Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Phenomenon-Based Learning โรงเรียนวัดโพธิ์บ้านอ้อย

Phenomenon-Based Learning โรงเรียนวัดโพธิ์บ้านอ้อย

Published by miss_pingzz, 2022-07-20 05:17:54

Description: Phenomenon-Based Learning โรงเรียนวัดโพธิ์บ้านอ้อย

Search

Read the Text Version

แบบการนำเสนอผลงานสถานศึกษาท่ีมวี ธิ ีปฏิบตั ทิ เี่ ป็นเลิศ (Best Practices) ด้านการจัดประสบการณ์การศึกษาปฐมวยั (ด้านครูผู้สอน) จังหวัดนนทบรุ ี ประจำปี 2564 ชื่อผลงาน : การจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรโู้ ดยใช้ปรากฏการณเ์ ปน็ ฐานในห้องเรยี นปฐมวัย : Phenomenon – Based Learning in kindergarten classroom ชอ่ื ผู้นำเสนอผลงาน : นางสาวพิมพ์ลดา วารีวนชิ ตำแหน่ง ครู โรงเรียนวัดโพธบ์ิ า้ นออ้ ย ( ทองดีวิทยานุสรณ์ ) ตำบล บางพดู อำเภอ ปากเกรด็ จงั หวัด นนทบุรี รหสั ไปรษณีย์ 11120 โทร 02-5844218 /081-552-9190 สงั กัด สำนักงานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษานนทบรุ ี เขต 2 E-mail : [email protected] เว็บไซตโ์ รงเรยี น : school.obec.go.th/phoban aoy/ 1

ความเปน็ มาและสภาพปัญหา Phenomenon – Based Learning หรือ การจัดประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์ เป็นฐาน เป็นแนวคิดที่เกิดขึ้นในประเทศฟินแลนด์ราวปี ค.ศ.1980 และได้ผ่านการทดลองและพัฒนาอย่าง ตอ่ เน่ืองจนได้ถูกประกาศใช้อย่างเป็นทางการในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐานฉบับใหม่ของประเทศ ฟนิ แลนดใ์ นปี ค.ศ.2014 (Zhukov, 2015) Phenomenon – Based Learning เป็นแนวทางการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมทักษะการคิดอย่าง มีวิจารณญาณ การคิดสร้างสรรค์ การสื่อสาร การทำงานร่วมกัน และการพัฒนาแบบยั่งยืน ซึ่งเป็นทักษะ การเรียนรู้ที่สำคัญในศตวรรษที่21(Zhukov,2015) มีรากฐานแนวคิดจากทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (constructivism)ท่ีเน้นผเู้ รียนเป็นสำคญั ใหผ้ ้เู รียนไดศ้ ึกษาค้นคว้าในสง่ิ ทต่ี นเองสนใจ เรียนรู้ส่งิ ต่างๆผ่านการ ลงมอื ปฏบิ ัติ จนสามารถค้นพบส่ิงที่ต้องการเรียนรู้ ร่วมกันอภปิ รายและศกึ ษาเพ่ิมเติมจนรู้แจ้ง มีการเช่ือมโยง องค์ความรู้ในศาสตร์ต่างๆแบบองค์รวม ผ่านกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ที่ผู้เรียนให้ความสนใจ (Dougherty,2015) ยิ่งผู้เรียนสามารถเชื่อมโยงองค์ความรู้ที่เรียนจากศาสตร์ต่างๆได้มากเพียงใดกจ็ ะยิ่งทำให้ ผเู้ รียนไดเ้ กดิ การเรียนรู้มากข้นึ เท่าน้นั (AI Kilani,2016) นอกจากนยี้ ังเป็นการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ท่ีเปิด โอกาศให้ผู้เรียนได้ทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม ทำให้ได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และมีบทบาทการเรียนรู้ ในลักษณะเชงิ รกุ ทีม่ ีส่วนรว่ มในการแสวงหาคำตอบไม่ใช่รอรบั ความรู้จากผสู้ อนเพียงฝ่ายเดียว(Rahaan,2016) ข้อมูลพัฒนาการเด็กปฐมวัย โดย สถาบันพฒั นาอนามัยเด็กแหง่ ชาติ กรมอนามยั จากการคัดกรองพัฒนาการเด็กปฐมวัยทั่วประเทศในปี 2562 ครอบคลุมเด็กปฐมวัยร้อยละ 90 มีพัฒนาการ สงสัยล่าช้าร้อยละ 25 โดยจำนวนนี้สามารถติดตามได้ ร้อยละ 92 ทั้งนี้ ส่วนใหญ่พบพัฒนาการล่าช้าในด้าน สตปิ ัญญา ดา้ นภาษา และกลา้ มเนอื้ มัดเลก็ บางส่วนเป็น มาตง้ั แต่คลอด บางส่วนมปี ัญหา ในภายหลัง (พญ.พรรณพิมล วปิ ุลากร อธิบดกี รมอนามัย ในขณะนัน้ กลา่ ว) จากข้อมูลดงั กล่าวทำให้เหน็ ไดว้ า่ พัฒนาการ ท่ีลา่ ช้าของเด็กปฐมวยั นั้นอาจเกดิ ไดจ้ ากความผดิ ปกตแิ ต่กำเนิด อาจเกดิ จากการเลยี้ งดูหรือสภาพแวดลอ้ ม รอบตวั เดก็ รวมถงึ การจัดการเรยี นการสอนในโรงเรียนที่ไม่ได้กระตนุ้ การเรยี นรู้ของเดก็ เท่าทค่ี วร 2

จากประสบการณ์การจัดการเรียนการสอนในระดับชั้นปฐมวัยโรงเรียนวัดโพธิ์บ้านอ้อย (ทองดีวิทยานุสรณ์) ตั้งแต่ปี 2560 จนถึงปัจจุบัน พบว่าเด็กปฐมวัยยังขาดทักษะทางด้านการคิดเชิงวิพากษ์ (Critical thinking) ทักษะการตั้งคำถาม การทำงานร่วมกับผู้อื่น รวมไปถึงยังขาดความคิดสร้างสรรค์ จะสังเกตได้จากการที่เวลาครูตั้งคำถาม เด็กจะสามารถตอบคำถามได้ แต่คำตอบจะคล้ายคลึงกัน หรือตอบ เหมือนกัน ตอบตามเพื่อน และไม่รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น แต่เมื่อกลับกันครูเป็นฝ่ายให้เด็กตั้งคำถาม เกี่ยวกับสิ่งที่ตนเองอยากรู้หรือสิ่งที่สนใจอยากจะเรียนรู้เกี่ยวกับหน่วยการเรียนรู้ นั้นๆ เด็กกลับไม่สามารถ ตั้งคำถามที่อยากรู้ได้ นึกไม่ออกว่าจะตั้งคำถามอย่างไร ทำให้เล็งเห็นได้ว่าเด็กยังขาดความเชื่อมั่น ยังไม่กล้า ทจี่ ะถาม ยังขาดทักษะในการตั้งคำถาม ขาดความคดิ สร้างสรรค์ในการสังเกตสงิ่ ตา่ งๆแล้วเกิดความสงสัยใคร่รู้ เด็กมักรอคอยคำตอบจากครู หรือรอคอยให้ครูสอนเพียงอย่างเดียว เมื่อถึงเวลาที่ต้องทำกิจกรรมที่ต้องใช้ กระบวนการคิดและความคิดสร้างสรรค์ เช่นการวาดภาพต่อเติมจากสิ่งที่มอี ยู่แล้ว หรือการออกแบบสิ่งต่างๆ ตามจินตนาการ เด็กมักขอให้ครูทำเป็นตัวอย่างให้ดูและเมื่อครูทำตัวอย่างให้ ผลงานของเด็กก็จะออกมา เหมือนหรอื คล้ายคลึงกับตวั อย่างของครู เดก็ ยังไม่กล้าคดิ ออกนอกกรอบ ไม่กล้าระบายสีออกนอกเส้น ไม่กล้า ทำอะไรท่แี ปลกหรือแตกต่าง เพยี งเพราะกลัวว่าส่ิงที่ทำนัน้ จะผิด แนวทางการแกป้ ัญหาและพฒั นา เมอ่ื ทราบสภาพปญั หาและไดป้ ระเดน็ ปญั หาทตี่ ้องการแก้ไข สิ่งท่ีต้องดำเนินการต่อไปกค็ อื การวางแผนในการออกแบบแนวการจัดประสบการณ์ทีส่ ามารถสง่ ผลดหี รอื สามารถ แก้ไขปญั หาดังกล่าวได้ จงึ ไดเ้ ริ่มศกึ ษาขอ้ มูลเก่ียวกบั แนวการจัดประสบการณ์ ขาดจินตนาการ ต่าง ๆ ทีส่ อดคลอ้ งกับปัญหาและความตอ้ งการ จึงพบว่าแนวการจัดประสบการณ์ การเรียนรูโ้ ดยใช้ปรากฏการณ์เปน็ ฐาน (Phenomenon – Based Learning) มีกระบวนการการจดั การเรยี นรทู้ ่ีสามารถนำมาปรับใช้ในการแก้ปญั หา “เด็กขาดจินตนาการ คดิ ไม่เป็น แกป้ ัญหาไม่ได้ ทำงานรว่ มกับผูอ้ นื่ ไม่เก่ง” ในเด็กปฐมวยั ของโรงเรยี นวดั โพธบ์ิ า้ นออ้ ย(ทองดีวทิ ยานสุ รณ)์ ได้ คิดไม่เปน็ และในการท่ีจะดำเนินการพัฒนาและแก้ไขปัญหาไดน้ ้นั ต้องอาศัย แก้ปญั หาไม่ได้ ความร่วมมอื จากหลายฝ่าย ทงั้ ผ้บู รหิ าร คณะครู ผ้ปู กครอง และชมุ ชน จงึ เป็นหนา้ ที่ของครูที่จะตอ้ งสอ่ื สาร สร้างความเขา้ ใจในการ เปลย่ี นแปลงแนวการจัดการเรียนการสอนเพ่ือพฒั นาเดก็ ปฐมวัย เพือ่ ให้ทุกฝ่ายทมี่ ีส่วนร่วมเกดิ ความเข้าใจตรงกันและจะทำให้การพัฒนา เดก็ ปฐมวยั นัน้ มีความสมบูรณ์และมีประสทิ ธภิ าพ และโดยเฉพาะอย่างยง่ิ ครผู ้สู อน จะตอ้ งมีการวางแผนการทำงาน ปรบั เปล่ียนรูปแบบการสอน ศึกษาหาความรู้ เก่ยี วกับแนวการจดั ประสบการณด์ งั กล่าวเพือ่ นำมาปรบั ใชแ้ ละพัฒนาผเู้ รียนตอ่ ไป ทำงานรว่ มกับผู้อ่ืนไม่เก่ง 3

LeaHornw To Learn “เรยี นรเู้ พอื่ สร้างกระบวนการเรยี นร้ไู ดด้ ว้ ยตนเอง” จุดประสงคแ์ ละเปา้ หมายของการดำเนนิ งาน จุดประสงค์ในการนำแนวการจัดประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็น ฐาน (Phenomenon – Based Learning) มาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอนเด็กปฐมวัยระดับชั้นอนุบาล ปีท่ี 3 ปกี ารศกึ ษา2562 โรงเรยี นวดั โพธ์ิบ้านอ้อย(ทองดีวิทยานสุ รณ)์ คือ 1. เพื่อสง่ เสรมิ พฒั นาการเดก็ ปฐมวยั ใหม้ ีความสามารถในการคดิ รวบยอด การคิดเชงิ เหตผุ ล การคิดแก้ปญั หาและตดั สนิ ใจ 2. เพอ่ื ส่งเสรมิ พัฒนาการเด็กปฐมวยั ให้มีความสามารถในการทำงานศิลปะตามจนิ ตนาการและ มีความคิดสร้างสรรค์ 3. เพ่อื สง่ เสรมิ พัฒนาการเด็กปฐมวยั ให้มีเจตคติท่ีดีต่อการเรียนรู้ และมีความสามารถในการแสวงหา ความรู้ 4. เพอื่ สง่ เสริมพัฒนาการเดก็ ปฐมวัยให้เกดิ การยอมรบั ความเหมอื นและแตกต่างระหว่างบคุ คล มีปฏิสัมพนั ธท์ ีด่ กี ับผ้อู ่ืน และปฏบิ ัตติ นเบอ้ื งตน้ ในการเป็นสมาชกิ ทด่ี ขี องสังคม โดยกำหนดเป้าหมายเชิงปริมาณคือ เด็กปฐมวยั ระดบั ช้นั อนบุ าลปีที่ 3 ปกี ารศกึ ษา2562 โรงเรยี นวดั โพธบิ์ ้านออ้ ย(ทองดวี ิทยานุสรณ์) ร้อยละ 90 มีความสามารถในการคดิ รวบยอด คิดเชิงเหตผุ ล คิดแกป้ ัญหาและตดั สนิ ใจ มเี จตคตทิ ีด่ ีต่อการเรียนรู้และมีความสามารถในการแสวงหา ความรู้ รวมถึงเกิดการยอมรับความเหมือนและแตกต่างระหวา่ งบุคคล มีปฏสิ มั พนั ธท์ ่ดี ีกับผูอ้ นื่ และ เป็นสมาชิกทดี่ ีของสังคม และมีเปา้ หมายเชิงคณุ ภาพคอื 1. เดก็ ปฐมวยั มคี วามสามารถในการคดิ รวบยอด การคิดเชิงเหตผุ ล การคิดแก้ปัญหาและ ตดั สินใจ 2. เดก็ ปฐมวัยมคี วามสามารถในการทำงานศลิ ปะตามจนิ ตนาการและมีความคดิ สร้างสรรค์ 3. เดก็ ปฐมวัยมีเจตคติทดี่ ีต่อการเรยี นรู้และมคี วามสามารถในการแสวงหาความรู้ 4. เดก็ ปฐมวยั เกดิ การยอมรบั ความเหมอื นและแตกต่างระหว่างบคุ คล มีปฏสิ มั พนั ธ์ท่ีดีกับผู้อื่น 4

Phenomenon – Based Learning in Kindergarten classroom จากการศึกษาสภาพปัญหาและได้กำหนดจุดประสงค์ในการนำแนวการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐาน (Phenomenon – Based Learning) มาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอน เด็กปฐมวัยระดับชั้นอนุบาลปีที่ 3 ปีการศึกษา 2562 โรงเรียนวัดโพธิ์บ้านอ้อย(ทองดีวิทยานุสรณ์) จึงได้เกิด กระบวนการออกแบบผลงานแนวปฏิบัติในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐาน ในหอ้ งเรียนปฐมวยั (Phenomenon – Based Learning in kindergarten classroom) ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 : เมื่อทราบถึงสภาพปัญหาและจุดประสงค์ที่ต้องการพัฒนาแล้ว จึงศึกษาหลักสูตร การศึกษาปฐมวัย 2560 เพื่อให้การพัฒนาเด็กปฐมวัยเป็นไปตามมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามที่ หลักสูตรได้กำหนด พบวา่ ปญั หาที่ตอ้ งการพฒั นาน้ัน เกยี่ วขอ้ งกับพัฒนาการด้านต่าง ๆ ดังนี้ พฒั นาการ มาตรฐาน ตัวบง่ ชี้ สภาพที่พึงประสงค์ (5-6ป)ี พัฒนาการดา้ นสังคม มาตรฐานท่ี 8 8.1 ยอมรับความเหมือน 8.1.1 เล่น และทำกิจกรรม อยรู่ ่วมกับผอู้ นื่ ได้อย่าง และความแตกต่างระหวา่ ง ร่วมกบั เด็กท่ีแตกต่างไปจากตน มคี วามสุขและปฏิบัตติ น บคุ คล 8.2.1 เล่นหรือทำงานร่วมกับ เปน็ สมาชกิ ทีด่ ีของสังคม 8.2 มีปฏสิ ัมพันธท์ ่ีดกี บั ผู้อน่ื เพอ่ื นอย่างมีเป้าหมาย ในระบอบประชาธปิ ไตย 8.3 ปฏิบตั ติ นเบ้อื งตน้ ใน 8.3.1 มีสว่ นรว่ มสรา้ งข้อตกลง อนั มีพระมหากษัตริย์ การเปน็ สมาชิกที่ดขี องสังคม และปฏิบัตติ ามขอ้ ตกลงดว้ ย ทรงเปน็ ประมขุ ตนเอง 8.3.2 ปฏิบัติตนเป็นผู้นำและผู้ ตามได้เหมาะสมกับสถานการณ์ 8.3.3 ประนีประนอมแก้ไขปัญหา โดยปราศจากการใช้ความรุนแรง ด้วยตนเอง พัฒนาการดา้ นสติปัญญา มาตรฐานท่ี 10 10.1 มีความสามารถในการ 10.1.2 จบั คแู่ ละเปรยี บเทยี บ มีความสามารถในการ คิดรวบยอด ความแตกตา่ งหรอื ความเหมือน คดิ ที่เป็นพ้นื ฐานในการ 10.2 มีความสามารถในการ ของสิง่ ต่างๆโดยใช้ลักษณะท่ี เรียนรู้ คิดเชิงเหตผุ ล สงั เกตพบ 2 ลักษณะข้ึนไป 10.3 มคี วามสามารถในการ 10.1.4 เรยี งลำดับส่ิงของ หรอื คดิ แก้ปัญหา และตดั สินใจ เหตุการณ์อย่างน้อย 5 ลำดับ 5

พฒั นาการ มาตรฐาน ตัวบง่ ชี้ สภาพท่พี ึงประสงค์ (5-6ป)ี 10.2.2 คาดคะเนสงิ่ ที่อาจจะ เกิดขน้ึ หรือมสี ่วนร่วมในการลง ความเห็นจากข้อมูลอย่างมี เหตผุ ล 10.3.2 ระบปุ ัญหา สร้าง ทางเลอื กและเลือกวธิ กี าร แกป้ ญั หา มาตรฐานท1่ี 1 11.1 ทำงานศิลปะตาม 11.1.1 สร้างผลงานศลิ ปะ เพื่อ มจี ินตนาการและ จินตนาการและความคิด ส่อื สารความคิด ความรสู้ ึกของ ความคดิ สร้างสรรค์ สร้างสรรค์ ตนเอง โดยมีการดัดแปลงและ 11.2 แสดงทา่ ทาง/ แปลกใหมจ่ ากเดมิ หรือมี เคลอื่ นไหวตามจินตนาการ รายละเอยี ดเพิม่ ขึ้น อยา่ งสร้างสรรค์ 11.2.1 เคลอ่ื นไหว ท่าทางเพื่อ ส่อื สารความคิด ความรสู้ กึ ของ ตนเองอยา่ งหลากหลายหรือ แปลกใหม่ มาตรฐานที่ 12 12.1 มเี จตคติที่ดีตอ่ การ 12.1.1 สนใจหยบิ หนงั สอื มาอ่าน มเี จตคติทดี่ ีตอ่ การเรยี นรู้ เรยี นรู้ และเขียนสื่อความคิดด้วยตนเอง และมีความสามารถใน 12.2 มคี วามสามารถในการ เป็นประจำอย่างต่อเนอื่ ง การแสวงหาความรู้ได้ แสวงหาความรู้ 12.1.2 กระตือรือร้นในการเข้า เหมาะสมกบั วยั รว่ มกิจกรรมตั้งแต่ตน้ จนจบ 12.2.1 คน้ หาคำตอบของขอ้ สงสัยตา่ งๆโดยใชว่ ิธกี ารที่ หลากหลายด้วยตนเอง 12.2.2 ใชป้ ระโยคคำถามว่า “เม่ือไร” “อยา่ งไร” ในการ คน้ หาคำตอบ ขั้นตอนที่ 2 : ศึกษาข้อมูล งานวิจัย และทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง พบว่า หัวใจหลักของการเรียนรู้โดยใช้ ปรากฏการณ์เป็นฐาน หรือ Phenomenon – Based Learning นั้น คือ “Learn How To Learn” คือการเรียนรู้เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้ เริ่มต้นด้วยการสังเกตปรากฏการณ์หนึ่ง ด้วยมุมมองรอบด้าน ศึกษาเรื่องราวหรือปรากฏการณ์ต่าง ๆ ในสภาพความเป็นจริงแบบองค์รวม(Holistic) มาบูรณาการเข้ากับ 6

ประเด็นเรื่อง(Theme) อย่างเป็นธรรมชาติ ด้วยการตั้งคำถามหรือนำเสนอปัญหา เด็กจะได้ร่วมกันหาคำตอบ สำหรับปรากฏณ์การที่เขาสนใจ ช่วยให้เกิดการเรียนรู้ที่แท้จริงมากขึ้นเพราะเด็กจะได้ใช้กระบวนการคิด อย่างเต็มที่ในการแก้ไขสถานการณ์จริง เด็กจะทำหน้าที่เป็นนักแก้ปัญหา ไม่รอคอยให้ครูอธิบายทุกสิ่ง แต่จะ ตื่นตัวตลอดเวลาเพื่อแสวงหาคำตอบ ออกแบบการสำรวจ อธิบายสิ่งที่ต้องการรู้และตั้งคำถามใหม่ ๆ กับตนเอง เป็นการเรียนรู้เชิงรุก (active learning) เปิดโอกาสให้เด็กปฐมวัยได้สรา้ งความรูแ้ ละประสบการณ์ ต่าง ๆ เปลี่ยนจากการเรียนด้วยการรับความรู้ มาเป็นการเรียนด้วยการสร้างความรู้ ในห้องเรียน ครูจะไม่ ตอบคำถาม เพราะเด็กจะไม่เกิดกระบวนการคิด แต่จะหาคำตอบไปด้วยกัน แล้วเด็กจะสร้างความรู้ ได้ด้วย ตนเอง ขั้นตอนที่ 3 : นำแนวการจัดประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐาน(Phenomenon – Based Learning) มาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอนในห้องเรียนปฐมวัย โดยคำนึงถึงความสอดคล้อง กับหลักสูตร ประสบการณ์สำคัญและสาระที่ควรเรียนรู้ โดยบูรณาการเข้ากับการจัดการเรียนการสอนตาม หนว่ ยการเรียนรูแ้ ละแผนการจดั ประสบการณ์ ข้ันตอนท่ี 4 : ประเมินพฒั นาการเดก็ หลังจากการจัดการเรยี นรู้ วิเคราะหป์ ญั หา เพือ่ หาแนวทางแก้ไข และพฒั นาแนวการจัดประสบการณ์ให้มปี ระสิทธภิ าพมากย่ิงขึน้ สรปุ เปน็ ภาพแสดงกระบวนการออกแบบผลงานดังนี้ วิเคราะหห์ ลักสตู ร เชื่อมโยงประเด็นปญั หาและ จุดประสงคก์ บั มาตรฐานคณุ ลกั ษณะท่ี พงึ ประสงค์ กระบวนการ ศกึ ษาทฤษฎที ่ีเกยี่ วข้อง ออกแบบ เพ่ือนำหลักการต่าง ๆ มาพฒั นา ผลงาน และปรับใช้ในการจดั ประสบการณ์ การเรยี นรู้ นำไปประยุกต์ใช้ ใหส้ อดคลอ้ งกับหลักสตู รและ บรบิ ทของสถานศึกษา ประเมินพฒั นาการเด็ก นำข้อมูลมาวเิ คราะหป์ ัญหา เพือ่ แกไ้ ขปรับปรงุ และพัฒนาผลงาน 7

Phenomenon – Based Learning in Kindergarten classroom ขัน้ ตอนการจัดประสบการณ์การเรยี นรู้โดยใชป้ รากฏการณเ์ ป็นฐาน ในหอ้ งเรยี นปฐมวยั วีดีโอตัวอยา่ งการนำเขา้ สู่ ข้นั ตอนที่1 เร่ิมต้นดว้ ยปรากฏการณไ์ ม่ใชเ่ นื้อหาสาระ บทเรยี น และการจัดการ โดยปกติในการนำเขา้ สู่บทเรยี น เรามกั จะใช้ เรยี นการสอนจากเร่ืองท่ี คำว่า “สวัสดคี ่ะเด็กๆ วันน้ีเราจะมาเรยี นรู้กัน เด็กสนใจ และตงั้ ประเดน็ ในหน่วย ฝน นะคะ แลว้ ตามดว้ ยคำถามวา่ ปญั หาใหเ้ ดก็ แกป้ ญั หา เดก็ ๆ รู้ไหมว่าฝนคืออะไร ฝนมาจากไหน” ในข้ันตอนนี้ เด็กไมไ่ ด้มโี อกาสไดถ้ ามคำถาม หรือบอกส่ิงทต่ี นเองสนใจเลยครลู องเปล่ยี นวิธีการนำเขา้ ส่บู ทเรยี นโดยใชป้ รากฏการณ์ ที่เกิดขึ้นจริงรอบ ๆ ตัวเด็ก ในวันนั้น ณ ขณะนั้น ในการนำเข้าสู่บทเรียน เช่น “วันนี้ตอนมาโรงเรียนเกิดเหตุการณ์อะไรขึ้นบ้างที่เด็กๆสังเกตเห็น” เด็กก็จะต้องนึก ย้อนกลับไป แล้วเรียงลำดับเหตุการณ์และถ่ายทอดออกมาเป็นประโยค ยิ่งเด็กแสดง ความคิดเหน็ ของตนเองออกมาเท่าไหร่ ประเดน็ ปญั หาที่ครตู ้องการจะใหเ้ ด็กถาม หรือ ต้องการจะให้เด็กได้เรียนรู้ก็จะเกิดขึ้นมากเท่านั้น ในช่วงแรกเด็กจะยังไม่รู้วิธีการต้ัง คำถาม หรือการใช้คำถาม แม้กระทั่งการตอบคำถาม เด็กก็จะยังตอบคำตอบใกล้เคียง กัน หรือตอบเหมือนเพื่อน เป็นเรื่องปกติ โดยปรากฏการณ์ที่ครูเลือกนำมาใช้นั้น จะต้องมีความสอดคล้องกับหน่วยการเรียนรู้ ก่อนที่จะจัดการเรยี นการสอนครูจะต้อง ศึกษาแผนการจัดประสบการณ์ในแต่ละหน่วยการเรียนรู้และมองหาประเด็นสำคัญใน หน่วยนั้นๆทีจ่ ะเลอื กมาเปน็ ประเดน็ หรอื Topic ในการใชป้ รากฏการณ์เปน็ ฐาน ซึ่งหน้าที่สำคัญของครูคือการบูรณาการศาสตร์ต่างๆ เช่น ด้านภาษา ด้านร่างกาย ด้านความคิดสร้างสรรค์ ด้านสังคม เข้าด้วยกัน ตัวอย่างการบูรณาการออกแบบกิจกรรมตามแนวคิดการใช้ปรากฏการณ์เป็นฐาน เรื่อง ฝน ผสานกับแนวคิด STEAM ศึกษา เทคโนโลยี sวิทยาศาสตร์ T - การทำฝนเทยี ม - การเกดิ ฝน - แอปพลิเคชนั พยากรณอ์ ากาศ - การวดั อณุ หภมู ติ อนฝนตก ฝน คณิตศาสตร์ A E วศิ วกรรมศาสตร์ - ออกแบบอปุ กรณ์กนั ฝนจากอุปกรณท์ ี่ M- การอา่ นตัวเลขอุณหภูมิ กำหนดให้ ศิลปะ วาดภาพออกแบบร่มกนั ฝนท่ไี มเ่ หมอื นใคร 8

ข้ันตอนการจดั ประสบการณ์การเรยี นร้โู ดยใช้ปรากฏการณเ์ ป็นฐาน ในหอ้ งเรยี นปฐมวยั ขั้นตอนที่ 2 สรา้ งห้องเรยี นแหง่ การเรยี นรู้ เพอ่ื กระตุน้ ความอยากรู้อยากเห็นและส่งเสริมความคดิ สรา้ งสรรค์ให้กบั เด็ก โดยการจัดกิจกรรมให้มีความตื่นเต้น ท้าทาย ให้เด็กได้เคลื่อนไหวร่างกายและ ต่นื ตัวอยเู่ สมอ โดยให้เดก็ ไดเ้ ผชิญกับปญั หาตา่ ง ๆ ดว้ ยตนเอง ไดเ้ ห็น ได้สมั ผสั กจ็ ะเกดิ ความสงสยั อยากรอู้ ยากเหน็ นำมาซ่งึ การตงั้ ประเดน็ คำถามจากสงิ่ ทพี่ บ โดยเริ่มต้นครูจะเป็นคนตั้งคำถามหรือตั้งปัญหาให้เด็กช่วยกั นหาหาคำตอบ เกี่ยวกบั ปรากฏการณ์ทเี่ กิดขึน้ ในข้นั ตอนน้ี เด็กจะต้องทำงานร่วมกันเป็นกลมุ่ หรือทำงานร่วมกันทัง้ ห้อง ทำใหเ้ ด็กได้พฒั นาทกั ษะทางดา้ นสงั คมและการ ยอมรับความคิดเห็นของผู้อ่นื บรรยากาศในห้องเรียน จะไม่ใช่ บรรยากาศของการแข่งขัน ครูจะตอ้ งไมเ่ ปรยี บเทยี บเด็กว่าใคร เกง่ กว่า ใครทำไดด้ ีกวา่ ครูจะไม่ใหค้ ะแนนเด็กเปน็ ตวั เลข ไม่ตรวจผลงานเดก็ โดยการให้ดาว หากจะใหด้ าวควรมจี ำนวน ดาวทีเ่ ทา่ กันเพราะมคี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ งานทมี่ อบหมาย ไม่ควรมใี ครได้ดาวมากกว่าเพราะผลงานสวยกวา่ โดยท่ีครใู ช้ ความคิดของตนเองเป็นคนตัดสิน ครูต้องมีความเช่อื ม่นั ในตัวเด็ก ว่าเด็กมีความสามารถที่จะทำกิจกรรมต่าง ๆ ได้ บทบาทของครูในห้องเรียนที่ใช้แนวการจัดประสบการณ์โดยใช้ ปรากฏการณ์เป็นฐานนั้นจะเปลี่ยนไป จากเดิมที่ครูเป็นผู้นำในการจัดการเรียนรู้ เป็นผู้วางแผน และดำเนินการทุก อย่างในหอ้ งเรียน ครจู ะต้องเปลีย่ นบทบาทเป็นผู้อำนวยการในการเรยี นรขู้ องเด็ก บางครั้งครจู ะตอ้ งแกล้งไม่รู้เพ่ือให้ เด็กได้หาคำตอบด้วยตนเอง เช่น หากเด็กเกิดคำถามในปรากฏการณ์ที่ฝนตกหนักและน้ำท่วมบริเวณโรงเรียน “คุณครูครับทำไมน้ำถึงท่วมสนามของโรงเรียนครับ” แทนที่ครูจะตอบว่า “ก็เพราะฝนมันตกหนักไงคะ น้ำเลยระบายไม่ทัน เพราะมีขยะอุดรูท่อระบายน้ำไว้” ครูตั้งคำถามกลับวา่ “แล้วหนูคิดวา่ ทำไมน้ำถงึ ท่วมคะ เดี๋ยว ฝนหยุดตกแล้วเราลงไปดูกันนะคะ ว่าเกิดอะไรขึ้น น้ำถึงท่วม” ในตอนนี้เด็กก็จะเฝ้ารอให้ฝนหยุดตกและอยากรู้ อยากเหน็ วา่ ทำไมนำ้ ถึงทว่ ม และเด็กจะเกิดกระบวนการเรียนรู้ไดเ้ องวา่ สาเหตทุ น่ี ้ำท่วมนัน้ เกดิ จากอะไรจากการที่ได้ ไปสัมผสั สถานการณจ์ รงิ และยังเกิดคำตามตามมาอีกมากมายซึง่ จะนำไปสู่การดำเนนิ การในขน้ั ต่อไป คำพูดท่ีครคู วรหลีกเล่ียงในการสร้างห้องเรยี นแหง่ การเรียนรู้ วดี ีโอตัวอย่างการจดั กจิ กรรม ที่ตื่นเตน้ ทา้ ทาย และฝึกการทำงาน หา้ ม หยดุ อยา่ ไม่ ร่วมกนั เปน็ กลุ่ม เรยี นรู้การเปน็ ผนู้ ำ ผู้ตาม และรับฟังความคิดเห็นของ คำพดู เหลา่ นเ้ี ป็นคำพูดเชงิ ลบ ทำใหเ้ ดก็ เกดิ ความกลวั ทจี่ ะทำส่ิงตา่ งๆ ผูอ้ ื่น กลวั วา่ สงิ่ ท่ีทำนัน้ จะผดิ จะทำใหถ้ กู ต่อวา่ หรอื ถกู ลงโทษ ส่งผลให้เด็ก ขาดจินตนาการและความคิดคดิ สรา้ งสรรค์ ขาดความเชือ่ มน่ั ในตนเอง 9 ขาดทกั ษะกระบวนการคิด ไม่กลา้ คิด ไมก่ ล้าถาม ซง่ึ ทำให้สง่ ผลต่อ พัฒนาการของเดก็ ในระยะยาว

ขน้ั ตอนการจดั ประสบการณ์การเรียนรูโ้ ดยใชป้ รากฏการณเ์ ปน็ ฐาน ในห้องเรยี นปฐมวัย ข้ันตอนท่ี 3 สืบคน้ วิธีการหาคำตอบโดยใช้กระบวนการเรียนรทู้ ห่ี ลากหลายผ่านการลงมือ ปฏบิ ัติเพือ่ ศึกษาปรากฏการณภ์ ายใตแ้ นวคิดการสร้างองคค์ วามร้ใู นตนเอง ในขน้ั ตอนน้ีจะไดเ้ รียนร้สู ถานการณ์จริงในมุมมองของตนเอง เพอ่ื ใหเ้ ด็กไดเ้ ห็นโลกจริงที่ ซับซ้อนและหาทางแก้ปัญหาได้ด้วยตนเอง เด็กจะได้สืบค้นวิธีการต่าง ๆ ที่นำมาซึ่งการแก้ปัญหา โดยมีครู เป็นผู้ชีน้ ำและคอยอำนวยความสะดวกอย่างใกล้ชิด เด็กจะได้เรยี นรูว้ ิธีการหาคำตอบที่หลากหลาย จะเน้น การจัดการเรียนรู้ที่ได้ลงมือปฏิบัติจริง เช่น การเล่นบทบาทสมมติ จากปรากฏการณ์ที่สนใจ จากประเด็น ปัญหาที่ครูมอบให้ เด็กสามารถเลือกสถานที่ในการเรียนรู้ได้ว่าอยากเรียนรู้ที่ไหน อาจจะในห้องเรียน นอกห้องเรียน สนามหญ้า ก็สามารถทำได้ ในขั้นตอนนี้หัวใจสำคัญคือครู ต้องไม่บอก “How to” คือต้อง ไม่บอกวิธีการในการแก้ปัญหา แต่ให้เด็กค่อย ๆ คิดหาทางให้ได้เช่น หากเด็กมีความสนใจในปรากฏการณ์ เรื่องการเจริญเติบโตของต้นไม้ ว่าต้นไม้แต่ละชนิดเติบโตมาจากอะไร เกิดมาจากเมล็ดเหมือนกันหรือไม่ หรือเกิดจากอะไรได้อีก เด็กจะทำอย่างไรที่จะได้คำตอบ ในระดับปฐมวัยซ่ึงเป็นเด็กเล็กครูอาจจะแค่ชี้แนะ แค่บางส่วน เช่น เราจะไปถามใครได้บ้างท่ีรู้เร่ืองการปลูกตน้ ไม้ เด็กกจ็ ะดงึ ประสบการณ์ และคิดว่าใครบ้าง ที่ปลูกต้นไม้แล้วจะสามารถให้คำตอบเด็กได้ หรือ เด็กมีคำถามว่าขา้ วสกุ ได้อยา่ งไร ครูก็ถามกลับไปว่าแล้ว เด็กคิดว่าข้าวสุขได้อย่างไร แล้วจะรู้ได้อย่างไรว่าข้าวสกุ เราความจะหาคำตอบจากใครได้บ้าง เด็กก็จะเกดิ กระบวนการคิดเช่ือมโยงกับสิ่งต่างๆ แล้วเด็กกจ็ ะได้เห็นความสัมพนั ธภ์ ายในของแตล่ ะส่ิง ชว่ ยให้เด็กเข้าใจ ในความเชอื่ มโยงตา่ งๆ เข้าใจเหตุผลว่าทำไมสง่ิ นน้ั และสง่ิ น้ีจงึ เก่ยี วข้องสัมพนั ธก์ นั ซึ่งวิธีการในการหาคำตอบที่เหมาะสมกับช่วงวัยของเด็กปฐมวัยและสอดคล้องกับแนวการจัดประสบการณ์ การเรยี นรโู้ ดยใชป้ รากฏการเปน็ ฐานมดี ังน้ี วดี โี อตวั อย่างการจดั กจิ กรรม 1. การสัมภาษณ์ การใชบ้ ทบาทสมมติในการ 2. การเล่นบทบาทสมมติ นำเข้าสู่บทเรียนและ 3. การสืบเสาะ การสังเกต การสำรวจ หาคำตอบเก่ียวกบั ประเดน็ 4. การเรยี นรแู้ บบโครงการ (Project Approach) ปญั หาที่เด็กสนใจ 5. การสรา้ งชน้ิ งาน ซึ่งครูสามารถนำวิธีการเหล่านีม้ าปรับใช้ในการช้ีนำวธิ ีการแกป้ ัญหาให้กบั เด็กได้ตามบริบทและลักษณะของ ปรากฏการณท์ ่เี ด็กสนใจ โดยใชส่ ่ือการเรียนการสอนทม่ี อี ยู่แล้ว หรอื เป็นอุปกรณท์ ีใ่ ชใ้ นชวี ติ ประจำวนั 10

ข้ันตอนการจดั ประสบการณ์การเรยี นรโู้ ดยใชป้ รากฏการณ์เป็นฐาน ในห้องเรยี นปฐมวยั ขนั้ ตอนที่ 4 ตรวจสอบความเขา้ ใจของเด็ก และประเมินผล ในขน้ั ตอนนี้ถือเปน็ ข้ันตอนสุดทา้ ยในการจัดประสบการณ์การเรยี นรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐาน ในหอ้ งเรยี นปฐมวยั (Phenomenon – Based Learning in kindergarten classroom) โดยให้เดก็ ได้อธบิ ายเก่ยี วกับปรากฏการณท์ ส่ี นใจ ประเดน็ ปัญหาทต่ี ้องการคำตอบ วธิ กี ารแสวงหาคำตอบ และผลของการหาคำตอบ โดยอาจจะเปน็ การให้เด็กวาดภาพและบอกเล่าเรือ่ งราว สรปุ การเรียนรู้โดยการ เขียนหรอื วาดภาพร่วมกนั เป็นกลมุ่ หรอื อาจจะให้เดก็ สรา้ งเป็นชิน้ งานทีส่ ะท้อนกระบวนการเรยี นรู้ของเด็ก และนำเสนอชนิ้ งานนัน้ ต่อครูและเพื่อน สิง่ ทส่ี ำคัญในข้ันตอนน้ีคอื การสะทอ้ นกลบั (Feedback) ท้ังการสะท้อนความคิดเห็น ความรู้สึกของ เดก็ จากการทเี่ ด็กท่ีได้ทำกจิ กรรม และการสะท้อนความความคดิ เหน็ ความร้สู ึกของครู ในการรว่ มกิจกรรม ของเด็ก จะทำใหเ้ ห็นถึงพฒั นาการทั้งดา้ นกระบวนการคดิ การสื่อสาร ความคิดสรา้ งสรรค์และการทำงาน ร่วมกนั กับผอู้ น่ื ของเด็ก และนำข้อมูลเหล่าน้ันมาใชใ้ นการประเมนิ พฒั นาการการตามสภาพจริงเพ่ือ วเิ คราะหผ์ ลที่ได้จากการจัดการเรียนรู้ หากยงั พบปัญหาในการดำเนนิ การก็ต้องดำเนนิ การแก้ไขและพฒั นา ผลงานแนวการปฏบิ ตั ใิ หม้ ปี ระสิทธิภาพมากยิง่ ขึ้น การสรุปการเรยี นร้ผู า่ นการการวาดภาพ การเขียน และการนำเสนอผลงาน วีดโี อตัวอยา่ งการจดั กจิ กรรม การสรุปการเรียนรู้โดยการ บอกเลา่ เรอื่ งราวจากผลงาน 11

Phenomenon – Based Learning in Kindergarten classroom ผลทเี่ กดิ ตามจดุ ประสงคแ์ ละผลสัมฤทธขิ์ องงาน จากการนำแนวการจัดประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานในห้องเรียนปฐมวัย (Phenomenon – Based Learning in kindergarten classroom) มาปรับใช้ในการจัดการเรียนการสอน เด็กปฐมวัย ระดับชั้นอนุบาลปีที่ 3 ในปีการศึกษา 2562 พบว่าเด็กปฐมวัยโรงเรียนวัดโพธิ์บ้านอ้อย (ทองดีวิทยานุสรณ์) กว่าร้อยละ90 มีพัฒนาการที่ดีขึ้นตรงตามจุดประสงค์และเป้าหมายของ Phenomenon – Based Learning in kindergarten classroom เพิม่ ข้นึ จากปกี ารศกึ ษา 2561 ในทุกๆด้าน แผนภมู แิ สดงพัฒนาการของเดก็ ปฐมวยั ตามจุดประสงค์ก่อนการพัฒนาและหลังการพฒั นา 85 ปีการศกึ ษา 2561 91 มีความสามารถในการคดิ รวบยอด การคดิ เชิงเหตผุ ล การคิดแกป้ ัญหาและตัดสินใจ มีความสามารถในการทำงานศิลปะตามจนิ ตนาการ 87 ปีการศกึ ษา 2562 และมคี วามคิดสร้างสรรค์ 93 มีเจตคตทิ ดี่ ตี ่อการเรียนรู้ และมคี วามสามารถในการ 85 แสวงหาความรู้ 92 เกดิ การยอมรบั ความเหมอื นและแตกตา่ งระหวา่ ง 88 บุคคล มปี ฏิสัมพันธท์ ี่ดกี ับผ้อู นื่ และปฏิบตั ติ นเบ้ืองต้น 97 ในการเป็นสมาชกิ ท่ดี ีของสังคม จากการประเมินพัฒนาการของเดก็ ปฐมวัยตามจดุ ประสงค์ทีส่ อดคล้องกบั มาตรฐานคุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ ตามหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัย 2560 พบวา่ เด็กปฐมวัย ระดบั ชัน้ อนุบาลปีท3่ี ปกี ารศึกษา 2562 โรงเรยี น วดั โพธบิ์ า้ นอ้อย(ทองดวี ิทยานุสรณ)์ มีพฒั นาการท่ีดีข้ึนตามจดุ ประสงคท์ ี่ได้กำหนดไวด้ ังนี้ 1. เพ่อื ส่งเสริมพฒั นาการเดก็ ปฐมวยั ใหม้ ีความสามารถในการคดิ รวบยอด การคิดเชงิ เหตุผล การคดิ แก้ปญั หาและตัดสินใจ สูงขนึ้ 6 % 2. เพอื่ สง่ เสริมพฒั นาการเด็กปฐมวัยใหม้ ีความสามารถในการทำงานศิลปะตามจินตนาการและ มีความคดิ สรา้ งสรรค์ สูงขนึ้ 6 % 3. เพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยให้มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้ และมีความสามารถในการแสวง หาความรู้ สูงข้นึ 7 % 4. เพ่อื สง่ เสรมิ พัฒนาการเด็กปฐมวัยใหเ้ กิดการยอมรับความเหมอื นและแตกตา่ งระหว่างบคุ คล มปี ฏสิ มั พันธ์ท่ีดกี บั ผ้อู ่ืน และปฏิบัติตนเบื้องต้นในการเปน็ สมาชิกทีด่ ขี องสังคม สงู ข้นึ 9 % 12

ประโยชนท์ ่ไี ด้รบั การพัฒนาแนวการจัดประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานในห้องเรียนปฐมวัย (Phenomenon – Based Learning in kindergarten classroom) ก่อให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกันทั้งโรงเรียน ทั้งครู นักเรียน ผู้บริหารและผู้ปกครอง ทำให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ในการส่งเสริมพัฒนาการเด็กผ่านการ เรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐาน ครูในโรงเรียนและผู้บริหาร ตระหนักและเห็นความสำคัญของการส่งเสรมิ ให้เด็กมีเจตคติที่ดีตอ่ การเรียนรู้ และสร้างกระบวนการเรียนรู้ได้ดว้ ยตนเอง มีการนำแนวการจัดประสบการณ์ ไปปรับใช้ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 และ 6 โดยการรวมวิชา สังคมศึกษา วิทยาศาสตร์ ศิลปะ สุขศึกษา และพละศึกษา เป็นวิชาบูรณาการเพื่อจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด -19 โดยให้เด็กได้ร่วมกันเลือกสง่ิ ท่ีสนใจจะเรียนรู้ กำหนด เป็นTopic ในการเรียนร้แู ต่ละสัปดาห์ ผู้บริหารมีความรู้ความเข้าใจในการส่งเสริมพัฒนาการของเด็กปฐมวัย เปิดโอกาสและส่งเสริมให้ครูได้นำ แนวคิดใหม่ๆมาปรับใชใ้ นการจดั การเรยี นการสอน มีส่วนรว่ มในการพัฒนา ให้คำแนะนำ ชี้แนะ แนวทางต่างๆ ในการพัฒนาผลงาน สง่ ผลให้การดำเนินการประสบผลสำเร็จเปน็ ท่นี ่าพอใจ ครมู ีความกระตือรือร้นในการพฒั นาการจัดการเรียนการสอน ศกึ ษาหาความรู้เกย่ี วกับทฤษฎีการศึกษาต่างๆ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้องในการนำมาปรับใช้ ครูทุกคนทำงานร่วมกันแบบกัลยาณมิตร มีน้ำใจ เอื้อเฟื้อต่อกัน และทำงานเป็นทีม มีการประชุม เพื่อหาแนวทางในการจัดการเรียนการสอนและปฏิบัติไปในทางเดียวกัน รวมถึงให้กำลังใจซ่ึงกันและกันในการพฒั นาและเผยแพร่ผลงาน เด็กนักเรียนเป็นปัจจัยความสำเร็จที่สำคัญสดุ เพราะการพัฒนากระบวนการต่าง ๆ นั้น ขึ้นอยู่กับเด็กทั้งสนิ้ เด็กให้ความสนใจ และกระตือรือร้นในการทำกิจกรรมตา่ งๆอยู่เสมอทำให้เกิดการพฒั นาและประสบผลสำเร็จ อกี ท้ังนักเรียนยงั เปน็ ส่วนสำคัญในการเก็บข้อมลู การสงั เกตพฤติกรรมตามวตั ถปุ ระสงค์ ผู้ปกครองเปิดใจยอมรับ และทำความเข้าใจ ในการจัดการเรียนการสอน ให้ความร่วมมือในการเข้าร่วม ประชุม การเข้าชมนิทรรศการแสดงผลงาน หรือการเป็นวิทยากรให้เด็กในโอกาสต่างๆอยู่เสมอ มีส่วนร่วมในการให้คำแนะนำในการปรับปรุงและพัฒนาผลงาน ผ่านการตอบแบบสอบถาม ทำให้ครูทราบ ถงึ ความคดิ เหน็ ความร้สู ึกและขอ้ เสนอของผู้ปกครอง และนำมาพฒั นาผลงานต่อไป ชมุ ชนวัดโพธ์บิ า้ นออ้ ย และชุมชนวัดหงส์ทอง ใหค้ วามรว่ มมอื ในการจัดการเรยี นการสอนเป็นอย่างดี มีการอำนวยความสะดวก ให้ความรู้ และช่วยดูแลความปลอดภยั ของเด็กเสมอเมื่อมีการออกไปทำกิจกรรมใน ชุมชนทำให้การจัดการเรยี นการสอนเปน็ ไปอย่างเตม็ ประสิทธภิ าพ 13

จากการดำเนินการตามแนวการจัดประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานในห้องเรียนปฐมวัย (Phenomenon – Based Learning in kindergarten classroom) ทำให้ได้เรียนรู้ถึงศักยภาพของเด็ก ปฐมวัยผ่านการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นให้เด็กสร้างกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง ได้สังเกตบันทึกและรวบรวมเป็น ขอ้ สรปุ ขอ้ สังเกต และขอ้ เสนอแนะ เพื่อนำไปปรับใชใ้ นบรบิ ทต่าง ๆ ดังน้ี 1. ความปลอดภยั มาเปน็ อนั ดับหนึง่ เนื่องจากการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานนั้น เป็นการจัดการเรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียน ครูต้องแน่ใจว่าเด็กจะได้รับความปลอดภัยตลอดการเรียนรู้ ครูต้องหมั่นสังเกตสิ่งต่างๆรอบตัว และตื่นตัวอยู่ เสมอ กอ่ นนำเด็กออกไปเรยี นรู้ ตอ้ งสำรวจพ้ืนท่ีและบริเวณรอบๆให้แน่ใจวา่ ปลอดภยั ไมม่ สี ัตวม์ ีพิษ หรือสิ่งที่ จะเป็นอันตรายต่อเด็กในบริเวณนั้น นอกจากนนี้ครูยังต้องสร้างข้อตกลงร่วมกับเด็กในการปฏิบัติตนเมื่ออยู่ นอกหอ้ งเรยี น และใหเ้ ด็กปฏิบัตติ ามอยา่ งต่อเน่อื งและสมำ่ เสมอ 2. จังหวะและความสมำ่ เสมอ ครูจำเป็นต้องวางแบบแผนในการจัดกิจกรรมและปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอ เพราะโดยธรรมชาติแล้ว เด็กต้องการความมั่นคงในการดำเนินชีวิตของตนเมื่อได้ปฏิบัติสิ่งใดเป็นประจำและสม่ำเสมอ จะทำให้เด็ก สามารถคาดการณ์ไดแ้ ละเกิดความมั่นคงในจิตใจ การปฏิบัติกจิ กรรมที่ไม่สม่ำเสมอ หรือไม่มีแบบแผน จะทำ ให้เด็กเกิดความงุนงงและสับสน และเกิดความไม่มั่นคงในจิตใจ ทั้งนี้ในการวางแผนการจัดกิจกรรมสามารถ ปรับเปลยี่ นและยดื หยนุ่ ไดบ้ า้ งตามสถานการณ์ 3. จินตนาการท่ีไม่ควรถกู ปดิ กน้ั เด็กปฐมวัยเป็นวัยแห่งจินตนาการ พลังจินตนาการต่างๆของเด็กจะถูกปล่อยออกมาในรูปของการ คดิ ฝัน และเร่ืองสมมุติ ครูจงึ ควรจดั กิจกรรมท่ีส่งเสริมจินตนาการของเด็กเช่น การเลา่ นทิ าน การเล่นละครหุ่น หรือการเล่นสร้างสรรค์ที่เปดิ โอกาสให้เด็กได้ใช้ความคิดของตนเองอย่างเตม็ ที่ การระบายสีน้ำ สีเทียน ที่ไม่มี การกำหนดภาพหรือกรอบ จะช่วยให้เด็กมีความคิดที่ไม่ตายตวั คลอ่ งแคลว่ เฉียบคม และพฒั นาเป็นความคิด สร้างสรรคต์ อ่ ไป โดยครูจะไมเ่ ขา้ ไปแทรกแซง แนะนำ หรือวิพากษว์ ิจารณ์ แกไ้ ขภาพวาดของเดก็ 4. การรักษาสมดุลในการจดั การเรยี นการสอน ในการจดั กิจกรรมต้องคำนึงถึงชว่ งวัยและสมาธิในการรับรู้ตามวัยของเด็ก ไม่เรง่ หรือยัดเยียดกิจกรรม จนเกินความสนใจของเด็ก สลับสับเปลี่ยนกิจกรรมหนักบ้าง เบาบ้าง เพื่อให้เด็กรู้สึกผ่อนคลาย ไม่เหนื่อย จนเกนิ ไป และรักในการเรยี นรู้อยูเ่ สมอ 5. การนำผลงานไปประยกุ ต์ใช้ ต้องคำนึงถึงบริบท ความพร้อม และความต้องการของเด็กเป็นสำคัญ ครูต้องศึกษาพฤติกรรมเด็กว่า มีความพร้อมในการทำกิจกรรมมากน้อยเพียงใด กิจกรรมบางกิจกรรม เหมาะสำหรับเด็กบางกลุ่ม แต่อาจจะ ไม่เหมาะสมกับเด็กอีกกลุ่มก็เปน็ ได้ จึงควรจดั กิจกรรมท่ยี ืดหยุ่นตามบรบิ ทของแต่ละบุคคลปรับเปล่ียนรูปแบบ กิจกรรมใหเ้ หมาะตามความตอ้ งการของเด็กและสอดคล้องกบั หลักสูตรสถานศึกษา และสภาพแวดล้อม 14

เผยแพรผ่ ลงานการจัดการเรยี นการสอนในช่องทางตา่ งๆ ไดแ้ ก่ เวบ็ ไซตข์ อง สพป.นนทบุรเี ขต 2 ชอ่ งYouTube : pinglada Facebook : เพจ ครปู ิงเอง และ กลมุ่ ไลนข์ องครูปฐมวยั สพป.นนทบุรเี ขต 2 รางวัลทไี่ ดร้ บั รางวัลครูตน้ แบบ การจดั การเรยี นรู้ บรู ณาการทกั ษะชีวติ ประจำป2ี 562 โดยสำนกั งานคณะกรรมการ การศึกษาข้ันพ้นื ฐาน รางวลั รองชนะเลิศอันดบั หน่ึง ผลงาน นวตั กรรม แนวปฏิบัตทิ ่ีเป็นเลศิ (Best Practice) ระดับภาคประจำ ปี2563โดยสำนักงานศึกษาธิการภาค 2 การถอดบทเรียนและขยายผลต่อยอด หลังจากการจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรโู้ ดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐาน ในห้องเรียนปฐมวยั มผี ลสมั ฤทธทิ์ ด่ี ีขึน้ ในทกุ จดุ ประสงคท์ ี่กำหนดไว้ จึงไดเ้ กดิ การ PLC ของครูปฐมวยั ในทุกระดับช้ันขึน้ เพ่ือรว่ มกนั ถอดบทเรียน และหาแนวทางในการพัฒนารว่ มกนั โดยมีหวั ข้อในการถอดบทเรียนคือ 1. ผลลัพธ์เป็นไปตามเปา้ หมายหรือไม่ 2. ปจั จยั ท่ที ำใหแ้ นวการปฏิบตั นิ ีป้ ระสบความสำเร็จ และปัจจยั ใดทจี่ ะทำให้ สำเร็จมากขน้ึ 3. บทเรยี นและความรู้ที่ได้จากการพัฒนางานน้ี 4. แนวคิดในการพฒั นางานในอนาคต เมื่อรว่ มกันวิเคราะห์และถอดบทเรียนได้แลว้ จึงนำมาซ่ึงการพัฒนาแนวการจดั ประสบการณน์ ใ้ี ห้สอดคล้องกบั สถานการณ์ในปจั จบุ ัน ซ่ึงเกิดการแพร่ระบาดของโรคโควดิ -19 ทำให้เดก็ ไม่สามารถมาเรียนท่โี รงเรยี นไดเ้ ป็นเวลานาน มีการวางแผนการจัดทำหนว่ ยการ เรยี นรู้ทเี่ หมาะสม จัดเตรยี มวัสดอุ ุปกรณ์ ใบกจิ กรรม จัดทำคลปิ วดี ีโอการสอนท่สี อดคล้องกับบริบทและสภาพแวดล้อมรวมไปถงึ ความพร้อมของผู้ปกครองเพื่อใหเ้ กดิ กระบวนการเรยี นรทู้ ี่ไมต่ ่างกันระหว่างการเรียนแบบ online และการเรียนแบบ on-site 15

16


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook