอบหน�ส้ นิ ไมจํากดั - เสยี ภาษแี บบภาษเี งนิ ไดบุคคลธรรมดา - อายุกจิ การข้นึ อยกู ับเจาของ - การบริหารลลุ ว งดวยดีถา หุน สว นทกุ คน - หุน สว นอ่ืนจะเสยี หายดว ยถาบางคน มคี วามสามารถและประสบการณ ไมส ุจริต/ประมาทเลินเลอ หา งหุนสวน  - หาเงนิ ทนุ งา ยกวา กจิ การเจา ของคนเดยี ว - ตดั สินใจไดล า ชา และอาจขดั แยงกนั - จัดตง้ั ไดงายกวาบรษิ ทั จํากัด - มีหน้�สนิ ไมจํากัด - ถอนทุนคนื ยาก บรษิ ทั จํากัด - การจดั การมีประสิทธิภาพ - จดั ตัง้ ยงุ ยากและเสยี คา ใชจ า ยสงู  - รับผดิ ชอบเฉพาะหนุ สว นตนเทานัน้ - ไมส ามารถปกปดความลบั ของกจิ การ - โอน/ขาย/ขยายกจิ การไดง า ย ไดทง้ั หมด - มคี วามม�นั คงแมเ ปลยี่ นเจาของบรษิ ัท - ถาฝายบรหิ ารไมใชผ ูถ อื หุนอาจทําให ธรุ กจิ ลมเหลวเพราะบรหิ ารไมรอบคอบ - เสียภาษซี าํ ซอนทัง้ ภาษเี งนิ ไดนิตบิ คุ คล และภาษีเงินไดบคุ คลธรรมดา - ไดรบั ยกเวน ภาษีเงนิ ไดสาํ หรบั ผูบริโภค - ต้ังราคาขายเองไมไ ด - เปน การรวมสมาชิกเพ่ือชวยเหลือกัน - หากสมาชกิ ไมเขาใจหลกั และวธิ ีการ สหกรณ  - คา ใชจ า ยในการดาํ เนนิ งานถกู กวา ธรุ กจิ อน่ื อาจไมเ จรญิ เตบิ โต - สมาชกิ ไดรับผลประโยชนทัว� ถึงตามท่ี - กาํ ไรนอ ยกวา ธรุ กจิ อนื่ ลงทุนไว - ทุนจํากัดมีผลตอ การบริหารจัดการ

หนังสือเรยี น รายวชิ าพื้นฐาน การงานอาชพี และเทคโนโลยี ม. 3 13 ธรุ กิจเบอ้ื งตน เรียนรูเกย่ี วกับ ระบบการจดั การของผจู ดั การที่ใช คอื การจัดการ ไดแ ก ขัน้ ตอน ทั้งศาสตรและศิลปในการดําเนิน กจิ กรรมข้นั ตอนตาง ๆ โดย ที่สําคัญใน ต้ังเปาหมาย อาศยั ทรัพยากรทม่ี ีอยูใหส มั ฤทธิ ธุรกิจ ไดแก วเิ คราะหท รพั ยากร (คน, วัสดสุ ิ�งของ, เงนิ , ผลตามวัตถุประสงคส งู สุด วธิ ีการ) วางแผนและกําหนดทรัพยากร ปฏิบัติตามแผนและปรับแผน ประเมินผล การจัดการระบบงาน หมายถงึ กลยุทธในการประกอบธรุ กจิ การจัดองคก ร (บุคคล + ทรัพยากร) เพ่ือทํางานให ไดแ ก บรรลจุ ดุ มุงหมายรวมกัน เขาใจจดุ ออ น จดุ แข็งของตนเองและคแู ขง โดยใช ใชกลยุทธในการจดั การการตลาด และสง โครงสรางองคกร คือ การจดั แบงงาน ความรับผิดชอบ เสรมิ การขาย และอํานาจหนา ทีต่ าง ๆ ใหเ ห็น และบรกิ ารเมอ่ื มโี อกาสทํากําไรในตลาด มรี ูปแบบการจัด ดังน�้ เปนรปู ธรรม เลอื กโอกาสที่มผี ลไดมากกวา /คุมคา แลว พฒั นากอน ตามหนาท่ี คูแขง ตามเขตภูมิศาสตร ควบคมุ งบประมาณอยา งคมุ คา ประหยดั แบบเนน ผลิตภัณฑ และมี แบบเครือขา ย ประสิทธิภาพ กําหนดทิศทาง/เปาหมายในแผนธรุ กิจให การจดั การระบบคน สอดคลอง มแี ผลสํารองเพือ่ ปอ งกนั ปญ หา มวีแานงวแทผางนดทังนร�้พั ยากรมนษุ ย กําหนดเปาหมายการตลาด สรรหาและคดั เลือกบุคลากร พัฒนาสนิ คา/บรกิ ารใหลํา หนาคแู ขง หนึง� พัฒนาบุคลากร กาว ประเมนิ ผลการปฏบิ ัติงาน สรางเครอื ขายธุรกจิ เพอ่ื รว มมอื ชวยเหลอื และ แลกเปลย่ี นความคดิ กนั

14 หนังสือเรยี น รายวชิ าพ้ืนฐาน การงานอาชพี และเทคโนโลยี ม. 3 กจิ กรรมเสนอแนะ 1. นกั เรียนแบง กลุม กลุม ละ 4–5 คน สมั ภาษณผูที่ประสบความสาํ เร็จในการประกอบ อาชีพเก่ยี วกับวิธีการวิเคราะหความสามารถของตนเอง บันทกึ ความรู แลว สงตัวแทนนําเสนอผล งานหนาชนั้ เรียน 2. ครูเชิญวิทยากรมาใหความรูเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจตาง ๆ ท่ีใชทรัพยากรในชุมชน อยา งมีประสทิ ธิภาพ บันทกึ ความรู แลวอภปิ รายรว มกนั เพอ่ื หาขอสรปุ 3. นักเรียนรวมกันจัดนิทรรศการเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจท่ีเปนมิตรกับสิ่งแวดลอมใน ชมุ ชนของตนเอง เพ่อื ใหผ ทู ่สี นใจไดศ กึ ษา 4. นักเรยี นแบง กลมุ กลมุ ละ 4–5 คน รวบรวมขา วหรือบทความเกย่ี วกบั ธรุ กิจยอดนยิ ม ของคนท่ัวโลก 1 เร่อื ง นาํ เสนอผลงานหนาช้ันเรียน แลวชวยกันคดั เลอื กขา วหรอื บทความไปติด ท่ปี ายนเิ ทศ 5. นกั เรยี นรว มกนั จดั โตว าทญี ตั ติ ความรสู าํ คญั กวา ทกั ษะในการทาํ งาน แลว รว มกนั สรปุ ผล โครงงาน นักเรียนเลือกทําโครงงานจากเรื่องที่กําหนดใหเพียง 1 เร่ือง หรืออาจทําโครงงานอ่ืนตาม ความสนใจ โดยเลือกเรื่องท่ีเก่ียวของกับเนื้อหาท่ีเรียน แลวเขียนโครงงานตามรูปแบบท่ีอาจารย ท่ปี รึกษากําหนด (ซง่ึ อยางนอยควรมีหัวขอ ชื่อโครงงาน อาจารยท ่ีปรกึ ษา หลักการและเหตผุ ล จดุ ประสงค วธิ กี ารดาํ เนนิ งาน และแผนการปฏบิ ตั งิ าน) แลว นาํ เสนออาจารยท ป่ี รกึ ษาเพอ่ื พจิ ารณา อนมุ ัติกอนลงมือทํา เรื่องท่ีกําหนดให 1. การวเิ คราะหค วามสามารถของตนเอง 2. การศกึ ษาผลตอบแทนและสวสั ดกิ ารในการประกอบธุรกิจ 3. กลยทุ ธในการประกอบธรุ กิจ หมายเหตุ โครงงานทเ่ี ลอื กตามความสนใจ ควรไดร บั คาํ แนะนาํ และความเหน็ ชอบจากอาจารย ท่ปี รึกษากอ นดําเนนิ การ และประเมินผลโดยอาจารยท่ีปรกึ ษา ผปู กครอง หรอื กลุมเพอื่ น ในดาน กระบวนการทํางาน รวมท้ังนักเรียนควรมีการแลกเปล่ียนความคิดเห็นและสรุปผลกอนพิจารณา เกบ็ รวบรวมไวใ นแฟมสะสมผลงาน

หนังสอื เรยี น รายวิชาพน้ื ฐาน การงานอาชพี และเทคโนโลยี ม. 3 15 การประยกุ ตใชใ นชวี �ตประจําวัน 1. นกั เรียนสํารวจความสามารถของตนเองวาควรประกอบธรุ กิจประเภทใด ควรศึกษาตอ ดา นใด เพราะเหตุใด แลวสรุปผล 2. นกั เรยี นนาํ ทกั ษะการจดั การมาบรหิ ารจดั การเกยี่ วกบั การใชท รพั ยากรของคนในครอบครวั เพอ่ื ใหป ระหยดั พลังงานและรกั ษาสง่ิ แวดลอม คําถามทบทวน 1. การประกอบธรุ กจิ มจี ุดมงุ หมายสาํ คญั คอื อะไร 2. ลักษณะใดบางท่แี สดงวาธุรกจิ นนั้ มคี วามรบั ผดิ ชอบตอ สงั คม 3. ยกตัวอยา งประโยชนของธรุ กิจ 5 ตัวอยาง 4. “บา นของมนสั ทาํ เครอ่ื งเบญจรงคจ าํ หนา ย” บา นของมนสั ทาํ ธรุ กจิ ประเภทใด เพราะอะไร 5. รปู แบบของธรุ กจิ ใดท่ีผูป ระกอบการมีอาํ นาจในการตดั สนิ ใจอยา งเดด็ ขาด 6. หา งหุน สวนมลี ักษณะการดาํ เนนิ การเหมือนกนั หรือแตกตา งกับบริษัทอยา งไร 7. หลักการสําคัญทส่ี ุดของทกั ษะการจดั การคืออะไร 8. จงอธบิ ายโครงสรางขององคกรแบบเครอื ขายมาพอสังเขป 9. การพฒั นาบุคลากรมีความสําคัญตอองคกรอยา งไร 10. การจะเปนผปู ระกอบการตองเตรียมความพรอ มในดา นใดบา ง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook