Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ภาษาพม่า ความรู้ทั่วไปและวัฒนธรรมของประเทศพม่า (2.12.2021)

ภาษาพม่า ความรู้ทั่วไปและวัฒนธรรมของประเทศพม่า (2.12.2021)

Published by ATCLC LIBRARY, 2022-01-21 02:57:31

Description: ภาษาพม่า ความรู้ทั่วไปและวัฒนธรรมของประเทศพม่า (2.12.2021)

Search

Read the Text Version

ประเทศชาติ และวัฒนธรรม ของเมียนมา เขยี นโดย ตซู าร์ นวย (Thuza Nwe) ให้ช้าเม ื่พจํอากหา ่นราึศยกษาเท่า ้นัน

ประเทศ และ ชาวเมียนมา1 ประเทศเมียนมาให้ช้าเม ื่พจํอากหา ่นราึศยกษาเท่า ้นัน ยงั ไมม่ ีเอกสารที่เห็นได้ชดั เจนว่าชอื่ jrefrm [เมียนมา] ตงั้ มาตั้งแต่เมือ่ ไร แต่ในปี ค.ศ. 1190 สมัย yk*H [ปะ กาน] (พกุ าม) ปรากฏในจารึกทีบ่ นั ทกึ เอาไว้ประเทศเมยี นมาเรยี กตวั เองวา่ jrefrm [เมียนมา] หลังจากน้ันเปลี่ยนชื่อประเทศมาเป็นหลายๆ ช่ือตามระบบการปกครองแบบรัฐเมือง (City-state) โดยกษัตริย์เมียนมา กษัตริย์ไทยใหญ่ กษัตริย์มอญ และกษัตริย์เมยี นมาอีกครั้งและ เรียกว่า jrefrmEdkifiHawmf [เมยี นมา ไน งาน ดอ] แปลวา่ ราชอาณาจกั รท่ีย่งิ ใหญ่ของเมียนมา มาถึงช่วงเวลาการปกครองของอังกฤษ แล้วชนเผ่า jrefrm [เมียน มา] ในภาษาพูดออกเสียงว่า Arm [บะมา] เป็นหนึ่งในชาวเผ่าที่อาศัยอยู่ในประเทศเมียนมาและเป็นชนเผ่ากลุ่มหลักใหญ่ท่ีสุด ซึ่งอาศัยอยู่ใน ประเทศถึง 7 รัฐ สันนิษฐานว่าครั้งอังกฤษเข้ามาปกครองได้เปล่ียนชื่อประเทศโดยยึดชนเผ่ากลุ่มหลักและ ใหญ่ท่ีสุด จึงขนานนามว่า Burma [เบอ มา] เป็นชื่อประเทศและ Burmese [เบอ มีส์] เป็นชื่อชาวเผ่าท่ี องั กฤษเรยี กและท่ัวโลกรจู้ ักกันนัน้ หลังได้รับเอกราชในปี ค.ศ. 1948 – 1974 รัฐบาลเมียนมาเปล่ียนต้ังช่ือประเทศตามคนเมียนมาเรียก กันมายาวนานว่า jynfaxmifpkjrefrmEdkifiHawmf [ปยี เทา ซุ เมียน มา ไน งาน ดอ] แปลว่า สหภาพเมียนมา แต่ก็ชือ่ ในภาษาอังกฤษยังเรียกกันอยู่เปน็ Union of Burma ในปี ค.ศ. 1974 – 1988 สมัยการปกครองแบบสังคมนิยมของ นายพล ae0if; [เน วิน] เปล่ียนช่ือ ประเทศว่า jynaf xmifpkq&dk S,fvpforRwjrefrmEdkifiHawmf [ปยี เทา ซุ โซ แช ลิ ตะ มะ ดะ เมียน มา ไน งาน ดอ] แปลว่า สาธารณรัฐสังคมนิยมเมียนมา และชื่อในภาษาอังกฤษคือ Socialist Republic of the Union of Burma ในปี ค.ศ. 1988 – 1989 รัฐบาลเมียนมากลับมาใช้ชื่อประเทศอีกคร้ังว่า jynfaxmifpkjrefrm EdkifiHawmf [ปยี เทา ซุ เมียนมา ไน งาน ดอ] แปลว่า สหภาพเมียนมา และชื่อในภาษาอังกฤษคือ Union of Burma ต่อไปในปี ค.ศ. 1989 – 2010 เปล่ียนชื่อประเทศในภาษาอังกฤษว่า Union of Myanmar ช่ือที่คน เมยี นมาเรียกกันมายาวนาน ในปี ค.ศ. 2010 ถึงปัจจุบันเปล่ียนช่ือประเทศอีกครั้งว่า jynfaxmifpkorRwjrefrmEdkifiHawmf [ปยี เทา ซุ ตะ มะ ดะ เมียนมา ไน งาน ดอ] แปลว่า สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา และช่ือในภาษาอังกฤษคือ Republic of the Union of Myanmar ชาวเมยี นมา ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 8 และ 9 จักรวรรดิน่านเจ้า (ภาคใต้ของประเทศจีนในปัจจุบัน) เป็น อาณาจักรที่มีความหลากหลายเช้ือชาติต้ังแต่ต้นจนจบของจักรวรรดิน่านเจ้า แต่คนส่วนใหญ่และชนชั้น ปกครองโดยเฉพาะในยูนนานตะวันตกพูดภาษาท่ีคล้ายคลึงกัน หรือ ภาษาที่น่าจะสืบทอดมาเป็นภาษาเมียน ตซู าร์ นวย (ประเทศชาติ และวัฒนธรรมของเมียนมา) [สงวนสิทธิ] 2

มาสมัยใหม่น้ี ตามเวลาที่หุบเขาอิรวดีอยู่ภายใต้อานาจของอาณาจักรน่านเจ้า รัฐเมือง [efvif; [ฮานล้ีน] ของอาณาจักร ysL [ปยู] ที่ในชาวไทยเรียกกันว่า “พยู” ซ่งึ อยูใ่ กล้กับอาณาจักรโบราณของเมียนมา waumif; [ดะเก่า] ถูกทาลายในปี ค.ศ.832 ในคริสต์ศตวรรษที่ 10 จักรวรรดิน่านเจ้าได้หายไปอย่างช้าๆ จาก ประวัตศิ าสตรแ์ ละผู้คนที่พูดภาษาที่ลักษณะคล้ายกับภาษาในตระกูลทิเบต-พมา่ ถกู แทนที่มา คนเหลา่ น้ันเรียก ตัวเองว่า “เมียนมา”2 นักประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสว่า เดิมทีเรียกพวกเมียนมาว่า r&ef [มเยน] (Myen) ซึ่งเสียงใกล้กับคา ว่า jref [เม้ียน] ซึ่งจีนบางพวกใช้เรียก jrm [เมี้ย] และพวกไตหรือไทยใหญ่เรียกเมียนมาว่า rmef@ [ม่ า น ] น อ ก จ า ก น้ี นั ก ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ โป ร ตุ เก ส ว่ า ชื่ อ เมี ย น ม า ม า จ า ก ค า ว่ า jA[Rm [บ ย ะ มา] หรือ [พรหมา] เพราะเป็นพวกท่ีอพยพจากเหนือเข้าไปอยู่ตามลาแม่น้าพรหมบุตร มณฑลอัสสัม ประเทศ อินเดีย แล้วคนอินเดียกับคนปากีสถานเรียกชนเผ่านี้วา่ rm*f [ม่าค์] นอกจากน้ีปากีสถานตะวันออกจะเรยี ก ชนเผ่านี้เป็น r&rm*&D [มระมากรี] ไม่เพียงแค่น้ัน แต่ชาวเผ่ามอญ-เขมรยังเรียกพวกเมียนมาว่า rvef§r&ef [มะลัน/มะรัน] ในจารึกเมียนมา ค.ศ. 1102 ในสมัยพระเจ้ากษัตริย์ usefppfom; [จาน ซิ ตา] ที่เขียนเอาไว้โดยภาษามอญโบราณเรียกเมียนมาเป็น rd&rm [มิระมา] หลังจากน้ัน ในจารึกเมียนมาท่ีได้ พบเห็นการเขียนเปลี่ยนมาเป็นหลายๆ รูปแบบจากการสะกดคาว่า jrefrm [เมียน มา] จนถึงการเขียนที่เป็น รปู แบบปัจจบุ นั ในภาษาเมียนมา 3 ในประเทศเมียนมาปัจจุบันน้ี เป็นท่ีอาศัยอยู่ของชาวเผ่าทัง้ หมด 135 ชนเผ่า แต่หลกั ๆ แยกเป็นกลุ่ม 8 ชนเผ่าใหญ่ ๆ คือ ucsif [กะชีน], u,m; [กะย้า], u&if [กะยิน], csif; [ชีน], jrefrm [เมียนมา], rëef [มนุ ], &cdkif [ยะไค], &Srf; [ชัน] อย่างไรก็ตามในปัจจุบันน้ีชนเผ่าทัง้ หลายท่ีอาศัยอยู่ในประเทศเมียนมารวมท้ัง หมดแลว้ ถงึ เรยี กว่าชาวเมียนมา© ให้ช้าเม ื่พจํอากหา ่นราึศยกษาเท่า ้นัน ตซู าร์ นวย (ประเทศชาติ และวัฒนธรรมของเมียนมา) [สงวนสิทธิ] 3

ภาษาเมียนมาในชีวิตประจาวัน4 คาทกั ทาย ในการทักทายของชาวเมียนมามีคาทักทายอย่างสุภาพว่าเป็นคามงคล คือ r*Fvmyg [มีน กะ ลา บา] แปรว่า สวัสดี มีส่วนประกอบมาจาก r*Fvm [มีน กะ ลา] เป็นคาท่ีมาจากภาษาบาลี แปรว่า \"มงคล\" ชาว เมียนมาใช้ทักทายเช่นเดียวกับไทยใช้คาว่า สวัสดี yg [บา] เป็นคาประกอบเพ่ือแสดงความสุภาพ และไม่ สามารถแปลเปน็ ภาษาไทยได้ หากผู้พูดเป็นผู้หญิงควรลงท้ายด้วย &Sihf [ชิ่น] เป็นคาแสดงความสุภาพผู้หญิง เช่นเดียวกับ \"ค่ะ\" ใน ภาษาไทย หากผู้พูดเป็นผู้ชายควรลงท้ายด้วย cifAs [คีน บยะ] เป็นคาแสดงความสุภาพผู้ชาย แปลว่า “ครับ” ดังนนั้ ผหู้ ญงิ ถ้าจะพูดเตม็ ๆ คอื มีน กะ ลา บา ชน่ิ และ ผชู้ ายคอื มีน กะ ลา บา คนี บยะ แต่ถ้าเป็นชาวเมียนมาท่ัวๆ ไป ไม่ค่อยนิยมทักทายกันด้วยคาว่า \"มีนกะลาบา\" ชาวเมียนมานิยม ทักทายแบบเป็นกันเองวา่ ส่วนมากจะนิยมทกั ทายด้วยการเรยี กชื่อ บางทีก็ถามไถธ่ ุระส่วนตวั กนั มากกวา่ เช่น จะไปไหน b,foëm;rvdk@vJ [แบ ตว้า มะ โล่ แล่] หรือ สบายดหี รือ aeaumif;vm; [เน เกา้ ล่า] หรือ กินขา้ วแล้วหรอื xrif;pm;+yD;+yDvm; [ทะ มนี ซา้ ปี้ บี ล่า]© ให้ช้าเม ื่พจํอากหา ่นราึศยกษาเท่า ้นัน การแนะนาตนเอง ใช้ภาษาพมา่ แนะนาตวั กต็ อ้ งพดู ว่า uíefawmf§uíefr æ yg [จะ นอ / จะ มะ …(ช่ือตนเอง)... บา] แปลวา่ “ผม/ดิฉัน …(ช่ือตนเอง)...” แนะนาช่ือตนเองก่อน แลว้ ถามตอ่ กับผรู้ ่วมสนทนาวา่ eHrnf b,fvdk ac:ygovJ cifAs§&Sifh [นาน แม แบ โล ขอ บา ตะ แล คีน บยะ/ชิ่น] แปลวา่ “ชื่อของคุณเรียกวา่ อะไร ครบั /คะ่ ” หลงั จากแนะนาชือ่ แลว้ od&wm 0rf;omygw,f cifAs§&Sifh [ติ ยะ ดา วู้น ตา บา แด คนี บยะ/ ช่ิน] “ยนิ ดีที่ได้รู้จัก ครับ/ค่ะ” การเรียกชอื่ ชาวเมียนมาไม่วา่ จะเป็นชายหรือหญิงจะต้องใช้คานาหนา้ ชอื่ ร่วมเรยี กไปด้วยเม่ือเรียก หรอื พดู ถงึ คือ armif [เมา] ใชก้ บั เดก็ ชายหรอื เด็กหน่มุ หรือ ผ้ชู ายทอี่ ายุน้อยกว่าผู้พดู udk [โก] ใชก้ บั ผ้ชู ายวยั ผู้ใหญ่ หรือ วยั กลางคน หรอื ผู้ชายทมี่ อี ายรุ ่นุ เดยี วกันกับผู้พดู OD; [อู้] ใช้กบั ผู้ชายวยั ผู้ใหญอ่ ายุเลยกลางคน และเรยี กอย่างยกยอ่ งให้เกยี รติ r [มะ่ ] ใช้สาหรบั เด็กหญงิ หรือเดก็ สาว, ผหู้ ญงิ ทม่ี ีอายุรนุ่ เดยี วกัน หรอื อายุน้อยกว่าผู้พูด a': [ดอ] ใชส้ าหรับผ้หู ญงิ ในวัยผ้ใู หญ่ หรอื เรียกอยา่ งยกยอ่ งใหเ้ กยี รติ ในวฒั นธรรมพม่าไม่มีคา นาหน้าชอ่ื ทบี่ ง่ บอกผู้หญิงทสี่ มรสมาแล้วหรือไม่© ตูซาร์ นวย (ประเทศชาติ และวัฒนธรรมของเมียนมา) [สงวนสิทธิ] 4

สรรพนาม แบบสภุ าพ แบบกันเอง บรุ ุษท่ี 1 uíefawmf [จะ นอ] ผม, กระผม uíefawmfw@dk [จะ นอ โด่] พวกผม, พวกกระผม ig [งา] ก,ู ข้า พวกกู, uíefr [จะ มะ] ฉนั , ดฉิ ัน igw@dk [งา โด่] พวกขา้ บุรษุ ท่ี 2 uíefrw@dk [จะ มะ โด่] พวกฉัน, พวกดิฉัน rif; , eif เธอ, มงึ cifAsm; [คนี บยา้ ] คณุ (ผพู้ ดู เป็นผู้ชาย) [มนี , นนี ] &Sif [ชนี ] คณุ (ผพู้ ดู เปน็ ผหู้ ญิง) เขา 'if; [ดนี ] พวกเขา ให้ช้าเม ื่พจํอากหา ่นราึศยกษาเท่า ้นันบรุ ษุ ท่ี 3ol [ตู]เขาผูช้ าย olr [ตู มะ] เขาผูห้ ญงิ 'if;w@dk olwdk@ [ตู โด่] พวกเขา [ดนี โด่] อาลา ในภาษาเมียนมาไม่มีคาอาลาท่ีตรงกับใช้ในภาษาไทยว่า “ลาก่อน” เมื่อจะลาจากกันชาวเมียนมาพูด หลายรูปแบบข้นึ อยกู่ บั การสนทิ สนมและสถานการณ์ เมอ่ื พดู กับผู้ใหญ่ หรือคนท่มี ีฐานะสูง จะใชค้ าว่า cëifhjyKygOD; [ควิน ปยุ บา โอน] แปลว่า “ขออนญุ าต, ขอตวั ” เปน็ คาที่จะขออนญุ าตอย่างสุภาพ อีกคาที่ใช้ได้ คือ oëm;ygOD;r,f [ตว้า ปา โอน แม] แปลวา่ “ขอ อนุญาตไปกอ่ น” บางทีกพ็ ูดว่า jyefvudk fygOD;r,f [ปยาน ไล่ ปา โอน แม] แปลว่า “ขออนุญาตกลับก่อน” สาหรบั คนที่สนทิ สนมกนั มกั จะพูดว่า oëm;r,faemf [ตวา้ แม นอ] แปลวา่ “ไปแลว้ นะ” บางทผี ใู้ หญ่ มักจะพูดกับเดก็ ทีส่ นิทสนมวา่ อีกคาท่ีใช้ได้ คือ q=Hk uao;wmaygh [โซน จะ เต ดา ป่อ] แปลว่า “แลว้ พบกัน ใหม”่ เมื่อพูดกับเด็ก หรือ ผู้ที่สนิทสนมมากๆ ตั้งแตว่ ัยเด็ก อาจจะใช้ว่า wmhwm [ตะ-ตา] ซึ่งมาจากคาว่า “ta-ta” ในภาษาองั กฤษและโบกมอื ดว้ ยก็ได้ © การขอบคณุ ชาวเมียนมาให้ความเคารพผู้อาวุโสกว่าอย่างมากเช่นเดียวกับชาวเอเชียชาติอื่นๆ ชาวเมียนมายังให้ ความ สาคัญกับการตอบแทนบุญคุณ หากได้รับความช่วยเหลือแม้เพียงเล็กน้อยก็ต้องทาสิ่งตอบแทนกลับคืน ไป อย่างน้อยจะพูด “ขอบคุณ” กับความช่วยเหลือที่ได้รับจากใครก็ตาม ดังน้ัน aus;Z;l wifygw,f [เจ้ ซู ตีน บา แด] เป็นคาขอบคุณท่ิพูดเป็นทางการทิ่จะใช้บ่อย แต่กับคนท่ิสนิทหรือ คนท่ิอายุน้อยกว่าผู้พูดหรือ ตซู าร์ นวย (ประเทศชาติ และวัฒนธรรมของเมียนมา) [สงวนสิทธิ] 5

ให้ช้าเม ื่พจํอากหา ่นราึศยกษาเท่า ้นันคนท่คิ ุณวฒุ ระดับตา่ กวา่ ผ้พู ดู จะพดู เปน็ วา่ aus;Z;l yJaemf [เจ้ ซู แบ นอ] แปลวา่ “ขอบคณุ นะ” หากผู้พูดเป็นผู้หญิงควรลงท้ายด้วย &Sifh [ชิ่น] เป็นคาแสดงความสุภาพผู้หญิง เช่นเดียวกับ \"ค่ะ\" ใน ภาษาไทย หากผู้พูดเป็นผู้ชายควรลงท้ายด้วย cifAs [คีน บยะ] เป็นคาแสดงความสุภาพผู้ชาย แปลว่า “ครับ” ดังนั้นคาขอบคุณทิ่จะพูดเป็นเต็มๆทิ่ควรจะใช้ก็คือ aus;Z;l wifygw,f&Sif [เจ้ซู้ตีนบาแด ช่ิน] “ขอบคุณค่ะ” และ aus;Z;l wifygw,fcifAs [เจ้ซตู นี บาแด คนี บยะ] “ขอบคุณครับ” คนทิ่ได้รับการขอบคุณส่วนมากจะตอบกลบั โดยคาว่า &ygw,f [ยะบาแด] แปลว่าไม่เป็นไร หรือว่า aeygap [เน บา เซ] แปลว่าไม่ต้องเหรอ คาพูดเหล่าน้จี ะใช้กับคนที่รู้จกั กันมาก่อนหรือสนิทกันมาแล้ว เช่น เพอ่ื นที่สนิท พีน่ ้องและ เพือ่ นร่วมเรียน หรอื เพอื่ นรว่ มงาน สาหรับคนทไี่ ม่คนุ้ เคยหรือ คนท่ีอายุนอ้ ยกวา่ พูดกับผ้ใู หญ่ท่ีอาวุโสกว่าจะใช้วา่ [kwuf yJh g&iS hf [โฮะแก่ บา ช่ิน] แปลว่าได้ค่ะ หรือ [kwuf yJh gcifAs [โฮะแกบ่ า คนี บยะ] แปลวา่ ได้ครับ ซึ่งทค่ี าพดู ท่ีเป็น คายอมรับ การขอบคณุ จากคนท่ีพูดมา ขอแทรกตรงนี้นิดหนึ่งวา่ คาพูด “โฮะแก่บา ช่ิน”และ“โฮะแก่บา คีนบยะ” ใช้ได้ กับหลายสถานการณ์เช่น ตอบว่าได้ ตอบว่าใช่ และ เวลาถูกเรยี กชือ่ แล้วตอกกลบั บางครั้งเวลาเราฟงั ของใคร บางคนพูดอยู่คาพูด “โฮะแก่บา ช่ิน” และ “โฮะแก่บา คีนบยะ” ให้รู้ว่าเรายังฟังอยู่หรือเราเห็นด้วยที่เขาพูด อยู่ ตอนสมัยก่อนที่ยังไม่เป็นเมืองข้ึนของอังกฤษ เวลาชาวเมียนมาขอบคุณโดยกราบไหว้หรือ กราบเท้า และพูดคาขอบคุณ แต่ก็ตั้งแต่คนอังกฤษเข้ามาปกครองประเทศเมียนมามีวัฒนธรรมอันงดงามน้ีหายไปจน บัดน©ี้ ขอโทษ ในการขอโทษสาหรับชาวเมียนมามวี ิธแี ละสถานการณห์ ลายรปู แบบ ในกรณีทอี่ ยากจะเรียกให้หนั มา จะใช้คาวา่ wpfqdwfavmufyg [ตะ เซะ เลาะ ปา] (แปลตามศพั ทว์ า่ ขอนิดหน่งึ ) หมายถึง “ขอโทษ, ขอ อนุญาต” แล้วต่อดว้ ยประโยคทตี่ ้องการพดู ในกรณที ่ีทาผิดไมร่ า้ ยแรงมาก เช่น ตอนเดนิ ชนไหล่ หรือ เหยียบเทา้ ของอีกคนพดู ว่า pdwfr&SdygeJ@ [เซะ มะ ชิ บา แน]่ หมายถึง “ขอโทษ, อย่าถือสา” เม่ือพูดคาขอโทษนมี้ ักจะคอ้ มศีรษะดว้ ย ในกรณีที่ทาผดิ ให้เสียหายมากจะพูดดงั นี้ cëifhvìwfyg [ควิน ลุ ปา] หมายถึง “ขอให้อภัย, ขอให้ยก โทษให้” awmif;yefygw,f [เตา้ ปาน ปา แด] เม่อื พดู คาขอโทษนมี่ ักจะค้อมศรี ษะและโคง้ ตวั เลก็ นอ้ ยด้วย คานี้ใช้ในกรณีท่ีทาผิดรา้ ยแรงกว่าทพ่ี ูดว่า cëifhvìwfyg [ควิน ลุ ปา] คาขอโทษท้งั หมดน้ีท่ีกล่าวมาใชก้ ับทุกวัย สว่ นใหญห่ ลงั จากพูดคาขอโทษจะใส่คาลงทา้ ยเพ่ือให้สุภาพ ยิ่งข้ึน© ตซู าร์ นวย (ประเทศชาติ และวัฒนธรรมของเมียนมา) [สงวนสิทธิ] 6

ให้ช้าเม ื่พจํอากหา ่นราึศยกษาเท่า ้นันเครอื งแต่งกายของเมยี นมา5 การแต่งตัวของชาวเมียนมาตั้งแต่ด่ังเดิมจนปัจจุบันนี้ยังคงอนุรักษ์ไว้อยู่ ส่วนมากผ้าที่สวมใส่ช่วง ด้านบนลาตัวท้ังผู้ชายและผู้หญิงเรียกเหมือนกันว่า tusô [อีน จี] แปลว่า เส้ือ แต่ก็ผ้าที่นุ่งห่มช่วงล่างลาตัว เรียกไม่เหมือนกัน สาหรับเพศชายเรียกกันว่า ykqk;d [ปะ โซ่] แปลว่า โสร่ง และสาหรับเพศหญิงเรียกว่า xbD [ทะบี] (ทะเมน) แปลวา่ ผ้าสิน หรอื ผ้าถุง ยังไงก็ตามมีคาตัง้ แตโ่ บราณท่ีเรียกรวมกันวา่ vcHk snf [โลน ช]ี หมายถงึ ผา้ ท่ีนงุ่ ห่มช่วงล่างลาตวั ของคน เมอื่ ตอนสมยั กษัตรยิ ์ปกครองจะมคี าของชนิดผ้ามาเอาไว้อยู่ด้านหนา้ คาว่า เสื้อ หรือ โสร่ง ในสมัยนั้น สาหรับราชวงศ์และชาววังนิยมใส่ ผ้า ykd; [โป] ไหม แล้วสาหรับประชาชนชาวบ้านท่ัวไปที่มีฐานะบางทีจะใส่ ผ้าไหม บางทีจะใส่ ผ้า uwWDyg [กะ ดี บา] กามะยี แตก่ ป็ ระชาชนท่ัวไปจะใสผ่ า้ csnf [ชี] ฝา้ ย เครืองแตง่ กายผชู้ าย ในสมัยน้ันชาวเมียนมาจะอนุรักษ์ผมมากจนท้ังผู้ชายและผู้หญิงจะไว้ผมยาวกัน เพราะฉะน้ันเม่ือมัด ผมของผู้ชายเพื่อให้เรียบรอ้ ยจะมาพันดว้ ยผ้า acgif;aygif; [เกา เบา] ด้วยอกี ที แต่ปัจจุบันนี้ตัดผมส้ัน ไม่นิยม โพกศีรษะตามประเพณเี ดิมแล้ว เม่ือมีพธิ จี ะมีผ้าหรือ แพรโพกศีรษะทาเปน็ กระจุกปลอ่ ยชายทง้ิ ไว้ทางด้านขวา นยิ มใช้สีออ๋ น ชว่ งดา้ นบนเสื้อที่ใส่ก็ไมเ่ หมือนกับชาววัง เส้ือที่ใชค้ ือผ้าฝ้ายหนาๆ รปู แบบคล้ายกับเส้ือจีน แต่ไมม่ ีปก คอกลม แขนยาว ผ่าด้านหน้าตดิ กระดุมท่ีทาด้วยผา้ ที่เรียกกันวา่ wudk fyHk [ไต่ โปน] ซ่ึงในปัจจุบันน้ีมาใส่เป็น เส้อื นอก ใชส้ ีสภุ าพ เชน่ ขาว ดา หรือ นวล ในสมัยโบราณจะไมใ่ ส่เส้ือชั้นใน แต่ตอนสมยั ที่องั กฤษปกครองเร่ิม มาใส่เสอ้ื เชต้ิ ท่ีเปน็ คอตัง้ มาใสช่ ั้นใน โดยทว่ั ไปใส่เสื้อขาว การแต่งตัวแบบราชวงศ์และชาววังสาหรับผู้ชายที่จะเรียกกันว่า awmif&Snfykqdk; [เตา เช ปะ โซ่] แปลเป็นภาษาไทยได้ว่า โสร่งยาว 20 วา แล้วช่วงบนลาตัวจะใส่เสื้อท่ีเป็นเส้ือคอกลมติดกระดุมด้านข้าง หน้าอก ดา้ นหน้าตัวตรงเอวจะผ่าเอาไวอ้ ย่างสัน้ ๆ สองจดุ อย่างไงก็ตามการแต่งตัวสาหรับผู้ชายแบบชาววังนี้ในสมัยน้ีมักแต่งตัวในการเต้นราแบบด่ังเดิม แล้ว เพ่ือให้เกียรติรูปแบบชุดอย่างชาววังจะมาแต่งตัวในการแต่งงานด้วย นอกจากน้ันจะไม่มาแต่งตัวแบบนี้ใน ชีวิตประจาวันในสมัยนี้ สาหรับชาวบ้านธรรมดาต้ังแต่สมัยนั้นจนถึงปัจจุบันน้ีไม่ใส่โสรง่ ยาว 20 วา แบบชาว วัง จะใส่แค่พอประมาณตัวเท่าที่พันตัวได้ ซ่ึงจะเห็นในปัจจุบันนี้ที่แต่งกันในชีวิตประจาวัน สีไม่ฉูดฉาด เป็น ลายตาราง โตบา้ ง เลก็ บา้ ง หรอื เปน็ ลายทางยาวบา้ ง ส่วนเท้าสาหรับราชวงศ์ใส่รองเท้าที่เป็นด้านนอกทาด้วยทองและด้านในท่ีติด อยู่กับเท้าเป็นกามะยี รูปทรงท่ีเป็นสวมแต่ไม่ปิดส้น ส่วนชาววังท่ัวไปและคนชนช้ันสูงจะใส่รองเท้าที่ทาด้วยกามะยี สาหรบั ชาวบ้าน ธรรมดาจะใส่รองเท้าท่ีทาด้วย om;a& [ตะ เย] หนัง หรือ aumuf¶dk; [เกาะ โย้] ฝาง รูปทรงที่เป็นหนีบ ดว้ ยน้วิ เทา้ และเปิดเทา้ อยู่ แต่ปจั จบุ ันน้ีเมอื่ มพี ิธีใส่รองเทา้ ที่ทาดว้ ยกามะยีกนั เครื่องแตง่ กายผ้หู ญงิ ทรงผมของผหู้ ญิงสมัยโบราณจะแบง่ เปน็ 10 แบบ ท่ีจะแบ่งกนั โดย ชนชั้น ฐานะ งานต่าง ๆ ตามที่ บังคับเอาไว้ ถา้ ไมเ่ ข้ากบั ฐานะของคนที่แต่งทรงผมตามกาหนดจะต้องรับโทษ ตซู าร์ นวย (ประเทศชาติ และวัฒนธรรมของเมียนมา) [สงวนสิทธิ] 7

สาหรับเสือ้ ผา้ ราชวงศแ์ ละชาววงั จะมี &ifpnf; [ยีน ซ้ี] ผ้าตา่ งหากพันตรงหนา้ อก แลว้ เสอ้ื แขนยาว และลาตัวยาวทีผ่ า่ ดา้ นหนา้ สวมทับ นอกจากนั้นจะมี yk0g&Snf [ปะ วา เช] ผ้ายาว ๆ คลมุ ทบั ตรงตน้ คอและ หนา้ อกอกี ที การแต่งตัวแบบราชวงศ์และชาววังที่จะเรียกกันว่า xidk frodrf; [ไท มะ เต่น] คือ ผ้าถุงยาวกว่าช่วง เท้าและปิดมิดช่วงด้านล่าง จะเห็นแค่น้ิวเท้าและหลังเท้าเม่ือเดิน xbD [ทะ บี] ผ้าถุงของราชวงศ์ตรงลาตัว จะเป็นลาย tcsdwf [อะ เชะ] ซี่งลวดลายดอกไม้ เครือไม้ คลื่นน้า หรือเป็นดอกเป็นลายตามขวาง และผ้าท่ี ยาวกว่าเทา้ จะเป็นสีขาวและไมม่ ีลาย ตงั้ แต่สมัยพุกามจนถึงสมัยคองบองตอนกลาง ผ้าถุงของราชวงศ์และชาว วงั ผ่าด้านหนา้ ตรงกลางไว้ ไมไ่ ด้เย็บตดิ กัน ผา้ สองด้านมาซ้อนกนั เพ่ือให้ไมเ่ หน็ ชว่ งขา สาหรับชาวบ้านท่ัวไปจะไม่มี &ifpnf; [ยีน ซี้] มาพันตรงหน้าอก แต่พัน txufqifh [อะ แทะ ซี่น] ผ้าที่เย็บติดกับผ้าถุงใส่ตรงช่วงหน้าอก แล้วช่วงเอวมามัดกับเชือกอีกที ความยาวของผ้าถุงยาวแค่ พอประมาณเทา้ และไมม่ ลี วดลายอย่างชัดเจน ส่วนเท้าจะคล้ายกับผู้ชาย คือ ราชวงศ์และชาววัง หรือ ผู้หญิงชนช้ันสูงจะสวมรองเท้าที่เรียกว่า ajceif; [เช น่ีน] ที่ด้านนอกทาด้วยทองและด้านในทต่ี ิดกับเทา้ เปน็ กามะย่ี สาหรับราชวงศ์และชาววังรองเท้า ท่ีสวมจะปิดท้ังนิ้วเท้า หลังเท้าและปิดส้นด้วย ส่วนผู้หญิงชนช้ันสูงจะใส่รองเท้าท่ีทาด้วยกามะยี สาหรับ ชาวบา้ นธรรมดาจะใส่รองเท้าหนีบท่ีทาดว้ ย om;a& [ตะ เย] หนัง หรอื aumuf¶;dk [เกาะ โย้] ฝาง ต้ังแต่สมัยอังกฤษเข้ามาปกครองจนถึงปัจจุบัน การแต่งกายแบบชาววังจะมาแต่งกันในงานพิธีต่างๆ เพื่อยกย่องให้กับชดุ ไม่นามาแต่งในชีวิตประจาวัน อีกอย่างหนึ่งการแต่งกายแบบชาววงั นั้นจะนามาแต่งกันใน งานเต้นราแบบดั่งเดิมด้วย ตั้งแต่ช่วงอังกฤษเร่ิมปกครองการแต่งกายของผู้หญิงเปล่ียนเป็น twëif;cHtusô [อะ ตวีน คาน อีน จี] ชุดชั้นใน Armtusô [บะ มา อีน จี] เส้ือเย็บพอดีตัว เสื้อติดกระดุมหน้าเรียกว่า &ifaphtusô [ยิน เซ่ อีน จี] เสื้อติดกระดุมข้างเรียกว่า &ifzHk;tusô [ยิน โบน อีน จี] แขนกระบอกยาวจรด ข้อมอื และผ้าถุงท่ีใส่ก็เย็บติดพอประมาณพันตัวและจะยาวแค่พอประมาณเท้าเหมอื นแบบปัจจุบนั ทเี่ หน็ กนั อยู่ ไมน่ ิยมใช้เขม็ ขดั และทรงผมจะไม่เกล้าแบบโบราณแลว้ โดยทวั่ ไปไว้ผมยาว ปัจจุบันนี้ในชีวิตประจาวันทั้งผู้ชายและผู้หญิงแต่งตัวกันแบบชาวบา้ นในสมัยโบราณ เม่ือออกงานจริง จะแต่งอย่างชาววังหรือคนมีฐานะสมัยโบราณ นอกจากน้ีเริ่มแต่งตัวแบบตะวันตกกัน เช่น กระโปรงและ กางเกง ฯ © ให้ช้าเม ื่พจํอากหา ่นราึศยกษาเท่า ้นัน ตซู าร์ นวย (ประเทศชาติ และวัฒนธรรมของเมียนมา) [สงวนสิทธิ] 8

การทาความเคารพของชาวเมยี นมา การทาความเคารพของชาวเมียนมามีการแสดงออกเป็นหลายวิธี เช่น การยืน ค้อมศีรษะ การพนม มือไหว้ ในโอกสตา่ ง ๆ การสมั ผสั การเรยี ก ตลอดจนการใช้คาเรยี กขาน ล้วนเป็นการแสดงความเคารพทง้ั สนิ้ สงิ่ ท่ีสาคญั คอื เน่ืองจากประเทศเมียนมาเปน็ ประเทศที่เคร่งในพุทธศาสนา ชาวเมียนมาทาความเคารพ ตอ่ สถานทีศ่ ักด์ิสิทธิ์ต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น เจดีย์ วัดทีพ่ ระสงฆอ์ ยู่ หรือ ต่อนา้ ห้งิ พระที่บ้าน ต้องแตง่ กายให้สภุ าพ เรียบร้อย จะไม่เปิดเผยร่างกาย เมื่อไปที่ศาสนสถานถอดรองเท้าและถุงเท้าเป็นแสดงความเคารพต่อสถานท่ี ด้วย การยืนตรงเคารพธงชาตินั้นปฏิบัตกิ นั ทโ่ี รงเรียน โรงหนัง และศูนยฝ์ ึกอบรมตา่ งๆ ของสถานที่รัฐบาล เท่านัน้ การยืนตรงค้อมศีรษะให้เกียรติในโอกาสต่างๆ เป็นส่ิงท่ีชาวเมียนมาท่ัวไปปฏิบัติต่อกับผู้อาวุโส มากกว่าและผู้ใหญ่ ถ้าเป็นผู้น้อยและผู้ใหญ่ ผู้น้อยจะเป็นฝ่ายทักทายก่อนโดยจับศอกแต่ละด้านของตัวเอง แลว้ ก้มหวั ลงพรอ้ มกับพูดคาทกั ทาย แต่ปัจจุบันนเ้ี ม่ือผู้ชายชาวเมียนมาพบปะกันมักทักทายพร้อมกับสัมผัสมือ ขวาอยา่ งตะวันตก เมือ่ ลกู ศษิ ย์พบครูหรืออาจารย์ก็ต้องทาความเคารพแบบผนู้ อ้ ยต่อผู้ใหญ่เหมือนกนั ในกรณที ย่ี ่นื หรือรบั ของจาก ให้มอื ซ้ายแตะที่บรเิ วณใต้ศอกขวาใวต้ อนยนื่ หรือรับของ หรอื ใชม้ ือสอง ข้างยน่ื หรอื รับและมักจะผงกหัวเป็นการแสดงความเคารพด้วย สาหรับคนในครอบครัวทักทายผู้ท่ีมีอาวุโสมากกว่ากอนและจะใช้การเรียกช่ือหรือคาเรียกเครือญาติ เช่น เรียก ปู่ ย่า ตา ยาย ป้า น้า อา พ่อ แม่ พ่ี น้อง และถามการเป็นอยู่เป็นการแสดงความเคารพต่อคนใน ครอบครัวด้วย กอ่ นออกจากบ้านและเมื่อกลับมาท่ีบ้านตอ้ งบอกกับผใู้ หญ่ในบ้านก็เป็นแสดงความเคารพด้วย เชน่ กัน ในเวลาการรบั ประทานอาหารเพอื่ แสดงความเคารพต่อผู้ใหญใ่ นบา้ น ต้องรอใหผ้ ้ทู ่ีอาวุโสท่ีสดุ ในบ้าน ตกั ก่อน หรอื ตอ้ งตกั ใสใ่ หก้ ่อนเปน็ อันดับแรกท่ีเรยี กว่า OD;cs [อู้ ชะ] แปลว่า กราบ การแสดงความเคารพต่อพระราชาหรือเช้ือพระวงศ์ในอดีตที่ผ่านมานั้น ทุกคนจะต้องน่ังบนพื้น ตรงหน้าพระพักตร์ โดยก้มหน้าลงพร้อมกับพนมมือยกมือข้ึนโดยให้น้ิวหัวแม่มือจดที่ศีรษะสาหรับแสดงความ เคารพต่อเช้อื พระวงศ์ © ให้ช้าเม ื่พจํอากหา ่นราึศยกษาเท่า ้นัน ตซู าร์ นวย (ประเทศชาติ และวัฒนธรรมของเมียนมา) [สงวนสิทธิ] 9

สิง่ ท่เี ปน็ มงคลและอปั มงคลเมยี นมา6 ในวัฒนธรรมเมียนมาสิ่งที่เป็นมงคลและอัปมงคลน้ัน ส่วนใหญ่กาหนดกับปัจจัยด้านความเช่ือทางให้ช้าเม ื่พจํอากหา ่นราึศยกษาเท่า ้นัน สังคมดั้งเดิม ชาวเมียนมานิยมไหวพ้ ระ ขอพร จัดเปน็ ช่อดอกไม้ จัดแจกันไวใ้ นบ้าน และนิยมปลุกกนั ในบริเวณบ้าน โดย ต้นไม้ ดอกไม้ และผลไม้ท่ีเป็นมงคล สัญลักษณ์ที่ดี และความหมายของช่ือที่ดี เช่น oajy [ตะ ปเย] หมายถึง หว้า ในความหมายของชัยชนะ *rkef; [กะ โมน] หมายถึง ว่าน สาหรับธุรกิจ เศรษฐกิจ และเงิน tif=uif; [อีน จีน] หมายถึง สาละ สัญลักษณ์ที่เกี่ยวขอ้ งกับพุทธศาสนา =oZm [ออ ซา] หมายถึง น้อยหน่า ความหมายของช่ือในภาษาเมียนมาว่า อานาจ a&ìyef; [ชเว ป่าน] หมายถึง ดอกมหาหงส์ ความหมายของช่อื ในภาษาเมยี นมาว่า ดอกทอง opPmyef; [ติซา ปา่ น] ความหมายของช่ือในภาษาเมียนมาว่า ดอกความช่ือสัตย์ pdefyef; [เซน ป่าน] หมายถึง ดอกหางนกยูง ความหมายของชื่อในภาษาเมียนมาว่า ดอก เพชร นอกเหนือจากน้ตี ้นไม้ ดอกไม้ และผลไม้ยงั มีอีกมากทใ่ี ช้ในการเป็นมงคลด้วย แต่ดอกไม้ acgif&ef; [เคา ย่าน] หมายถึง ชบา เป็นตน้ ไม้ท่ีปลูกไว้ในบริเวณสถานท่ีฝังศพหรือในป่าช้า เท่าน้ันในอดิต ชาวเมียนมาถือว่าเป็นต้นไม้ท่ีอัปมงคล ไม่นาไปปลุกในบริเวณบ้านหรือท่ีพักอาศัย และไม่ควน ให้เป็นของขวัญ ต้นไม้และผลไม้ที่ถือเป็นอัปมงคลโดยสัญลักษณ์ ความหมายของช่ือ คือ pyspf [ซะปยิ] หมายถึง องุ่น ความหมายในภาษาเมียนมาว่า จากไป yef;oD; [ปาน ต้ี] หมายถึง แอปเป้ิล ความหมายในภาษาเมียนมาว่า พลเหน่ือย emewf [นา นะ] หมายถึง สับปะรด เพราะรปู ร่างน้าตามีปูมเยอะ &mS ;apmif; [ช้า เซ้า] หมายถึง แคกตัส เพราะมีหนามเยอะ &Sm;yif [ช้า ปีน] หมายถึง สีเสียด มีฤทธ์ิร้อน จะ ไม่ใช้ในการไหว้พระ ขอพร ปลุกในบริเวณบ้านหรือที่พักอาศัย และให้เป็นของขวัญโดยผลไม้หรือต้นไม้ เหลา่ น้นั สัตว์ที่เป้นมงคลในประเทษเมียนมามีคือ e*g; [นะกา] หมายถึง มังกรหรือนาค เป็นสัตว์ในตานาน สัญลักษณแ์ หง่ อานาจ jcaoFh [ชนี เต่] หมายถงึ สิงโต มีช่ือเสยี ง อานาจและฐานะสงู สง่ a'gif; [เด้า] หมายถึง นกยูง มีอานาจและฐานะสูงส่ง qif [ซีน] หมายถึง ช้าง มีอานาจและฐานะสูงส่ง vdyf [เละ] หมายถึง เต่า เป็นสัญลักษณ์ของความเข้มแข็งและอายุยืนนาน ZD;uëuf [ซ้ี กแวะ] หมายถึง นกฮูก มีความรู้และเฉลียว ฉลาด atmucf sif;iSuf [เอาะ ชีน แงะ] หมายถึง นกกาฮงั เป็นนกที่สง่างาม เป็นสัญลักษณแ์ หง่ ความสขุ ของ คู่รัก สตั ว์ที่ชาวเมียนมารังเกียจและถือว่าเป็นอัปมงคล คือ vif;w [ละ ดะ] หมายถึง แร้ง สัตว์ท่ี อาศยั อยู่บริเวณสถานทฝ่ี งั ศพหรอื ในป่าช้า usD;ue;f [จ้ี กาน] หมายถึง อกี า เพราะเสยี งที่ไมน่ า่ ฟัง acë; [คเว้] หมายถึง หมา ความเชื่อจากอดีตว่าสัตว์ช้ันต่า zëwf [พุ] หมายถึง เหี้ย ความเชื่อจากอดีตว่าสัตว์ชั้นต่า ถ้า เปรียบเทียบกับสัตว์เหล่าน้ัน ชาวเมียนมาจะถือว่าเป็นการดูถูกหยังมาก นอกจากน้ี a=umifrnf; [เจา แม่] หมายถึง แมวดา โดยเฉพาะหากแมวดาวงิ่ ตดั หนา้ หรอื จากบริเวณหนา้ บา้ น ถอื วา่ กาลังจะมีโชครา้ ย นอกจากน้ี ของขวัญที่จะต้องห้ามยังเป็นประเภทของมีคม เช่น \"m; [ด้า] หมายถึง มีด vufonf;!y‡ f [และ แต้ ญะ] หมายถึง ที่ตัดเล็บ uwfa=u; [กะ จี้] หมายถึง กรรไกร ฯลฯ โดยถือเป็น อัปมงคล เพราะสามารถท่มิ แทงทาให้บาดเจบ็ ได้ ชาวเมียนมามีความเช่ือในเร่ืองที่เก่ียวกับทิศทางที่ตั้งของอาคารหรือบ้านและการจัดวางสิ่งของ ตซู าร์ นวย (ประเทศชาติ และวัฒนธรรมของเมียนมา) [สงวนสิทธิ] 10

ภายในอาคารหรือบ้านให้ถูกหลกั ความเปน็ มงคล ชาวเมยี นมาเชื้อถือวา่ ta&SŒt&yf [อะ เช่ อะ ยะ] หมายถึง ทิศตะวันออกคือทิศที่มงคล และ taemuft&yf [อะ เนา่ อะ ยะ] หมายถงึ ทศิ ตะวันตกคือทศิ ทไี่ มเ่ ป็นมงคล ดังนั้นต้ังแต่สมัยโบราณเม่ือสร้างสถานท่ีต่างๆ ท่ีเพื่อจะเป็นสิริมงคล อาคารหรือบ้านต้องหันหน้าไปทางทิศ ตะวันออก ถ้าหันหน้าไปทางทิศตะวันตกไม่เป็นมงคล ห้ิงพระหรือห้องพระและห้องของพ่อแม่ต้องอยู่ทางทิศ ตะวันออกเพื่อความเป็นศิริมงคล แล้วห้องอาบน้าและสุขาต้องอยู่ทางทิศตะวันตกเพ่ือไม่ให้เป็นอัปมงคล ภายในบา้ นหวั เตยี งนอนไม่ควรหันไปทางประตูบา้ นและทิศตะวันตก เพราะเชอ่ื ว่าจะเป็นอัปมงคล สารับวัน เดอื น ปีท่เี ป็นมงคลน้ัน จะต้องดูตามปฏิทินเมียนมาท่ีใช้ตาราโหราศาสตร์เมียนมา ท่ีเป็น ระบบการนับเวลาแบบจันทรคติ หรือการนับตามการโคจรของดวงจันทร์ ซึ่งไม่เป็นตายตัวในแต่ละวัน เดือน และปี แต่ชาวเมียนมาส่วนใหญ่จะถือว่า reufyidk f; [มะ แนะ ไป่] หมายถึง ช่วงเช้าเป็นช่วงเวลาที่เป็นมงคล และ naeydkif; [ญะ เน ไป่] หมายถึง ช่วงตอนเย็น nOD;ydkif; [ญะ อู่ ไป่] หมายถึง ช่วงหัวค่ามืดเป็นช่วงเวลา ทไ่ี ม่เปน็ มงคล เพราะเหตุนี้เม่อื มีการเฉลิมฉลองงานดีๆ การทาบุญ การนัดคยุ ธรุ กิจ มกั จะทาในชว่ งเวลาเช้า สีท่ีเป็นมงคลของชาวเมียนมาเป็น a&ìa&mif [ชเว เยา] หมายถึง สีทอง aiëa&mif [งเว เยา] หมายถึง สีเงีน ท่ีมักใช้ในการเฉลิมฉลองงานดีๆ การทาบุญ งานแต่งงานเป็นต้น ถึงแม้ว่าตามประเพณีดั้งเดิม เมียนมา tjzLa&mif [อะ พยู เยา] หมายถึง สีขาว เป็นสีทีสวมใส่ในการไว้ทุกข์ในสมัยโบราณ แต่ปัจจุบันนี้ไม่ ถือเป็นสีท่ีไม่เป็นมงคล และ trnf;a&mif [อะ แม้ เยา] หมายถึง สีดา ก็ไม่ถือเป็นสีที่ไม่เป็นมงคล เชน่ เดยี วกัน © ให้ช้าเม ื่พจํอากหา ่นราึศยกษาเท่า ้นัน ตซู าร์ นวย (ประเทศชาติ และวัฒนธรรมของเมียนมา) [สงวนสิทธิ] 11

มารยาทของชาวเมียนมา7 แม้ว่าปัจจุบันมารยาทตะวันตกจะเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งในชีวิตประจาวันของชาวเมียนมามากขึ้น แต่ให้ช้าเม ื่พจํอากหา ่นราึศยกษาเท่า ้นัน โดยท่ัวไปมารยาทด่ังเดิมท่ีปฏิบัติสืบทอดกันมาก็ยังคงยึดถือปฏิบัติกันอยู่ คาในภาษาเมียนมาว่า ,Ofaus;aomtrlt&m [ยีน เจ ตอ อมู อยา] หมายถงึ กริ ยิ าทีด่ ี มารยาททด่ี ี หลักการปฏิบัติตามมารยาทของสังคมเมียนมา มาจากอิทธิพลของศาสนาพุทธจึงปฏิบัติ ศีล 5 ใน ชีวิตประจาวัน เพราะฉะน้ันทาให้ชาวเมียนมามีจิตใจอ่อนโยน ผูกพันกบั ธรรมชาติ รกั สงบ ไม่นิยมความรุนแรง และเชื่อถือในกรรม นอกจากนน้ั การนบั ถอื ผอู้ าวโุ สและผูม้ ีความรู้ที่มีอยู่ในวฒั นธรรมเมียนมาก็นับเปน็ มารยาท ทด่ี ีเช่นกัน ดังน้ันโดยท่ัวไปชาวเมียนมามักประพฤติตนอยู่ในกรอบวินัยตามแนวทางของศาสนาพุทธ ไม่ปฏิบัติ ตนไปในแนวทางท่ไี ม่เหมาะไม่ควร เพราะจะได้ชอ่ื วา่ เปน็ คนไรม้ ารยาทหรอื ไรก้ าศกึ ษา ชาวเมียนมาให้ความเคารพต่อสถานท่ีไม่ว่าจะเป็น เจดีย์ วัดที่พระสงฆ์อยู่ สถานท่ีศักด์ิสิทธ์ิต่าง ๆ หรือบ้านส่วนบุคคล เนื่องจากประเทศเมียนมาเป็นประเทศที่เคร่งในศาสนาพุทธ ชาวเมียนมาจึงต้องแต่งกาย ให้สภุ าพเรยี บร้อย หรอื สวยงามตามความเหมาะสมกับกาละและเทศะ สิ่งที่สาคัญคือจะไม่เปิดเผยร่างกายเม่ือ ไป ศาสนสถาน เมื่อเข้าไปภายในอาคารต้องถอดรองเท้าและถุงเท้า สาหรับวัด หรือ สถานท่ีศักด์ิสิทธิ์ต่าง ๆ โดยมากมักจะมี tvSLcHyHk; [อะ ลู คาน โปน] กล่องรับเงินบริจาค ชาวเมียนมาถือเป็นขนบธรรมเนียมอันดี งามทจ่ี ะบริจาคเงินทาบุญตามกาลงั ศรทั ธาดว้ ย สังคมเมียนมาเป็นสังคมท่ีนับถือระบบอาวุโส ผู้น้อยจะเคารพผู้ใหญ่ ให้เกียรติและเช่ือฟัง เม่ือจะเดิน ผ่านผู้ใหญ่โดยเฉพาะที่นั่งกับพื้น ให้อ้อมไปผ่านด้านหลัง ค้อมตัวพร้อมกับพูดว่า uefawmhyg [กะ ด้อ บา] หมายถึง ไหว้เถะ ขออภยั การทักทายเป็นการแสดงมารยาทท่ีดี ในการทักทายผู้ท่ีอายุน้อย หรืออาวุโสน้อยกว่าควรจะทักทาย ก่อน เมื่อลูกศิษย์พบอาจารย์ก็ต้องทาความเคารพแบบผู้น้อยต่อผู้ใหญ่ คือ จับศอกแต่ละด้านแล้วก้มหัวลง พรอ้ มกบั พดู คาทักทาย r*Fvmyg&Sifh [มีน กะ ลา บา ช่ิน] หมายถึง สวสั ดีคะ่ หรอื r*FvmygcifAs [มีน กะ ลา บา คีน บยะ] หมายถงึ สวัสดีครบั มารยาทท่ีดีในการเอ่ยช่ือชาวเมียนมาจะต้องกล่าวให้ครบทุกส่วน ควรเรียกช่ือเต็ม การเรียกช่ือชาว เมียนมาไม่ว่าจะเป็นชายหรือหญิงจะต้องใช้เรียกคานาหน้าชื่อตามวัยและวุฒิภาวะสถานะทางสังคมตาม เหมาะสม ถ้าไม่รู้จักช่ือของบุคคลที่สนทนาด้วย ควรจะใช้สรรพนามที่เรียกเป็นคาเรียกเครือญาติตามวัยที่ เหมาะสม ชาวเมียนมาถือเป็นมารยาทที่จะไม่สัมผัสกายผู้อื่นท่ีตนไม่สนิทสนมด้วย โดยเฉพาะการแตะต้องกาย ผู้หญิง และการแสดงความสนิทสนมจูบกอดกันในที่สาธารณะก็ถือเป็นส่ิงท่ีไม่เหมาะสม แม้จะเป็นคู่รักหรือ เป็นสามีภรรยากันก็ตามถือว่าเป็นการกระทาท่ีไม่ดี อย่างไรก็ตามชาวเมียนมามักจะแสดงความสนิทสนม คุ้นเคยกับเพอื่ นเพศเดียวกัน โดยมีการจับมือ จงู มือถือแขน หรือเดินกอดคอกันไปในท่ีสาธารณะเป็นการแสดง ถึงมติ รภาพอนั เหนยี วแนน่ และอบอุ่น ชาวเมียนมาถือว่าศีรษะเป็นของสูง จะไม่แตะต้องศีรษะและเส้นผมกัน แม้แต่ลูบศีรษะเด็กท่ีไม่ใช่ ลูกหลานตวั เรา เม่ือย่ืนหรือรับของจากผู้ใหญ่ให้มือซ้ายแตะที่บริเวณใต้ศอกขวาใว้ตอนยื่นหรือรับของ หรือ ใช้มือ สองข้างย่ืนหรือรับ นอกจากน้ีเท้าเป็นอวัยวะต่า ถือว่าไม่สุภาพอย่างย่ิงที่จะใช้เท้าชี้สิ่งของ หรือยกเท้าขึ้นบน ตซู าร์ นวย (ประเทศชาติ และวัฒนธรรมของเมียนมา) [สงวนสิทธิ] 12

โตะ๊ ถา้ จะนงั่ ตอ้ งไมช่ ปี้ ลายเท้าไปทางบคุ คลทีอ่ าวโุ สมากกว่า และไม่น่งั ไขว้ห้าง ชาวเมียนมามักไมค่ ่อยกล่าวคาปฏเิ สธดว้ ยคาว่า “ไม”่ โดยตรง เพราะเกรงว่าการตอบปฏเิ สธจะทาให้ อีกฝ่ายหน่ึงรู้สึกไม่ดี เมื่อต้องการปฏิเสธจะแสดงอาการย้ิม พยักหน้า โดยไม่พูดอะไร หรือไม่ก็จะตอบรับโดย ใช้คาว่า “อาจจะ” หรือเปลี่ยนเร่ืองการสาทนาไปทนั ทีเพอื่ หลีกเลี่ยงการพดู ปฏเสธอย่างตรงไปตรงมา แลว้ การ ถามเร่ืองสว่ นตวั เป็นเรื่องเสยี มารยาทด้วย เช่น รายได้ ความสัมพันธ์ในครอบครัว การเปน็ อยขู่ องครอบครวั ถา้ ได้รบั เชิญไปท่ีบ้านหรืองานเลี้ยง แล้วการแต่งตัวท่ีไม่เป็นทางการหรือไม่สุภาพนั้นเสียมารยาท โดย ทไ่ี มไ่ ด้รับเชญิ ไม่ควรไปบา้ นของคนเมยี นมา ถ้าได้รับเชิญใหไ้ ปเยี่ยมหรือรับประทานอาหารที่บา้ นของคนเมียน มา ควรนาของขวัญเล็กๆ น้อยๆ ไปให้ผู้เชิญด้วย เช่น ผลไม้ ขนม ควรดื่มหรือรับประทานสิ่งท่ีเจ้าบ้านนามา ต้อนรับ เม่ือชาวเมียนมาเสนออาหารให้ ไม่ควรปฏิเสธ เพราะการปฏิเสธนั้นจะแสดงถึงการปฏิเสธมิตรไมตรี ไมค่ วรเปิดของขวญั ตอ่ หนา้ ผใู้ ห้ ชาวเมียนมานิยมกินข้าวท่ีบ้านพร้อมกันท้ังครอบครัวเป็นปกติ ก่อนรับประทานอาหารทุกคนจะต้อง ล้างมือขวาด้วยน้าสะอาด เพราะคนเมียนมานยิ มใชม้ อื กินข้าวกันแบบประเพณีวฒั นธรรมดง่ั เดิมยังอยู่ อย่างไร ก็ตามเม่ือเข้าสังคม เช่น ไปงานเล้ียง กินท่ีร้าน ชาวเมียนมาก็จะรับประทานอาหารด้วยช้อนและส้อม หรือ ตะเกยี บ ชว่ งเวลาที่รบั ประทานอาหาร หรอื กนิ ข้าวอยหู่ ้ามมีเสียงเขย้ี วและเสยี งการกิน ชาวเมียนมายังให้ความสาคัญกับการตอบแทนบุญคุณ อยา่ งนอ้ ยจะพูดคาว่า aus;Z;l wifygw,f [เจ้ ซู ตีน บา แด] หมายถงึ ขอบคุณ เปน็ คาทจ่ี ะใช้บ่อยเป็นมารยาทท่ีดี เมือพูดคาขอบคุณมกั จะผงกหัวดว้ ย คนท่ิ ได้รบั การขอบคุณสว่ นมากจะใช้วา่ [kwuf yJh g&Sifh [โฮะ แก้ บา ชิ่น] หมายถงึ ใช่ค่ะ หรอื [kwuf yJh gcifAs [โฮะ แก้ บา คีน บยะ] หมายถึง ใช่ครับ ซึ่งคาพูดท่ีเป็นคายอมรับการขอบคุณจากคนท่ีพูดมา แล้วต่อโดยคาว่า &ygw,f [ยะ บา แด] หมายถึง ไม่เป็นไร หรอื ด้วยความยนิ ดี © ให้ช้าเม ื่พจํอากหา ่นราึศยกษาเท่า ้นัน ตซู าร์ นวย (ประเทศชาติ และวัฒนธรรมของเมียนมา) [สงวนสิทธิ] 13

มารยาทในการรบั ประทานอาหารของเมียนมา8 tpm;tpmoHk;aqmifonhf ,Ofaus;aomtrlt&m [อซา อซา โตน เซา ติ ยีน เจ ตอ อมู อยา] หมายถึง มารยาทในการรบั ประทานอาหาร การรับประทานอาหารของเมียนมาจะนง่ั โต๊ะกลมด้วยกนั คนทอ่ี ยู่ ในประเทศเมียนมานิยมกินข้าวที่บ้านพร้อมกันท้ังครอบครัวเป็นปกติ ก่อนรับประทานอาหาร ทุกคนจะต้อง ล้างมอื ขวาด้วยน้าสะอาด เพราะคนเมียนมานิยมใชม้ ือกนิ ข้าวกนั แบบประเพณวี ัฒนธรรมดงั่ เดิมยงั อยู่ แตล่ ะคนจะมจี านใส่ข้าวครบคน ด้านข้างจานข้าวจะมีจานเล็กๆ วางเอาไวต้ ่างหากเพื่อใสเ่ ศษอาหาร และกระดกู กา้ งที่ท้งิ ห้ามทิ้งบนโต๊ะและบนพ้นื อาหารประเภทแกงเผด็ หรือซุปถัว่ ต่างๆ กบั ขา้ ว หรอื อาหาร ทต่ี ั้งอยตู่ รงกลางต้องใชช้ ้อนกลาง และจบั ชอ้ นกลางดว้ ยมือซา้ ยที่ไม่เป้ือน ตามวัฒนธรรมเมียนมาต้องรอให้ผู้ ทีอ่ าวโุ สทส่ี ุดในบ้านตักก่อน หรอื ตอ้ งตักใส่ให้ก่อนเป็นอันดบั แรก อยา่ งไรก็ตามเม่ือเขา้ สังคม เชน่ ไปงานเลย้ี ง กนิ ท่ีร้าน ชาวเมยี นมากจ็ ะรับประทานอาหารดว้ ยช้อน และสอ้ ม หรือ ตะเกยี บ © ให้ช้าเม ื่พจํอากหา ่นราึศยกษาเท่า ้นัน ตซู าร์ นวย (ประเทศชาติ และวัฒนธรรมของเมียนมา) [สงวนสิทธิ] 14

คานาหนา้ นามในภาษาเมยี นมา9 คานาหนา้ นามหรือคานาหนา้ ชื่อในภาษาเมียนมา ได้แก่ คาที่ใชน้ าหน้าชื่อบุคคลเพ่ือแสดงสถานภาพให้ช้าเม ื่พจํอากหา ่นราึศยกษาเท่า ้นัน ตาแหน่งทางวชิ าการ และยศ ประเทศเมยี นมาในอดีตสมยั ปกครองโดยระบบกษตั ริยม์ ีการใชค้ านาหน้าที่เป็น ฐานันดรศักด์ิ และบรรดาศักดิ์ แตก่ ใ็ นปจั จบุ นั ไม่มีการใชค้ านาหน้านามเหลา่ นัน้ เกยี่ วกับศาสนาพทุ ธ คาทัง้ หมดนจ้ี ะอยหู่ นา้ ช่ือตอนเมอ่ื ท่ีใช้เรยี กหรอื พูดถึง คือ q&mawmf [ซะ ยา ดอ] หมายถึง เจา้ อาวาสหรือพระสงฆ์ท่ีอาวโุ สในวัด OD;yÌif; [อู ปะ ซนี ] หมายถึง พระสงฆ์ท่ัวไป u&dk if [โก ยนี ] หมายถึง เณร q&mav; [ซะ ยา เล่] หมายถงึ แมช่ ี บางทคี านาหนา้ นามทเ่ี รียกอย่างยกยอ่ งใหเ้ กียรติสาหรบั ผู้ชาย OD; [อ]ู และสาหรบั ผหู้ ญงิ a': [ดอ] ใช้มาแทนไดด้ ้วยเหมอื นกนั คาแสดงสถานภาพ การเรียกชอื่ ชาวเมียนมาไม่ว่าจะเปน็ ชายหรอื หญิงจะต้องใช้คานาหนา้ ช่อื รว่ มเรยี กไปดว้ ยเม่อื เรยี ก หรือพดู ถงึ คือ armif [เมา] ใช้กับเดก็ ชายหรือเด็กหนุ่ม หรอื ผู้ชายทอ่ี ายนุ ้อยกวา่ ผู้พูด udk [โก] ใช้กบั ผู้ชายวยั ผู้ใหญ่ หรอื วยั กลางคน หรอื ผ้ชู ายท่มี อี ายรุ ุ่นเดียวกนั กบั ผู้พดู OD; [อ]ู ใชก้ บั ผชู้ ายวัยผู้ใหญ่อายุเลยกลางคน และเรยี กอย่างยกยอ่ งใหเ้ กยี รติ r [มะ] ใชส้ าหรบั เดก็ หญิงหรอื เดก็ สาว, ผหู้ ญิงท่มี ีอายรุ ุ่นเดียวกัน หรืออายนุ ้อยกว่าผู้พูด a': [ดอ] ใชส้ าหรับผหู้ ญงิ ในวัยผูใ้ หญ่ หรอื เรยี กอยา่ งยกย่องให้เกียรติ ในวัฒนธรรมเมียนมาไม่มคี า นาหนา้ ช่อื ทบี่ ่งบอกผู้หญงิ ท่ีสมรสมาแล้วหรือไม่ ตาแหนง่ ทางวิชาการ คาตาแหน่งทางวชิ าการทงั้ หมดนี้จะอยู่หนา้ ชื่อตอนเม่ือที่ใช้เป็นทางการแต่ก็ไม่ไดใ้ ช้ต่อเม่ือเรยี ก เชน่ ygarmuQ [ปา เมาะ คะ] แปลวา่ ศาสตราจารย์ uxdu [กะ ทิ กะ] แปลว่า รองศาสตราจารย์ vufaxmufuxdu [และ เทาะ กะ ทิ กะ] แปลวา่ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ นอกจากคานาหนา้ นามใชท้ างวชิ าการท่ีกลา่ วมา มคี าแสดงท่ใี ช้เรยี กอย่างยกย่องโดยท่วั ไปคือ ตซู าร์ นวย (ประเทศชาติ และวัฒนธรรมของเมียนมา) [สงวนสิทธิ] 15

q&m [ซะ ยา] หมายถงึ ครู, อาจารย์, หวั หน้า (สาหรบั ผชู้ าย) q&mr [ซะ ยา มะ] หมายถึง คร,ู อาจารย์ (สาหรบั ผู้หญิง) ในสงั คมเมียนมา คาว่า q&m [ซะ ยา], q&mr [ซะ ยา มะ] นัน้ บางทบี ง่ บอกอาชพี ก็ได้ หรือเรียก อย่างยกย่องและแสดงตวามสุภาพกไ็ ดเ้ ช่นกัน สาหรบั ผทู้ จ่ี บการศึกษาระดับปรณิ ญาเอกใช้เรยี กคาว่า a'gufwm [เดาะ ตา] ทับศพั ท์คามาจาก ภาษาองั กฤษ Doctor จะอยู่หน้าชือ่ แตก่ ็เมื่อเรียกหรอื พดู ถึงอย่างเป็นทางการมากว่าท่ีจะเรียกใช้ ตาแหนง่ เก่ยี วกบั วชิ าชพิ คาตาแหนง่ วชิ าชพิ นจ้ี ะอยู่หน้าชื่อตอนเมอ่ื ท่ีใชเ้ ปน็ ทางการและใช้เรียกไดเ้ ชน่ กนั เช่น a'gufwm [เดาะ ตา] แปลวา่ แพทย์, แพทยห์ ญิง ยศและตาแหน่ง ยศ หมายถงึ ฐานันดรศักด์ิที่ทางราชการให้ คาตาแหนง่ ทัง้ หมดนีจ้ ะอยู่หนา้ ชอื่ ตอนเม่ือที่ใชเ้ ป็น ทางการ เพอื่ ยกยอ่ งให้เกียรติแกบ่ คุ คลใดบุคคลหนง่ึ เช่น orRw [ตะ มะ ดะ] หมายถึง ประธานาธิบดี 0ef}uD;csKyf [วนุ จี โชะ] หมายถงึ นายกรฐั มนตรี Adkvcf sKyf [โบ โชะ] หมายถึง นายพล oD[ol& [ตี ฮะ ตู ระ] ด้านทหาร ใช้สาหรบั การรบทโี่ ดดเดน่ (ใชไ้ ด้แคถ่ งึ ทหารไม่รวมตารวจ) 0Àpnfol [วะ นะ ซี ตู] ใช้สาหรบั ด้านศิลปะวฒั นธรรมที่โดดเด่น © ให้ช้าเม ื่พจํอากหา ่นราึศยกษาเท่า ้นัน ตูซาร์ นวย (ประเทศชาติ และวัฒนธรรมของเมียนมา) [สงวนสิทธิ] 16

ชอื่ และนามสกลุ ในภาษาเมยี นมา10 ชาวเมียนมาแต่ละคนมชี ่อื เป็นนามตวั ท่เี ป็นชือ่ แรกและช่ือสดุ ทา้ ย ไม่ไดใ้ ชร้ ะบบนามสกุล ดว้ ยเหตผุ ล ที่วา่ ชาวเมียนมาเชอ่ื ถือในโหราศาสตร์และดวงชะตาเพ่ือเป็นสริ ิมงคลและเหมาะสมกบั ลักษณะของเด็ก ในการ ต้งั ชื่อนิยมตั้งตาม วนั เดือน ปี ชว่ งเวลาที่เกิด ส่วนใหญ่การตง้ั ชื่อของชาวเมียนมาตงั้ ตามวันเกดิ โดยกาหนดอกั ษรประจาวนั เกิดเปน็ อักษรแรกเพอ่ื เปน็ สิรมิ งคล เช่น aZmof latmif [ซอ ตู เอา] (แปลวา่ คนทีเ่ ป็นอัจฉลยิ ะในชัยชนะ) aZmf [ซอ] เปน็ อักษร มงคลสาหรบั คนเกดิ วนั อังคาร ส่วนตัวอักษรสุดท้ายมักจะเป็นตัวอักษรทีเ่ ป็นมงคลสงู สดุ ในชอ่ื นี้คือ atmif [เอา] แต่บางครั้งอาจนาอักษรมงคลดงั กลา่ วไปไวใ้ นสว่ นอื่นของชื่อได้ดว้ ย เชน่ &JoD[ [แย ตี ฮะ] (แปลว่า กลา้ หาญ ) oD[ [ตี ฮะ] เปน็ อักษรมงคลสาหรบั คนเกดิ วนั ศุกร์ และเปน็ ตัวอักษรท่ีเป็นมงคลสูงสุด ให้ช้าเม ื่พจํอากหา ่นราึศยกษาเท่า ้นัน อักษรสริ ิมงคลที่กาหนดประจาวันเกดิ มดี งั นี้ วันอาทติ ย์ อักษร t [อะ้ ] (ถา้ ยกตัวอย่างชอ่ื ท่ีตง้ั คือ atmif [เอา] แปลว่า ชัยชนะ ) วันจนั ทร์ อกั ษร u [ก้ะ] c [ค่ะ] * [ก้ะ] C [ก้ะ] i [งะ่ ] (ถา้ ยกตวั อยา่ งชือ่ ทต่ี ง้ั คือ ausmf [จอ] แปลวา่ ขา้ มอปุ สรรคได้, cdkif [ไค] แปลว่า ม่นั คง) วนั อังคาร อักษร p [ซ่ะ] q [ซ่ะ] Z [ซะ่ ] ps [ซะ่ ] n [ญะ่ ] (ถ้ายกตัวอย่างชื่อท่ีต้ัง คอื pk [ซ]ุ แปลว่า ออมทรพั ย์ , qk [ซ]ุ แปลวา่ รางวลั ) วนั พุธ อักษร , [ยะ่ ] & [ย่ะ/ร่ะ] v [ล่ะ] 0 [ว่ะ] (ถ้ายกตวั อย่างชือ่ ทตี่ ง้ั คือ ,Of [ยีน] แปลว่า สภุ าพ , vS [ละ] แปลว่า สวยงาม, 0if; [วีน] แปลวา่ สวา่ งไสว) วันพฤหสั บดี อกั ษร y [ป้ะ] z [พะ่ ] A [บ้ะ] b [บ้ะ] r [มะ่ ] (ถา้ ยกตัวอย่างชอื่ ทต่ี ง้ั คือ ykvJ [ปะแล้] แปลว่า มกุ , rdk; [โม] แปลวา่ ท้องฟ้า ฝน) วนั ศกุ ร์ อกั ษร o [ต้ะ] [ [ฮ่ะ] (ถ้ายกตัวอย่างชื่อทต่ี ้ัง คือ oef; [ตาน] แปลวา่ ล้าน, [def; [เฮน] แปลว่า สะท้อนอย่างย่ิงใหญ่) วนั เสาร์ อักษร w [ต้ะ] x [ท่ะ] ' [ด้ะ] \" [ด้ะ] e [น่ะ] (ถา้ ยกตัวอยา่ งชอ่ื ทต่ี ้ัง คือ xif [ทีน] แปลวา่ ปรากฏเห็น, ae [เน] แปลว่า พระอาทิตย์) นอกจากนี้เมียนมาเช่ือว่าวันท่ีเกิดจะช่วยบ่งบอกลักษณะนิสัย จึงมักนามาใช้ประกอบการพิจารณา เลือกคู่ครองวา่ มีดวงสมพงศก์ นั หรือไม่ และเช่ือว่าหากรอู้ ักษรตวั แรกของชอื่ ก็พอจะคาดเดานิสยั ใจคอได้ ชื่อเมียนมามักต้องเป็นชื่อที่มีความหมายเป็นมงคล บ่งบอกรูปลักษณ์และลักษณะนิสัย ชาวเมียนมา นิยมตั้งช่อื ท่ีใหค้ วามหมายอนั น่าภาคภูมิใจ แสดงความมั่งมีศรีสุขและแฝงด้วยเสนห่ ์ ด้วยเหตุผลน้ี เมือ่ เรียกช่ือ ของแต่ละคน จะต้องเรียกชื่อเต็มแล้วพ่วงด้วยคานาหน้าช่ือที่เหมาะสมโดยสถานะทางสังคมและวัย แล้วการ เลือกเรียกแค่ส่วนไดส่วนหน่ึงของช่ือโดยไม่ได้รับอนุญาตจากเจ้าของชื่อ หรือ การเรียกโดยไม่มีคานาหน้าช่ือ น้ัน ถอื วา่ หยาบคาย ปัจจบุ ันประเทศเมยี นมาเริ่มมีการใช้นามสกุลกันบ้างแลว้ ส่วนใหญน่ าช่ือพ่อหรือชื่อบรรพบรุ ุษของตน ซ่ึงมีชื่อเสียงในระดับประเทศมาเป็นนามสกุล เช่น atmifqef;pk=unf [เอา ซาน ซุ จี] เป็นลูกสาวของฮีโร่ ตูซาร์ นวย (ประเทศชาติ และวัฒนธรรมของเมียนมา) [สงวนสิทธิ] 17

อิสรภาพประเทศเมียนมา นายพล เอาซาน, นักร้องชื่อดัง a[rmae0if; [เฮ มา เน วีน] เป็นลูกสาวของ นักแสดงชื่อดัง คอลิจีน เนวีน เพราะฉะนั้นนามสกุลในลักษณะนี้จึงไม่ใช่ลักษณะสืบทอดทั้งตระกูล เช่น rdk;qef;wifxëef; [โม่ ซา่ น ทิน ทนุ่ ] (แปลวา่ ฟ้าฝนท่สี ดชื่น วางต้ัง กา้ วหน้า ) rdk;qef; [โม่ ซ่าน] เป็นชื่อตัว wifxeë f; [ทิน ทุ่น] เป็นนามสกุล (มาจากชื่อพ่อ) ลูกของ rdk;qef; [โม่ ซ่าน] ช่ือว่า rif;oef@rdk; [มี่น ต่าน โม่] (แปลว่า กษัตริย์ สะอาด ฟ้าฝน) rif;oef@ [มี่น ต่าน] เป็นช่ือตัว rdk; [โม่] เป็นนามสกุล (มาจากชื่อพ่อ) ส่วน ผ้หู ญิงทแ่ี ต่งงานไม่ตอ้ งเปล่ียนแปลงช่อื สมัยโบราณช่ือเมียนมาต้ังเพียงหน่ึงพยางค์ แต่เม่ือประมาณ 60-70 ปีท่ีแล้ว ได้เร่ิมตั้งเป็น 2 พยางค์ OD;Ek [อู นุ] (ในช่ือน้ี คาว่า “OD;” [อู] เป็นคานาหน้านามผู้ชายเรียกอย่างยกย่อง ส่วนคาว่า “E”k [นุ] แปลว่า อ่อนไหว) , OD;oef@ [อู ต่าน] (ในชื่อน้ี คาว่า “OD;” [อู] เป็นคานาหน้านามผู้ชายเรียกอย่างยกย่อง ส่วนคาว่า “oef@ ” [ต่าน] แปลว่า สะอาด) และเม่ือประมาณ 40-50 ปีท่ีแล้ว มีช่ือ 3-4 พยางค์มากข้ึน ในปัจจุบันน้ีช่ือ แต่ละคนอาจจะมีถึง 5 พยางค์ โดยที่บางส่วนจะใช้เป็นนามสกุล เช่น eef;pk&wDpdk; [น้าน ซุ ยะ ตี โซ่] (แปลวา่ คานาหนา้ นามผหู้ ญิงสาหรับชาวเผ่าไทใหญแ่ ละกะเหรีย่ ง ออมทรัพย์ อัญมณี ปกครองค้มุ ครอง ) ในวัฒนธรรมเมียนมาไม่มีการต้ังช่ือเล่น บางครอบครัวอาจมีชื่อที่เรียกในครอบครัวท่ีเป็นความเอ็นดู เช่น uudk dk [โกโก] (เป็นคาเรียกพ่ีชาย) nDnD [ญีญี] (เป็นคาเรียกน้องชาย) i,fi,f [แงแง] (แปลว่า น้อง เล็ก) rD;rD; [มี่มี่] (แปลว่า ลูกสาว) ส่วนมากคนสนิทจะใช้บางส่วนของช่ือจริงมาเรียกใช้เป็นการบ่งบอก ความสนิทสนม เช่น ผู้หญิงที่มีช่ือ cifcsdKat; [คีน โช เอ่] (แปลว่า มิตรภาพ หวาน เย็นสบาย) คนสนิทอาจ เรยี กเปน็ cif [คนี ] หรือ csdK [โช] © ให้ช้าเม ื่พจํอากหา ่นราึศยกษาเท่า ้นัน ตูซาร์ นวย (ประเทศชาติ และวัฒนธรรมของเมียนมา) [สงวนสิทธิ] 18

การบอกเวลาในภาษาเมียนมา11 ปจั จบุ นั นี้ระบบการบอกเวลาของเมยี นมาใช้อยา่ งเป็นทางการกค็ ือระบบแบบสากลจะแบ่งเวลาในแต่ ละวนั เปน็ 12 ชวั่ โมง 2 คาบ คอื กลางวนั และกลางคืน เมื่อนบั ชั่วโมงกาหนดบอกว่า เชา้ บ่าย เย็น หรือ ค่า/ กลางคืน ทแี่ บ่งเวลาเปน็ ชว่ งลักษณะโดยประมาณตามแบบเมยี นมาไปด้วยกนั กับตัวเลข คือดงั น้ี ประมาณ 04.00 น. ถงึ ก่อน 06.00 น. ถือเปน็ ชว่ ง tm±k%f [อา โยน] หมายถงึ รงุ่ อรุณ ประมาณหลงั 06.00 น. ถึง ก่อน 12.00 น. ถือเปน็ ชว่ ง reuf [มะ แน่] หมายถึง เช้า ประมาณหลงั 12.00 น. ถงึ ก่อน 15.00 น. ถอื เปน็ ชว่ ง ae@v,f [เน่ แล] หมายถงึ บา่ ย ให้ช้าเม ื่พจํอากหา ่นราึศยกษาเท่า ้นัน ประมาณหลัง 15.00 น. ถงึ ก่อน 18.00 น. ถือเป็นช่วง nae [ญะ เน] หมายถึง เย็น ประมาณหลงั 18.00 น. ถงึ ก่อน 24.00 น. ถอื เป็นชว่ ง n [ญะ] หมายถงึ ค่า/กลางคนื คาว่า นาฬกิ าหรือช่วั โมง ในภาษาเมียนมา คอื em&D [นา ยี], นาทคี ือ rdepf [มิ นิ], วนิ าทีคือ puUef@ [แซ่ กนั ] เม่ือบอกเวลาโดยปกตแิ ล้วคาวา่ ช่วั โมง นาที วนิ าที จะอยขู่ ้างหลงั ของตวั เลข แต่เม่อื นบั เวลาท่ีเป็น เต็มสิบที่ว่า ย่ีสบิ สามสิบ ส่สี บิ ห้าสิบ หกสิบ คาว่าชว่ั โมง นาที วนิ าที จะอยหู่ น้าของตัวเลข ในหนี่งวนั การบอกเวลาของพม่ามดี งั นี้ 01.00 น. n § reuf wpfem&D [ญะ/ มะ แน่ ตะ นา ยี] หมายถึง ตหี นีง่ 02.00 น. n § reuf ESpfem&D [ญะ/ มะ แน่ นะ นา ยี] หมายถงึ ตสี อง 03.00 น. n § reuf oHk;em&D [ญะ/ มะ แน่ โตน้ นา ยี] หมายถึง ตสี าม 04.00 น. reuf av;em&D [มะ แน่ เล่ นา ยี] หมายถึง ตสี ี่ 05.00 น. reuf ig;em&D [มะ แน่ ง่า นา ยี] หมายถงึ ตหี า้ 06.00 น. reuf ajcmufem&D [มะ แน่ เชาะ นา ยี] หมายถงึ หกโมงเชา้ 07.00 น. reuf ckepfem&D [มะ แน่ คุน นิ นา ยี] หมายถงึ เจด็ โมงเชา้ 08.00 น. reuf &Spfem&D [มะ แน่ ชิ นา ยี] หมายถึง แปดโมงเช้า 09.00 น. reuf u;dk em&D [มะ แน่ โก้ นา ยี] หมายถงึ เกา้ โมงเชา้ 10.00 น. reuf q,fem&D [มะ แน่ แซ นา ยี] หมายถึง สบิ โมงเชา้ 11.00 น. reuf q,fhwpef m&D [มะ แน่ แซะ ตะ นา ยี] หมายถงึ สบิ เอ็ดโมงเช้า 12.00 น. ae@v,f q,Efh Spef m&D § rëef;wnfh [แน่ แล แซะ นะ นายี / โมน แต่] 13.00 น. หมายถงึ เที่ยง/เที่ยงวนั ae@v,f § rëef;vëJ wpfem&D [เน่ แล / โมน ลแว ตะ นา ยี] หมายถงึ บ่ายโมง rëef;vJë [โมน ลแว] แปลว่า แลยเทยี่ งวัน ตูซาร์ นวย (ประเทศชาติ และวัฒนธรรมของเมียนมา) [สงวนสิทธิ] 19

14.00 น. ae@v,f § rëef;vëJ ESpfem&D [เน่ แล / โมน ลแว นะ นา ยี] หมายถงึ บา่ ยสองโมง 15.00 น. ae@v,f oHk;em&D [เน่ แล โตน้ นา ยี] หมายถงึ บ่ายสามโมง 16.00 น. nae av;em&D [ญะ เน เล่ นา ยี] หมายถึง สีโ่ มงเยน็ 17.00 น. nae ig;em&D [ญะ เน งา่ นา ยี] หมายถึง หา้ โมงเย็น 18.00 น. nae ajcmufem&D [ญะ เน เชาะ นา ยี] หมายถงึ หกโมงเย็น 19.00 น. n ckepfem&D [ญะ คนุ นิ นา ยี] หมายถึง หนงึ่ ทุ่ม 20.00 น. n &Spfem&D [ญะ ชิ นา ยี] หมายถงึ สองทุม่ ให้ช้าเม ื่พจํอากหา ่นราึศยกษาเท่า ้นัน21.00 น. n udk;em&D [ญะ โก้ นา ยี]หมายถงึ สามทุ่ม 22.00 น. n q,fem&D [ญะ แซ นา ยี] หมายถงึ สท่ี มุ่ 23.00 น. n q,fhwpfem&D [ญะ แซะ ตะ นา ยี] หมายถึง ห้าทุ่ม 24.00 น. n q,fhESpef m&D § oef;acgif [ญะ แซะ นะ นายี / ตะ เกา] หมายถึง เที่ยงคนื oef;acgif [ตะ เกา] แปลวา่ เท่ียงคนื อย่างไรก็ตามการบอกเวลาของเมียนมาท่ีแบ่งเป็น 12 ช่ัวโมง 2 คาบ ใช้รูปแบบเดียวกันในทางการที่ เป็นรายการโทรทัศท์ วิทยุและติดต่อในราชการ หรือว่าภาษาพูดท่ีไม่เป็นทางการ แต่ก็ในแวกวงของทหาร หรือ ธุรกจิ เก่ยี วกับการบนิ ใช้รูปแบบนบั เป็น 24 ช่วั โมง นอกจากน้ียงั มีอกี รูปแบบหน่ึงทเ่ี ป็นประเพณีวัฒนธรรมดัง่ เดมิ ของเมียนมาทีใ่ ชแ้ บบไมเ่ ป็นทางการ ซึ่ง ท่ีไม่เหมือนกับท่ีใช้ในทางการท่ีพูดมา คาท่ีใช้ในการบอกเวลาด่ังเดิมเป็นรูปแบบโบราณ เมียนมาในอดีต กอ่ นที่จะมนี าฬิกาแบบสมยั ใหมช่ าวเมียนมาจะกาหนดเวลาโดยพระอาทิตย์ ในหน่ึงวนั เมียนมาจะแบง่ ชว่ งเวลา เป็น กลางวัน 30 คาบ และกลางคืน 30 คาบ รวมเป็น 60 คาบต่อหน่ึงวัน ส่วนเวลาใน 1 คาบ หรือ 1 ช่ัวโมง แบบเมยี นมาโบราณนน้ั เทา่ กบั 24 นาทแี บบสากลปัจจบุ นั ในยุคราชวงศ์จะมกี ลองหลวงท่ีเรียกว่า A[kpd nf [บะ โฮ ซี] ใช้ตีบอกเวลามีจานวน 8 กลอง สาหรับ ตีกลองบอกเวลาตอนกลางวัน 4 กลอง และตีบอกเวลาตอนกลางคืนอีก 4 กลอง ในหนึ่งวนั จะตีกลอง 8 คร้ัง แต่ละคร้ังหมายถึงช่วงเวลา 1 ยาม หรือ 1 A[kd [บะ โฮ] ในหน่ึงวันเมียนมาจึงแบ่งเวลาออกเป็น 8 ยาม (1 ยาม = ประมาณช่วงเวลา 3 ชว่ั โมง) © การบอกเวลาในชว่ ง 1 ชว่ั โมง การบอกเวลาของเมียนมาในแต่ละช่ัวโมงแบ่งเปน็ 60 นาที และ ในแต่ละนาทแี บ่งเป็น 60 วนิ าที ระบบแบบสากล การบอกเวลาท่มี เี ศษเปน็ นาทแี ละวนิ าที มตี วั อยา่ งดังน้ี 08.30 น. reuf &Spfem&D rdepfok;H q,f [มะ แน่ ชิ นา ยี มนิ ิ โตน้ แซ] หมายถงึ ชว่ งเชา้ แปดโมงสามสิบ นาที (ภาษาไมเ่ ป็นทางการจะพูดว่า reuf &Spfem&DcëJ [มะ แน่ ชิ นา ยี คแว้]) ตูซาร์ นวย (ประเทศชาติ และวัฒนธรรมของเมียนมา) [สงวนสิทธิ] 20

14.05.40 น. ae@v,f ESpfem&D ig;rdepf puUef@av;q,f [เน่ แล นะ นา ยี งา่ มินิ แซ่ กัน เล่ แซ] หมายถงึ ช่วงบ่าย สองโมงหา้ นาทีสี่สบิ วนิ าที 18.45 น. nae ajcmufem&D av;q,ifh g;rdepf [ญะ เน เชาะ นา ยี เล่ แซะ งา่ มนิ ิ] หมายถงึ ช่วงเยน็ หกโมงส่ีสบิ หา้ นาที (ภาษาไมเ่ ป็นทางการจะพูดวา่ n ckESpfem&Dxk;d zdk@ q,ifh g;rdepf [ญะ คนุ นิ นา ยี โท้ โพ่ แซะ ง่า มนิ ิ] หมายถึง ช่วงค่า สบิ หา้ นาทีกอ่ นหนึ่งท่มุ ) © การบอกวัน 2 วันก่อนวันปัจจุบัน = wjrefae@ [ตะ มยาน เน่] rae@ [มะ เน่] ให้ช้าเม ื่พจํอากหา ่นราึศยกษาเท่า ้นัน1 วันกอ่ นวนั ปัจจุบนั ='Dae@ [ดี เน่] reufjzef [มะ แนะ พยาน] วนั ปัจจุบนั = oebf ufcg [ตะ แบะ คา] zdef;EëJcg [เพน นแว้ คา] 1 วนั ตอ่ จากวันปัจจุบัน = 2 วันตอ่ จากวันปจั จุบนั = 3 วนั ตอ่ จากวนั ปจั จุบนั = 2 วันก่อน 1 วนั กอ่ น วันปัจจุบนั 1 วันตอ่ 2 วนั ตอ่ 3 วันตอ่ wjrefae@ rae@ 'Dae@ reufjzef oebf ufcg zdef;EëJcg [ตะ มยาน เน่] [มะ เน่] [ดี เน่] [มะ แนะ พยาน] [ตะ แบะ คา] [เพน นแว้ คา] ตซู าร์ นวย (ประเทศชาติ และวัฒนธรรมของเมียนมา) [สงวนสิทธิ] 21

ชือ่ เดือน และ ช่อื ปีในภาษาเมียนมา12 ช่ือเดอื น ชอ่ื เดอื นตามประเพณดี ง้ั เดิม ระบบการนับเดือนแบบประเพณีวัฒนธรรมดั้งเดิมของปฏิทินเมียนมาเป็นแบบจันทรคติ คือ การนับ ตามการโคจรของดวงจันทร์ เดือนแรกของเมียนมาเร่ิมจากเดือนที่ตรงกับเดือนเมษายนของไทย แต่วิธีนับ เดอื นของเมยี นมาตา่ งจากไทยตรงท่นี ับจากคร่ึงเดอื นหลงั ต่อกับครึง่ เดือนแรกของเดอื นถดั ไปโดยประมาณ ภาษาเมียนมาจะเรยี กชื่อเดอื นและตามดว้ ยคาว่า v [ละ] ซ่งึ แปลว่า เดอื น ไวข้ ้างหลัง ให้ช้าเม ื่พจํอากหา ่นราึศยกษาเท่า ้นัน wefcl;v [ดะ กู ละ] = ประมาณครงึ่ เดือนหลังของเดือนเมษายนต่อกับครึ่งเดอื นแรกของเดอื น พฤษภาคม เป็นเดือนแรกของเมยี นมา uqkefv [กะ โซน ละ] = ประมาณครง่ึ เดือนหลงั ของเดือนพฤษภาคมต่อกับครง่ึ เดอื นแรกของเดือน มิถนุ ายนเป็นเดือนทสี่ องของเมียนมา e,kefv [นะ โยน ละ] = ประมาณครง่ึ เดือนหลังของเดือนมถิ ุนายนต่อกบั ครง่ึ เดือนแรกของเดือน กรกฎาคมเป็นเดือนทีส่ ามของเมยี นมา 0gqdkv [วา โซ ละ] = ประมาณคร่งึ เดือนหลังของเดือนกรกฎาคมต่อกบั คร่ึงเดือนแรกของเดือน สงิ หาคมเป็นเดือนท่สี ขี องเมยี นมา 0gacgifv [วา เคา ละ] = ประมาณครงึ่ เดือนหลังของเดือนสงิ หาคมต่อกบั ครึง่ เดือนแรกของเดอื น กนั ยายนเป็นเดือนทหี่ ้าของเมียนมา awmfovif;v [ตอ ตะ ลีน ละ] = ประมาณคร่ึงเดือนหลังของเดือนกนั ยายนต่อกับครง่ึ เดือนแรกของ เดอื นตลุ าคมเป็นเดือนทหี่ กของเมียนมา oDwif;uíwfv [ตะ ดนี จุ ละ] = ประมาณครึง่ เดือนหลงั ของเดือนตุลาคมต่อกับครง่ึ เดือนแรกของ เดอื นพฤศจิกายนเป็นเดือนที่เจ็ดของเมยี นมา wefaqmifrkef;v [ดะ เซา โมน ละ] = ประมาณครง่ึ เดือนหลงั ของเดือนพฤศจกิ ายนตอ่ กบั ครึง่ เดือนแรก ของเดือนธันวาคมเป็นเดอื นที่แปดของเมียนมา ewfawmfv [นะ ดอ ละ]= ประมาณครง่ึ เดือนหลงั ของเดือนธนั วาคมต่อกับคร่งึ เดอื นแรกของ เดือนมกราคมเปน็ เดือนทเ่ี กา้ ของเมียนมา jymovdk [ปยา โต ละ] = ประมาณคร่งึ เดือนหลงั ของเดือนมกราคมต่อกับคร่งึ เดือนแรกของเดอื น กุมภาพันธ์เป็นเดือนท่ีสบิ ของเมียนมา wydk@wëJv [ดะ โบ ดแว ละ]= ประมาณครงึ่ เดือนหลังของเดือนกุมภาพันธ์ตอ่ กบั ครง่ึ เดือนแรก ของเดือนมีนาคมเป็นเดอื นที่สบิ เอด็ ของเมยี นมา waygif;v [ดะ เบา ละ] = ประมาณ คร่ึงเดือนหลังของเดือนมีนาคมต่อกบั ครง่ึ เดือนแรกของ เดือนเมษายนเป็นเดือนที่สบิ สองของเมยี นมา ตูซาร์ นวย (ประเทศชาติ และวัฒนธรรมของเมียนมา) [สงวนสิทธิ] 22

ให้ช้าเม ื่พจํอากหา ่นราึศยกษาเท่า ้นันจานวนวันในแต่ละเดือนมีแตกต่างกัน 2 แบบ บางเดือนมี 29 วัน และบางเดือนมี 30 วัน เรียง สลบั กนั ไป เดอื นทม่ี ี 29 วัน มี 6 เดือน เป็นเดือนในลาดับคี่ ได้แก่ ดะ กู ละ, นะ โยน ละ, วา เคา ละ, ตะ ดีน จุ ละ, นะ ดอ ละ, ดะ โบ ดแว ละ ส่วนเดือนท่ีมี 30 วัน มี 6 เดือน เป็นเดือนในลาดับคู่ ได้แก่ กะ โซน ละ, วา โซ ละ, ตอ ตะ ลีน ละ, ดะ เซา โมน ละ, ปยา โต ละ, ดะ เบา ละ ในปีที่เป็นปีอธิกมาส หรือที่เมียนมา เรยี กว่า 0g}uD;xyf [วา จี ทะ] แปลว่า \"พรรษาซ้า\" น้นั “นะ โยน ละ” จะมีวันเพ่ิมอีก 1 วัน กลายเป็น 30 วัน ปีอธิกมาสของเมียนมาน้ันจะเป็นการเพ่ิมเดือน 4 เป็น 2 ครั้ง คือ “วา โซ ละ” ซึ่งตรงกับเดือน 8 ของไทย เมียนมาเรียก “วาโซละแรก” ว่า yxr0gqdkv [ปะ ทะ มะ วา โซ ละ] หมายถึง ปฐมวาโซ และเรียก “วาโซ ละหลัง” ว่า 'kwd,0gqdkv [ดุ ตะ ยะ วา โซ ละ] หมายถึง ทุติยวาโซ เดือนวาโซมีความสาคัญทางพุทธ ศาสนา ด้วยถอื เปน็ เดอื นเขา้ พรรษา วันในแต่ละเดือนของเมียนมาเป็น vqef; [ละ ซาน] หมายถึง วันข้างขึ้น และ วันข้างแรม vqkwf [ละ โซ่] เมียนมาเรียกวันเพ็ญว่า vjynfh [ละ ปเย่ เน่] แปลว่า \"วันเดือนเต็ม\" และเรียกวันเดือนดับว่า vuë,f [ละ กแว เน่] แปลว่า \"วันเดือนลับ\" วันเพ็ญก็คือวันข้ึน 15 ค่าของทุกเดือน ส่วนวันเดือนดับจะตรง กับวนั แรม 14 ค่าในเดือนทมี่ ี 29 วัน และตรงกับวนั แรม 15 ค่าในเดือนที่มี 30 วนั © ช่ือเดอื นตามสากล การนับเดือนของปฏทิ นิ เมียนมาอีกแบบหนึ่งที่ใช้อยา่ งเปน็ ทางการคือระบบสากล แต่เรียกช่อื เดือน เป็นเสียงตามภาษาเมียนมา Zefe0g&Dv [ซาน นะ วา ยี ละ] หมายถงึ เดอื นมกราคม azazmf0g&Dv [เพ พอ วา ยี ละ] หมายถงึ เดือนกุมภาพันธ์ rwfv [มะ ละ] หมายถึง เดือนมีนาคม {+yDv [เอ ปยี ละ] หมายถงึ เดือนเมษายน arv [เม ละ] หมายถึง เดือนพฤษภาคม Zëefv [ซนุ ละ] หมายถึง เดือนมถิ ุนายน Zlvdkifv [ซู ไล ละ] หมายถึง เดือนกรกฎาคม =o*kwfv [ออ โกะ ละ] หมายถงึ เดือนสิงหาคม pufwifbmv [แซะ ตนี บา ละ] หมายถึง เดือนกนั ยายน atmufwbdk mv [เอาะ โต บา ละ] หมายถงึ เดือนตุลาคม Edk0ifbmv [โน วนี บา ละ] หมายถึง เดอื นพฤศจิกายน 'ZD ifbmv [ดี ซนี บา ละ] หมายถงึ เดอื นธันวาคม การนบั เดอื นทัง้ 2 แบบ ปรากฏอยูใ่ นปฏิทินเมียนมาและใชค้ วบคู่ดว้ ยกนั เปน็ ทางการถงึ ปัจจบุ ันนี้© ตูซาร์ นวย (ประเทศชาติ และวัฒนธรรมของเมียนมา) [สงวนสิทธิ] 23

ให้ช้าเม ื่พจํอากหา ่นราึศยกษาเท่า ้นันชอ่ื ปี ในประเพณวี ัฒนธรรมด้ังเดมิ ของปฏิทินเมียนมาไม่มีการเรียกตามชือ่ ปีนักษัตร หรือ นักขตั เหมือน ไทย การนับปขี องเมยี นมามี 3 แบบ ทปี่ รากฏอยู่บนปฏทิ นิ และใช้อย่างเป็นทางการด้วยกนั แบบท่ี 1 ใชต้ ามพทุ ธศักราช แตก่ ารนบั เปน็ แบบเมยี นมารวมปีท่ีพระพทุ ธเจา้ ปรนิ ิพพาน เหมอื นกบั การนับปแี บบประเทศอินเดีย คือ หนงึ่ ปีมากกว่าประเทศไทย แบบที่ 2 ใช้ตามศักราชเมียนมาเร่มิ นบั จากสมยั oa&acwW&m [ตะ แย คดิ ตะ ยา้ ] (ไทย เรยี กว่า ศรเี กษตร) ทต่ี รงกบั พุทธศกั ราช แต่เมียนมามีการลบศกั ราช 2 ครัง้ ในสมัยพุกาม จงึ ทาให้จานวนปี หายไป 1182 ปี ในปีนี้ (2560) ปศี ักราชเมียนมาจงึ เปน็ ปี 1379 ซ่งึ ไทยเรียกวา่ “จุลศักราช” แบบท่ี 3 ใชต้ ามระบบสากลแบบตะวันตก การนบั ปีทั้ง 3 แบบปรากฏอยใู่ นปฏทิ นิ เมียนมา แต่ทางการใช้ 2 แบบคอื ศกั ราชเมียนมาและศกั ราช สากล ส่วนพทุ ธศกั ราชใช้เฉพาะเรื่องเกีย่ วกับพทุ ธศาสนาเท่านนั้ © References 1 นวย, ตซู าร์. (พ.ศ.2557). ภาษาและวัฒนธรรมอาเซยี น เล่ม 2. หน้า 130-132. กรเุ ทพฯ: ราชบณั ฑติ ยสภา. 2 Nwe, Thuza. (2017). Language, Cultures and Societies in Myanmar. P 294-295. Bangkok: NIDA Asean & Asia Studies Center. 3 นวย, ตซู าร์. (พ.ศ.2557). “พมา่ ” หรือ “เมียนมา”. หนงั สือพิมพ์รามคาแหง “ขา่ วราม”. กรุเทพฯ: มหาวทิ ยาลยั รามคาแหง. 4 นวย, ตซู าร์. (พ.ศ.2556). ภาษาและวัฒนธรรมอาเซยี น เลม่ 1. หน้า 30-31, 49-50, 69-70, 88, 110-113. กรุเทพฯ: ราชบัณฑิตยสภา. 5 นวย, ตซู าร์. (พ.ศ.2558). รายการวทิ ยสุ อนภาษาพมา่ ชดุ “ภาษาและวฒั นธรรมเมียนมา”. ตอนที่ 49 และ 50. กรงุ เทพฯ: ศนู ยเ์ ทคโนโลยที างการศกึ ษา, กระทรวงศกึ ษาธิการ. 6 นวย, ตูซาร์. (พ.ศ.2558). รายการวิทยุสอนภาษาพมา่ ชุด “ภาษาและวฒั นธรรมเมียนมา”. ตอนที่ 48. กรงุ เทพฯ: ศนู ยเ์ ทคโนโลยีทางการศึกษา, กระทรวงศึกษาธิการ. 7 นวย, ตูซาร์. (พ.ศ.2558). รายการวทิ ยสุ อนภาษาพมา่ ชดุ “ภาษาและวฒั นธรรมเมียนมา”. ตอนที่ 36. กรงุ เทพฯ: ศนู ย์เทคโนโลยีทางการศึกษา, กระทรวงศึกษาธิการ. 8 นวย, ตซู าร์. (พ.ศ.2558). รายการวิทยุสอนภาษาพมา่ ชดุ “ภาษาและวฒั นธรรมเมียนมา”. ตอนท่ี 35. กรุงเทพฯ: ศนู ย์เทคโนโลยีทางการศึกษา, กระทรวงศึกษาธิการ. 9 นวย, ตูซาร์. (พ.ศ.2557). ภาษาและวัฒนธรรมอาเซียน เลม่ 2. หน้า 21-23. กรุเทพฯ: ราชบัณฑิตยสภา. 10 นวย, ตซู าร์. (พ.ศ.2557). ภาษาและวัฒนธรรมอาเซียน เล่ม 2. หนา้ 56-58. กรเุ ทพฯ: ราชบัณฑิตยสภา. 11 นวย, ตซู าร์. (พ.ศ.2556). ภาษาและวฒั นธรรมอาเซียน เลม่ 1. หน้า 250-253. กรเุ ทพฯ: ราชบณั ฑติ ยสภา. 12 นวย, ตซู าร์. (พ.ศ.2556). ภาษาและวัฒนธรรมอาเซยี น เล่ม 1. หนา้ 215-218. กรเุ ทพฯ: ราชบณั ฑติ ยสภา. ตซู าร์ นวย (ประเทศชาติ และวัฒนธรรมของเมียนมา) [สงวนสิทธิ] 24