Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ฺBest Practice กศน.ตำบลดอนแร่

Description: ฺBest Practice กศน.ตำบลดอนแร่

Search

Read the Text Version

ตวั ช้ีวดั ที่ 9 ผลการปฏบิ ตั ิงานท่ีดี Best Practice กศน.ตาบลดอนแร่ ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอเมืองราชบุรี สานกั งานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จงั หวดั ราชบรุ ี สานกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงศกึ ษาธิการ

แนวทางการปฏบิ ัตงิ านทด่ี ี (Best Practice) “ด้านการดำเนนิ งานโครงการพฒั นาบทบาทสตรีฯ เอาม้ือสามัคคี วิทยากรภาครัฐ” 1. ชอ่ื ผลงาน พัฒนาบทบาทสตรี เอาม้อื สามคั คี อำเภอเมืองราชบุรี 2. สถานศึกษา กศน.ตำบลดอนแร่ ตำบลดอนแร่ อำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองราชบุรี สำนักงานการสง่ เสริมนอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จงั หวดั ราชบุรี 3. คณะทำงาน นางนติ กิ าญจน์ ดำเปล้ือง 4. ความสอดคล้อง ด้วยนโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนักงาน กศน. ได้กําหนดการดําเนินงานภายใต้ วิสัยทัศน์คือ “คนไทยได้รับโอกาส การศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ สามารถดํารงชีวิตท่ี เหมาะสมกับช่วงวัย สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จึงเป็นเหตุผลทำให้ภาคีเครือข่าย คือ สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอเมืองราชบุรี ขอสนับสนุนวิทยากรภาครัฐ จากศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองราชบุรี ซึ่งครู กศน.ตำบลดอนแร่ ได้รับมอบหมาย จากผู้อำนวยการ กศน. อำเภอเมืองราชบุรี ให้เป็นส่วนหน่ึงในการขับเคล่ือน โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานกองทุนพัฒนา บทบาทสตรีแก่กลไกขับเคลื่อนกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีระดับอำเภอ โดยมีกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 32 คน เพื่อให้ผู้เข้าร่วมประชุมได้รับความรู้ ความเข้าใจ แนวทางในการดำเนินงานและพัฒนาทักษะการปฏิบัติงาน กองทุนบทบาทสตรี พร้อมชี้แจงข้ันตอนแนวทางในการปฏิบัติ บทบาทหน้าท่ี ให้เกิดประโยชน์แก่ผู้เข้าร่วมตาม โครงการ ของสำนักงานพฒั นาชุมชนอำเภอเมืองราชบุรี โครงการขบั เคลื่อนพฒั นาบทบาทสตรีฯ เอามื้อสามัคคี การพัฒนาการศึกษาท่ีย่ังยืน กิจกรรม ส่งเสริมความสามัคคี ให้เกิดขึ้นในชุมชน โดยการนำหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจเพียงมาปรับใช้ในการดำเนินชีวติ ประจำวัน 5. ท่ีมาและความสำคญั ของผลงาน ด้วย สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอเมืองราชบุรี ที่ รบ 0119/06 เรื่องขอสนับสนุนวิทยากร เรียน ผู้อำนวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองราชบุรี ในการนี้ เพื่อให้การดำเนินงาโครงการฯดังกลา่ ว เป็นไปด้วยความเรียบร้อย เกดิ ประโยชน์แก่ผู้เข้ารับการอบรม จึงขอสนับสนุนบุคลากรในหน่วยงาน กศน.อำเภอเมืองราชบุรี เป็นวิทยากร ในการบรรยายตาม โครงการฝึกอบรมดังกล่าว ในวันท่ี 8 มีนาคม 2564 ณ ห้องประชมุ วัดนาหนอง หมู่ท่ี 2 ตำบลดอนแร่ อำเภอเมือง จังหวดั ราชบรุ ี โดยมี ครู กศน.ตำบลดอนแร่ เขา้ ไปมีส่วนรว่ มประชมุ วางแผน โดยการหนุน เสริมและพัฒนาศกั ยภาพบคุ คล ชุมชน และเครือข่าย ท้ังในระดับตำบล อำเภอ ดว้ ยกระบวนการเรยี นรู้ แบบมีส่วนร่วม เป็นไปตามสภาพ ปัญหา และความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย และยังเป็นภารกิจ ต่อเนื่อง โดยคำนึงถึงความสอดคล้องกับศักยภาพและบริบทของชุมชน ตลอดจนสร้างความเข้มแข็ง กศน.ตำบลดอนแร่ 1

แนวทางการปฏบิ ตั งิ านที่ดี (Best Practice) ให้กบั ชมุ ชน รวมถงึ สรา้ งกลไกการบรหิ ารจัดการ มีการติดตามประเมินผล และการถอดบทเรียน ภายใต้ ทุน ทรัพยากร และศักยภาพของพื้นท่ี ให้มีการกำกับ ติดตาม และรายงานผลอย่างเป็นระบบและ ตอ่ เน่อื ง 6. วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพ่ือให้สร้างโอกาสใหส้ ตรีเขา้ ถึงแหล่งทุนสำหรับการลงทุนเพือ่ พัฒนาอาชีพ สร้างงาน สรา้ ง รายได้ หรอื เสรมิ สร้างความเข้มแข็งทางด้านเศรษฐกิจ 2. เพื่อส่งเสริม สนับสนุนการจัดกิจกรรมในการพัฒนาบทบาทสตรี การสร้างภาวะผู้นำ การ พัฒนาองค์ความรู้ เพื่อเสรมิ สรา้ งความเข้มแขง็ ทางดา้ นสังคมให้แกส่ ตรี 3. เพ่อื ใชเ้ ปน็ แหล่งศึกษาดงู านของหน่วยงานอื่นๆ 7. วธิ ีดำเนนิ การ 7.1 กำหนดกลุม่ เปา้ หมาย 7.1.1 กลุ่มสตรี อำเภอเมอื งราชบรุ ี จำนวน 22 คน 7.2 การดำเนนิ การจดั กจิ กรรม 7.2.1 ครู กศน.ตำบลดอนแร่ ร่วมกับสำนักงานพฒั นาชมุ ชนอำเภอเมืองราชบรุ ี กลุ่มสตรี ภาคเี ครอื ข่าย และชมุ ชนร่วมกันศกึ ษาสภาพปญั หา ความตอ้ งการ โดยการสำรวจความตอ้ งการ สอบถาม ทำให้ ทราบวา่ กลุม่ สตรี ตอ้ งการอะไร วิเคราะห์ จากนัน้ นำปญั หามาเปน็ ตวั กำหนดการดำเนนิ งาน 7.2.2 ครู กศน.ตำบลดอนแร่ และสำนกั งานพัฒนาชุมชนอำเภอเมืองราชบุรี ประชุมร่วมกัน เพือ่ วางแผนการดำเนินงานโดยการอธบิ ายใหค้ วามรู้ การสาธิตการทำ และเน้นให้กล่มุ สตรี ไดฝ้ ึกปฏบิ ัตจิ รงิ จน เขา้ ใจ โดยเน้นการมสี ่วนร่วมของประชาชนในชุมชน และรูปแบบการจัดกิจกรรมทส่ี อดคล้องกบั ความต้องการ ของกลมุ่ เปา้ หมาย ชี้แจงวตั ถุประสงค์ ผลท่ีได้รบั จากโครงการ ทำให้มีผสู้ นใจเข้ารว่ มเปน็ กลมุ่ สตรี อำเภอเมือง ราชบรุ ี จำนวน 22 คน 7.2.3 ครู กศน. ตำบลดอนแร่ และสำนักงานพัฒนาชมุ ชนอำเภอเมอื งราชบรุ ี ร่วมกันกำหนด ทศิ ทางการดำเนนิ งาน โครงการพฒั นาบทบาทสตรีฯ เอามอ้ื สามคั คี การทำโรงเรอื นเห็ดนางฟา้ การปลกู ผักสวน ครัว การเพาะเลย้ี งปลาในบอ่ และมกี ารแบ่งปันผลผลิตให้กับกลุ่มสตรี ประชาชนในชมุ ชน และนำบางส่วนเป็น ทนุ หมุนเวยี นในการสง่ เสริมอาชพี ให้กับกลุ่มสตรีต่อไป 7.2.4 สรุปผลการดำเนนิ โครงการท่ไี ด้จากการตดิ ตามประเมินผลเม่ือสิ้นสุดโครงการพัฒนา บทบาทตรีฯ เอาม้อื สามัคคี โดยรวบรวมผลงานทเ่ี ป็นจดุ เด่น และจุดที่ควรพัฒนา รวมทั้งข้อเสนอแนะจากการ ประเมนิ ผลการนำไปใช้ประโยชน์ และจดั ทำรายงาน เพื่อนำเสนอแนวปฏิบัตทิ ่ีดี ( Best Practice )“ดา้ นการ ดำเนนิ งานในโครงการพฒั นาบทบาทสตรีฯ เอามื้อสามคั คี กศน.ตำบลดอนแร่ 2

แนวทางการปฏบิ ัติงานท่ดี ี (Best Practice) 7.2.5 เผยแพร่ผลงานแนวปฏบิ ัตทิ ่ีดี ( Best Practice ) “ด้านการดำเนนิ งานโครงการพฒั นา บทบาทสตรีฯ เอาม้อื สามัคคี โดยการนำเสนอผลงาน ปญั หา อุปสรรค ขอ้ เสนอแนะต่อที่ประชุม เพื่อใชเ้ ป็น ขอ้ มูลในการวางแผนจัดกิจกรรมครัง้ ตอ่ ไป 7.2.6 นำขอ้ เสนอแนะของภาคีเครือขา่ ย / ชุมชน และผู้ท่ีเกี่ยวขอ้ ง มาปรบั ปรุงรปู แบบและ วิธีการดำเนินงานโครงการพัฒนาบทบาทสตรี เอามอื้ สามัคคี เพื่อเผยแพรใ่ หช้ ุมชนอ่นื ทม่ี ีสภาพบริบทเหมือน หรือใกลเ้ คียงกนั ไดน้ ำไปปรบั ใช้ในการดำเนินชวี ิตประจำวัน โดยยดึ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง มีการ ติดตามผเู้ ขา้ รับการอบรม โดยใชแ้ บบสอบถาม สัมภาษณ์ 8. ตัวช้วี ัดความสำเร็จ 8.1 กลุ่มสตรี มีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะเกี่ยวกับการดำเนินชีวิต ตามโครงการพัฒนา บทบาทสตรี เอาม้อื สามัคคี สามารถนำความร้ไู ปปรับใช้ในชีวิตประจำวนั ได้ 9. การประเมินผลและเครื่องมอื การประเมินผล ประเมินผลงาน ตามสภาพจริง โดยวิทยากร ครู กศน.ตำบล และสำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอ เมืองราชบุรี ประเมินจากการปฏิบัติ ประเมินผลจากแบบสัมภาษณ์ แบบสอบถาม การสังเกตแบบมีส่วนร่วม และไม่มีส่วนร่วม การสนทนากลุ่ม การลงมือปฏิบัติจริงและการประชุมระดมสมอง โดยใช้แบบประเมินผลการ ฝึกปฏบิ ตั ิ 10. ผลการดำเนนิ งาน ผลทเ่ี กิดกับผูเ้ ขา้ รับการอบรม ผู้ทีผ่ ่านการอบรม ดา้ นการดำเนินงานโครงการพฒั นาบทบาทสตรีฯ เอามื้อสามัคคี มีความรู้ ความเข้าใจและทกั ษะเก่ียวกับการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง มาประยุกต์ใช้ สามารถนำ ความรู้ท่ีได้รบั ไปปรับใช้ในชวี ติ ประจำวันได้ 11. บทสรปุ การจดั โครงการพัฒนาบทบาทสตรีฯ เอาม้ือสามัคคี ด้านการดำเนินงานโครงการ ดำเนินการ ตามแนวทางวงจรคณุ ภาพของเดมม่งิ ดังนี้ ดา้ นการวางแผน (P) 1. ศึกษาสภาพปัญหาและวเิ คราะห์ข้อมลู ของชุมชนอย่างมีสว่ นร่วมของครูกศน.ตำบล ดอนแร่ และสำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอเมืองราชบุรี โดยจัดทำแบบสำรวจ/สอบถาม ความต้องการ จัดเวทีประชาคม กศน.ตำบลดอนแร่ 3

แนวทางการปฏบิ ตั ิงานทีด่ ี (Best Practice) เพ่อื นำมาวางแผนจัดกิจกรรมที่สอดคลอ้ งกบั สภาพบริบทของชุมชน ปัญหา และความตอ้ งการทีแ่ ท้จริงของกลุ่ม สตรีและคนในชุมชน 2. วิเคราะห์งานตามบทบาทหน้าที่ และวิเคราะห์ความสอดคล้องท่ีเก่ียวข้อง เช่น แผน ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน กศน. วิสัยทัศน์ พันธกิจ ฯลฯ และการมีส่วนร่วมในการดำเนินงานของ ภาคเี ครอื ข่าย 3. คน้ หา Best Practice โดยการพิจารณาประเด็นดงั น้ี - เปน็ เร่อื งที่เกยี่ วข้องกบั ภารกิจโดยตรงของบทบาทหนา้ ที่ - สนองนโยบาย การแก้ปญั หา การพัฒนาประสิทธภิ าพของประชาชนในชมุ ชน - เป็นวธิ ีการริเร่ิมสร้างสรรคข์ ึน้ มาใหม่ หรอื ประยกุ ตข์ น้ึ ใหม่ (นวตั กรรม) - มผี ลผลิต ความสำเรจ็ เพิ่มขึ้น - สามารถนำไปใชเ้ ป็นมาตรฐานการทำงานตอ่ ไปได้ยงั่ ยืนพอสมควร - มกี ารพัฒนาปรับปรุงต่อไป จากการพิจารณา เพอื่ ค้นหา Best Practice ในการจดั กจิ กรรม / ดำเนนิ งาน โครงการที่สอดคล้องกับ สภาพ ปญั หา ความตอ้ งการของชมุ ชน พบวา่ เป็นเรอื่ งทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกับบทบาทหน้าทโ่ี ดยตรงของครู กศน.ตำบล และเป็นการดำเนนิ งานท่สี นองนโยบายและจุดเนน้ การดำเนนิ งานของสำนักงานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศยั ประจำปีงบประมาณ 2564 ด้านการจัดโครงการเศรษฐกิจพอเพียง ประยุกต์ สู่ โคก หนองนา โมเดล จงึ ได้วางแผนเพอ่ื ดำเนินการตามบทบาทภารกจิ ดงั นี้ 1. ครู ภาคีเครอื ขา่ ย กลุ่มสตรี ประชาชน และชมุ ชน มีส่วนร่วมในการวางแผนและออกแบบ กจิ กรรมสอดคลอ้ งกับสภาพ ปัญหา ความตอ้ งการของชุมชน โดยการประชมุ ร่วมกนั เพอื่ วางแผนการดำเนนิ งาน ชี้แจงวตั ถปุ ระสงค์ ผลที่ผู้รว่ มโครงการจะไดร้ บั ทำให้มผี สู้ นใจเข้า ร่วมกิจกรรม/โครงการ จำนวน 22 คน 2. ศึกษาเอกสารข้อมูลเก่ียวกับการจัดโครงการพัฒนาบทบาทสตรีฯ เอาม้ือสามัคคี จัดเตรียมสื่อ อุปกรณ์ โดยครู กศน. สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอเมืองราชบุรี และ เครือขา่ ยรว่ มกนั วางแผนจัดกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกัน 3. ครู สำนักงานพัฒนาชุมชน และกลุ่มสตรีร่วมกันกำหนดทิศทางการดำเนินงาน และทำ ข้อตกลง คือ ผลผลิต ต้องมีการแบ่งปันให้กับสมาชิกได้นำไปบริโภค และนำบางส่วนเป็น ทนุ หมนุ เวียนในการสง่ เสรมิ อาชพี ต่อไป กศน.ตำบลดอนแร่ 4

แนวทางการปฏิบตั ิงานท่ดี ี (Best Practice) 4. นำข้อมูลจากการวิเคราะห์และพิจารณาในข้อ 1 - 3 มากำหนดกรอบการดำเนินงานที่ พจิ ารณาแลว้ ว่าเป็นแนวปฏิบตั ิที่ดี (Best Practice) โดยดำเนนิ การดังนี้ 1) กำหนดวตั ถุประสงคข์ องโครงการ 2) กำหนดตัวช้วี ัดความสำเร็จ 3) กำหนดวธิ ีการดำเนินการ 4) กำหนดวธิ ีการประเมนิ ผลและเคร่อื งมอื การประเมินผล ดา้ นการดำเนินงาน (D) จัดกิจกรรมตามท่ีวางแผนและออกแบบกิจกรรมไว้ โดยให้การให้ความรู้และฝึกทักษะปฏิบัติ ดังนี้ 1. จัดกิจกรรมโครงการพัฒนาบทบาทสตรีฯ เอามื้อสามัคคี โดยให้ความรู้เร่ือง ช่องทางการ ประกอบอาชพี การแปรรูปผลิตภัณฑ์ โดยการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การสาธิตการลงมือทำ และเน้นให้กลุ่ม สตรีได้ฝกึ ปฏิบัติจริงจนเข้าใจ เน้นการปลูกผักสวนครัว การแปรรูป ผลผลิต ความสะอาดปลอดสารพิษ เพื่อให้ เกิดความปลอดภยั และตรงความต้องการของผู้บริโภค 2. ให้ความรู้เร่ืองการจัดทำบัญชีรายรับ - รายจ่าย โดยมีครู กศน.ตำบล เป็นผู้ให้คำแนะนำ เบือ้ งต้น ด้านการตรวจสอบและประเมินผล (C) 1. ประเมินผลการจัดโครงการตามสภาพจรงิ เพอ่ื ให้ทราบผลความก้าวหน้าในการดำเนิน กจิ กรรม โครงการ ปญั หา อุปสรรค และร่วมกนั หาแนวทางแกไ้ ข ประเมนิ ผลงาน โดยใช้ แบบประเมินผลการปฏบิ ัติ 2. ครู กศน.ตำบลดอนแร่ ไดม้ ีการติดตาม ประเมินผลจากการปฏิบัติจริง คุณภาพผลผลิตและ ประเมนิ ความรู้ ความเขา้ ใจ 3. สรุปผลการดำเนินโครงการกจิ กรรมทีไ่ ด้จากการตดิ ตามกลมุ่ สตรีหลังอบรม และฝกึ ปฏิบัติ นำเสนอผลการดำเนินโครงการ และจุดที่ควรพฒั นา รวมทัง้ ขอ้ เสนอแนะจากการประเมนิ ผลการ นำไปใช้ประโยชน์ เพ่ือนำเสนอแนวปฏบิ ตั ิทดี่ ี (Best Practice) 4. เผยแพร่ผลงานแนวปฏิบัติที่ดี (Best Practice) ด้านโครงการพัฒนาบทบาทสตรี เอามื้อ สามัคคี โดยการนำเสนอ ผลงาน ปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอแนะต่อที่ประชุม เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการ วางแผนจัดกิจกรรมครัง้ ต่อไป กศน.ตำบลดอนแร่ 5

แนวทางการปฏิบตั ิงานท่ดี ี (Best Practice) ดา้ นการปรับปรงุ และพัฒนาผลการปฏิบตั ิงาน A) นำข้อเสนอแนะของกลุ่มสตรี และผู้ท่ีเกี่ยวข้อง มาปรับปรุงรูปแบบและวิธีการดำเนินงาน โครงการให้สอดคล้องกับความต้องการและบริบทของชุมชน เพ่ือเผยแพร่ให้ชุมชนอ่ืนที่มีสภาพบริบท เหมอื นหรือใกล้เคยี งกัน ไดน้ ำไปปรับใช้ในการจัดกิจกรรมสง่ เสรมิ อาชพี ต่อไป 12. กลยุทธ์หรือปัจจยั ทท่ี ำใหป้ ระสบความสำเร็จ 12.1 การมีส่วนร่วมของครู กศน.ตำบลดอนแร่ เครือข่าย ผู้เข้ารับการอบรม ประชาชน และ ชมุ ชน ในการวิเคราะห์ข้อมลู พ้ืนฐานของชุมชนทำให้รสู้ ภาพปัญหา และความต้องการของตนเองในดา้ น การพัฒนาให้ไปสู่เป้าหมายทต่ี ้องการได้ 12.2 ดำเนนิ การตามแนวทางวงจรคุณภาพของเดมมิ่ง (PDCA) ซ่ึงเป็นการดำเนินการอยา่ งเป็น ระบบ สามารถตรวจสอบได้ทุกข้ันตอน โดยเร่ิมตั้งแต่การวิเคราะห์สภาพ ปัญหา ความต้องการของ ชุมชนอย่างมีส่วนร่วมของครู กศน.ตำบล เครือข่าย ประชาชน ชุมชน รวมทั้งการมีส่วนร่วมในการ วางแผนและออกแบบกิจกรรม ตลอดจนมีการติดตามประเมินผลทุกข้ันตอน จงึ ทำใหส้ ามารถพฒั นาได้ บรรลตุ ามตัวชว้ี ัดความสำเร็จของโครงการ 13. ขอ้ เสนอแนะ ควรเผยแพร่และขยายความรู้ ประชาสัมพันธ์ ให้ผู้ท่ีสนใจสามารถศึกษาข้อมูล ต่างๆ เช่น เว็บไซต์ของสถานศึกษา/หน่วยงานต้นสังกัด ส่ือออนไลน์ ได้แก่ Facebook You Tube ฯลฯ รูปแบบ การจัดเวทีแลกเปล่ียนเรียนรู้และประเมิน ผลการดำเนินเครือข่ายตามติ ด เพ่ื อปรับกลยุทธ์ในการ ดำเนินงานใหม้ ีประสิทธิภาพ 14. ภาคผนวก - ภาพกิจกรรม กศน.ตำบลดอนแร่ 6

แนวทางการปฏบิ ัติงานท่ดี ี (Best Practice) ภาคผนวก กศน.ตำบลดอนแร่ 7

แนวทางการปฏิบตั ิงานท่ดี ี (Best Practice) ภาพกจิ กรรม/โครงการพัฒนาบทบาทสตรฯี เอามือ้ สามัคคี ร่วมประชุม / วางแผน การดำเนนิ งานโครงการ เวทีแลกเปล่ยี นเรียนรู้ ดำเนินงานตามโครงการ บรรยายใหค้ วามรู้ กศน.ตำบลดอนแร่ 8

แนวทางการปฏบิ ตั งิ านที่ดี (Best Practice) หอ้ งประชมุ วัดนาหนอง สรุปองค์ความรู้ สกู่ ารปฏิบัติ กศน.ตำบลดอนแร่ 9