Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เล่มที่2_หลักการทำงานและการถอด–ประกอบเครื่องยนต์ช่วงบน+

เล่มที่2_หลักการทำงานและการถอด–ประกอบเครื่องยนต์ช่วงบน+

Published by ประสาน แซ่หลี, 2022-08-20 10:40:54

Description: เล่มที่2_หลักการทำงานและการถอด–ประกอบเครื่องยนต์ช่วงบน+

Search

Read the Text Version

ก คำนำ วิชางานจักรยานยนต์ รหัสวิชา 20101-2102 จัดอยู่ในหมวดวิชาสมรรถนะ วิชาชีพ กลุ่มวิชาชีพเลือก ประเภทวิชาอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างยนต์ สาขางานยาน ยนต์ ตามหลกั สูตรประกาศนียบตั รวิชาชีพ พุทธศกั ราช 2562 สานกั งานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา(สอศ.) กระทรวงศึกษาธิการ ผูเ้ ขียนไดบ้ ริหารสาระการเรียนรู้แบ่งเป็ น 12 เล่ม ตรงตามจุดประสงค์รายวิชา สมรรถนะรายวิชา คาอธิบายรายวิชา ในแต่ละ บทเรียนมุ่งใหค้ วามสาคญั ส่วนที่เป็นความรู้ทฤษฎี หลกั การ กระบวนการ แบบฝึกปฏิบตั ิ และมีคาถามเพ่ือการทบทวน เพ่ือฝึ กทกั ษะประสบการณ์ เร่งพฒั นาบทบาทของผูเ้ รียน เป็นผจู้ ดั การแสวงหาความรู้ เป็นผสู้ อนตนเองได้ สร้างองคค์ วามรู้ใหม่ และบทบาทของ ผูส้ อนเปลี่ยนจากผูใ้ ห้ความรู้มาเป็ นผูจ้ ดั การช้ีแนะ จดั ส่ิงแวดลอ้ มเอ้ืออานวยต่อความ สนใจเรียนรู้ และเป็ นผูร้ ่วมเรียนรู้ จดั ห้องเรียนเป็ นสถานที่ทางานร่วมกนั จดั กลุ่มเรียนรู้ ให้รู้จกั ทางานร่วมกนั ฝึ กความใจกวา้ งมุ่งสร้างสรรค์คนรุ่นใหม่ สอนความสามารถที่ นาไปทางานได้ สอนความรักความเมตตา ความเชื่อมน่ั ความซ่ือสัตย์ เป้าหมายอาชีพอนั ยงั ประโยชน์ เป็นคนดีท้งั กายวาจาใจ มีคุณธรรมจรรยาบรรณทางธุรกิจและวิชาชีพ ส่งเสริมสนับสนุนยทุ ธศาสตร์การพฒั นาระบบคุณวุฒิวิชาชีพให้สอดคลอ้ งตาม มาตรฐานอาชีพ เพอ่ื สร้างภูมิคุม้ กนั เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศ การ พฒั นามาตรฐานการปฏิบตั ิงานระดบั ชาติและการวิเคราะห์หนา้ ที่การงาน เพื่อใหเ้ กิดผล สาเร็จในภาคธุรกิจอุตสาหกรรมและทุกสาขาอาชีพ เป็ นการเตรียมความพร้อมของ ผเู้ รียนเขา้ สู่สนามการแขง่ ขนั ในประชาคมอาเซียน ขอขอบพระคุณท่านอาจารยผ์ ูส้ อนผูป้ ระสาทวิชาความรู้ เอกสารหนังสือท่ีใช้ ประกอบในการเรียบเรียงไว้ ณ โอกาสน้ี ประสาน แซ่หลี

ข สำรบญั หน้ำ ก เร่ือง ข คานา 1 สารบญั 2 คาช้ีแจงสาหรับการใชเ้ อกสารประกอบการเรียน วิชางานจกั รยานยนต์ 3 คาช้ีแจงสาหรับครู 4 คาช้ีแจงสาหรับนกั เรียน 5 บทบาทของนกั เรียน 6 มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ช้ีวดั ช้นั ปี 6 สาระสาคญั 7 จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 10 แบบทดสอบก่อนเรียน 11 กระดาษคาตอบแบบทดสอบก่อนเรียน 22 ใบความรู้เรื่อง หลกั การทางานและการถอด – ประกอบเครื่องยนตช์ ่วงบน 23 แบบฝึกหดั ที่ 1 24 แบบฝึกหดั ที่ 2 40 ใบงานที่ 1 51 ใบงานที่ 2 54 แบบทดสอบหลงั เรียน 55 กระดาษคาตอบแบบทดสอบหลงั เรียน ภาคผนวก

สำรบัญ (ต่อ) ค เร่ือง หน้ำ เฉลยแบบฝึกหดั ท่ี 1 56 เฉลยแบบฝึกหดั ที่ 2 57 เฉลยใบงานที่ 1 58 เฉลยใบงานท่ี 2 60 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน 62 เฉลยแบบทดสอบหลงั เรียน 63 บรรณานุกรม 64

1 คำชี้แจงสำหรับกำรใช้เอกสำรประกอบกำรเรียน วชิ ำงำนจกั รยำนยนต์ เอกสารประกอบการเรียน วชิ างานจกั รยานยนต์ ไดด้ าเนินการจดั ทาท้งั หมด 12 เลม่ ประกอบดว้ ย เล่มท่ี 1 เครื่องมือที่ใชใ้ นงานจกั รยานยนต์ เล่มที่ 2 หลกั การทางานและการถอด – ประกอบเคร่ืองยนตช์ ่วงบน เลม่ ท่ี 3 ระบบส่งกาลงั เลม่ ท่ี 4 งานระบบจ่ายน้ามนั เช้ือเพลิงแบบคาร์บูเรเตอร์ เลม่ ที่ 5 ระบบหลอ่ ลื่น เล่มท่ี 6 ระบบฉีดเช้ือเพลิงแบบอิเลก็ ทรอนิกส์ในรถจกั รยานยนต์ เลม่ ท่ี 7 งานระบบระบายความร้อน เลม่ ท่ี 8 งานระบบไฟฟ้าในรถจกั รยานยนต์ เลม่ ที่ 9 โครงรถ งานระบบบงั คบั เล้ียวและระบบรองรับน้าหนกั เล่มท่ี 10 งานระบบเบรก ลอ้ และยาง เล่มท่ี 11 การบารุงรักษารถจกั รยานยนตแ์ ละการประมาณราคาคา่ บริการ เล่มที่ 12 การแกไ้ ขขอ้ ขดั ขอ้ งรถจกั รยานยนต์ เอกสารประกอบการเรียน วิชางานจกั รยานยนต์ อยู่ในหมวดวิชาสมรรถนะวิชาชีพ กลุ่ม สมรรถนะวชิ าชีพเลือก สาขางานจกั รยานยนต์ หลกั สูตรประกาศนียบตั รวิชาชีพ ( ปวช.) จานวน 12 เล่ม เป็ นเอกสารประกอบการเรียนท่ีมีการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ท่ีแปลกใหม่ ผูเ้ รียนสามารถลงมือ ปฏิบตั ิไดด้ ว้ ยตนเอง และไดร้ ับประสบการณ์จากการเรียนรู้โดยตรง ซ่ึงเอกสารประกอบการเรียนเล่มน้ี เป็นเร่ืองท่ีเก่ียวขอ้ งกบั หลกั การทางานและการถอด – ประกอบเคร่ืองยนตช์ ่วงบน ทาให้ผเู้ รียนเรียนรู้ ด้วยความสนุกสนาน ได้รับความรู้และความเพลิดเพลิน โดยยึดหลักการว่าผู้เรียนทุกคนมี ความสามารถในการเรียนรู้และพฒั นาตนเองได้ รวมท้งั การยึดหลกั ผูเ้ รียนเป็ นศูนยก์ ลาง ตลอดจน สอดคลอ้ งกบั หลกั สูตรประกาศนียบตั รวิชาชีพ พุทธศกั ราช 2562 นักเรียนสามารถนาความรู้และ ทกั ษะในการเรียนรู้ ท่ีได้จากการทากิจกรรมไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวนั และการศึกษาหา ความรู้ตอ่ ไปในอนาคต

2 คำชี้แจงสำหรับครู เอกสารประกอบการเรียน วิชางานจกั รยานยนต์ เล่มที่ 2 หลกั การทางานและการถอด – ประกอบเคร่ืองยนต์ช่วงบน เล่มน้ี ใช้ประกอบการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนสาหรับหลกั สูตร ประกาศนียบตั รวิชาชีพ ( ปวช.) วิทยาลยั การอาชีพนาทวี โดยมีข้นั ตอนการจดั กิจกรรมการเรียนการ สอน ดงั น้ี 1. ครูแจกเอกสารประกอบการเรียน วชิ างานจกั รยานยนต์ เลม่ ที่ 2 หลกั การทางานและ การถอด – ประกอบเครื่องยนตช์ ่วงบน ใหน้ กั เรียน 2. ครูใหน้ กั เรียนศึกษาคาช้ีแจงการใชเ้ อกสารประกอบการเรียน และช้ีแจงเพม่ิ เติม ก่อนลง มือปฏิบตั ิ 3. ครูใหน้ กั เรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน เพอ่ื ดูวา่ นกั เรียนมีพ้ืนฐานความรู้ ความเขา้ ใจ เก่ียวกบั เร่ืองที่เรียนมากนอ้ ยเพยี งใด 4. ครูใหน้ กั เรียนศึกษาเอกสารประกอบการเรียน วิชางานจกั รยานยนต์ เลม่ ที่ 2 หลกั การ ทางานและการถอด – ประกอบเครื่องยนตช์ ่วงบน และใบงานท่ี 1 – 2 เพื่อให้นกั เรียนไดท้ บทวน และเกิดความรู้ ความเขา้ ใจอย่างถกู ตอ้ ง 5. ครูใหน้ กั เรียนทาแบบทดสอบหลงั เรียน เพ่อื ดูวา่ นกั เรียนมีความรู้ ความเขา้ ใจหลงั เรียน มากนอ้ ยเพยี งใด 6. ครูสงั เกตพฤติกรรมคณุ ลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ และบนั ทึกผล 7. ครูตรวจคะแนนและบนั ทึกผลลงในแบบเก็บคะแนนการทาเอกสารประกอบการเรียน วชิ างานจกั รยานยนต์ เลม่ ท่ี 2 หลกั การทางานและการถอด – ประกอบเครื่องยนตช์ ่วงบน เล่มน้ี 8. ครูแจง้ คะแนนใหน้ กั เรียนทราบและชมเชยนกั เรียนพร้อมใหค้ าแนะนาเพมิ่ เติม

3 คำชี้แจงสำหรับนกั เรียน เอกสารประกอบการเรียน วชิ างานจกั รยานยนต์ เลม่ ท่ี 2 หลกั การทางานและการถอด – ประกอบเครื่องยนตช์ ่วงบนเลม่ น้ี ใชป้ ระกอบการจดั กิจกรรมการเรียนรู้สาหรับนกั เรียน ประกาศนียบตั รวิชาชีพ(ปวช.) วิทยาลยั การอาชีพนาทวี โดยมีข้นั ตอนการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ดงั น้ี ศึกษำก่อนลงมือปฏบิ ัตกิ จิ กรรม 1. นกั เรียนศึกษาคาช้ีแจงการใชเ้ อกสารประกอบการเรียน วชิ างานจกั รยานยนต์ ใหเ้ ขา้ ใจ 2. ใหน้ กั เรียนรับเอกสารประกอบการเรียน วชิ างานจกั รยานยนต์ เล่มท่ี 2 หลกั การทางาน และการถอด – ประกอบเคร่ืองยนตช์ ่วงบน 3. นกั เรียนเริ่มทาแบบทดสอบก่อนเรียน เพ่ือประเมินดูวา่ นกั เรียนมีพ้ืนฐานความรู้ ความ เขา้ ใจมากนอ้ ยเพยี งใด 4. นกั เรียนศึกษาเน้ือหาทาความเขา้ ใจใหด้ ีต้งั แตห่ นา้ แรกถึงหนา้ สุดทา้ ยตามลาดบั อยา่ ขา้ ม ข้นั ตอนและทากิจกรรมทา้ ยเลม่ 5. เม่ือพบคาช้ีแจงหรือคาถามในแต่ละเลม่ ของเอกสารประกอบการเรียน ควรอา่ นและทา กิจกรรมอยา่ งรอบคอบ 6. ส่งผลงานการทากิจกรรมการเรียนรู้จากทา้ ยเล่มเอกสารประกอบการเรียน วิชางาน จกั รยานยนต์ เล่มท่ี 2 หลกั การทางานและการถอด – ประกอบเครื่องยนตช์ ่วงบน เพื่อใหค้ รูตรวจ และบนั ทึกผล 7. เม่ือทาแบบฝึกหดั และใบงานเสร็จแลว้ ควรจดั เกบ็ อปุ กรณ์ใหเ้ รียบร้อย 8. เม่ือนกั เรียนทกุ คนทากิจกรรมการเรียนรู้ครบแลว้ ให้นกั เรียนทาแบบทดสอบหลงั เรียน ดว้ ยความต้งั ใจและซ่ือสัตย์ 9. รับฟังการแจง้ คะแนน คาชมเชยและคาแนะนาเพม่ิ เติมจากครู

4 บทบำทของนกั เรียน ครูต้องแจ้งให้นกั เรียนทรำบถงึ บทบำทของนักเรียน ดังต่อไปนี้ 1. นกั เรียนตอ้ งอา่ นคาสง่ั และปฏิบตั ิตามข้นั ตอนอยา่ งรอบคอบ 2. นกั เรียนควรพยายามทากิจกรรมต่าง ๆ ดว้ ยความกระตือรือร้น 3. นกั เรียนตอ้ งต้งั ใจปฏิบตั ิงานอยา่ งจริงจงั ไม่ชวนเพือ่ นพูดคุยออกนอกเรื่อง 4. หลงั จากปฏิบตั ิกิจกรรมแลว้ นกั เรียนจะตอ้ งจดั เกบ็ อุปกรณ์ทกุ ชิ้นเขา้ ที่ใหเ้ รียบร้อย 5. เน่ืองจากมีเวลาจากดั นกั เรียนตอ้ งต้งั ใจทากิจกรรมใหเ้ สร็จอยา่ งรวดเร็ว 6. นกั เรียนตอ้ งใชส้ ื่อหรืออุปกรณ์อยา่ งระมดั ระวงั

5 มำตรฐำนกำรเรียนรู้/ตวั ชี้วดั ช้ันปี มำตรฐำน นาความรู้เร่ืองหลกั การทางานและการถอด-ประกอบเคร่ืองยนตร์ วมท้งั แกไ้ ขขอ้ ขดั ขอ้ งให้ เหมาะสมและถกู ตอ้ ง ดว้ ยความรอบรู้ รอบคอบและอยา่ งระมดั ระวงั ตัวชีว้ ัด 1. นกั เรียนมีความรู้ความเขา้ ใจเร่ืองหลกั การทางานและการถอด-ประกอบเครื่องยนตม์ ีผล การประเมินไม่ต่ากวา่ ร้อยละ 60 2. นกั เรียนปฏิบตั ิกิจกรรมที่กาหนด มีผลการประเมินไม่ต่ากวา่ ร้อยละ 60 3. นกั เรียนมีคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ มีผลการประเมินไม่ต่ากวา่ ร้อยละ 60

6 สำระสำคญั เครื่องยนต์จักรยานยนต์ เป็ นเครื่องยนต์สันดาปภายใน ชนิดใช้น้ามันแก๊สโซลีนเป็ น เช้ือเพลิง ทาหน้าที่เปล่ียนพลังงานความร้อนท่ีเกิดการเผาไหม้ส่วนผสมของน้ามนั เช้ือเพลิงกับ อากาศให้เป็ นพลังงานกล ลักษณ ะของเครื่ องยนต์เป็ นแบบลูกสู บว่ิงกลับไปกลับมา (Reciprocating) จุดประสงค์กำรเรียนรู้ ด้ำนควำมรู้ 1. บอกช่ือโครงสร้างที่สาคญั ของเคร่ืองยนต์ 4 จงั หวะได้ 2. บอกหนา้ ที่ของชิ้นส่วนที่สาคญั ของเคร่ืองยนต์ 4 จงั หวะได้ 3. บอกความหมายของคาจากดั ความเก่ียวกบั การทางานของเครื่องยนตไ์ ด้ 4. อธิบายหลกั การทางานของเครื่องยนต์ 4 จงั หวะได้ 5. อธิบายหลกั การทางานของเครื่องยนต์ 2 จงั หวะได้ ด้ำนทักษะ 1. ปฏิบตั ิงานถอดประกอบและตรวจสอบฝาสูบเครื่องยนต์ 4 จงั หวะ 2. ปฏิบตั ิงานถอดประกอบและตรวจสอบเส้ือสูบเครื่องยนต์ 4 จงั หวะ ด้ำนคณุ ธรรม 1. นกั เรียนมีกิจนิสัยท่ีดีในการทางาน มีความรับผิดชอบทางานดว้ ยความประณีต รอบคอบ ตรงต่อเวลา สะอาด คานึงถึงความปลอดภยั ในการปฏิบตั ิงานและ รักษาส่ิงแวดลอ้ ม 2. นกั เรียนมีความซ่ือสัตย์ ประหยดั มีน้าใจ รู้จกั ทางานเป็นทีม รักษาสมบตั ิ ส่วนรวม และมีจิตอาสา

7 แบบทดสอบก่อนเรียน เร่ือง หลกั การทางานและการถอด – ประกอบเครื่องยนต์ช่วงบน คาสั่งใหน้ กั เรียนเลือกคำตอบท่ีถูกที่สุดเพยี งคำตอบเดียว และทำเคร่ืองหมำยกำกบำท ()ลงใน กระดำษคำตอบ (10 คะแนน) 1. เครื่องยนต์ 4 จงั หวะ เมื่อทำงำนครบ 1 กลวตั ร เพลำขอ้ เหว่ียงจะหมุนกี่รอบ ก. 1 ข. 2 ค. 3 ง. 4 2. แต่ละจงั หวะกำรทำงำนของเครื่องยนต์ 4 จงั หวะ เพลำขอ้ เหวี่ยงหมุนไปประมำณก่ีองศำ ก. 90 ข. 180 ค. 360 ง. 720 3. กำรทำงำนของเคร่ืองยนต์ 4 จงั หวะ ขอ้ ใดกลำ่ วถกู ตอ้ ง ก. จงั หวะดูด ลิ้นไอดีปิ ด/ลิ้นไอเสียเปิ ด ข. จงั หวะดูด ลิน้ ไอดีและลิ้นไอเสียเปิ ดพร้อมกนั ค. จงั หวะดูด ลิ้นไอดีเร่ิมปิ ด/ลิน้ ไอเสียเริ่มเปิ ด ง. จงั หวะดูด ลิน้ ไอดีเปิ ด/ลิน้ ไอเสียปิ ด

8 4. กำลงั งำนของเคร่ืองยนตเ์ กิดข้ึนในจงั หวะใด ก. Intake stroke ข.Compression stroke ค.Power stroke ง. Exhaust stroke 5.ลกู สูบเคล่ือนท่ีข้ึน ลิน้ ไอดีและลิน้ ไอเสียปิ ด คือกำรทำงำนของเคร่ืองยนตใ์ นจงั หวะใด ก. จงั หวะคำย ข. จงั หวะกำลงั ค. จงั หวะอดั ง. จงั หวะดูด 6. ลิ้นไอเสียปิ ดกำลงั จะสนิทในจงั หวะคำย ลิ้นไอดีเร่ิมเปิ ดในจงั หวะดูด มีควำมหมำย ตรงกบั ขอ้ ใด ก. องศำกำรเปิ ด-ปิ ดลิน้ ข. จงั หวะกำลงั ค. โอเวอร์แลป ง. จงั หวะอดั 7. จำกโจทยข์ อ้ 6 มีวตั ถุประสงคเ์ พอื่ อะไร ก. ประจุไอดี ข. เพิม่ แรงดนั ในกระบอกสูบ ค. ลดแรงดนั ในกระบอกสูบ ง. กวำดไล่ไอเสีย

9 8. ในเครื่องยนต์ 2 จงั หวะ เม่ือเครื่องยนตห์ มุนครบ 2 รอบ เกิดจงั หวะงำนจำนวนกี่คร้ัง ก. 1 ข. 2 ค. 3 ง. 4 9. เครื่องยนต์ 2 จงั หวะ กำรประจุไอดีในหอ้ งเพลำขอ้ เหวยี่ งเกิดข้ึนเม่ือใด ก. ลูกสูบเคล่ือนท่ีลง ข. ลกู สูบเคล่ือนท่ีข้นึ ค. ลกู สูบเคลื่อนท่ีข้นึ ช่องไอดีเปิ ด ง. ลกู สูบเคลื่อนที่ลงช่องไอดีเปิ ด 10.เคร่ืองยนต์ 2 จงั หวะ ไอดีถูกดูดเขำ้ กระบอกสูบเมื่อใด ก. ลกู สูบเคลื่อนที่ข้ึน ข. ลกู สูบเคล่ือนท่ีลง ค. ลกู สูบเคล่ือนท่ีข้ึนช่องไอดีเปิ ด ง. ลกู สูบเคล่ือนที่ลงช่องส่งไอดีเปิ ด

10 กระดาษคาตอบแบบทดสอบก่อนเรียน เร่ือง หลกั การทางานและการถอด – ประกอบเคร่ืองยนต์ช่วงบน ช่ือ - สกุล........................................................................ช้นั ................ เลขที่................. ข้อ ก ข ค ง 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. รวม เกณฑก์ ำรประเมิน ผำ่ น (5-10 คะแนน) ไมผ่ ำ่ น (0-4 คะแนน)

11 ใบความรู้ เรื่อง หลกั การทางานและการถอด – ประกอบเคร่ืองยนต์ช่วงบน โครงสร้างและหน้าทขี่ องชิ้นส่วนทส่ี าคัญของเครื่องยนต์ 4 จังหวะ โครงสร้ำงที่สำคญั ของเคร่ืองยนต์ 4 จงั หวะ มีดงั น้ี A :เพลำลกู เบ้ียว (Camshaft) B :ลิน้ ไอดี (Intake valve) C :หอ้ งเผำไหม้ (Combustion Chamber) D :เส้ือสูบ (Cylinder block) E :กำ้ นสูบ (Connecting rod) F :เพลำขอ้ เหวี่ยง (Crankshaft) G :หวั เทียน (Spark plug) H :สปริงลิน้ (Spring) 1 :ลิน้ ไอเสีย (Exhaust valve) J :ฝำสูบ (Cylinder head) รูป 2.1 แสดงโครงสร้ำงที่สำคญั ของเคร่ืองยนต์ 4 จงั หวะ K :แหวนลกู สูบ (Piston ring) ท่ีมำ : สุรพงษ์ พงษศ์ รี.2562. L :ลกู สูบ (Piston) หน้าที่ของชิน้ ส่วนทีส่ าคญั ของเคร่ืองยนต์ 4 จังหวะ มีดงั นี้ 1. เพลาลูกเบยี้ ว (Camshaft) ทำหนำ้ ที่ควบคุม กระเด่ืองกด ลิ้นโดยไปบงั คบั ให้ลิ้นเปิ ด-ปิ ด ตำมกำหนดระยะเวลำกำรทำงำน ของเครื่องยนต์ ทำมำจำกเหล็กหล่อพิเศษชุบผิว เพ่ือให้ทนทำนต่อ กำรสึกหรอดงั รูปที่ 2.2 รูป 2.2 แสดงลกั ษณะของเพลำลกู เบ้ียว ที่มำ : สุรพงษ์ พงษศ์ รี.2562.

12 2.ลิ้น (Valve) ทำหน้ำท่ีเปิ ดให้ไอดีเขำ้ ทำงช่อง ของลิ้นไอดีและเปิ ดให้ไอเสียออกทำง ช่องทำงของไอเสียรวมถึงกำรป้องกนั กำรร่ัวของกำลงั อดั ภำยในกระบอกสูบ ลิ้นของเครื่องยนต์ 4 จงั หวะ จะมีรูปคลำ้ ยดอกเห็ด ทนต่ออุณหภูมิและแรงดนั ที่สูงได้แข็งแรงทนทำน สำมำรถส่งถ่ำย ควำมร้อนไดด้ ี ทำมำจำกวสั ดุพเิ ศษ เช่น เหลก็ ผสมกบั นิกเกิลและโครเมียม ดงั รูปที่ 2.3 รูป 2.3 แสดงลกั ษณะของลิ้น ที่มำ : สุรพงษ์ พงษศ์ รี.2562. 3. ฝาสูบ (Cylinder head) ทำหน้ำท่ีเป็ นส่วนหน่ึงของห้องเผำไหม้ เป็ นท่ีอยู่ของลิ้นไอดี ลิ้นไอเสีย และหัวเทียน ทำดว้ ยอะลูมิเนียมผสมอดั ข้ึนรูป มีปลอกนำลิ้น และเบำะลิ้นติดอยู่ มีควำม ทนทำนต่อควำมร้อนและกำรสึกหรอ สำมำรถรับแรงดนั จำกกำรระเบิดภำยในห้องเผำไหมไ้ ด้ ดงั รูปท่ี 2.4 รูป 2.4 แสดงลกั ษณะของฝำสูบ ที่มำ : สุรพงษ์ พงษศ์ รี.2562. 4. เสื้อสูบ (Cylinder block) ทำหน้ำที่เป็ นท่ีติดต้ังกระบอกสูบ ภำยในมีช่องทำงของ น้ำมนั หล่อล่ืนจำกห้องแคร้งกข์ ้ึนสู่ฝำสูบ มีครีบระบำยควำมร้อน หำกเป็นเส้ือสูบชนิดระบำยควำม ร้อนดว้ ยน้ำ ภำยในเส้ือสูบจะมีท่อทำงของน้ำหลอ่ เยน็ และน้ำมนั หล่อลื่น ทำมำจำก อะลูมิเนียมหล่อ ผสม ส่วนกระบอกสูบทำดว้ ยเหล็กหลอ่ ชนิดพิเศษ ดงั รูปท่ี2.5 รูป 2.5 แสดงลกั ษณะของเส้ือสูบ ท่ีมำ : สุรพงษ์ พงษศ์ รี.2562.

13 5.ก้านสูบ (Connecting rod) ทำหนำ้ ที่ในกำรรับแรง จำกลูกสูบส่งต่อไปยงั เพลำขอ้ เหวี่ยง ปลำยดำ้ นใหญ่จะยดึ ติดอยู่ กบั เพลำขอ้ เหวย่ี งส่วนปลำยดำ้ นเลก็ จะยดึ อยกู่ บั ลูกสูบและมี บชู๊ รองรับ ทำมำจำกเหลก็ กลำ้ หลอ่ พิเศษ ดงั รูปที่ 2.6 รูป 2.6 แสดงลกั ษณะของกำ้ นสูบ ที่มำ : สุรพงษ์ พงษศ์ รี.2562. 6. เพลาข้ อเหว่ียง (Crankshaft)ทำหน้ำที่ เปลี่ยน กำรเคลื่อนท่ีข้ึน-ลงในแนวเส้นตรงของลูกสูบ ให้เป็ นทิศทำงกำรหมุน ทำมำจำกเหล็กหล่อพิเศษ ดงั รูปท่ี2.7 รูป 2.7 แสดงลกั ษณะของเพลำขอ้ เหว่ยี ง ที่มำ : สุรพงษ์ พงษศ์ รี.2562. 7. ลกู สูบ (Piston) ทำหนำ้ ท่ีสร้ำงแรงดูดขณะลกู สูบเคลื่อนที่ลงในจงั หวะดูด สร้ำงกำลงั อดั ในกระบอกสูบ ขณะลกู สูบเคล่ือนท่ีข้ึน และรับแรงจำกกำรระเบิดเพื่อส่งไปยงั เพลำขอ้ เหวี่ยง ทำมำ จำกอะลูมิเนียมผสมหล่อ ข้ึนรูปมีควำมแข็งแรงทนทำน กระจำยควำมร้อนไดด้ ี น้ำหนักเบำ อตั รำ กำรขยำยตวั ทำงควำมร้อนต่ำ มีร่องแหวน 3 ร่อง โดยสองร่องแรกเป็นร่องแหวนอดั ร่องสุดทำ้ ยเป็น ร่องแหวนกวำดน้ำมนั บริเวณดำ้ นบนลูกสูบจะออกแบบใหม้ ีแอ่งขนำดเท่ำกบั ลิ้นพอดีเพ่ือ ป้องกนั ไมใ่ หห้ วั ลกู สูบกระแทกกบั ลิน้ รูป 2.8 แสดงลกั ษณะของลกู สูบ ท่ีมำ : สุรพงษ์ พงษศ์ รี.2562.

14 8.แหวนลูกสูบ (Piston ring) ทำหนำ้ ท่ีป้องกนั กำลงั อดั ภำยในกระบอกสูบร่ัว ส่วนแหวน กวำดน้ำมนั จะทำหนำ้ ที่กวำดน้ำมนั ลงสู่ห้องแคร้งกแ์ ละป้องกนั ไม่ให้น้ำมนั หล่อลื่นผำ่ นเขำ้ ไปเผำ ไหมใ้ นกระบอกสูบ ดงั รูปท่ี2.9 รูป 2.9 แสดงลกั ษณะของแหวนลูกสูบ ที่มำ : สุรพงษ์ พงษศ์ รี.2562. 9. หัวเทียน (Sparkplug) ทำหน้ำท่ีจุดประกำยไฟ เพ่ือเผำไหมส้ ่วนผสมของไอดีภำยใน หอ้ งกระบอกสูบ ช่วงปลำยจงั หวะอดั ของเคร่ืองยนตแ์ กส๊ โซลีนลกั ษณะดงั รูปท่ี 2.10 รูป 2.10 แสดงลกั ษณะของแหวนลูกสูบ ที่มำ : สุรพงษ์ พงษศ์ รี.2562. คาจากดั ความและหลกั การทางานของเครื่องยนต์ 4 จังหวะ กำรศึกษำหลกั กำรทำงำนของเคร่ืองยนตจ์ ำเป็นอยำ่ งยงิ่ ท่ีจะตอ้ งศึกษำเพอ่ื ทำควำมเขำ้ ใจ เก่ียวกบั ควำมหมำยของคำจำกดั ควำมต่อไปน้ี 1. วฏั จักร (Cycle) หมำยถึง จงั หวะกำรทำงำนของเคร่ืองยนต์ อดั ไอดี จงั หวะระเบิด และ จงั หวะคำยไอเสีย ท่ีหมุนเวียนจนครบกลวตั รแลว้ เร่ิมตน้ กำรทำงำนใหม่ในจงั หวะดูด ไอดี

15 2.ตาแหน่งการเคล่ือนท่ขี องลูกสูบ (Dead center) 1. จุดศูนย์ตายบน (Top Dead Center หรือ TDC) หมำยถึง ตำแหน่งท่ีลูกสูบสำมำรถ เคล่ือนที่ข้นึ ไดส้ ูงสุด 2. จุดศูนย์ตายล่าง (Botom Dead Center หรือ BDC) หมำยถึง ตำแหน่งท่ีลูกสูบ สำมำรถเคล่ือนท่ีลงไดต้ ่ำสุด 3. ระยะชัก (Stroke) หมำยถึง ระยะทำงกำรเคลื่อนที่ของลูกสูบจำกตำแหน่งศูนยต์ ำย ล่ำงไปยงั ตำแหน่งศูนยต์ ำยบนหรือระยะกำรเคล่ือนที่จำกตำแหน่งศูนยต์ ำยบนมำยงั ตำแหน่งศูนย์ ตำยล่ำง ดงั รูปที่ 2.11 รูป 2.11 แสดงตำแหน่งกำรเคลื่อนท่ี ที่มำ : สุรพงษ์ พงษศ์ รี.2562. 4. ขนาดความโตกระบอกสูบ (Bore) หมำยถึง ขนำดเส้นผำ่ นศูนยก์ ลำงภำยในของกระบอก สูบ 5. มุมเพลาข้อเหวีย่ ง (Crank angle) หมำยถึง มุมที่เกิดระหว่ำงเส้นผำ่ นศูนยก์ ลำงกระบอก สูบกบั เส้นที่ลำกจำกจุดก่ึงกลำงขอ้ เหว่ียง ผำ่ นขอ้ ท่ียึดกำ้ นสูบออกไป มุมจะเปลี่ยนแปลงสัมพนั ธ์ กบั ตำแหน่งตำยบน (TDC) และศูนยต์ ำยลำ่ ง (BDC) ดงั รูปที่ 2.12 รูป 2.12 แสดงตำแหน่งมมุ เพลำขอ้ เหวยี่ ง ที่มำ : สุรพงษ์ พงษศ์ รี.2562.

16 หลกั การทางานของเคร่ืองยนต์ 4 จงั หวะ (Principle of four-stroke engine) เคร่ืองยนต์ 4 จงั หวะ คำวำ่ “จงั หวะ”หมำยถึงกำรเคลื่อนที่ของลูกสูบจำกตำแหน่งศูนยต์ ำย ล่ำงข้นึ สู่ตำแหน่งศูนยต์ ำยบน หรือจำกตำแหน่งศูนยต์ ำยบนลงมำยงั ตำแหน่งศนู ยต์ ำยลำ่ ง จำนวน 4 คร้ัง ในแต่ละคร้ังเพลำขอ้ เหว่ยี งจะหมุนไปประมำณจงั หวะละ 180 องศำ เมื่อครบหน่ึงกลวตั ร เพลำ ขอ้ เหวี่ยง จะหมุนไป 2 รอบ หรือ 720 องศำ เกิดจังหวะงำน 1 คร้ัง กำรทำงำนของเคร่ืองยนต์ เบนซิน 4 จังหวะ แบ่งได้เป็ น 4 ข้ันตอนโดยพิจำรณำจำกอำกำรที่เกิดข้ึนภำยในกระบอกสูบ ประกอบดว้ ย จงั หวะดูด จงั หวะอดั จงั หวะกำลงั และจงั หวะคำย ดงั น้ี 1. จังหวะดูด (Intake stroke) เมื่อลูกสูบเคล่ือนท่ีลง ปริมำตรภำยในห้องกระบอกสูบ เพ่ิมข้ึน ควำมดันจะลดลง เกิดสุญญำกำศภำยในห้องกระบอกสูบ ลิ้นไอดีเร่ิมเปิ ดทำให้ไอดีจำก คำร์บูเรเตอร์ถกู ดูดเขำ้ สู่กระบอกสูบ ตำมปกติแลว้ ลิ้นไอดีจะเปิ ดก่อนถึงจุดศูนยต์ ำยบนและปิ ดหลงั จุดศูนยต์ ำยล่ำง ทำให้ระยะเวลำในกำรดูดไอดีนำนข้ึน ปริมำณของไอดีท่ีเขำ้ สู่กระบอกสูบมำกข้ึน เป็นผลใหป้ ระสิทธิภำพของเครื่องยนตเ์ พม่ิ ข้นึ ดงั รูปท่ี 2.13 รูป 2.13 แสดงกำรทำงำนในจงั หวะดูด ที่มำ : สุรพงษ์ พงษศ์ รี.2562. 2. จังหวะอดั (Compression stroke) ในจงั หวะน้ี ลูกสูบจะเคลื่อนท่ีข้นึ สู่ตำแหน่งศนู ยต์ ำย บนลิ้นไอดีและลิ้นไอเสียอยู่ในตำแหน่งปิ ดสนิท ไอดีที่ถูกดูดเขำ้ มำภำยในกระบอกสูบจะถูกอดั ตวั ใหเ้ กิดควำมร้อนเพอ่ื ใหไ้ อดีง่ำยตอ่ กำรเผำไหม้ ดงั รูปท่ี 2.14 รูป 2.14 แสดงกำรทำงำนในจงั หวะอดั ที่มำ : สุรพงษ์ พงษศ์ รี.2562.

17 3.จังห วะกาลัง (Power stroke)ก่ อน ท่ี ลูกสู บ จะ เคลื่อนที่ถึงตำแหน่งศูนยต์ ำยบนช่วงปลำย จงั หวะอัด ลิ้นไอดี และลิ้นไอเสียอยู่ในตำแหน่งปิ ดสนิท หัวเทียนจะถูกส่ังให้จุด ประกำยไฟ ทำให้ไอดีที่ถูกอดั ตวั เกิดกำรเผำไหมอ้ ย่ำงรวดเร็ว ผลกั ดนั ลกู สูบและกำ้ นสูบใหเ้ คล่ือนท่ีลง ส่งกำลงั ไปหมุนเพลำ ขอ้ เหวี่ยงตอ่ ไป รูปท่ี 2.15 รูป 2.15 แสดงกำรทำงำนในจงั หวะกำลงั ที่มำ : สุรพงษ์ พงษศ์ รี.2562. 4. จงั หวะคาย (Exhaust stroke)ในจงั หวะคำยลิน้ ไอเสียจะเปิ ด ลูกสูบจะเคล่ือนที่ข้ึน แก๊ส ท่ีถูก เผำไหมจ้ ะถูกขบั ออก และเม่ือลูกสูบเคลื่อนที่ถึงศูนยต์ ำยบนลิ้นไอเสียจะปิ ดและลิ้นไอดีจะ เปิ ดเพอ่ื เร่ิมจงั หวะดูดใหมอ่ ีกคร้ัง ดงั รูปท่ี 2.16 รูป 2.16 แสดงกำรทำงำนในจงั หวะคำย ที่มำ : สุรพงษ์ พงษศ์ รี.2562. ช่ วงระ ยะ เวล ำก ำรเปิ ด –ปิ ดลิ้ น ไอ ดี แล ะ ลิ้น ไอ เสี ย (Valve finding diagram)จะ มี ควำมสัมพันธ์กับประสิทธิภำพกำรทำงำนของเคร่ืองยนต์ โดยลิ้นไอดีจะเปิ ดก่อนที่ลูกสูบจะ เคล่ือนท่ีข้ึนถึงศูนยต์ ำยบนในช่วง ปลำยจงั หวะคำยและปิ ดหลงั ศูนยต์ ำยล่ำง ส่วนลิ้นไอเสียจะเปิ ด ก่อนจุดศูนยต์ ำยล่ำงช่วงปลำยจงั หวะระเบิดและปิ ดหลงั จุดศูนยต์ ำยบน เพ่ือช่วยกวำดไล่ไอเสียใน ช่วงเวลำที่ลิ้นไอดีและลิ้นไอเสียเปิ ดร่วมกนั ขณะที่ลูกสูบเคล่ือนที่ข้ึนในช่วงปลำยจงั หวะคำยและ เร่ิมจงั หวะดูด ช่วงน้ีเรียกว่ำ “โอเวอร์แลป” (Overlap) หรือ กล่ำวอีกนัยหน่ึงว่ำ ช่วงโอเวอร์แลป หมำยถึง ช่วงที่ลิน้ ไอดีเร่ิมเปิ ดในจงั หวะดูด และลิ้นไอเสียปิ ดกำลงั จะสนิทในจงั หวะคำย

18 รูป 2.17 แสดงช่วงเวลำกำรเปิ ด – ปิ ดลิ้น ที่มำ : สุรพงษ์ พงษศ์ รี.2562. โครงสร้างและหน้าที่ของชิน้ ส่วนทีส่ าคัญของเครื่องยนต์จกั รยานยนต์ 2 จงั หวะ โครงสร้ำงท่ีสำคัญของเคร่ืองยนต์จกั รยำนยนต์ 2 จังหวะ จะมีชิ้นส่วนท่ีแตกต่ำงกับ เคร่ืองยนต์ 4 จงั หวะอยู่หลำยชิ้นส่วนดว้ ยกนั โดยเฉพำะชิ้นส่วนท่ีเป็ นฝำสูบ เส้ือสูบ และห้อง เพลำขอ้ เหว่ยี ง ดงั รูปท่ี 2.18 รูป 2.18 แสดงโครงสร้ำงท่ีสำคญั ของ เคร่ืองยนต์ 2 จงั หวะ ท่ีมำ : สุรพงษ์ พงษศ์ รี.2562. หน้าท่ีของชิ้นส่วนทีส่ าคญั ของเคร่ืองยนต์ 2 จังหวะ 1. ฝาสูบ (Cylinder head)ฝำสูบจะถูกติดต้งั อยู่ส่วนบนของกระบอกสูบ ทำหน้ำท่ีเป็ น ส่วนหน่ึงของห้องเผำไหม้ ทำมำจำกอะลมู ิเนียมผสม ทนตอ่ ควำมร้อนไดส้ ูง กระจำยควำมร้อนและ ระบำยควำมร้อนไดด้ ีมีครีบขนำดต่ำงๆ อยโู่ ดยรอบฝำสูบ ท้งั น้ี เพ่ื อเพิ่ ม แผ่นครี บ ระบ ำยควำม ร้อนป ระสิ ท ธิ ภำพ ก ำรระบ ำย ควำมร้อน ส่วนตรงกลำงจะเจำะรูเกลียวสำหรับติดต้งั หัวเทียน ดงั รูปที่ 2.19 รูป 2.19 แสดงลกั ษณะของฝำสูบ ท่ีมำ : สุรพงษ์ พงษศ์ รี.2562.

19 2. เสื้อสูบ (Cylinder)เส้ือสูบเป็ นท่ีติดต้งั กระบอก ภำยในจะมีช่องไอดี ช่องส่งไอดี และช่องไอเสีย ทำมำจำก เหล็กหล่อและอะลูมิเนียม ภำยนอกทำเป็ นครีบเพ่ือระบำย ควำมร้อน ทนตอ่ กำรสึกหรอ ไม่บิดเบ้ียว เน่ืองจำกควำมร้อน ของกำรเผำไหม้ ดงั รูปท่ี 2.20 รูป 2.20 แสดงลกั ษณะของเส้ือสูบ ท่ีมำ : สุรพงษ์ พงษศ์ รี.2562. 3. ลูกสูบ (Piston)ลูกสูบจะเคลื่อนที่ข้ึนลงอยู่ ภำยในกระบอกสูบ ทำหน้ำท่ีรับแรงดันจำกกำรเผำไหม้ ส่งผ่ำนกำ้ นสูบไปยงั เพลำขอ้ เหว่ียงทำมำจำกอะลูมิเนียม ผสมทนต่อแรงดนั และอุณหภูมิท่ีสูงไดด้ ี กำรขยำยตวั ต่ำ ในช่วงท่ีอุณหภมู ิสูง ดงั รูปท่ี 2.21 รูป 2.21 แสดงลกั ษณะของลกู สูบ ที่มำ : สุรพงษ์ พงษศ์ รี.2562. 4. แหวนลูกสูบ (Piston ring)ทำหน้ำท่ีป้องกัน แรงดัน จำก ก ำรเผ ำไห ม้ทั่วผ่ำน ลู ก สู บ แล ะก ระ บ อก สู บ ระบำยควำมร้อนได้ดี ทำมำจำกเหล็กหล่อพิเศษ มีขนำด โตกว่ำเส้นผ่ำนศูนยก์ ลำงภำยนอกของลูกสูบเล็กน้อย มี แหวนลูกสูบ 2 ตวั คือ แหวนอดั ตัวบนและแหวนอดั ตวั ลำ่ งกบั แหวนลำน ดงั รูปท่ี 2.22 รูป 2.22 แสดงลกั ษณะของแหวนลกู สูบ ท่ีมำ : สุรพงษ์ พงษศ์ รี.2562. 5. เรือนเคร่ืองยนต์หรือห้องเพลาข้อเหว่ียง (Crankcase)ทำหน้ำท่ีเป็ นอุปกรณ์สำหรับ ติดต้ัง เพลำขอ้ เหวี่ยง ชุดคลัตช์ และชุดเกียร์ แยกออกเป็ น 2 ส่วนคือ เรือนเคร่ืองยนตด์ ำ้ นซ้ำยและเรือนเครื่องยนต์ดำ้ นขวำ เมื่อนำมำประกอบเข้ำด้วยกันจะทำให้เกิดเป็ นห้อง 2ห้องคือ ห้องเพลำขอ้ เหวี่ยงและห้องเกียร์ ป้องกันกำรรั่วของไอดีและ น้ำมนั หล่อล่ืนดว้ ยปะเก็นหรือปะเก็นเหลว รูป 2.23 แสดงลกั ษณะของหอ้ งเพลำขอ้ เหวีย่ ง ท่ีมำ : สุรพงษ์ พงษศ์ รี.2562.

20 หลกั การทางานของเครื่องยนต์ 2 จังหวะ (Principle of two-stroke engine) กำรทำงำนของเครื่องยนต2์ จงั หวะ หรือเครื่องยนต์ 2 ระยะชกั หมำยถึงเครื่องยนตท์ ี่ลูกสูบ มีกำรเคล่ือนท่ีข้ึน–ลง 2 คร้ัง เพลำขอ้ เหวี่ยงหมุน 1 รอบ เกิดจงั หวะงำน 1 คร้ัง สำหรับกำรทำงำน ของเคร่ืองยนต์ 2 จงั หวะน้ีจำเป็นตอ้ งพิจำรณำกำรทำงำนใน 2 ส่วน คือ ส่วนท่ีเป็นหอ้ งกระบอกสูบ และส่วนที่เป็นหอ้ งเพลำ ขอ้ เหวีย่ ง ซ่ึงมีหลกั กำรทำงำนดงั น้ี 1.จังหวะอัดและประจุไอดีในห้องเพลาข้อเหว่ียง เมื่อลูกสูบเคลื่อนข้ึนปริมำตรของห้อง เพลำขอ้ เหวี่ยงเพิ่มข้ึนจะทำให้เกิดสุญญำกำศภำยในห้องเพลำขอ้ เหวี่ยง ขณะที่ส่วนล่ำงของลูกสูบ เปิ ดช่องไอดี ส่วนผสมไอดีจำกคำร์บูเรเตอร์ถูกดูดเขำ้ มำประจุภำยในห้องเพลำขอ้ เหว่ียง ในเวลำ เดียวกนั ที่ส่วนบนของลกู สูบเคลื่อนที่ข้นึ ไปปิ ดช่องไอเสียและช่องส่งไอดี ส่งผลใหไ้ อดีภำยในหอ้ ง กระบอกสูบ จะถกู อดั ตวั ดงั รูปที่ 2.24 รูป 2.24 แสดงจงั หวะอดั และประจุไอดี ที่มำ : สุรพงษ์ พงษศ์ รี.2562. 2.จังหวะกาลงั ขณะท่ีลูกสูบเลื่อนข้ึน ก่อนถึงจุดศูนยต์ ำยบนเลก็ นอ้ ย หัวเทียนถูกส่ังให้จุด ประกำยไฟเผำไหมไ้ อดีในหอ้ งเผำไหม้ ทำใหเ้ กิดแรงดนั ผลกั ดนั ลกู สูบให้เคล่ือนท่ีลง ส่งกำลงั ผ่ำน กำ้ นสูบไปยงั เพลำขอ้ เหว่ียง ดงั รูปที่ 2.25 รูป 2.25 แสดงจงั หวะกำลงั ท่ีมำ : สุรพงษ์ พงษศ์ รี.2562.

21 3. จงั หวะคายและอัดไอดีในห้องเพลาข้อเหวี่ยง เมื่อลูกสูบเล่ือนลงหัวลกู สูบส่วนบนจะเริ่ม เปิ ดช่องไอเสีย ทำให้แก๊สท่ีถูกเผำไหมเ้ คลื่อนท่ีออกทำงช่องไอเสีย ขณะเดียวกันท่ีส่วนล่ำงของ ลกู สูบเคล่ือนที่ลงมำปิ ดช่องไอดี ทำใหไ้ อดีในหอ้ งเพลำขอ้ เหว่ียงถูกอดั ดงั รูปท่ี2.26 รูป 2.26 แสดงจงั หวะคำยและอดั ไอ ดีในหอ้ งเพลำขอ้ เหวย่ี ง ท่ีมำ : สุรพงษ์ พงษศ์ รี.2562. 4. จังหวะดูดและกวาดไล่ไอเสียเม่ือลูกสูบเคลื่อนที่ลงต่อไปจนกระทง่ั ส่วนบนของหัว ลกู สูบเปิ ด ช่องส่งไอดีทำให้ไอดีที่อยู่ภำยในหอ้ งแคร้งกถ์ ูกอดั ตวั ผ่ำนช่องส่งไอดีข้ึนสู่ห้องเผำไหม้ ไอดี ส่ วนน้ ี จะเข้ำไป กวำดล้ำงไอเสี ยให้ไอเสี ยท่ีตกค้ำงไหลออกจำกกระบ อกสู บ อย่ำงหมดจด ขณะเดียวกนั ไอดีอีกส่วนหน่ึงก็ยงั คงอยู่ในห้องเผำไหม้ เมื่อลูกสูบเคล่ือนท่ีข้ึนส่วนบนของลูกสูบ ปิ ดช่องส่งไอดีและช่องไอเสีย กำรทำงำนของเครื่องยนตก์ ็จะกลบั ไปเริ่มตน้ ในจงั หวะอดั และประจุ ไอดีในหอ้ ง เพลำขอ้ เหวี่ยงอีกคร้ัง ดงั รูปที่ 2.27 รูป 2.27 แสดงจงั หวะดูดและกวำดไลไ่ อเสีย ที่มำ : สุรพงษ์ พงษศ์ รี.2562.

22 แบบฝึ กหดั ที่ 1 คาส่ัง จงบอกชื่อชิ้นส่วนของเครื่องยนต์ ตำมหมำยเลขท่ีกำหนดให้ .1.............................................................................6............................................................................. .2.............................................................................7............................................................................. .3.............................................................................8............................................................................. .4.............................................................................9............................................................................. .5............................................................................1..0............................................................................

23 แบบฝึ กหดั ที่ 2 คาส่ัง นำตวั อกั ษรจำกรูปที่กำหนดให้ ใส่ลงในช่องวำ่ งหนำ้ ขอ้ ควำมที่มีควำมหมำยสอดคลอ้ งกนั (ก) (ข) (ค) (ง) (จ) (ฉ) (ช) (ซ) (ฌ) (ญ) ..........................1. ทำหนำ้ ที่ควบคุมกระเด่ืองกดลิน้ โดยบงั คบั ใหล้ ิ้นเปิ ด-ปิ ด ตำมจงั หวะ กำรทำงำนของเคร่ืองยนต์ .......................... 2. ทำหนำ้ ที่เปิ ดและปิ ดช่องทำงไอดีและช่องทำงไอเสีย .......................... 3. หนำ้ ท่ีเป็นชิ้นส่วนสำหรับติดต้งั ลิ้น หวั เทียน ปลอกนำลิน้ และเป็นส่วน หน่ึงของห้อง .......................... 4. ทำหนำ้ ท่ีเป็นชิ้นส่วนติดต้งั กระบอกสูบ .......................... 5. ทำหนำ้ ท่ีรับแรงจำกลูกสูบส่งต่อไปยงั เพลำขอ้ เหว่ยี ง .......................... 6. ทำหนำ้ ที่สร้ำงแรงดูดและแรงอดั ในกระบอกสูบ รวมถึงรับแรงจำกกำรระเบิด .......................... 7. ทำหนำ้ ท่ีป้องกนั กำลงั อดั ในกระบอกสูบร่ัวและป้องกนั น้ำมนั หลอ่ ล่ืนเขำ้ หอ้ ง กระบอกสูบ .......................... 8. ทำหนำ้ ท่ีจุดประกำยไฟเพอื่ เผำไหมส้ ่วนผสมของไอดี .......................... 9. ทำหนำ้ ที่เปลี่ยนทิศทำงกำรเคล่ือนท่ีข้ึน-ลงในแนวเส้นตรง ใหเ้ ป็นทิศทำง กำรหมนุ

24 ใบงานท่ี 1 ชื่องาน งำนถอดประกอบลิน้ เคร่ืองยนต์ 4 จงั หวะ จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม/บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง 1. เลือกใชเ้ คร่ืองมือถอด-ประกอบลิ้นเครื่องยนต์ 4 จงั หวะได้ 2. ถอดลิ้นเคร่ืองยนต์ 4 จงั หวะได้ 3. ประกอบลิน้ เคร่ืองยนต์ 4 จงั หวะได้ 4. ตรวจสอบชิ้นส่วนของฝำสูบเคร่ืองยนต์ 4 จงั หวะได้ 5. ประเมินผลกำรตรวจสอบชิ้นส่วนของฝำสูบเคร่ืองยนต์ 4 จงั หวะได้ 6. แสดงพฤติกรรมกำรปฏิบตั ิงำนเป็นกลมุ่ ที่ดีได้ คาส่ัง 1. ใหน้ กั เรียนแบ่งกลมุ่ เป็น 5 กลมุ่ ๆละ 4 คน ปฏิบตั ิตำมใบงำนแบบมีส่วนร่วม 2. ปฏิบตั ิงำนดว้ ยควำมประณีต ถูกตอ้ งเหมำะสมและปลอดภยั 3. นกั เรียนแต่ละกลุ่มปฏิบตั ิงำนใหแ้ ลว้ เสร็จภำยในเวลำ 40 นำที 4. ปฏิบตั ิงำนเสร็จทุกคร้ังตอ้ งทำควำมสะอำดและจดั อุปกรณ์ใหเ้ ป็นระเบียบเรียบร้อย

25 เครื่องมือ 1. ชุดฝึกเครื่องยนต์ Honda Wave 110 I 9.ประแจกระบอกเบอร์ 8,10,12,14,17 2. ประแจวดั แรงบิด 10.บลอ็ กตวั ทีเบอร์ 8 3. ตวั กดสปริงลิ้น 11.ประแจรวมเบอร์ 8,10,12,14,17 4. ดำ้ มขนั ตวั ที 12.ฟิ ลเลอร์เกจ 5. ประแจกระบอกเบอร์ 16( ยำว) 13.ไขควงปำกแบน 6. เวอร์เนียร์คำร์ลิปเปอร์ 0.02 มม. 14.น้ำยำกนั ร่ัว(ทรีบอนด์ 1207 ,1215) 7. ไมโครมิเตอร์ 0.01 มม. 15.กำหยอดน้ำมนั 8. ฉำก 16.ผำ้ สะอำด ข้อควรระวงั 1. ควรตรวจสอบสภำพเครื่องมือก่อนใชง้ ำน 2. ศึกษำเอกสำรประกอบกำรเรียนใหล้ ะเอียดก่อนกำรใชป้ ฏิบตั ิงำน ข้นั ตอนการปฏิบตั งิ าน 1. ถอดหวั เทียน 2. ถอดตวั ตรวจจบั ออกซิเจน

26 3. ถอดตวั ตรวจจบั อณุ หภมู ิน้ำมนั เครื่อง 4. ถอดโบล แหวนรอง ถอดชุดปรับต้งั ควำมตึงโซ่รำวลิน้ 5. ถอดฝำครอบเคร่ืองยนตด์ ำ้ นซำ้ ย โดยคลำยโบลแบบทแยงมมุ

27 6. คลำยโบลฝำครอบฝำสูบ ถอดฝำครอบฝำสูบ 7. หมนุ เครื่องยนตใ์ หอ้ ยใู่ นจงั หวะอดั สุด มำร์คที่ลอ้ แม่เหลก็ ตรงกบั มำร์คท่ีเรือนเคร่ืองยนต์ มำร์คที่เฟื องรำวลิน้ ตรงกบั ขอบฝำสูบ 8. ลอ็ กลอ้ แมเ่ หลก็ ดว้ ยประแจกระบอก ถอดโบลยดึ เฟื องเพลำลูกเบ้ียว ถอดเฟื องเพลำลกู เบ้ียว

28 9. ถอดโบลยดึ ฝำสูบดำ้ นขำ้ ง 2 ตวั คลำยนตั ยดึ ฝำสูบในแนวทแยงมมุ ทีละ ¼ รอบ ถอดนตั ยดึ ฝำสูบ แหวนรอง แผน่ รอง 10. ถอดสปริงและตวั นำกลไกลดกำลงั อดั 11. ถอดฝำสูบ วำงตะแคง หำ้ มเอำหนำ้ สมั ผสั ลง ถอดปะเก็น ถอดปลอกสลกั ฝำสูบ การถอดแยกฝาสูบ 12. ถอดโบลลอ็ กแกนกระเดื่องวำลว์ แลว้ ใชโ้ บลขนำด 5 มม.ขนั เขำ้ ไปในแกนกระเด่ืองวำลว์ ดึงแกนและกระเด่ืองวำลว์ ไอดี-ไอเสียออก

29 13. ถอดโบลยดึ เพลำลกู เบ้ียว ถอดเพลำลูกเบ้ียวออก 14. ถอดวำลว์ ไอดี-ไอเสีย โดยใชเ้ คร่ืองมือกดสปริงวำลว์ ไม่ควรกดสปริงวำลว์ มำกเกินไป 15. ถอดสปริงวำลว์ วำลว์ ไอดี วำลว์ ไอเสีย ซีลกำ้ นวำลว์ แหวนรองสปริงวำลว์

30 การตรวจสอบฝาสูบ 16. ตรวจสอบกำรโก่งของฝำสูบท้งั 5 แนว 17. ตรวจสอบขนำดเสน้ ผำ่ นศูนยก์ ลำงภำยในรูกระเด่ืองลิ้นไอดี-ไอเสีย 18. ตรวจสอบขนำดเสน้ ผำ่ นศูนยก์ ลำงแกนกระเด่ืองลิน้ ไอดี-ไอเสีย

31 19. ควำมสูงอิสระสปริงลิ้นไอดี-ไอเสีย 20. ขนำดเส้นผำ่ นศนู ยก์ ลำงกำ้ นลิ้นไอดี 3 ตำแหน่ง การประกอบชิ้นส่วนฝาสูบ 21. ประกอบแหวนรองสปริงและซีลกำ้ นวำลว์ โดยใหห้ ยอดน้ำมนั หลอ่ ลื่นท่ีซีลกำ้ นวำลว์ ไอดี- ไอเสีย

32 22. หล่อลื่นผวิ สัมผสั กำ้ นวำลว์ ใส่กำ้ นวำลว์ ชำ้ ๆและหมุนเขำ้ ไปในฝำสูบ 23. ประกอบสปริงวำลว์ โดยใหด้ ำ้ นถี่ของสปริงหนั ลง ประกอบแผน่ รองสปริง เลบ็ วำลว์ ใช้ เคร่ืองมือกดสปริงวำลว์ เพ่ือประกอบสปริงวำลว์ (ไมค่ วรกดสปริงวำลว์ มำกเกินไป) 24. ใชค้ อ้ นพลำสติกเคำะเบำๆเพ่ือใหเ้ ลบ็ วำลว์ เขำ้ ท่ี

33 25. ชโลมน้ำมนั ที่เพลำลูกเบ้ียว ลูกปื น ใส่เพลำลกู เบ้ียวโดยใหเ้ ดือยหวั เพลำลูกเบ้ียวหนั ข้นึ ลูก เบ้ียวลดกำลงั อดั หนั ลง ประกอบโบลลอ็ กเพลำลูกเบ้ียว 26. หลอ่ ล่ืนกระเดื่องวำลว์ ท่ีจุดสัมผสั ประกอบกระเดื่องวำลว์ และแกนกระเด่ืองวำลว์ เขำ้ กบั ฝำ สูบ 27. ใชไ้ ขควงหมุนแกนกระเดื่องวำลว์ ไอดีใหร้ ูโบลแกนกระเดื่องวำลว์ ตรง ประกอบโบลยดึ แกนกระเด่ืองวำลว์

34 การประกอบ 28. ประกอบปลอกสลกั ปะเก็นฝำสูบ ร้อยโซ่รำวลิน้ ผำ่ นฝำสูบ ประกอบฝำสูบ 29. ทำน้ำมนั เครื่องท่ีปลอกตวั นำ ประกอบปลอกตวั นำและสปริง ประกอบแผน่ รองและแหวน รอง

35 30. ประกอบนตั ฝำสูบแบบทแยงมุม อตั รำกำรขนั 13 นิวตนั -เมตร 31. ขนั โบลยดึ ฝำสูบใหแ้ น่น 32. หมุนลอ้ แมเ่ หลก็ ใหม้ ำร์คที่ลอ้ แมเ่ หลก็ ตรงกบั มำร์คที่เรือนเคร่ืองยนต์

36 33. จดั เดือยเพลำลกู เบ้ียวหนั ออกจำกฝำสูบ ประกอบเฟื องรำวลิน้ เขำ้ กบั โซ่รำวลิน้ และเพลำลกู เบ้ียว โดยใหเ้ คร่ืองหมำยที่เฟื องรำวลิ้นตรงกบั ขอบฝำสูบ ประกอบโบลยดึ เฟื องรำวลิ้น อตั รำกำรขนั แน่น 8 นิวตนั -เมตร 34. ประกอบชุดปรับต้งั ควำมตึงโซ่รำวลิ้น แหวนรอง โบล อตั รำกำรขนั แน่น 22 นิวตนั - เมตร 35. คลำยโบลดำ้ นบน เติมน้ำมนั เครื่องที่ชุดปรับต้งั ควำมตึงโซ่รำวลิ้น ประกอบโบลกลบั ให้ แน่น

37 36. ทำปะเกน็ เหลวท่ีคร่ึงวงกลมของซีลยำง ประกอบฝำครอบฝำสูบ ขนั โบลยดึ ฝำครอบฝำสูบ อตั รำกำรขนั แน่น 10 นิวตนั -เมตร 37. ประกอบปลอกสลกั และฝำครอบเครื่องยนตด์ ำ้ นซำ้ ย ประกอบโบลและขนั แบบทแยงมมุ 2-3 คร้ังใหแ้ น่น 38. ประกอบตวั ตรวจจบั อุณหภมู ิน้ำมนั เคร่ือง อตั รำกำรขนั แน่น 14 นิวตนั -เมตร

38 39. ประกอบตวั ตรวจจบั ออกซิเจน อตั รำกำรขนั แน่น 25 นิวตนั -เมตร และประกอบเหลก็ ครอบ ปลก๊ั สำยไฟตวั ตรวจจบั ออกซิเจน 40. ประกอบหวั เทียน อตั รำกำรขนั แน่น 16 นิวตนั -เมตร 41. สมำชิกในกลุ่มช่วยกนั ทำควำมสะอำดเครื่องมือ-อปุ กรณ์-ชุดฝึก และจดั วำงใหเ้ ป็นระเบียบ

39 ตารางบนั ทกึ ผล ช่ืองาน งานถอดประกอบลนิ้ เครื่องยนต์ 4 จงั หวะ รำยกำรตรวจสอบ คำ่ ที่วดั ได้ คำ่ มำตรฐำน ผลกำรประเมิน กำรโก่งตวั ของฝำสูบแนวที่ 1 ไม่เกิน 0.05 มม. กำรโก่งตวั ของฝำสูบแนวที่ 2 กำรโก่งตวั ของฝำสูบแนวท่ี 3 กำรโก่งตวั ของฝำสูบแนวท่ี 4 กำรโก่งตวั ของฝำสูบแนวท่ี 5 ø ภำยในรูกระเดื่องลิ้นไอดี นอ้ ยกวำ่ 10.10 มม. ø ภำยในรูกระเด่ืองลิน้ ไอเสีย ø แกนกระเด่ืองลิ้นไอดี มำกกวำ่ 9.91 มม. ø แกนกระเด่ืองลิน้ ไอเสีย ควำมสูงอิสระสปริงลิน้ ไอดี มำกวำ่ 29.70 มม. ควำมสูงอิสระสปริงลิ้นไอดี ø กำ้ นลิ้นไอดี มำกกวำ่ 4.965 มม. ø กำ้ นลิน้ ไอเสีย มำกกวำ่ 4.945 มม. หมายเหตุ ครูผสู้ อนทำกำรตรวจวดั และบนั ทึกคำ่ ไวก้ ่อนนกั เรียนลงปฏิบตั ิงำน

40 ใบงานท่ี 2 ช่ืองาน งำนถอด-ประกอบแหวนลกู สูบเครื่องยนต์ 4 จงั หวะ จดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม/บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง 1. เลือกใชเ้ คร่ืองมือถอด-ประกอบแหวนลูกสูบเคร่ืองยนต์ 4 จงั หวะได้ 2. ถอดแหวนลกู สูบเคร่ืองยนต์ 4 จงั หวะได้ 3. ประกอบแหวนลกู สูบเคร่ืองยนต์ 4 จงั หวะได้ 4. ตรวจสอบชิ้นส่วนของลูกสูบเครื่องยนต์ 4 จงั หวะได้ 5. ประเมินผลกำรตรวจสอบชิ้นส่วนของลกู สูบเคร่ืองยนต์ 4 จงั หวะได้ 6. แสดงพฤติกรรมกำรปฏิบตั ิงำนเป็นกลมุ่ ท่ีดีได้ คาสั่ง 1. ใหน้ กั เรียนแบง่ กลมุ่ เป็น 5 กลุม่ ๆละ 4 คน ปฏิบตั ิตำมใบงำนแบบมีส่วนร่วม 2. ปฏิบตั ิงำนดว้ ยควำมประณีต ถูกตอ้ งเหมำะสมและปลอดภยั 3. นกั เรียนแต่ละกลุม่ ปฏิบตั ิงำนใหแ้ ลว้ เสร็จภำยในเวลำ 40 นำที 4. ปฏิบตั ิงำนเสร็จทกุ คร้ังตอ้ งทำควำมสะอำดและจดั อปุ กรณ์ใหเ้ ป็นระเบียบเรียบร้อย

41 เครื่องมือ 1. ชุดฝึกเครื่องยนต์ Honda Wave 110 I 6.คมี ปำกจิ้งจก 2. ไมโครมิเตอร์ 0.01 มม. 7.ประแจกระบอกตวั ทีเบอร์ 8,10 3. เวอร์เนียคำร์ลิปเปอร์ 0.02 มม. 8.โต๊ะระดบั 4. ฉำก 9.กำหยอดน้ำมนั 5. ฟิ ลเลอร์เกจ 10.ผำ้ สะอำด ข้อควรระวงั 1. ควรตรวจสอบสภำพเคร่ืองมือก่อนใชง้ ำน 2. ศึกษำเอกสำรประกอบกำรเรียนใหล้ ะเอียดก่อนกำรใชป้ ฏิบตั ิงำน ข้นั ตอนการปฏิบัตงิ าน 1. ถอดโบลแหวนรอง ยำงรองโซ่รำวลิ้นออก 2. ถอดเส้ือสูบ ปะเกน็ เส้ือสูบ และปลอกสลกั

42 3. ใชผ้ ำ้ สะอำดปิ ดหอ้ งเพลำขอ้ เหวย่ี ง ถอดคลิ๊ปลอ็ กสลกั ลูกสูบ ถอดสลกั ลกู สูบโดยใช้ ประแจกระบอกตวั ทีดนั ออกออก 4. ถอดแหวนลูกสูบโดยใชน้ ิ้วมือถ่ำงปำกแหวนออกพอประมำณ แลว้ ยกดำ้ นตรงขำ้ มปำก แหวนข้นึ ไม่ควรถ่ำงปำกแหวนมำกเกินไป เพรำะอำจทำใหแ้ หวนลกู สูบเสียหำยได้ 5. ตรวจสอบกำรโก่งตวั ของเส้ือสูบโดยใชฟ้ ิ ลเลอร์เกจและเหลก็ ฉำก

43 6. ตรวจสอบกำรเคลื่อนท่ี ควำมคล่องตวั ของแหวนลูกสูบ 7. ประกอบแหวนลูกสูบแต่ละอนั เขำ้ กบั ส่วนลำ่ งของเส้ือสูบ โดยใชห้ วั ลกู สูบดนั แหวนลกู สูบ ลง วดั ระยะห่ำงปำกแหวน 8. วดั เสน้ ผำ่ ศนู ยก์ ลำงภำยนอกของลูกสูบที่ 10 มม.จำกดำ้ นล่ำงกระโปรงลูกสูบและเป็นมุม 90 องศำจำกรูสลกั ลกู สูบ

44 9. วดั เสน้ ผำ่ นศูนยก์ ลำงภำยในรูสลกั ลูกสูบ 10. วดั เสน้ ผำ่ นศูนยก์ ลำงภำยนอกสลกั ลกู สูบท้งั 3 จุด 11. วดั เสน้ ผำ่ นศูนยก์ ลำงปลำยกำ้ นสูบดำ้ นเลก็

45 การประกอบแหวนลูกสูบ 12. ประกอบแหวนลำนเขำ้ กบั ร่องแหวน โดยใหป้ ำกแหวนอยูต่ รงขำ้ มเครื่องหมำย “IN” 13. ประกอบแหวนกวำดน้ำมนั ท้งั 2 ตวั โดยใหป้ ำกแหวนกวำดน้ำมนั เยอ่ื งไปทำงซำ้ ย 20 มม. เยอ่ื งไปทำงขวำ 20 มม. จำกปำกของแหวนลำน 14. ประกอบแหวนอดั ตวั ที่ 2 โดยใหเ้ คร่ืองหมำย RN หนั ข้ึน

46 15. ประกอบแหวนอดั ตวั ท่ี 1 โดยใหเ้ คร่ืองหมำย R หนั ข้ึน 16. ใชผ้ ำ้ สะอำดปิ ดเรือนเคร่ืองยนต์ เพื่อป้องกนั คล๊ิปลอ็ กกระเดน็ เขำ้ เรือนเคร่ืองยนต์ 17. หล่อลื่นลูกสูบและจดั ปำกแหวนเป็นมมุ 120 องศำ 18. หลอ่ ลื่นปลำยกำ้ นสูบดำ้ นเลก็ สลกั ลกู สูบ